SlideShare a Scribd company logo
1 of 67
Download to read offline
1
โดย นายธัชวุฒิ กงประโคน ครู โรงเรียนอนุบาลชัยภูมิ
หนวยการเรียนรู
เรื่อง แรงและความดัน
รายวิชาวิทยาศาสตร รหัสวิชา ว 15101
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ชั้นประถมศึกษาปที่ 5
โรงเรียนอนุบาลชัยภูมิ สังกัด สพป.ชัยภูมิ เขต 1
ภาคเรียนที่ 2/2559 เวลา 23 ชั่วโมง
โดย นายธัชวุฒิ กงประโคน ตําแหนงครู คศ.1
1. ชื่อหนวยการเรียนรู เรื่อง แรงและความดัน
2. มาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู
มาตรฐาน ว 4.1 เขาใจธรรมชาติของแรงแมเหล็กไฟฟา แรงโนมถวง และแรงนิวเคลียร
มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู สื่อสารสิ่งที่เรียนรู และนําความรูไปใช
ประโยชนอยางถูกตองและมีคุณธรรม
ตัวชี้วัด
ว 4.1 ป.5/1 ทดลองและอธิบายการหาแรงลัพธของแรงสองแรงซึ่งอยูในแนวเดียวกัน
ที่กระทําตอวัตถุ
ว 4.1 ป.5/2 ทดลองและอธิบายความดันอากาศ
ว 4.1 ป.5/3 ทดลองและอธิบายความดันของของเหลว
ว 4.1 ป.5/4 ทดลองและอธิบายแรงพยุงของของเหลว การลอยตัวและการจมของวัตถุ
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
มาตรฐานการเรียนรู
มาตรฐาน ว 4.2 เขาใจลักษณะการเคลื่อนที่แบบตาง ๆ ของวัตถุในธรรมชาติ มีกระบวนการสืบ
เสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใช
ประโยชน
ตัวชี้วัด
ว 4.2 ป.5/1 ทดลองและอธิบายแรงเสียดทานและนําความรูไปใชประโยชน
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
มาตรฐานการเรียนรู
มาตรฐาน ว 8.1 ใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรและจิตวิทยาศาสตรในการสืบเสาะหาความรู
การแกปญหา รูวาปรากฏการณทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นสวนใหญมีรูปแบบที่
แนนอน สามารถอธิบายและตรวจสอบไดภายใตขอมูลและเครื่องมือที่มีอยูใน
ชวงเวลานั้น ๆ เขาใจวาวิทยาศาสตร เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดลอม
มีความเกี่ยวของสัมพันธกัน
ตัวชี้วัด
ว 8.1 ป.5/1 ตั้งคําถามเกี่ยวกับประเด็น หรือเรื่อง หรือสถานการณที่จะศึกษา ตามที่
2
โดย นายธัชวุฒิ กงประโคน ครู โรงเรียนอนุบาลชัยภูมิ
กําหนดใหและตามความสนใจ
ว 8.1 ป.5/2 วางแผนการสังเกต เสนอการสํารวจตรวจสอบ หรือศึกษาคนควา
และคาดการณสิ่งที่จะพบจากการสํารวจตรวจสอบ
ว 8.1 ป.5/3 เลือกอุปกรณที่ถูกตองเหมาะสมในการสํารวจตรวจสอบใหไดขอมูล
ที่เชื่อถือได
ว 8.1 ป.5/4 บันทึกขอมูลในเชิงปริมาณและคุณภาพ และตรวจสอบผลกับสิ่งที่คาดการณไว
นําเสนอผลและขอสรุป
ว 8.1 ป.5/5 สรางคําถามใหมเพื่อการสํารวจตรวจสอบตอไป
ว 8.1 ป.5/6 แสดงความคิดเห็นอยางอิสระ อธิบาย และสรุปสิ่งที่ไดเรียนรู
ว 8.1 ป.5/7 บันทึกและอธิบายผลการสํารวจตรวจสอบตามความเปนจริง มีการอางอิง
ว 8.1 ป.5/8 นําเสนอ จัดแสดงผลงาน โดยอธิบายดวยวาจา หรือเขียนอธิบายแสดง
กระบวนการและผลของงานใหผูอื่นเขาใจ
3. สาระสําคัญ/ความคิดรวบยอด
แรง หมายถึง สิ่งที่ทําใหวัตถุเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ หรือการเปลี่ยนแปลงรูปทรงจากเดิม
ทําใหวัตถุเคลื่อนที่ หรือเคลื่อนที่เร็วขึ้น หรือเคลื่อนที่ชาลง หรือหยุดการเคลื่อนที่ หรือเปลี่ยนทิศทาง
การเคลื่อนที่
แรงที่กระทําตอวัตถุและแรงลัพธ
- ออกแรงกระทําตอวัตถุ 1 แรง วัตถุจะเคลื่อนที่ไปในทิศเดียวกับแรงกระทํา
- ออกแรงกระทําตอวัตถุ 2 แรง ในทิศเดียวกัน แรงลัพธ คือ ผลรวมของแรง
วัตถุจะเคลื่อนที่ไปในทิศเดียวกับแรงกระทํา
- ออกแรงกระทําตอวัตถุ 2 แรง ในทิศตรงกันขาม แรงลัพธ คือ ผลหักลางของแรง
วัตถุจะเคลื่อนที่ไปในทิศเดียวกับแรงกระทําที่มีขนาดมากกวา หรือไมเคลื่อนที่เมื่อแรงที่กระทํา
ทั้งสองมีขนาดเทากัน
แรง 1 นิวตัน แรง 1 นิวตัน
แรง 1 นิวตัน
แรง 1 นิวตัน
แรง 1 นิวตัน
3
โดย นายธัชวุฒิ กงประโคน ครู โรงเรียนอนุบาลชัยภูมิ
แรงเสียดทาน คือ แรงตานการเคลื่อนที่ของวัตถุ มีทิศทางตรงขามกับการเคลื่อนที่ของวัตถุ
แรงเสียดทานทําใหวัตถุที่กําลังเคลื่อนที่เคลื่อนที่ชาลง หรือหยุดการเคลื่อนที่
ปจจัยที่มีผลตอแรงเสียดทาน ไดแก น้ําหนักหรือแรงกดของวัตถุที่กระทําลงบนพื้น
โดยน้ําหนักมากจะมีแรงเสียดทานมาก และลักษณะพื้นผิวสัมผัส โดยพื้นผิวสัมผัสเรียบ
จะมีแรงเสียดทานนอยกวาพื้นผิวสัมผัสที่ขรุขระ
แรงดันอากาศ หมายถึง แรงที่อากาศกดลงบนผิวของวัตถุทุกทิศทาง
ความดันอากาศ หมายถึง คาของแรงดันอากาศตอหนึ่งหนวยพื้นที่ที่รองรับแรงดัน
มีหนวยเปนนิวตันตอตารางเมตร
ปจจัยที่มีผลตอความดัน ไดแก ขนาดของแรงที่กระทํา (น้ําหนักของวัตถุ) และพื้นที่ที่ถูกแรง
กระทํา (พื้นที่ที่ถูกกดทับดวยวัตถุ)
ความดันของของเหลว หมายถึง แรงที่ของเหลวกระทําตั้งฉากตอหนึ่งหนวยพื้นที่
โดยของเหลวจะมีแรงกระทําตอวัตถุทุกทิศทาง
ปจจัยที่มีผลตอความดันของของเหลว ไดแก ความลึกของของเหลว และความหนาแนนของ
ของเหลว การนําความรูเรื่องความดันของของเหลวไปใชประโยชน เชน การขุดสระ
การสรางเขื่อน โดยนําความรูไปใชในการออกแบบกนสระเพื่อรับแรงดันของน้ํา
แรงลอยตัว หมายถึง แรงที่ชวยพยุงใหวัตถุไมจมลงในของเหลว โดยแรงลอยตัวจะกระทํากับ
วัตถุในทิศตรงขามกับแรงเนื่องจากน้ําหนักของวัตถุ
ปจจัยที่มีผลตอการลอยและการจม
- ความหนาแนนของวัตถุ
 วัตถุมีความหนาแนนนอยกวาของเหลว วัตถุจะลอยในของเหลว
 วัตถุมีความหนาแนนเทากับของเหลว วัตถุจะลอยปริ่มของเหลว
 วัตถุมีความหนาแนนมากกวาของเหลว วัตถุจะจมในของเหลว
- ความหนาแนนของของเหลว
 ของเหลวที่มีความหนาแนนมาก จะมีแรงลอยตัวมาก
 ของเหลวที่มีความหนาแนนนอย จะมีแรงลอยตัวนอย
4. สาระการเรียนรู
4.1 สาระการเรียนรูแกนกลาง
4.1.1 แรงลัพธของแรงสองแรงที่กระทาตอวัตถุโดยแรงทั้งสองอยูในแนวเดียวกัน
เทากับผลรวมของแรงทั้งสองนั้น
4.1.2 อากาศมีแรงกระทาตอวัตถุ แรงที่อากาศกระทาตั้งฉากตอหนึ่งหนวยพื้นที่ เรียกวา
ความดันอากาศ
4.1.3 ของเหลวมีแรงกระทาตอวัตถุทุกทิศทางแรงที่ของเหลวกระทาตั้งฉากตอหนึ่งหนวย
พื้นที่ เรียกวา ความดันของของเหลวซึ่งมีความสัมพันธกับความลึก
4
โดย นายธัชวุฒิ กงประโคน ครู โรงเรียนอนุบาลชัยภูมิ
4.1.4 ของเหลวมีแรงพยุงกระทาตอวัตถุที่ลอยหรือจมในของเหลว การจมหรือการ
ลอยตัวของวัตถุขึ้นอยูกับนาหนักของวัตถุ และแรงพยุงของของเหลวนั้น
4.1.5 แรงเสียดทานเปนแรงตานการเคลื่อนที่ของวัตถุ แรงเสียดทาน มีประโยชน
เชน ในการเดินตองอาศัยแรงเสียดทาน
5. สมรรถนะสําคัญของผูเรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร
- การอธิบาย การเขียน การพูดหนาชั้นเรียน
2. ความสามารถในการคิด
2.1 ทักษะทั่วไป
- การสังเกต การสํารวจ การคิดวิเคราะห การเปรียบเทียบ การจําแนกประเภท
การจัดระบบความคิดเปนแผนภาพ การสรางคําอธิบาย การอภิปราย
การสื่อความหมาย
2.2 ทักษะเฉพาะ
- การออกแบบและประดิษฐ การทํากิจกรรมทดลองโดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร
การสืบคนโดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร
3. ความสามารถในการแกปญหา
- การแกปญหาขณะปฏิบัติกิจกรรมการทดลอง
- การแกปญหาขณะปฏิบัติการออกแบบและประดิษฐสิ่งประดิษฐ
4. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต
- กระบวนการกลุม
- การแสวงหาความรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับการออกแบบและประดิษฐสิ่งของที่อาศัยหลักของ
แรงดันของอากาศได
- การแสวงหาความรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับประโยชนของพลังงานลมมาใชประโยชนใน
ชีวิตประจําวัน
5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี
- การเลือกและใชเทคโนโลยี ในดานการเรียนรู การสื่อสาร การทํางาน การแกปญหา
อยางสรางสรรค
6. คุณลักษณะอันพึงประสงค
ใฝเรียนรู
ตัวชี้วัดที่ 4.1 ตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียนและเขารวมกิจกรรมการเรียนรู
ตัวชี้วัดที่ 4.2 แสวงหาความรูจากแหลงเรียนรูตางๆ ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน
ดวยการเลือกใชสื่ออยางเหมาะสม บันทึกความรู วิเคราะห สรุปเปนองค
ความรู แลกเปลี่ยนเรียนรู และนําไปใชในชีวิตประจําวันได
มุงมั่นในการทํางาน
ตัวชี้วัดที่ 6.1 ตั้งใจและรับผิดชอบในการปฏิบัติหนาที่การงาน
ตัวชี้วัดที่ 6.2 ทํางานดวยความเพียรพยายาม และอดทนเพื่อใหงานสําเร็จตามเปาหมาย
5
โดย นายธัชวุฒิ กงประโคน ครู โรงเรียนอนุบาลชัยภูมิ
7. ชิ้นงาน/ภาระงาน
7.1 ประดิษฐสะพานไมไอศกรีม
7.2 ประดิษฐจรวดขวดน้ํา
7.3 ประดิษฐเรือดําน้ํา
7.4 ประดิษฐเรือเรือไฟฟา
7.5 ใบบันทึกการทํากิจกรรม
7.6 PowerPoint นําเสนอผลงานการประดิษฐชิ้นงานตางๆของนักเรียนแตละกลุม
7.7 แผนพับ/ใบสรุปความรูการนําเสนอผลงานการประดิษฐชิ้นงานตางๆของนักเรียนแตละ
กลุม
8. สื่อการเรียนรู/แหลงเรียนรู
8.1 หนังสือการตูนประวัติวิทยาศาสตร (ที่สรางขึ้นเอง) ดังนี้
8.1.1 หนังสือการตูน อริสโตเติล
8.1.2 หนังสือการตูน กาลิเลโอ
8.1.3 หนังสือการตูน นิโคลัส โคเปอรนิคัส
8.1.4 หนังสือการตูน เทอรริเชลลี
8.1.5 หนังสือการตูน อารคีมิดิส
8.1.6 หนังสือการตูน เกอรริค
8.1.7 หนังสือการตูน โรเบิรต บอลย
8.1.8 หนังสือการตูน หลุยส ปาสคาล
8.2 วิดิทัศนเรื่อง ความดันอากาศ
8.3 วิดิทัศนเรื่อง ความดันของของเหลว
8.4 อุปกรณจัดกิจกรรม
8.4.1 กิจกรรม : การเคลื่อนที่ของอริสโตเติล เวลา 2 ชั่วโมง
- ลูกแกว 2 ขนาด
- กอนหินขนาดเล็ก
- กอนหินขนาดใหญ
- นาฬิกาจับเวลา
- ตลับเมตร
- ตาชั่ง
- ขนนก
- ลูกเหล็ก
- กระดาษเอสี่ 2 แผน
- ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง ทฤษฎีการเคลื่อนที่ของอริสโตเติล
- ใบกิจกรรมที่ 2 การทดลองปลอยกอนหินขนาดเล็กและกอนหินขนาดใหญ
- ใบกิจกรรมที่ 3 การทดลองปลอยขนนกกับลูกเหล็ก
- ใบกิจกรรมที่ 4 การทดลองปลอยกระดาษเอสี่ สองรูปแบบ
6
โดย นายธัชวุฒิ กงประโคน ครู โรงเรียนอนุบาลชัยภูมิ
8.4.2 กิจกรรม : การเคลื่อนที่ของกาลิเลโอ เวลา 2 ชั่วโมง
- ดินน้ํามันกอนใหญ 1 กิโลกรัม 2 กอน
- เครื่องชั่ง
- นาฬิกาจับเวลา
- ตลับเมตร
- รางไม 2 อันที่รองดวยกระดาษทราย
- รางไม 2 อันที่เรียบลื่น
- ลูกแกว 1 ลูก
- ใบกิจกรรมที่ 2 การทดลองปลอยวัตถุที่มีมวลตางกันเปนสองเทา
- ใบกิจกรรมที่ 3 กิจกรรมการทดลองการเคลื่อนที่ของวัตถุบนพื้นเอียง
8.4.3 กิจกรรม : ผลลัพธของแรงหลายแรงที่กระทําตอวัตถุ(ประดิษฐสะพานไม
ไอศกรีม) ( 4 ชั่วโมง)
- กอนหิน
- ตาชั่งสปริง
- เชือก
- ถึงหูหิ้ว
- ไมไอศกรีม
- เสนเอ็น
- กาวรอนญี่ปุน
- กาวแทง
- ปนกาว
8.4.4 กิจกรรม : หลักของอารคีเมดิส เวลา 2 ชั่วโมง
- อางน้ําทรงสี่เหลี่ยม แบบใส
- ลูกปงปอง ลูกเทินนิส ลูกบอลยางขนาดเล็ก
- กอนไมทรงลูกบาศก
- กอนหิน
- ดินน้ํามัน
- เครื่องชั่งสปริง
- ตาชั่ง
- ถวยยูเรกา
- บีกเกอร ขนาด 1,000 ml.
- บีกเกอร ขนาด 250 ml.
- บีกเกอร ขนาด 50 ml.
- กระบอกตวง
- น้ําเปลา
7
โดย นายธัชวุฒิ กงประโคน ครู โรงเรียนอนุบาลชัยภูมิ
- เชือก
- ใบกิจกรรมที่ 1 ประวัติหลักของอารคีเมดิส
- ใบกิจกรรมที่ 2 กิจกรรมการทดลองหาปริมาตรของวัตถุ
- ใบกิจกรรมที่ 3 กิจกรรมการทดลองหาแรงลอยตัว
- ใบกิจกรรมที่ 4 หาแรงลอยตัว
8.4.5 กิจกรรม : ความดันในของเหลว เวลา 2 ชั่วโมง
- ขวดน้ํา
- ที่เจาะรู
- ลูกโปง
- เทปกาว
- ไมปลายแหลม
- ขวดพลาสติก
- สีผสมอาหาร
- ภาชนะรองน้ํา
- ใบกิจกรรมที่ 1 ประวัติความดันของของเหลว
- ใบกิจกรรมที่ 2 กิจกรรมการทดลองความดันในของเหลว
8.4.6 กิจกรรม : การลอยและการจมของวัตถุ เวลา 2 ชั่วโมง
- ขวดน้ําดื่มพลาสติกสี่เหลี่ยมขนาดความจุ 500 ลูกบาศกเซนติเมตร
- ใบมีด
- กระดาษกันน้ํา
- อางใสน้ํา
- กอนหิน
- ขวดน้ําดื่มพลาสติกขนาดความจุ 2,000 ลูกบาศกเซนติเมตร
- หลอดดูดชนิดงอได
- เทปกาวยน
- ดินน้ํามัน
- กระดาษฟอยล
8.4.7 กิจกรรม : ประดิษฐเรือเรือไฟฟาขนสงสินคาเวลา 2 ชั่วโมง
- ไมอัด
- โฟมหนา 1-2 นิ้ว
- แผนฟวเจอรบอรด
- ไมบรรทัด
- กรรไกร
- คัตเตอร
8
โดย นายธัชวุฒิ กงประโคน ครู โรงเรียนอนุบาลชัยภูมิ
- มอเตอรไฟฟากระแสตรง
- ใบพัด
- ไมไอศกรีม
- ถานไฟฉาย AA
- รางใสถานไฟฉาย
- หัวหนีบปากจระเขแดง-ดํา 2 เสน
- แลคซีน/เทปใส
- แทงกาวรอน
- ปนกาว
8.4.8 กิจกรรม : ความดันในอากาศ เวลา 2 ชั่วโมง
- ไมดันทอ
- วิดิทัศนการทดลองและคนพบสุญญากาศ
- วิดิทัศนการทดลองความดันอากาศ
- ใบกิจกรรมที่ 1 ประวัติความดันอากาศ
- ใบกิจกรรมที่ 2 สุญญากาศมหัศจรรย
- ใบกิจกรรมที่ 3 วัดความดันอากาศ
8.4.9 กิจกรรม : ประดิษฐจรวดขวดน้ํา เวลา 3 ชั่วโมง
- ขวดน้ําอัดลมแบบพลาสติก 2 ขวด
- กรรไกร หรือ คัตเตอร
- กระดาษแข็งสีตาง ๆ
- แลคซีน/เทปใส
- แผนฟวเจอรบอรด
- ดินน้ํามัน
- แทนปลอยจรวดขวดน้ํา
- เครื่องสูบยางรถ/เครื่องสูบลมอัตโนมัติ
8.4.10 กิจกรรม : เผยแพรความรูผลงานสิ่งประดิษฐ ใหกับนักเรียนในโรงเรียน ( 2
ชั่วโมง)
- แผนฟวเจอรบอรด
- กรรไกร หรือ คัตเตอร
- แลคซีน/เทปใส
- กระดาษสีตางๆ
- คอมพิวเตอร
9
โดย นายธัชวุฒิ กงประโคน ครู โรงเรียนอนุบาลชัยภูมิ
9. กิจกรรมการเรียนรู
กิจกรรม : การเคลื่อนที่ของอริสโตเติล เวลา 2 ชั่วโมง
1. ครูนําลูกแกว 2 ลูกที่มีขนาดแตกตางกัน ดังรูป
2. ครูแสดงลักษณะของลูกแกวทั้งสองมาใหนักเรียนรวมกันพิจารณาจากนั้นครูตั้งคําถามดังนี้
- ลูกแกว สองลูกมีลักษณะอยางไร (ทรงกลม)
- ลูกแกวทั้งสองลูกนี้มีมวลเปนอยางไร(ไมเทากัน)
- นักเรียนคิดวาเมื่อปลอยลูกแกวทั้งสองที่ตําแหนงเดียวกันพรอมกันจะเปนอยางไร
(นักเรียนแสดงความคิดเห็น)
3. จากนั้น ครูปลอยลงมาในตําแหนงเดียวกันลงมาที่พื้น จากนั้นใหนักเรียนรวมกันอภิปราย
รวมกันวาเพราะเหตุใดถึงเปนเชนนั้น
4. ครูใหนักเรียนศึกษาทฤษฎีการเคลื่อนที่ของอริสโตเติล(หนังสือการตูนประวัติของอริสโตเติล
เกี่ยวกับการเคลื่อนที่)ใหเขาใจเพื่อนําสูการอภิปราย โดยใชคําถามดังนี้
- อริสโตเติลแบงการเคลื่อนที่ออกเปนกี่แบบ อะไรบาง( 2 แบบ คือ การเคลื่อนที่โดย
ธรรมชาติและการเคลื่อนที่โดยการบังคับ)
- การเคลื่อนที่โดยธรรมชาติ อริสโตเติลกลาวไววาอยางไร(การเคลื่อนที่โดยธรรมชาติ
จะเปนไปดวยธรรมชาติของวัตถุเอง วัตถุทุกอยางในจักรวาลจะตองมีที่อยูเหมาะสม เมื่อพิจารณาใน
มุมมองนี้ ถาวัตถุที่ไมไดอยูในที่ ที่เหมาะสมจะพยายามกลับไปในจุดนั้นเอง ถาธรรมชาติของวัตถุอยูที่
พื้นดิน กอนดินที่อยูในอากาศจะตองตกสูพื้นดินดวยตัวของมันเอง ถาธรรมชาติของวัตถุอยูในอากาศ
ควันที่พวยพุงจะลอยขึ้นสูอากาศ ถาธรรมชาติของวัตถุผสมผสานพื้นดินและอากาศ เชน ขนนก จะ
คอยๆ ตกสูพื้นดิน แตจะไมรวดเร็วเทากอนดิน)
- อริสโตเติลอธิบายสรุปลักษณะการเคลื่อนที่ของวัตถุที่เคลื่อนที่โดยธรรมชาติอยางไร
(อธิบายถึงการเคลื่อนที่ของวัตถุในแนวดิ่ง)
- การเคลื่อนที่ของวัตถุที่อริสโตเติลอธิบายนั้นเปนอยางไร(วัตถุจะตกสูพื้นไดเร็วกวา
เปนสัดสวนตรงกับน้ําหนักที่มากกวา)
- การอธิบายของอริสโตเติลไดทําการทดลองหรือไม อยางไร(ไมไดทําการทดลอง
อาศัยประสบการณการพบเห็นและรอยเรียงใหเปนเหตุเปนผลกัน)
- อริสโตเติลมีลักษณะของนักวิทยาศาสตรหรือไมอยางไร(นักเรียนแสดงความคิดเห็น)
- ทฤษฎีที่อริสโตเติลคนพบนั้นมีความนาเชื่อถือหรือไม นักเรียนจะมีวิธีการตรวจสอบ
อยางไร(นักเรียนแสดงความคิดเห็น เพื่อนําไปสูการทําการทดลองเพื่อพิสูจน)
5. ครูแบงกลุมนักเรียนเพื่อทําการทดลองกลุมละ 4-5คน และรับใบงานที่1-3 และอุปกรณการ
10
โดย นายธัชวุฒิ กงประโคน ครู โรงเรียนอนุบาลชัยภูมิ
ทดลอง เรื่องการทดลองเพื่อพิสูจนทฤษฎีการเคลื่อนที่ของอริสโตเติล โดยครูชี้แจงการทําการทดลอง
ดังนี้
- ใหนักเรียนปฏิบัติการทดลองตามวิธีการของอริสโตเติล สังเกตและบันทึกผล
- หลังจากนั้นใหนักเรียนรวมกันอภิปรายและลงขอสรุปเกี่ยวกับทฤษฎีของอริสโตเติล
6. ครูสุมเลือกตัวแทนกลุม เพื่ออกมานําเสนอผลที่ไดจากการทดลองทั้ง 3 การทดลอง
7. จากนั้นนักเรียนและครูรวมกันอภิปราย โดยครูตั้งคําถามดังตอไปนี้
- จากการทดลองตามแนวคิดของอริสโตเติลนักเรียนคนพบอะไรบาง
การทดลองที่ 1 อางอิงจากคํากลาวของอริสโตเติลที่วา “วัตถุที่หนักกวาอีกกอนสอง
เทาจะตกถึงพื้นไดเร็วกวาเปนสองเทา” โดยนํากอนหินที่มีมวลแตกตางกัน มาปลอยจากที่สูง
และสังเกตการตกโดยจับเวลา นักเรียนสังเกตพบขอมูลอะไรบาง(นักเรียนแสดงความคิดเห็น)
- ในการทดลองที่ 2 คือปลอยขนนกและลูกเหล็กจากที่สูงไดผลเปนอยางไร (ลูกเหล็ก
ตกลงมาที่พื้นกอนขนนก)
- นักเรียนคิดวาอะไรเปนสาเหตุสําคัญที่ทําใหขนนกตกลงมาชากวาลูกเหล็กนั้น(มวล
ของขนนกเบากวาลูกเหล็กจึงตกลงมาชากวา รูปรางแตกตางกัน เปนตน)
- การทดลองที่ 3 เมื่อนักเรียนนํากระดาษ เอสี่ มาทดลองโดย นํามาตัดครึ่งแลวขยํา
เปนกอนกลมๆ จากนั้นนํามาถือไวในระดับเดียวกับกระดาษเอสี่เต็มแผน พอปลอยลงมาพรอม
กันนักเรียนสังเกตเห็นอะไรบาง (จะพบวาแผนกระดาษตัดครึ่งที่ขยํานั้นตกถึงพื้นกอนกระดาษ
ที่เต็มแผนที่มีมวลนอยกวาครึ่งหนึ่ง)
- จากการทดลองที่ 3 นั้น นักเรียนจะอธิบายไดวาอยางไร (มวลของวัตถุไมมีผลตอ
ความเร็วในการตกลงมาที่พื้น)
- หลังจากที่ทําการทดลองในการทดลองที่ 3 แลวนั้น ในการทดลองที่ 1 และ 2 นั้น
นักเรียนจะสรุปใหมไดวาอยางไร(นักเรียนแสดงความคิดเห็น)
- ในการทําการทดลอง ทั้ง 3 ครั้งนั้น นักเรียนไดขอมูลเปนอยางไร (ขอมูลที่ไดมีความ
แตกตางกัน)
- อะไรเปนตัวแปรสําคัญที่ทําใหแนวความคิดของอริสโตเติลไมเปนความจริง(รูปราง
ของวัตถุ)
- นักเรียนบอกไดหรือไมวารูปรางของวัตถุสงผลอยางไรตอการตกของวัตถุ(นักเรียน
แสดงความคิดเห็น)
- นักเรียนคิดวา สิ่งที่ทําใหวัตถุเคลื่อนที่ตกลงมาไมพรอมกัน คืออะไร(อากาศ)
- สรุปแลวสิ่งที่สําคัญที่ทําใหวัตถุเคลื่อนที่ตกลงมาไมพรอมกัน คืออะไร(แรงตาน
อากาศ)
- เพราะฉะนั้นนักเรียนจะมีวิธีการอยางไรที่จะทําใหวัตถุที่มีมวลตางกันตกลงถึงพื้น
พรอมกัน(นักเรียนแสดงความคิดเห็น)
8. ครูนําแผนกระดาน 2 แผนที่มีขนาด รูปราง เทากันทุกประการ มาสาธิตใหนักเรียนดูจากนั้น
นําลูกแกว กับกระดาษแผนเล็กๆ วางไวเหนือแผนกระดานแตละแผน จากนั้นนําแผนกระดานทั้งสอง
ปลอยในตําแหนงเดียวกัน แลวใหนักเรียนสังเกตสิ่งที่เกิดขึ้น จากนั้นครูตั้งคําถามอภิปรายดังนี้
11
โดย นายธัชวุฒิ กงประโคน ครู โรงเรียนอนุบาลชัยภูมิ
- นักเรียนไดขอสรุปจากการทดลองอยางไร(ไมวาวัตถุจะหนักหรือเบาก็ตกถึงพื้นดวย
ความเร็วเทากัน)
- หากนักเรียนตองการทําใหวัตถุตกลงพื้นพรอมกันจะมีวิธีการนําเสนออยางไร(ลดแรง
ตานอากาศโดยทําใหวัตถุทั้งสองมีแรงตานอากาศเทากัน)
9. ครูตั้งคําถามอภิปรายสรุปเกี่ยวกับธรรมชาติของวิทยาศาสตรโดยใชคําถามดังนี้
- ขอมูลที่นักเรียนไดในแตละการทดลองนั้นทําใหนักเรียนเขาใจอยางไรบาง(การ
ทดลองแตละครั้งทําใหไดขอมูลที่แตกตางกันขึ้นอยูกับความสามารถของแตละบุคคลที่ไดทํา
การทดลอง ทําใหขอมูลที่ไดมีการเปลี่ยนแปลงไป)
- ทฤษฎีที่อริสโตเติลตั้งขึ้นมานั้นขัดแยงกับกระบวนการศึกษาทางวิทยาศาสตรอยางไร
(การใหขอสรุปสิ่งตางๆนั้นไมไดอาศัยแคประสบการณเพียงอยางเดียว หลักฐานจากการทดลอง
ที่มีความหนักแนนถือเปนสวนสําคัญที่จะชวยยันขอมูลที่ไดนั้นเปนอยางดี)
- จากการทดลอง ทําใหพิสูจนแนวคิดของอริสโตเติลอยางไรบาง(การตั้งทฤษฎีที่ไมได
ทําการทดลอง อาศัยเพียงประสบการณและการใหเหตุผลประกอบเทานั้น ทําใหความรูที่ไดนั้น
เกิดการผิดพลาดขึ้นมาได)
- นักเรียนคิดวาสิ่งที่ไดจากการทดลองนี้มีประโยชนตอการศึกษาเรื่องอื่นๆอยางไร
(การเสนอแนวคิดใดแนวคิดหนึ่งเพื่อใหเกิดความนาเชื่อถือนั้นตองอาศัยการพิสูจน ทําการ
ทดลองเพื่อใหไดขอมูลที่มีความสมบูรณและเชื่อถือได)
10. นักเรียนแตละกลุมรวมกันตรวจสอบสรุปผลการทดลองของตนเองหลังจากที่ไดรวมกัน
อภิปรายกลุมกอนนําสงครู
11. นักเรียนและครูรวมกันอภิปรายเพื่อหาขอสรุปเกี่ยวกับการทดลอง โดยครูตั้งคําถามดังนี้
- ทฤษฎีที่อริสโตเติลตั้งขึ้นนั้นอางอิงมาจากแหลงใด(ประสบการณ)
- การอาศัยประสบการณเพียงอยางเดียวมาใชในการอธิบายและลงขอสรุป
ปรากฏการณตางๆเพียงพอหรือไมอยางไร(ไมเพียงพอ ตองอาศัยการทดลองเพื่อพิสูจนและลง
ขอสรุปจนไดเหตุผลที่ยืนยันและเชื่อถือได)
- จากการทดลองตางๆที่ไดทําการปฏิบัตินั้นนักเรียนคิดวาเพราะเหตุใดถึงตองมีการทํา
การทดลองหลายๆครั้ง(เพื่อใหไดขอมูลที่นาเชื่อถือมากยิ่งขึ้น)
- เพราะเหตุใดในแตละครั้งที่ทําการทดลองมีการเปลี่ยนรูปแบบและตัวแปรไปดวย
(เพราะการทดลองแตละครั้งทําใหคนพบขอมูลใหมเพิ่มมากขึ้น)
- หากเราไมออกแบบการทดลองที่หลากหลายสงผลอยางไรการการคนพบขอมูล
เหลานั้น(ขอมูลที่ไดไมหลากหลาย สงผลใหไมสามารถคนพบและอธิบายทฤษฎีการเคลื่อนที่ได
อยางเหมาะสมได)
- การที่เราจะไดมาซึ่งความรูทางวิทยาศาสตรจําเปนตองใชวิธีการอยางไรเพื่อใหได
ขอมูลที่นาเชื่อถือ(การออกแบบการทดลองที่หลากหลาย และพิสูจนผล)
- สิ่งที่ชวยยืนยันคําตอบของสิ่งที่ไดจากการทดลองนั้นใหมีความนาเชื่อถือรวมกันมาก
ขึ้นคืออะไร(การลงขอสรุปสิ่งที่ไดพิสูจนรวมกัน)
12
โดย นายธัชวุฒิ กงประโคน ครู โรงเรียนอนุบาลชัยภูมิ
- นักเรียนคิดวาสิ่งที่มีความจําเปนสําหรับการคนควาทดลองเพื่อพิสูจนทฤษฎีที่
อริสโตเติลตั้งขึ้นนั้นมีอะไรบาง(การใชจินตนาการ การลงมือทําการทดลอง การหาขอสรุป
รวมกัน)
- สิ่งที่สงผลใหความคิดของอริสโตเติลยังคงไดรับการยอมรับนับถือเรื่อยมาจนถึง
ปจจุบันนั้นคืออะไร(ไมมีใครกลาคัดคาน เพราะทุกคนยอมรับแนวคิดของอริสโตเติลโดย
ปราศจากขอสงสัย และในศาสนจักรถือวาเปนความผิดรายแรง ถามีใครไปลบลางหรือบิดเบือน
แนวคิดของอริสโตเติล) )
- หากความเชื่อเหลานี้ยังคงอยู นักเรียนคิดวาจะสงผลใหวิทยาศาสตรเปนอยางไร
(ความกาวหนาทางวิทยาศาสตรลดนอยลง ขาดการตอยอดความรู เปนตน)
12. จากนั้นครูประเมินตามสภาพจริง จากการสังเกตพฤติกรรมขณะเขารวมกิจกรรม ประเมิน
แผนภาพความคิด และประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค โดยใชเกณฑการใหคะแนนแบบการประเมิน
ตามสภาพจริง
กิจกรรม : การเคลื่อนที่ของกาลิเลโอ เวลา 2 ชั่วโมง
1. ครูนําลูกปงปอง และลูกฟุตบอล แลวทําการปลอยที่ตําแหนงเดียวกันพรอมกัน ดังรูป
2. จากนั้นครูตั้งคําถามเพื่อใหนักเรียนรวมกันอภิปราย ดังนี้
- ลูกปงปอง และลูกฟุตบอลมีลักษณะอยางไร (ทรงกลม)
- ลูกแกวทั้งสองลูกนี้มีมวลเปนอยางไร(ไมเทากัน)
- นักเรียนคิดวาเมื่อปลอยลูกแกวทั้งสองที่ตําแหนงเดียวกันพรอมกันจะเปนอยางไร
(นักเรียนแสดงความคิดเห็น)
3. จากนั้น ครูปลอยลงมาในตําแหนงเดียวกันลงมาที่พื้น จากนั้นใหนักเรียนรวมกันอภิปราย
รวมกันวาเพราะเหตุใดถึงเปนเชนนั้น
4. หลังจากสาธิตใหนักเรียนดูแลว ครูตั้งคําถามเพิ่มเติมเพื่อใหนักเรียนแสดงความคิดเห็น ดังนี้
- ในสมัยกอนนั้นเชื่อวา ของที่หนักกวาตกกอนของที่เบากวาเสมอ นักเรียนคิดวา
เพราะเหตุใดถึงคิดเชนนั้น
- นักเรียนคิดวา อะไรเปนสาเหตุสําคัญที่ทําใหความเชื่อเหลานั้นคงอยูนานถึง 2000 ป
- นักเรียนคิดวาอะไรที่เปนสิ่งจําเปนและมีความสําคัญสําหรับการปรับเปลี่ยนแนวคิด
เหลานั้น
13
โดย นายธัชวุฒิ กงประโคน ครู โรงเรียนอนุบาลชัยภูมิ
5. ครูใหนักเรียนศึกษาทฤษฎีการเคลื่อนที่ของโคเปอรนิคัสและกาลิเลโอ (หนังสือการตูน
ประวัติของโคเปอรนิคัสและกาลิเลโอเกี่ยวกับการเคลื่อนที่)ใหเขาใจเพื่อนําสูการอภิปราย โดยใชคําถาม
ดังนี้
- โคเปอรนิคัสคนพบอะไร(โลกเราไมไดหยุดนิ่งแตเคลื่อนที่และโคจรไปรอบดวง
อาทิตย)
- ขัดแยงกับแนวคิดของใคร(อริสโตเติล)
- แตกตางจากอดีตอยางไร(โลกเปนศูนยกลาง)
- สิ่งที่โคเปอรนิคัสคนพบนั้นสงผลตอโคเปอรนิคัสเอง อยางไรบาง(อาจถูกลงโทษถึงขั้น
เสียชีวิตได)
- ขอจํากัดของการคนพบความรูของโคเปอรนิคัสนั้นคืออะไร(การขัดแยงกับศาสนจักร)
- สิ่งที่เปนอุปสรรคในการเผยแพรขอมูลที่ตัวโคเปอรนิคัสเองคนพบ มีอะไรบาง(กลัว
การลงโทษ เนื่องจากความเชื่อหรือทฤษฎีที่ขัดแยงจากความเชื่อรวมกันจะกระทบแนวความคิด
โดยรวมของสังคม และประการที่สองเขาไมยอมรับผลการการทดลองหรือการคนพบครั้งนั้น
เนื่องจากเขาไมสามารถยอมรับแนวความคิดที่โลกเคลื่อนที่ได)
- นักเรียนคิดวาสิ่งที่ทําใหโคเปอรนิคัสยอมตีพิมพขอมูลที่ตนเองคนพบ คืออะไร
(นักเรียนแสดงความคิดเห็น)
- หลังจากที่นักเรียนไดอานประวัติของกาลิเลโอแลวนักเรียนคิดวาลักษณะนิสัยของ
กาลิเลโอเปนอยางไร(ไมคอยจะยอมเชื่ออะไรงายๆจนกวาจะไดทดลองใหเห็นดวยตนเอง)
- เพราะเหตุใดกาลิเลโอถึงไดกลาพิสูจนเรื่องราวที่อาจเปนอันตรายตอชีวิตของเขา
(เพราะเขารูวาทฤษฎีที่เขาศึกษาและผูคนตางๆเชื่อถือมาเปนเวลาเกือบ 2,000 ปนั้นไมเปน
ความจริง)
- เรื่องที่กาลิเลโอศึกษานั้นเกี่ยวของกับใคร(อริสโตเติลเจาของทฤษฎีเดิมและศาสน
จักรผูเชื่อถือในความคิดของอริสโตเติล)
- กาลิเลโอพิสูจนทฤษฎีของอยางไร(ทําการทดลองใหสาธารณชนเห็นเปนประจักษ)
6. ครูแบงกลุมนักเรียนเพื่อทําการทดลองกลุมละ 4-5คน และรับใบกิจกรรมที่ 2 และอุปกรณ
การทดลอง เรื่องการทดลองเพื่อพิสูจนทฤษฎีการเคลื่อนที่ของกาลิเลโอ โดยครูชี้แจงการทําการทดลอง
ดังนี้
- ใหนักเรียนปฏิบัติการทดลองตามใบกิจกรรมการทดลอง สังเกตและบันทึกผล
- หลังจากนั้นใหนักเรียนรวมกันอภิปรายและลงขอสรุปเกี่ยวกับทฤษฎีของกาลิเลโอ
7. ครูสุมเลือกตัวแทนกลุม เพื่อออกมานําเสนอผลที่ไดจากการทดลอง
8. จากนั้นนักเรียนและครูรวมกันอภิปราย โดยครูตั้งคําถามดังตอไปนี้
- จากการทดลองของกาลิเลโอ กาลิเลโอมีความเชื่อเกี่ยวกับการตกของวัตถุอยางไร
(วัตถุที่มีรูปรางเหมือนกันจะตกถึงพื้นดินพรอม)
- นักเรียนทําการทดลองอยางไร(ทําการทดลอง โดยในการทดลองใหดินน้ํามันที่มีมวล
แตกตางกัน 2 เทา ปนใหเปนรูปทรงกลมปลอยจากที่สูงในระดับเดียวกันแลวจับเวลา ทดลอง
ทําซ้ํา 3 ครั้ง)
- จากการทดลอง ผลเปนอยางไร(วัตถุตกถึงพื้นดวยระยะเวลาเทากัน)
14
โดย นายธัชวุฒิ กงประโคน ครู โรงเรียนอนุบาลชัยภูมิ
- ในการทดลองเพราะเหตุใดถึงตองทําซ้ํา 3 ครั้ง(เพื่อยืนยันผลการทดลองและใหเกิด
ความผิดพลาดจากการทดลองนอยที่สุด)
- นักเรียนคิดวากาลิเลโอทําการทดลองเชนเดียวกันกับนักเรียนหรือไม(อาจจะทําและ
อาจจะทําการทดลองซ้ําๆ มากกวานี้)
- จากการทดลองนักเรียนไดขอสรุปอยางไร(กอนวัตถุที่หนักกวาอีกกอนเปนสองเทา
ไมไดตกเร็วกวาเปนสองเทาแตจะตกถึงพื้นพรอมกัน)
- นักเรียนคิดวาเพราะเหตุใดกาลิเลโอถึงตองทําการพิสูจนสิ่งที่เขาคิดและคนพบ
เหลานั้น(นักเรียนแสดงความคิดเห็น)
- การที่กาลิเลโอไดทําการทดลองแสดงตอสาธารณชนในเมืองปซานั้นเพื่อเหตุผล
ประการใดบาง(นักเรียนแสดงความคิดเห็น)
- นักเรียนคิดวาทฤษฎีของอริสโตเติลที่ถูกยึดถือมากวา 2,000 ป แตก็ถูกลบลางดวย
การพิสูจนของกาลิเลโอเปนเพราะสาเหตุใด(นักเรียนแสดงความคิดเห็น)
- หลังจากที่นักเรียนทราบแลววากอนวัตถุที่หนักกวาอีกกอนเปนสองเทาไมไดตกเร็ว
กวาเปนสองเทาแตจะตกถึงพื้นพรอมกัน แตในอดีตนักเรียนคิดวาทําไมอริสโตเติลถึงคิดอยาง
นั้น (นักเรียนแสดงความคิดเห็น)
- และอะไรเปนปจจัยสําคัญที่ทําใหอริสโตเติลคิดวาของที่เบากวายอมตกลงมาชากวา
ของที่หนักกวา(นักเรียนแสดงความคิดเห็น)
9. จากนั้นครูนํากระดาษ A4 และลูกปงปอง มาปลอยที่ตําแหนงเดียวกันใหนักเรียนสังเกต แลว
ตั้งคําถามกอน ปลอย ดังนี้
- นักเรียนคิดวาวัตถุทั้งสองจะตกอยางไร(ลูกปงปองตกเร็วกวากระดาษ)
10. จากนั้นครูปลอยวัตถุทั้งสองพรอมกัน เพื่อพิสูจนคําตอบของนักเรียน ดังรูป
11. ครูตั้งคําถามเพื่ออภิปรายและดําเนินการ ดังนี้
- นักเรียนคิดวาอะไรเปนสาเหตุที่ทําใหวัตถุทั้งสอง ตกลงมาถึงพื้นไมพรอมกัน
(นักเรียนแสดงความคิดเห็น)
- นักเรียนจะมีวิธีการอยางไรที่ทําใหวัตถุทั้งสองตกลงมาถึงพื้นพรอมกัน(นักเรียนระดม
ความคิดรวมกันและแสดงความคิดเห็น)
- ครูและนักเรียนแสดงวิธีการทําใหวัตถุทั้งสองตกลงมาถึงพื้นพรอมกันโดยเตรียม
หนังสือขนาดเทากัน 2 เลม แลวนําวัตถุตางชนิดกันวางบนหนังสือ แตละเลม แลวปลอยลงจาก
ระดับความสูงเดียวกัน จากนั้นสังเกตผล
15
โดย นายธัชวุฒิ กงประโคน ครู โรงเรียนอนุบาลชัยภูมิ
12. ครูแบงกลุมนักเรียนเพื่อทําการทดลองกลุมละ 4-5คน กลุมเดิม และรับใบกิจกรรมที่ 3
และครูสาธิตการทดลอง เรื่องการเคลื่อนที่ของวัตถุบนพื้นเอียง หนาชั้นเรียน และสุมเลือกตัวแทน
นักเรียนมาทําการทดลองตามแบบปฏิบัติการทดลองตามใบกิจกรรมการทดลอง สังเกตและบันทึกผล
รวมกันอภิปรายและลงขอสรุปเกี่ยวกับการทดลองเรื่องการเคลื่อนที่ของวัตถุบนพื้นเอียง
13. ครูสุมเลือกตัวแทนกลุม เพื่อออกมานําเสนอผลที่ไดจากการทดลอง
14. จากนั้นนักเรียนและครูรวมกันอภิปราย โดยครูตั้งคําถามดังตอไปนี้
- จากการทดลองของกาลิเลโอ คนพบอะไรบาง(ลูกแกวที่ถูกปลอยจากหยุดนิ่งบนดาน
หนึ่งของพื้นเอียงที่ลาดลง จะกลิ้งลงมาและกลิ้งขึ้นไปไปพื้นลาดขึ้น จนหยุด ณ ตําแหนงที่มี
ความสูงเกือบเทาเดิม)
- เพราะเหตุใดถึงเปนเชนนั้น(ความเสียดทานที่กันไมใหลูกแกวกลิ้งไปจนมีความสูงเทา
เดิม)
- เมื่อเปลี่ยนพื้นเปนพื้นที่ลื่นขึ้นลูกแกวก็จะกลิ้งอยางไร (ลูกแกวจะกลิ้งขึ้นไปจนสูง
ใกลความสูงเริ่มตนมากขึ้น)
- เมื่อเปลี่ยนใหดานพื้นลาดขึ้นมีความชันลดลงจะเกิดอะไรขึ้น (พบวาลูกแกวกลิ้งไป
จนมีความสูงเทาเดิม แตตองกลิ้งไปไกลกวา)
- เมื่อลดความชันลง ลูกแกวจะกลิ้งอยางไร (ลูกแกวกลิ้งไปจนมีความสูงเทาเดิม)
- กาลิเลโอมีความสงสัยวา ถามีพื้นราบที่ยาวมาก ลูกบอลจะตองกลิ้งไปไกลเทาไร
เพื่อที่มีความสูงเทาเดิม(ไมมีทางไปถึงความสูงเริ่มตนไดเลย)
- ขณะที่ลูกแกวเคลื่อนที่ลงจากพื้นเอียงอันแรก ไปสูการเคลื่อนที่ขึ้นพื้นเอียงอันที่สอง
ที่มีความชันเทากัน เปนอยางไร (อัตราเร็วของลูกแกวเคลื่อนที่ขึ้นพื้นเอียงอันสองอยูในระดับ
เทากัน)
- ขณะที่ลูกแกวเคลื่อนที่ลงจากพื้นเอียงอันแรกที่มีความชันนอยกวา ไปสูการเคลื่อนที่
ขึ้นพื้นเอียงอันที่สองที่มีความชันมากกวา เปนอยางไร (อัตราเร็วของลูกแกวเคลื่อนที่ขึ้นจะ
ลดลง แตเมื่อลูกแกวเคลื่อนที่ลงจากพื้นเอียงอันที่สองที่มีความชันมากกวา ไปสูการเคลื่อนที่ขึ้น
พื้นเอียงอันแรกที่มีความชันนอยกวา ลูกแกวจะมีอัตราเร็วลดลงชาๆหรือกลิ้งไปไดนานกวา)
- เมื่อปลอยลูกแกวเคลื่อนที่ลงจากพื้นเอียงไปสูพื้นราบ ผลเปนอยางไร(ลูกแกว
เคลื่อนที่ตอเนื่องไปเรื่อยๆ)
- ลักษณะคุณสมบัติที่วัตถุเคลื่อนที่ตอเนื่อง เรียกวาอะไร (ความเฉื่อย)
15. จากนั้นครูนําเหรียญมาตั้งเปนชั้นๆ แลวทําการเคาะดวยไมบรรทัดอยางรวดเร็ว ดังภาพ
16
โดย นายธัชวุฒิ กงประโคน ครู โรงเรียนอนุบาลชัยภูมิ
แลวตั้งคําถามเพื่อนําเขาสูการอภิปราย ดังนี้
- นักเรียนคิดวาเมื่อใชไมบรรทัดเคาะเหรียญอันลางสุดอยางรวดเร็วผลจะเปนอยางไร
(เหรียญอันลางสุดที่ถูกเคาะจะเคลื่อนที่ออกไปอยางรวดเร็วเหรียญที่อยูขางบนจะ
เคลื่อนที่ลงไปแทนเหรียญที่เคลื่อนที่ออกไปทั้งนี้เพราะเหรียญอันที่อยูขางบนรักษาสภาพการ
เคลื่อนที่เดิมคือหยุดนิ่ง)
- การทดลองดังกลาวอธิบายเกี่ยวกับเรื่องใด(ความเฉื่อย)
16. ครูตั้งคําถามเพื่อรวมกันอภิปรายรวมกันกับนักเรียนเพิ่มเติม ดังนี้
- จากแนวคิดเรื่องความเฉื่อยของกาลิเลโอนี้ ทําใหทฤษฎีการเคลื่อนที่ของอริสโตเติล
ไมไดรับการยอมรับอีกตอไปเพราะเหตุใดถึงเปนเชนนั้น (อริสโตเติลคิดไมถึงเรื่องความเฉื่อย
เนื่องจากเขาเองไมสามารถนึกถึงการเคลื่อนที่ใดๆที่ปราศจากการเสียดทาน เพราะเขาประสบ
แตการเคลื่อนที่ที่ตองมีการตานทานซึ่งเปนศูนยกลางของแนวความคิดของเขาเอง และ
แนวความคิดดังกลาวก็ไดหนวงความกาวหนาทางฟสิกสมาถึง 2000 ป)
- ความเฉื่อยสงผลตอโลกอยางไร (ไมจําเปนตองมีแรงใดๆ (ผลักหรือดึง) เพื่อทําใหโลก
เคลื่อนที่ไปไดเรื่อยๆ)
- และจากทฤษฎีโคเปอรนิคัสนั้นที่กลาววาโลกเราไมไดหยุดนิ่งแตเคลื่อนที่และโคจรไป
รอบดวงอาทิตย กาลิเลโอมีความคิดเห็นอยางไร (สนับสนุนแนวคิดของโคเปอรนิคัส)
- เพราะเหตุใดกาลิเลโอถึงสนับสนุนแนวคิดของโคเปอรนิคัส(เนื่องจากนําความรูเรื่อง
ความเฉื่อยไปอธิบาย โดยโลกไมไดเปนศูนยกลางของระบบสุริยะ และโลกไมไดหยุดนิ่ง แตโลก
รักษาสภาพการเคลื่อนที่ของตัวเองอยูซึ่งสอดคลองกับความเฉื่อยที่วัตถุพยายามรักษาสภาพ
การเคลื่อนที่ของตนเอง)
17. นักเรียนแตละกลุมรวมกันตรวจสอบสรุปผลการทดลองของตนเองหลังจากที่ไดรวมกัน
อภิปรายกลุมกอนนําสงครู
18. ครูตั้งคําถามเพื่อเขาสูการอภิปรายเพิ่มเติมดังนี้
- นักเรียนทราบแลววา คุณสมบัติของความเฉื่อยจะทําใหวัตถุพยายามรักษาสภาพการ
เคลื่อนที่หรือหยุดนิ่งของตัวเอง ดังตัวอยางการทดลองสาธิตการเคาะเหรียญ
- จากการเคลื่อนที่ของกระดาษที่ตกลงมานั้นชากวาลูกปงปอง นักเรียนเรียนคิดวา
เกิดจากสาเหตุใด (แรงตานอากาศ)
- เพราะฉะนั้นแลวหากไมมีแรงตานอากาศการตกของกระดาษและลูกปงปองจะเปน
อยางไร (ตกถึงพื้นพรอมกัน)
- ลักษณะที่เคลื่อนที่ของลูกแกวมีอัตราเร็วแตกตางกันนั้นเกิดจากอะไร(พื้นผิวสัมผัส
แตกตางกัน)
- ลักษณะพื้นผิวสัมผัสแบบใดที่สงผลทําใหลูกแกวเคลื่อนที่ชาลง(ผิวขรุขระ)
- สิ่งที่ทําใหวัตถุเคลื่อนที่ชาลงคืออะไร (แรงเสียดทาน)
- นักเรียนคิดวาลักษณะทิศทางของแรงตานอากาศเปนอยางไร(มีทิศขึ้นไปดานบน)
- นักเรียนคิดวาลักษณะการเคลื่อนที่ของลูกแกวในการทดลองนั้นมีทิศอยางไร(ทิศทาง
ไปตามที่ลูกแกวเคลื่อนที่)
17
โดย นายธัชวุฒิ กงประโคน ครู โรงเรียนอนุบาลชัยภูมิ
- แลวลักษณะทิศทางการเคลื่อนที่ของแรงเสียดทานเปนอยางไร(ตรงขามกันการ
เคลื่อนที่ของลูกแกว)
- แรงเสียดทานจะอยูบริเวณไหน(ระหวางพื้นผิวสัมผัสของพื้นกับวัตถุ)
- ถาหากครูผลักโตะไปขางหนา ทิศทางการเคลื่อนที่จะไปทางทิศทางใด(ทิศทางไป
ตามที่โตะเคลื่อนที่)
- และถาครูดึงโตะกลับมา ทิศทางการเคลื่อนที่จะไปทางทิศทางใด(ทิศทางไปตามที่
โตะเคลื่อนที่กลับมา)
- ลักษณะทิศทางการเคลื่อนที่ของแรงเสียดทานของการผลักการดึงของโตะจะเปน
อยางไร (ตรงขามกันการเคลื่อนที่ของโตะ)
19. จากนั้นครูสุมเลือกตัวแทนนักเรียนวาดรูปแสดงลักษณะทิศทางการเคลื่อนที่ และทิศทาง
ของแรงเสียดทานบนกระดานหนาชั้นเรียน ดังภาพ
ทิศทางของการผลัก
ทิศทางของการดึง
แลวรวมกันพิจารณาวาเปนอยางไร แลวตั้งคําถามตอไปวา
- ทิศทางของแรงผลักจะไปทิศทางใด(นักเรียนแสดงความคิดเห็น)
- ทิศทางการแรงดึงจะไปทิศทางใด(นักเรียนแสดงความคิดเห็น)
- ทิศทางของแรงเสียดทานของแรงผลักและแรงดึงเปนอยางไร(ตรงขามกับการ
เคลื่อนที่ของวัตถุ)
- ถาหากนักเรียนออกแรงผลักกันหลายๆคนจะเปนอยางไร(วัตถุเคลื่อนที่ไดเร็วมาก
ขึ้น)
- นักเรียนจะวาดลักษณะการออกแรงหลายๆแรงอยางไร(นักเรียนแสดงความคิดเห็น
และวาดรูป ดังนี้)
18
โดย นายธัชวุฒิ กงประโคน ครู โรงเรียนอนุบาลชัยภูมิ
20. ครูรวมอภิปรายกับนักเรียนวาผลรวมของแรงดังกลาวเรียกวา แรงลัพธ และหนวยที่ใชคือ
นิวตัน หากออกแรงหลายๆแรงไปในทิศทางเดียวกันจะสามารถรวมแรงเปนแรงเดียวกัน แตถาออกแรง
ตรงกันขามจะหักลางกัน และยกตัวอยางการกระทําตอวัตถุวา เกิดแรงลัพธไปในทิศทางใด โดยวาดรูป
บนกระดานดังนี้
และถามนักเรียนวารูปแตละรูปมีแรงลัพธเทาใดและไปในทิศทางใด และแรงเสียดทานไปใน
ทิศทางใดดวย
21. นักเรียนและครูรวมกันอภิปรายเพื่อหาขอสรุปเกี่ยวกับการทดลอง โดยครูตั้งคําถามดังนี้
- ทฤษฎีการเคลื่อนที่ของวัตถุของอริสโตเติลกลาวไววาอยางไร(วัตถุที่มีมวลกวายอม
ตกกอนวัตถุที่มีมวลเบากวาเสมอ)
- ความเชื่อนี้ถูกยึดถือมากวา 2,000 ป สอดคลองกับธรรมชาติของวิทยาศาสตร
อยางไร
(ประวัติศาสตรวัฒนธรรมและสังคมมีสวนกําหนดวิทยาศาสตร)
- กาลิเลโอกลาวถึงทฤษฎีการเคลื่อนที่ของวัตถุขัดแยงกับอริสโตเติลวาอยางไร(วัตถุที่
มวลตางๆกันถูกปลอยในเวลาเดียวกันตกกระทบพื้นพรอมๆกัน)
- เพราะเหตุใดกาลิเลโอถึงกลาวเชนนั้น(เพราะเขาเปนคนชางคิด ชางสงสัย และไดทํา
การทดลองพิสูจนอยางรอบคอบ พบวาสิ่งที่อริสโตเติลกลาวไวนั้นไมเปนความจริง)
- ลักษณะนิสัยสําคัญของกาลิเลโอ ที่ทําใหคนพบความรูไดนั้นมีอะไรบาง(นักเรียน
แสดงความคิดเห็น)
19
โดย นายธัชวุฒิ กงประโคน ครู โรงเรียนอนุบาลชัยภูมิ
- ทฤษฎีการเคลื่อนที่ของวัตถุของอริสโตเติลมีความผิดพลาดตรงสวนใด(อริสโตเติล
ไมไดทําการทดลองเพียงแตอาศัยการสังเกตและประสบการณของตนเองมาอธิบายรอยเรียง
เปนเหตุผลใหนาเชื่อถือ)
- กาลิเลโอพิสูจนเพื่อลบลางทฤษฎีการเคลื่อนที่ของวัตถุของอริสโตเติล(ทําการทดลอง
เพื่อพิสูจนโดยออกแบบการทดลองจนสามารถยืนยันคําตอบได)
- จากการทดลองของกาลิเลโอสามารถลบลางความเชื่อเดิมที่ถูกยึดถือมากวา 2,000
ป อยางไร (ปลอยวัตถุที่มีรูปรางเหมือนกันแตมีมวลตางกัน บนหอเอนปซา แลวพบวา วัตถุทั้ง
สองจะตกถึงพื้นดินพรอมกันตอหนาสาธารณชนที่มาชมการทดลอง)
- การที่แสดงการทดลองตอหนาสาธารณชนนั้น เปนเพราะเหตุใด(นักเรียนแสดงความ
คิดเห็น)
- การที่ความรูทางวิทยาศาสตรตั้งแตสมัยอริสโตเติลที่ถูกยึดถือมาเกือบ 2,000 ปนั้น
ถูกลบลางโดยการพิสูจนของกาลิเลโอนั้น เพราะเหตุใดถึงเปนเชนนั้น (ความรูทางวิทยาศาสตร
มีความไมแนนอนแตมีความคงทน )
- จากการที่กาลิเลโอทําการทดลองแลวพบวาวัตถุที่มวลตางๆกันถูกปลอยในเวลา
เดียวกันตกกระทบพื้นพรอมๆกันนั้น ไดพบขอมูลใหมวามีปจจัยบางอยางที่ทําใหการเคลื่อนที่
ของวัตถุนั้น เปลี่ยนแปลงไปเชน แรงเสียดทาน แรงตานอากาศ เปนตน สอดคลองกับธรรมชาติ
วิทยาศาสตรอยางไร (จากการทําการทดลองในแตละครั้งอาจจะไดขอมูลไมเหมือนเดิมในทุกๆ
ครั้ง)
22. จากนั้นครูประเมินตามสภาพจริง จากการสังเกตพฤติกรรมขณะเขารวมกิจกรรม ประเมิน
แผนภาพความคิด และประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค โดยใชเกณฑการใหคะแนนแบบการประเมิน
ตามสภาพจริง
กิจกรรม : ผลลัพธของแรงหลายแรงที่กระทําตอวัตถุ(ประดิษฐสะพานไมไอศกรีม) ( 4 ชั่วโมง)
1. ครูนําเชือกมาในชั้นเรียน โดยใหนักเรียนที่มีรูปรางตางกัน 4 คนออกมาหนาชั้นแลวจับปลาย
เชือกแตละขาง ขางละ 2 คน โดยคนตัวเล็กอยูอีกฝายหนึ่ง สวนอีกฝายเปนคนตัวใหญ แลวถามนักเรียน
วา
- ถาเลนชักเยอฝายใดจะเปนผูชนะ เพราะเหตุใด
- ถาแตละฝายมีคนตัวเล็กและคนตัวใหญคละกันอยูจะเกิดอะไรขึ้น
2. นักเรียนชวยกันอภิปรายและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเลนชักเยอ เพื่อเชื่อมโยงไปสู
การเรียนรูเรื่องแรงลัพธ
3. ครูนําภาพหรือวิดีทัศนเกี่ยวกับคน 2 คนออกแรงเคลื่อนยายวัตถุในลักษณะตาง ๆ เชน คน
2 คนออกแรงผลักรถในทิศทางเดียวกันและในทิศทางตรงขามกัน คน 2 คนชวยกันเคลื่อนยายโตะใน
ทิศทางเดียวกันและทิศทางตรงขามกัน มาใหนักเรียนดู
4. นักเรียนรวมกันอภิปรายและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการออกแรงเคลื่อนยายวัตถุใน
ลักษณะตาง ๆ
20
โดย นายธัชวุฒิ กงประโคน ครู โรงเรียนอนุบาลชัยภูมิ
5. ครูใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 4-5 คน จากนั้นใหนักเรียนทํากิจกรรมการทดลองนํากอนหิน
ใสถุง แลวนํามาเกี่ยวกับตะขอของเครื่องชั่งสปริง จากนั้นชั่งกอนหินอีกครั้ง โดยใชเครื่องชั่งสปริง
2 อัน ใหหูหิ้วของถุงพลาสติกเกี่ยวที่ตะขอเครื่องชั่งขางละหู อานผล และบันทึกผล
6. ครูใหตัวแทนของแตละกลุมนําเสนอคําตอบของกลุมตนเอง
7. ครูใหแตละกลุมสืบคนขอมูลเกี่ยวกับแรงลัพธ
8. ครูใหสมาชิกในแตละกลุมรวมอภิปรายผลการทดลอง เพื่อใหขอสรุปของกลุม
9. ตัวแทนของแตละกลุมออกมานําเสนอผลการทดลอง
10. นักเรียนแตละกลุมรวมกันอภิปรายผลการทดลองเพื่อใหไดขอสรุปวา แรงสองแรงที่กระทําตอ
วัตถุในแนวเดียวกัน มีคาของแรงเทากับผลรวมของแรงสองแรงนั้น
11. ครูใหนักเรียนรวมกันอภิปรายวา นักเรียนคิดวา จะนําความรูเกี่ยวกับแรงลัพธไปใช
ประโยชนในชีวิตประจําวันไดอยางไร
12. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปผลการอภิปรายเปนองคความรู
13. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปผลการอภิปรายเปนองคความรู
14. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมตอไปนี้ ใหนักเรียนแบงกลุมและทํากิจกรรมเรื่อง ประดิษฐ
สะพานไมไอศกรีม ทดสอบประสิทธิภาพของสะพานไมไอศกรีม ของแตละกลุมที่ไดสรางขึ้น นําเสนอผล
และสรุปผลการทํากิจกรรม จากนั้นสืบคนหลักการสรางสะพานไมไอศกรีม และประโยชนของการนํา
ของสะพาน ไปใช และสรุปการนําความรูเรื่องของสะพาน ไปใชประโยชนเปนแผนภาพความคิดแลวให
แตละกลุมนําเสนอแลกเปลี่ยนหนาชั้นเรียน
15. ใหนักเรียนแตละกลุมนําเสนอผลงานการประดิษฐสะพานไมไอศกรีม ที่สรางขึ้น โดย
นําเสนอแนวคิดในการสราง รูปแบบของสะพานไมไอศกรีม เหตุผลในการเลือกใชวัสดุ รวมทั้งผลการ
ทดสอบและการปรับปรุงแกไขสะพานไมไอศกรีม จนมีประสิทธิผลมากที่สุด
16. จากนั้นครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายความรูเกี่ยวกับหลักการทางวิทยาศาสตรที่
เกี่ยวของกับสะพานไมไอศกรีม
17. จากนั้นครูประเมินตามสภาพจริง จากการสังเกตพฤติกรรมขณะเขารวมกิจกรรม ประเมิน
แผนภาพความคิด และประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค โดยใชเกณฑการใหคะแนนแบบการประเมิน
ตามสภาพจริง
21
โดย นายธัชวุฒิ กงประโคน ครู โรงเรียนอนุบาลชัยภูมิ
กิจกรรม : หลักของอารคีเมดิส เวลา 2 ชั่วโมง
1. ครูนําลูกปงปอง จํานวนมากที่มีมวลแตกตางกัน มาปลอยในอางน้ํา ดังรูป
2. จากนั้นครูตั้งคําถามเพื่อใหนักเรียนรวมกันอภิปราย ดังนี้
- ลูกปงปองมีลักษณะอยางไร (ทรงกลม)
- นักเรียนคิดวาถานําลูกปงปองไปปลอยในอางน้ําจะเกิดอะไรขึ้น (นักเรียนแสดงความ
คิดเห็น)
3. จากนั้น ครูปลอยลูกปงปองลงไปในอางน้ํา จากนั้นใหนักเรียนรวมกันอภิปรายรวมกันวา
เพราะเหตุใดถึงเปนเชนนั้น
4. ครูใหนักเรียนศึกษาใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง หลักของอารคีเมดิส (หนังสือการตูนประวัติของ
อารคีเมดิสเกี่ยวกับหลักของอารคีเมดิส)ใหเขาใจเพื่อนําสูการอภิปราย โดยใชคําถามดังนี้
- อารคีเมดิสเปนคนที่มีลักษณะนิสัยอยางไร (นักเรียนแสดงความคิดเห็น)
- เพราะเหตุใดอารคีเมดิสถึงไดรับยกยองวาเปนนักวิทยาศาสตร คณิตศาสตรที่ยิ่งใหญ
ของโลก(นักเรียนแสดงความคิดเห็น)
- อารคีเมดิสคนพบอะไรบาง(นักเรียนแสดงความคิดเห็น)
- เพราะเหตุใดพระราชาจึงมีความสงสัยในตัวของชางทอง(เกิดความไมมั่นใจในความ
ซื่อสัตยของชางทองทํามงกุฎ)
- พระราชาแกปญหาสิ่งที่ตนเองสงสัยอยางไร(ใหอารคีเมดิสชวยแกไขปญหา)
- พระราชามอบหมายใหอารคีเมดิสไปหาคําตอบเรื่องอะไร(ทําอยางไรถึงจะรูไดวา
มงกุฎทองที่ชางทองทําใหเปนทองแทหรือทองที่ถูกผสม)
- อารคีเมดิสคนหาคําตอบอยางไร(ขบคิดปญหา และพบคําตอบเมื่อไปอาบน้ํา โดย
พบวาเมื่อน้ําเต็มปริ่มขอบอางแตเมื่อเอาตัวลงมาพบวาน้ําไหลซูออกมานอกอาง)
- อารคีเมดิสนําสิ่งที่ตนเองคนพบไปทําอยางไร(ทําการทดลองโดยเอามงกุฎมาผูกเชือก
เสนเล็กๆ แลวเอาน้ําใสอางใหเต็มพอดีกับขอบ เอามงกุฎหยอนลงไปในอางน้ํา รองน้ําที่ลน
ออกมาตวงหาปริมาตร แลวก็นําเอาเงิน และทองคําแท แตละกอนที่มีน้ําหนักเทากับมงกุฎอัน
นั้น มาทดลองหาปริมาตรบาง ก็พบวา ทองคําแทมีปริมาตรนอยกวามงกุฎ และเงินมีปริมาตร
มากกวามงกุฎ)
หน่วยการเรียนรู้ Active learning force and pressure
หน่วยการเรียนรู้ Active learning force and pressure
หน่วยการเรียนรู้ Active learning force and pressure
หน่วยการเรียนรู้ Active learning force and pressure
หน่วยการเรียนรู้ Active learning force and pressure
หน่วยการเรียนรู้ Active learning force and pressure
หน่วยการเรียนรู้ Active learning force and pressure
หน่วยการเรียนรู้ Active learning force and pressure
หน่วยการเรียนรู้ Active learning force and pressure
หน่วยการเรียนรู้ Active learning force and pressure
หน่วยการเรียนรู้ Active learning force and pressure
หน่วยการเรียนรู้ Active learning force and pressure
หน่วยการเรียนรู้ Active learning force and pressure
หน่วยการเรียนรู้ Active learning force and pressure
หน่วยการเรียนรู้ Active learning force and pressure
หน่วยการเรียนรู้ Active learning force and pressure
หน่วยการเรียนรู้ Active learning force and pressure
หน่วยการเรียนรู้ Active learning force and pressure
หน่วยการเรียนรู้ Active learning force and pressure
หน่วยการเรียนรู้ Active learning force and pressure
หน่วยการเรียนรู้ Active learning force and pressure
หน่วยการเรียนรู้ Active learning force and pressure
หน่วยการเรียนรู้ Active learning force and pressure
หน่วยการเรียนรู้ Active learning force and pressure
หน่วยการเรียนรู้ Active learning force and pressure
หน่วยการเรียนรู้ Active learning force and pressure
หน่วยการเรียนรู้ Active learning force and pressure
หน่วยการเรียนรู้ Active learning force and pressure
หน่วยการเรียนรู้ Active learning force and pressure
หน่วยการเรียนรู้ Active learning force and pressure
หน่วยการเรียนรู้ Active learning force and pressure
หน่วยการเรียนรู้ Active learning force and pressure
หน่วยการเรียนรู้ Active learning force and pressure
หน่วยการเรียนรู้ Active learning force and pressure
หน่วยการเรียนรู้ Active learning force and pressure
หน่วยการเรียนรู้ Active learning force and pressure
หน่วยการเรียนรู้ Active learning force and pressure
หน่วยการเรียนรู้ Active learning force and pressure
หน่วยการเรียนรู้ Active learning force and pressure
หน่วยการเรียนรู้ Active learning force and pressure
หน่วยการเรียนรู้ Active learning force and pressure
หน่วยการเรียนรู้ Active learning force and pressure
หน่วยการเรียนรู้ Active learning force and pressure
หน่วยการเรียนรู้ Active learning force and pressure
หน่วยการเรียนรู้ Active learning force and pressure
หน่วยการเรียนรู้ Active learning force and pressure

More Related Content

What's hot

กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์Attapon Phonkamchon
 
มลพิษทางเสียง
มลพิษทางเสียงมลพิษทางเสียง
มลพิษทางเสียงGreen Greenz
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสWuttipong Tubkrathok
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้าdnavaroj
 
ภัยพิบัติ
ภัยพิบัติภัยพิบัติ
ภัยพิบัติnaleesaetor
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
แรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันแรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันwebsite22556
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารพัน พัน
 
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงานใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงานsarawut saoklieo
 
ขั้นตอนการจัดทำโครงงาน
ขั้นตอนการจัดทำโครงงานขั้นตอนการจัดทำโครงงาน
ขั้นตอนการจัดทำโครงงานLaemiie Eiseis
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสันแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสันKatewaree Yosyingyong
 
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่npapak74
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะPinutchaya Nakchumroon
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
ใบกิจกรรมที่ 7 การรักษาดุลยภาพของกรดเบส
ใบกิจกรรมที่ 7 การรักษาดุลยภาพของกรดเบสใบกิจกรรมที่ 7 การรักษาดุลยภาพของกรดเบส
ใบกิจกรรมที่ 7 การรักษาดุลยภาพของกรดเบสAomiko Wipaporn
 
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 

What's hot (20)

กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
 
มลพิษทางเสียง
มลพิษทางเสียงมลพิษทางเสียง
มลพิษทางเสียง
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบส
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
 
ภัยพิบัติ
ภัยพิบัติภัยพิบัติ
ภัยพิบัติ
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
แรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันแรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวัน
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
 
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงานใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
 
บทที่ 3 พลังงานทดแทน
บทที่  3 พลังงานทดแทนบทที่  3 พลังงานทดแทน
บทที่ 3 พลังงานทดแทน
 
ขั้นตอนการจัดทำโครงงาน
ขั้นตอนการจัดทำโครงงานขั้นตอนการจัดทำโครงงาน
ขั้นตอนการจัดทำโครงงาน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสันแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
 
Momentum
MomentumMomentum
Momentum
 
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
ใบกิจกรรมที่ 7 การรักษาดุลยภาพของกรดเบส
ใบกิจกรรมที่ 7 การรักษาดุลยภาพของกรดเบสใบกิจกรรมที่ 7 การรักษาดุลยภาพของกรดเบส
ใบกิจกรรมที่ 7 การรักษาดุลยภาพของกรดเบส
 
เทคนิคการจำระบบประสาทและสมอง
เทคนิคการจำระบบประสาทและสมองเทคนิคการจำระบบประสาทและสมอง
เทคนิคการจำระบบประสาทและสมอง
 
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 

Similar to หน่วยการเรียนรู้ Active learning force and pressure

ส่วนหน้าชุดกิจกรรม
ส่วนหน้าชุดกิจกรรมส่วนหน้าชุดกิจกรรม
ส่วนหน้าชุดกิจกรรมkrupornpana55
 
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4supphawan
 
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียkrupornpana55
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)Miss.Yupawan Triratwitcha
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
แผน 2 โลหะ
แผน 2 โลหะแผน 2 โลหะ
แผน 2 โลหะkrupornpana55
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56dnavaroj
 
V2กำหนดการอบรมโครงการโอลิมปิกวิชาการ สอวน 2565.pdf
V2กำหนดการอบรมโครงการโอลิมปิกวิชาการ สอวน 2565.pdfV2กำหนดการอบรมโครงการโอลิมปิกวิชาการ สอวน 2565.pdf
V2กำหนดการอบรมโครงการโอลิมปิกวิชาการ สอวน 2565.pdfssusera0bd60
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอนชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอนssuser66968f
 
รวมเล่มโครงการสอน
รวมเล่มโครงการสอนรวมเล่มโครงการสอน
รวมเล่มโครงการสอนWichai Likitponrak
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหาWichai Likitponrak
 
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#3
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#3รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#3
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#3burin rujjanapan
 
สื่อประสมปก
สื่อประสมปกสื่อประสมปก
สื่อประสมปกkrupornpana55
 
แผน 3 อุณหภูมิ
แผน 3 อุณหภูมิแผน 3 อุณหภูมิ
แผน 3 อุณหภูมิkrupornpana55
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์Kobwit Piriyawat
 
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้าแผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้าJiraporn
 
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้าแผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้าJiraporn
 
แผนปฐมนิเทศ 1
แผนปฐมนิเทศ  1แผนปฐมนิเทศ  1
แผนปฐมนิเทศ 1watdang
 

Similar to หน่วยการเรียนรู้ Active learning force and pressure (20)

ส่วนหน้าชุดกิจกรรม
ส่วนหน้าชุดกิจกรรมส่วนหน้าชุดกิจกรรม
ส่วนหน้าชุดกิจกรรม
 
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
 
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
 
แผน 2 โลหะ
แผน 2 โลหะแผน 2 โลหะ
แผน 2 โลหะ
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
 
V2กำหนดการอบรมโครงการโอลิมปิกวิชาการ สอวน 2565.pdf
V2กำหนดการอบรมโครงการโอลิมปิกวิชาการ สอวน 2565.pdfV2กำหนดการอบรมโครงการโอลิมปิกวิชาการ สอวน 2565.pdf
V2กำหนดการอบรมโครงการโอลิมปิกวิชาการ สอวน 2565.pdf
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอนชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน
 
รวมเล่มโครงการสอน
รวมเล่มโครงการสอนรวมเล่มโครงการสอน
รวมเล่มโครงการสอน
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
 
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#3
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#3รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#3
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#3
 
สื่อประสมปก
สื่อประสมปกสื่อประสมปก
สื่อประสมปก
 
แผน 3 อุณหภูมิ
แผน 3 อุณหภูมิแผน 3 อุณหภูมิ
แผน 3 อุณหภูมิ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
 
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม
 
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้าแผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
 
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้าแผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
 
แผนปฐมนิเทศ 1
แผนปฐมนิเทศ  1แผนปฐมนิเทศ  1
แผนปฐมนิเทศ 1
 

หน่วยการเรียนรู้ Active learning force and pressure

  • 1. 1 โดย นายธัชวุฒิ กงประโคน ครู โรงเรียนอนุบาลชัยภูมิ หนวยการเรียนรู เรื่อง แรงและความดัน รายวิชาวิทยาศาสตร รหัสวิชา ว 15101 กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนอนุบาลชัยภูมิ สังกัด สพป.ชัยภูมิ เขต 1 ภาคเรียนที่ 2/2559 เวลา 23 ชั่วโมง โดย นายธัชวุฒิ กงประโคน ตําแหนงครู คศ.1 1. ชื่อหนวยการเรียนรู เรื่อง แรงและความดัน 2. มาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู มาตรฐาน ว 4.1 เขาใจธรรมชาติของแรงแมเหล็กไฟฟา แรงโนมถวง และแรงนิวเคลียร มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู สื่อสารสิ่งที่เรียนรู และนําความรูไปใช ประโยชนอยางถูกตองและมีคุณธรรม ตัวชี้วัด ว 4.1 ป.5/1 ทดลองและอธิบายการหาแรงลัพธของแรงสองแรงซึ่งอยูในแนวเดียวกัน ที่กระทําตอวัตถุ ว 4.1 ป.5/2 ทดลองและอธิบายความดันอากาศ ว 4.1 ป.5/3 ทดลองและอธิบายความดันของของเหลว ว 4.1 ป.5/4 ทดลองและอธิบายแรงพยุงของของเหลว การลอยตัวและการจมของวัตถุ - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - มาตรฐานการเรียนรู มาตรฐาน ว 4.2 เขาใจลักษณะการเคลื่อนที่แบบตาง ๆ ของวัตถุในธรรมชาติ มีกระบวนการสืบ เสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใช ประโยชน ตัวชี้วัด ว 4.2 ป.5/1 ทดลองและอธิบายแรงเสียดทานและนําความรูไปใชประโยชน - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - มาตรฐานการเรียนรู มาตรฐาน ว 8.1 ใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรและจิตวิทยาศาสตรในการสืบเสาะหาความรู การแกปญหา รูวาปรากฏการณทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นสวนใหญมีรูปแบบที่ แนนอน สามารถอธิบายและตรวจสอบไดภายใตขอมูลและเครื่องมือที่มีอยูใน ชวงเวลานั้น ๆ เขาใจวาวิทยาศาสตร เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดลอม มีความเกี่ยวของสัมพันธกัน ตัวชี้วัด ว 8.1 ป.5/1 ตั้งคําถามเกี่ยวกับประเด็น หรือเรื่อง หรือสถานการณที่จะศึกษา ตามที่
  • 2. 2 โดย นายธัชวุฒิ กงประโคน ครู โรงเรียนอนุบาลชัยภูมิ กําหนดใหและตามความสนใจ ว 8.1 ป.5/2 วางแผนการสังเกต เสนอการสํารวจตรวจสอบ หรือศึกษาคนควา และคาดการณสิ่งที่จะพบจากการสํารวจตรวจสอบ ว 8.1 ป.5/3 เลือกอุปกรณที่ถูกตองเหมาะสมในการสํารวจตรวจสอบใหไดขอมูล ที่เชื่อถือได ว 8.1 ป.5/4 บันทึกขอมูลในเชิงปริมาณและคุณภาพ และตรวจสอบผลกับสิ่งที่คาดการณไว นําเสนอผลและขอสรุป ว 8.1 ป.5/5 สรางคําถามใหมเพื่อการสํารวจตรวจสอบตอไป ว 8.1 ป.5/6 แสดงความคิดเห็นอยางอิสระ อธิบาย และสรุปสิ่งที่ไดเรียนรู ว 8.1 ป.5/7 บันทึกและอธิบายผลการสํารวจตรวจสอบตามความเปนจริง มีการอางอิง ว 8.1 ป.5/8 นําเสนอ จัดแสดงผลงาน โดยอธิบายดวยวาจา หรือเขียนอธิบายแสดง กระบวนการและผลของงานใหผูอื่นเขาใจ 3. สาระสําคัญ/ความคิดรวบยอด แรง หมายถึง สิ่งที่ทําใหวัตถุเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ หรือการเปลี่ยนแปลงรูปทรงจากเดิม ทําใหวัตถุเคลื่อนที่ หรือเคลื่อนที่เร็วขึ้น หรือเคลื่อนที่ชาลง หรือหยุดการเคลื่อนที่ หรือเปลี่ยนทิศทาง การเคลื่อนที่ แรงที่กระทําตอวัตถุและแรงลัพธ - ออกแรงกระทําตอวัตถุ 1 แรง วัตถุจะเคลื่อนที่ไปในทิศเดียวกับแรงกระทํา - ออกแรงกระทําตอวัตถุ 2 แรง ในทิศเดียวกัน แรงลัพธ คือ ผลรวมของแรง วัตถุจะเคลื่อนที่ไปในทิศเดียวกับแรงกระทํา - ออกแรงกระทําตอวัตถุ 2 แรง ในทิศตรงกันขาม แรงลัพธ คือ ผลหักลางของแรง วัตถุจะเคลื่อนที่ไปในทิศเดียวกับแรงกระทําที่มีขนาดมากกวา หรือไมเคลื่อนที่เมื่อแรงที่กระทํา ทั้งสองมีขนาดเทากัน แรง 1 นิวตัน แรง 1 นิวตัน แรง 1 นิวตัน แรง 1 นิวตัน แรง 1 นิวตัน
  • 3. 3 โดย นายธัชวุฒิ กงประโคน ครู โรงเรียนอนุบาลชัยภูมิ แรงเสียดทาน คือ แรงตานการเคลื่อนที่ของวัตถุ มีทิศทางตรงขามกับการเคลื่อนที่ของวัตถุ แรงเสียดทานทําใหวัตถุที่กําลังเคลื่อนที่เคลื่อนที่ชาลง หรือหยุดการเคลื่อนที่ ปจจัยที่มีผลตอแรงเสียดทาน ไดแก น้ําหนักหรือแรงกดของวัตถุที่กระทําลงบนพื้น โดยน้ําหนักมากจะมีแรงเสียดทานมาก และลักษณะพื้นผิวสัมผัส โดยพื้นผิวสัมผัสเรียบ จะมีแรงเสียดทานนอยกวาพื้นผิวสัมผัสที่ขรุขระ แรงดันอากาศ หมายถึง แรงที่อากาศกดลงบนผิวของวัตถุทุกทิศทาง ความดันอากาศ หมายถึง คาของแรงดันอากาศตอหนึ่งหนวยพื้นที่ที่รองรับแรงดัน มีหนวยเปนนิวตันตอตารางเมตร ปจจัยที่มีผลตอความดัน ไดแก ขนาดของแรงที่กระทํา (น้ําหนักของวัตถุ) และพื้นที่ที่ถูกแรง กระทํา (พื้นที่ที่ถูกกดทับดวยวัตถุ) ความดันของของเหลว หมายถึง แรงที่ของเหลวกระทําตั้งฉากตอหนึ่งหนวยพื้นที่ โดยของเหลวจะมีแรงกระทําตอวัตถุทุกทิศทาง ปจจัยที่มีผลตอความดันของของเหลว ไดแก ความลึกของของเหลว และความหนาแนนของ ของเหลว การนําความรูเรื่องความดันของของเหลวไปใชประโยชน เชน การขุดสระ การสรางเขื่อน โดยนําความรูไปใชในการออกแบบกนสระเพื่อรับแรงดันของน้ํา แรงลอยตัว หมายถึง แรงที่ชวยพยุงใหวัตถุไมจมลงในของเหลว โดยแรงลอยตัวจะกระทํากับ วัตถุในทิศตรงขามกับแรงเนื่องจากน้ําหนักของวัตถุ ปจจัยที่มีผลตอการลอยและการจม - ความหนาแนนของวัตถุ  วัตถุมีความหนาแนนนอยกวาของเหลว วัตถุจะลอยในของเหลว  วัตถุมีความหนาแนนเทากับของเหลว วัตถุจะลอยปริ่มของเหลว  วัตถุมีความหนาแนนมากกวาของเหลว วัตถุจะจมในของเหลว - ความหนาแนนของของเหลว  ของเหลวที่มีความหนาแนนมาก จะมีแรงลอยตัวมาก  ของเหลวที่มีความหนาแนนนอย จะมีแรงลอยตัวนอย 4. สาระการเรียนรู 4.1 สาระการเรียนรูแกนกลาง 4.1.1 แรงลัพธของแรงสองแรงที่กระทาตอวัตถุโดยแรงทั้งสองอยูในแนวเดียวกัน เทากับผลรวมของแรงทั้งสองนั้น 4.1.2 อากาศมีแรงกระทาตอวัตถุ แรงที่อากาศกระทาตั้งฉากตอหนึ่งหนวยพื้นที่ เรียกวา ความดันอากาศ 4.1.3 ของเหลวมีแรงกระทาตอวัตถุทุกทิศทางแรงที่ของเหลวกระทาตั้งฉากตอหนึ่งหนวย พื้นที่ เรียกวา ความดันของของเหลวซึ่งมีความสัมพันธกับความลึก
  • 4. 4 โดย นายธัชวุฒิ กงประโคน ครู โรงเรียนอนุบาลชัยภูมิ 4.1.4 ของเหลวมีแรงพยุงกระทาตอวัตถุที่ลอยหรือจมในของเหลว การจมหรือการ ลอยตัวของวัตถุขึ้นอยูกับนาหนักของวัตถุ และแรงพยุงของของเหลวนั้น 4.1.5 แรงเสียดทานเปนแรงตานการเคลื่อนที่ของวัตถุ แรงเสียดทาน มีประโยชน เชน ในการเดินตองอาศัยแรงเสียดทาน 5. สมรรถนะสําคัญของผูเรียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร - การอธิบาย การเขียน การพูดหนาชั้นเรียน 2. ความสามารถในการคิด 2.1 ทักษะทั่วไป - การสังเกต การสํารวจ การคิดวิเคราะห การเปรียบเทียบ การจําแนกประเภท การจัดระบบความคิดเปนแผนภาพ การสรางคําอธิบาย การอภิปราย การสื่อความหมาย 2.2 ทักษะเฉพาะ - การออกแบบและประดิษฐ การทํากิจกรรมทดลองโดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร การสืบคนโดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร 3. ความสามารถในการแกปญหา - การแกปญหาขณะปฏิบัติกิจกรรมการทดลอง - การแกปญหาขณะปฏิบัติการออกแบบและประดิษฐสิ่งประดิษฐ 4. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต - กระบวนการกลุม - การแสวงหาความรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับการออกแบบและประดิษฐสิ่งของที่อาศัยหลักของ แรงดันของอากาศได - การแสวงหาความรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับประโยชนของพลังงานลมมาใชประโยชนใน ชีวิตประจําวัน 5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี - การเลือกและใชเทคโนโลยี ในดานการเรียนรู การสื่อสาร การทํางาน การแกปญหา อยางสรางสรรค 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค ใฝเรียนรู ตัวชี้วัดที่ 4.1 ตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียนและเขารวมกิจกรรมการเรียนรู ตัวชี้วัดที่ 4.2 แสวงหาความรูจากแหลงเรียนรูตางๆ ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน ดวยการเลือกใชสื่ออยางเหมาะสม บันทึกความรู วิเคราะห สรุปเปนองค ความรู แลกเปลี่ยนเรียนรู และนําไปใชในชีวิตประจําวันได มุงมั่นในการทํางาน ตัวชี้วัดที่ 6.1 ตั้งใจและรับผิดชอบในการปฏิบัติหนาที่การงาน ตัวชี้วัดที่ 6.2 ทํางานดวยความเพียรพยายาม และอดทนเพื่อใหงานสําเร็จตามเปาหมาย
  • 5. 5 โดย นายธัชวุฒิ กงประโคน ครู โรงเรียนอนุบาลชัยภูมิ 7. ชิ้นงาน/ภาระงาน 7.1 ประดิษฐสะพานไมไอศกรีม 7.2 ประดิษฐจรวดขวดน้ํา 7.3 ประดิษฐเรือดําน้ํา 7.4 ประดิษฐเรือเรือไฟฟา 7.5 ใบบันทึกการทํากิจกรรม 7.6 PowerPoint นําเสนอผลงานการประดิษฐชิ้นงานตางๆของนักเรียนแตละกลุม 7.7 แผนพับ/ใบสรุปความรูการนําเสนอผลงานการประดิษฐชิ้นงานตางๆของนักเรียนแตละ กลุม 8. สื่อการเรียนรู/แหลงเรียนรู 8.1 หนังสือการตูนประวัติวิทยาศาสตร (ที่สรางขึ้นเอง) ดังนี้ 8.1.1 หนังสือการตูน อริสโตเติล 8.1.2 หนังสือการตูน กาลิเลโอ 8.1.3 หนังสือการตูน นิโคลัส โคเปอรนิคัส 8.1.4 หนังสือการตูน เทอรริเชลลี 8.1.5 หนังสือการตูน อารคีมิดิส 8.1.6 หนังสือการตูน เกอรริค 8.1.7 หนังสือการตูน โรเบิรต บอลย 8.1.8 หนังสือการตูน หลุยส ปาสคาล 8.2 วิดิทัศนเรื่อง ความดันอากาศ 8.3 วิดิทัศนเรื่อง ความดันของของเหลว 8.4 อุปกรณจัดกิจกรรม 8.4.1 กิจกรรม : การเคลื่อนที่ของอริสโตเติล เวลา 2 ชั่วโมง - ลูกแกว 2 ขนาด - กอนหินขนาดเล็ก - กอนหินขนาดใหญ - นาฬิกาจับเวลา - ตลับเมตร - ตาชั่ง - ขนนก - ลูกเหล็ก - กระดาษเอสี่ 2 แผน - ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง ทฤษฎีการเคลื่อนที่ของอริสโตเติล - ใบกิจกรรมที่ 2 การทดลองปลอยกอนหินขนาดเล็กและกอนหินขนาดใหญ - ใบกิจกรรมที่ 3 การทดลองปลอยขนนกกับลูกเหล็ก - ใบกิจกรรมที่ 4 การทดลองปลอยกระดาษเอสี่ สองรูปแบบ
  • 6. 6 โดย นายธัชวุฒิ กงประโคน ครู โรงเรียนอนุบาลชัยภูมิ 8.4.2 กิจกรรม : การเคลื่อนที่ของกาลิเลโอ เวลา 2 ชั่วโมง - ดินน้ํามันกอนใหญ 1 กิโลกรัม 2 กอน - เครื่องชั่ง - นาฬิกาจับเวลา - ตลับเมตร - รางไม 2 อันที่รองดวยกระดาษทราย - รางไม 2 อันที่เรียบลื่น - ลูกแกว 1 ลูก - ใบกิจกรรมที่ 2 การทดลองปลอยวัตถุที่มีมวลตางกันเปนสองเทา - ใบกิจกรรมที่ 3 กิจกรรมการทดลองการเคลื่อนที่ของวัตถุบนพื้นเอียง 8.4.3 กิจกรรม : ผลลัพธของแรงหลายแรงที่กระทําตอวัตถุ(ประดิษฐสะพานไม ไอศกรีม) ( 4 ชั่วโมง) - กอนหิน - ตาชั่งสปริง - เชือก - ถึงหูหิ้ว - ไมไอศกรีม - เสนเอ็น - กาวรอนญี่ปุน - กาวแทง - ปนกาว 8.4.4 กิจกรรม : หลักของอารคีเมดิส เวลา 2 ชั่วโมง - อางน้ําทรงสี่เหลี่ยม แบบใส - ลูกปงปอง ลูกเทินนิส ลูกบอลยางขนาดเล็ก - กอนไมทรงลูกบาศก - กอนหิน - ดินน้ํามัน - เครื่องชั่งสปริง - ตาชั่ง - ถวยยูเรกา - บีกเกอร ขนาด 1,000 ml. - บีกเกอร ขนาด 250 ml. - บีกเกอร ขนาด 50 ml. - กระบอกตวง - น้ําเปลา
  • 7. 7 โดย นายธัชวุฒิ กงประโคน ครู โรงเรียนอนุบาลชัยภูมิ - เชือก - ใบกิจกรรมที่ 1 ประวัติหลักของอารคีเมดิส - ใบกิจกรรมที่ 2 กิจกรรมการทดลองหาปริมาตรของวัตถุ - ใบกิจกรรมที่ 3 กิจกรรมการทดลองหาแรงลอยตัว - ใบกิจกรรมที่ 4 หาแรงลอยตัว 8.4.5 กิจกรรม : ความดันในของเหลว เวลา 2 ชั่วโมง - ขวดน้ํา - ที่เจาะรู - ลูกโปง - เทปกาว - ไมปลายแหลม - ขวดพลาสติก - สีผสมอาหาร - ภาชนะรองน้ํา - ใบกิจกรรมที่ 1 ประวัติความดันของของเหลว - ใบกิจกรรมที่ 2 กิจกรรมการทดลองความดันในของเหลว 8.4.6 กิจกรรม : การลอยและการจมของวัตถุ เวลา 2 ชั่วโมง - ขวดน้ําดื่มพลาสติกสี่เหลี่ยมขนาดความจุ 500 ลูกบาศกเซนติเมตร - ใบมีด - กระดาษกันน้ํา - อางใสน้ํา - กอนหิน - ขวดน้ําดื่มพลาสติกขนาดความจุ 2,000 ลูกบาศกเซนติเมตร - หลอดดูดชนิดงอได - เทปกาวยน - ดินน้ํามัน - กระดาษฟอยล 8.4.7 กิจกรรม : ประดิษฐเรือเรือไฟฟาขนสงสินคาเวลา 2 ชั่วโมง - ไมอัด - โฟมหนา 1-2 นิ้ว - แผนฟวเจอรบอรด - ไมบรรทัด - กรรไกร - คัตเตอร
  • 8. 8 โดย นายธัชวุฒิ กงประโคน ครู โรงเรียนอนุบาลชัยภูมิ - มอเตอรไฟฟากระแสตรง - ใบพัด - ไมไอศกรีม - ถานไฟฉาย AA - รางใสถานไฟฉาย - หัวหนีบปากจระเขแดง-ดํา 2 เสน - แลคซีน/เทปใส - แทงกาวรอน - ปนกาว 8.4.8 กิจกรรม : ความดันในอากาศ เวลา 2 ชั่วโมง - ไมดันทอ - วิดิทัศนการทดลองและคนพบสุญญากาศ - วิดิทัศนการทดลองความดันอากาศ - ใบกิจกรรมที่ 1 ประวัติความดันอากาศ - ใบกิจกรรมที่ 2 สุญญากาศมหัศจรรย - ใบกิจกรรมที่ 3 วัดความดันอากาศ 8.4.9 กิจกรรม : ประดิษฐจรวดขวดน้ํา เวลา 3 ชั่วโมง - ขวดน้ําอัดลมแบบพลาสติก 2 ขวด - กรรไกร หรือ คัตเตอร - กระดาษแข็งสีตาง ๆ - แลคซีน/เทปใส - แผนฟวเจอรบอรด - ดินน้ํามัน - แทนปลอยจรวดขวดน้ํา - เครื่องสูบยางรถ/เครื่องสูบลมอัตโนมัติ 8.4.10 กิจกรรม : เผยแพรความรูผลงานสิ่งประดิษฐ ใหกับนักเรียนในโรงเรียน ( 2 ชั่วโมง) - แผนฟวเจอรบอรด - กรรไกร หรือ คัตเตอร - แลคซีน/เทปใส - กระดาษสีตางๆ - คอมพิวเตอร
  • 9. 9 โดย นายธัชวุฒิ กงประโคน ครู โรงเรียนอนุบาลชัยภูมิ 9. กิจกรรมการเรียนรู กิจกรรม : การเคลื่อนที่ของอริสโตเติล เวลา 2 ชั่วโมง 1. ครูนําลูกแกว 2 ลูกที่มีขนาดแตกตางกัน ดังรูป 2. ครูแสดงลักษณะของลูกแกวทั้งสองมาใหนักเรียนรวมกันพิจารณาจากนั้นครูตั้งคําถามดังนี้ - ลูกแกว สองลูกมีลักษณะอยางไร (ทรงกลม) - ลูกแกวทั้งสองลูกนี้มีมวลเปนอยางไร(ไมเทากัน) - นักเรียนคิดวาเมื่อปลอยลูกแกวทั้งสองที่ตําแหนงเดียวกันพรอมกันจะเปนอยางไร (นักเรียนแสดงความคิดเห็น) 3. จากนั้น ครูปลอยลงมาในตําแหนงเดียวกันลงมาที่พื้น จากนั้นใหนักเรียนรวมกันอภิปราย รวมกันวาเพราะเหตุใดถึงเปนเชนนั้น 4. ครูใหนักเรียนศึกษาทฤษฎีการเคลื่อนที่ของอริสโตเติล(หนังสือการตูนประวัติของอริสโตเติล เกี่ยวกับการเคลื่อนที่)ใหเขาใจเพื่อนําสูการอภิปราย โดยใชคําถามดังนี้ - อริสโตเติลแบงการเคลื่อนที่ออกเปนกี่แบบ อะไรบาง( 2 แบบ คือ การเคลื่อนที่โดย ธรรมชาติและการเคลื่อนที่โดยการบังคับ) - การเคลื่อนที่โดยธรรมชาติ อริสโตเติลกลาวไววาอยางไร(การเคลื่อนที่โดยธรรมชาติ จะเปนไปดวยธรรมชาติของวัตถุเอง วัตถุทุกอยางในจักรวาลจะตองมีที่อยูเหมาะสม เมื่อพิจารณาใน มุมมองนี้ ถาวัตถุที่ไมไดอยูในที่ ที่เหมาะสมจะพยายามกลับไปในจุดนั้นเอง ถาธรรมชาติของวัตถุอยูที่ พื้นดิน กอนดินที่อยูในอากาศจะตองตกสูพื้นดินดวยตัวของมันเอง ถาธรรมชาติของวัตถุอยูในอากาศ ควันที่พวยพุงจะลอยขึ้นสูอากาศ ถาธรรมชาติของวัตถุผสมผสานพื้นดินและอากาศ เชน ขนนก จะ คอยๆ ตกสูพื้นดิน แตจะไมรวดเร็วเทากอนดิน) - อริสโตเติลอธิบายสรุปลักษณะการเคลื่อนที่ของวัตถุที่เคลื่อนที่โดยธรรมชาติอยางไร (อธิบายถึงการเคลื่อนที่ของวัตถุในแนวดิ่ง) - การเคลื่อนที่ของวัตถุที่อริสโตเติลอธิบายนั้นเปนอยางไร(วัตถุจะตกสูพื้นไดเร็วกวา เปนสัดสวนตรงกับน้ําหนักที่มากกวา) - การอธิบายของอริสโตเติลไดทําการทดลองหรือไม อยางไร(ไมไดทําการทดลอง อาศัยประสบการณการพบเห็นและรอยเรียงใหเปนเหตุเปนผลกัน) - อริสโตเติลมีลักษณะของนักวิทยาศาสตรหรือไมอยางไร(นักเรียนแสดงความคิดเห็น) - ทฤษฎีที่อริสโตเติลคนพบนั้นมีความนาเชื่อถือหรือไม นักเรียนจะมีวิธีการตรวจสอบ อยางไร(นักเรียนแสดงความคิดเห็น เพื่อนําไปสูการทําการทดลองเพื่อพิสูจน) 5. ครูแบงกลุมนักเรียนเพื่อทําการทดลองกลุมละ 4-5คน และรับใบงานที่1-3 และอุปกรณการ
  • 10. 10 โดย นายธัชวุฒิ กงประโคน ครู โรงเรียนอนุบาลชัยภูมิ ทดลอง เรื่องการทดลองเพื่อพิสูจนทฤษฎีการเคลื่อนที่ของอริสโตเติล โดยครูชี้แจงการทําการทดลอง ดังนี้ - ใหนักเรียนปฏิบัติการทดลองตามวิธีการของอริสโตเติล สังเกตและบันทึกผล - หลังจากนั้นใหนักเรียนรวมกันอภิปรายและลงขอสรุปเกี่ยวกับทฤษฎีของอริสโตเติล 6. ครูสุมเลือกตัวแทนกลุม เพื่ออกมานําเสนอผลที่ไดจากการทดลองทั้ง 3 การทดลอง 7. จากนั้นนักเรียนและครูรวมกันอภิปราย โดยครูตั้งคําถามดังตอไปนี้ - จากการทดลองตามแนวคิดของอริสโตเติลนักเรียนคนพบอะไรบาง การทดลองที่ 1 อางอิงจากคํากลาวของอริสโตเติลที่วา “วัตถุที่หนักกวาอีกกอนสอง เทาจะตกถึงพื้นไดเร็วกวาเปนสองเทา” โดยนํากอนหินที่มีมวลแตกตางกัน มาปลอยจากที่สูง และสังเกตการตกโดยจับเวลา นักเรียนสังเกตพบขอมูลอะไรบาง(นักเรียนแสดงความคิดเห็น) - ในการทดลองที่ 2 คือปลอยขนนกและลูกเหล็กจากที่สูงไดผลเปนอยางไร (ลูกเหล็ก ตกลงมาที่พื้นกอนขนนก) - นักเรียนคิดวาอะไรเปนสาเหตุสําคัญที่ทําใหขนนกตกลงมาชากวาลูกเหล็กนั้น(มวล ของขนนกเบากวาลูกเหล็กจึงตกลงมาชากวา รูปรางแตกตางกัน เปนตน) - การทดลองที่ 3 เมื่อนักเรียนนํากระดาษ เอสี่ มาทดลองโดย นํามาตัดครึ่งแลวขยํา เปนกอนกลมๆ จากนั้นนํามาถือไวในระดับเดียวกับกระดาษเอสี่เต็มแผน พอปลอยลงมาพรอม กันนักเรียนสังเกตเห็นอะไรบาง (จะพบวาแผนกระดาษตัดครึ่งที่ขยํานั้นตกถึงพื้นกอนกระดาษ ที่เต็มแผนที่มีมวลนอยกวาครึ่งหนึ่ง) - จากการทดลองที่ 3 นั้น นักเรียนจะอธิบายไดวาอยางไร (มวลของวัตถุไมมีผลตอ ความเร็วในการตกลงมาที่พื้น) - หลังจากที่ทําการทดลองในการทดลองที่ 3 แลวนั้น ในการทดลองที่ 1 และ 2 นั้น นักเรียนจะสรุปใหมไดวาอยางไร(นักเรียนแสดงความคิดเห็น) - ในการทําการทดลอง ทั้ง 3 ครั้งนั้น นักเรียนไดขอมูลเปนอยางไร (ขอมูลที่ไดมีความ แตกตางกัน) - อะไรเปนตัวแปรสําคัญที่ทําใหแนวความคิดของอริสโตเติลไมเปนความจริง(รูปราง ของวัตถุ) - นักเรียนบอกไดหรือไมวารูปรางของวัตถุสงผลอยางไรตอการตกของวัตถุ(นักเรียน แสดงความคิดเห็น) - นักเรียนคิดวา สิ่งที่ทําใหวัตถุเคลื่อนที่ตกลงมาไมพรอมกัน คืออะไร(อากาศ) - สรุปแลวสิ่งที่สําคัญที่ทําใหวัตถุเคลื่อนที่ตกลงมาไมพรอมกัน คืออะไร(แรงตาน อากาศ) - เพราะฉะนั้นนักเรียนจะมีวิธีการอยางไรที่จะทําใหวัตถุที่มีมวลตางกันตกลงถึงพื้น พรอมกัน(นักเรียนแสดงความคิดเห็น) 8. ครูนําแผนกระดาน 2 แผนที่มีขนาด รูปราง เทากันทุกประการ มาสาธิตใหนักเรียนดูจากนั้น นําลูกแกว กับกระดาษแผนเล็กๆ วางไวเหนือแผนกระดานแตละแผน จากนั้นนําแผนกระดานทั้งสอง ปลอยในตําแหนงเดียวกัน แลวใหนักเรียนสังเกตสิ่งที่เกิดขึ้น จากนั้นครูตั้งคําถามอภิปรายดังนี้
  • 11. 11 โดย นายธัชวุฒิ กงประโคน ครู โรงเรียนอนุบาลชัยภูมิ - นักเรียนไดขอสรุปจากการทดลองอยางไร(ไมวาวัตถุจะหนักหรือเบาก็ตกถึงพื้นดวย ความเร็วเทากัน) - หากนักเรียนตองการทําใหวัตถุตกลงพื้นพรอมกันจะมีวิธีการนําเสนออยางไร(ลดแรง ตานอากาศโดยทําใหวัตถุทั้งสองมีแรงตานอากาศเทากัน) 9. ครูตั้งคําถามอภิปรายสรุปเกี่ยวกับธรรมชาติของวิทยาศาสตรโดยใชคําถามดังนี้ - ขอมูลที่นักเรียนไดในแตละการทดลองนั้นทําใหนักเรียนเขาใจอยางไรบาง(การ ทดลองแตละครั้งทําใหไดขอมูลที่แตกตางกันขึ้นอยูกับความสามารถของแตละบุคคลที่ไดทํา การทดลอง ทําใหขอมูลที่ไดมีการเปลี่ยนแปลงไป) - ทฤษฎีที่อริสโตเติลตั้งขึ้นมานั้นขัดแยงกับกระบวนการศึกษาทางวิทยาศาสตรอยางไร (การใหขอสรุปสิ่งตางๆนั้นไมไดอาศัยแคประสบการณเพียงอยางเดียว หลักฐานจากการทดลอง ที่มีความหนักแนนถือเปนสวนสําคัญที่จะชวยยันขอมูลที่ไดนั้นเปนอยางดี) - จากการทดลอง ทําใหพิสูจนแนวคิดของอริสโตเติลอยางไรบาง(การตั้งทฤษฎีที่ไมได ทําการทดลอง อาศัยเพียงประสบการณและการใหเหตุผลประกอบเทานั้น ทําใหความรูที่ไดนั้น เกิดการผิดพลาดขึ้นมาได) - นักเรียนคิดวาสิ่งที่ไดจากการทดลองนี้มีประโยชนตอการศึกษาเรื่องอื่นๆอยางไร (การเสนอแนวคิดใดแนวคิดหนึ่งเพื่อใหเกิดความนาเชื่อถือนั้นตองอาศัยการพิสูจน ทําการ ทดลองเพื่อใหไดขอมูลที่มีความสมบูรณและเชื่อถือได) 10. นักเรียนแตละกลุมรวมกันตรวจสอบสรุปผลการทดลองของตนเองหลังจากที่ไดรวมกัน อภิปรายกลุมกอนนําสงครู 11. นักเรียนและครูรวมกันอภิปรายเพื่อหาขอสรุปเกี่ยวกับการทดลอง โดยครูตั้งคําถามดังนี้ - ทฤษฎีที่อริสโตเติลตั้งขึ้นนั้นอางอิงมาจากแหลงใด(ประสบการณ) - การอาศัยประสบการณเพียงอยางเดียวมาใชในการอธิบายและลงขอสรุป ปรากฏการณตางๆเพียงพอหรือไมอยางไร(ไมเพียงพอ ตองอาศัยการทดลองเพื่อพิสูจนและลง ขอสรุปจนไดเหตุผลที่ยืนยันและเชื่อถือได) - จากการทดลองตางๆที่ไดทําการปฏิบัตินั้นนักเรียนคิดวาเพราะเหตุใดถึงตองมีการทํา การทดลองหลายๆครั้ง(เพื่อใหไดขอมูลที่นาเชื่อถือมากยิ่งขึ้น) - เพราะเหตุใดในแตละครั้งที่ทําการทดลองมีการเปลี่ยนรูปแบบและตัวแปรไปดวย (เพราะการทดลองแตละครั้งทําใหคนพบขอมูลใหมเพิ่มมากขึ้น) - หากเราไมออกแบบการทดลองที่หลากหลายสงผลอยางไรการการคนพบขอมูล เหลานั้น(ขอมูลที่ไดไมหลากหลาย สงผลใหไมสามารถคนพบและอธิบายทฤษฎีการเคลื่อนที่ได อยางเหมาะสมได) - การที่เราจะไดมาซึ่งความรูทางวิทยาศาสตรจําเปนตองใชวิธีการอยางไรเพื่อใหได ขอมูลที่นาเชื่อถือ(การออกแบบการทดลองที่หลากหลาย และพิสูจนผล) - สิ่งที่ชวยยืนยันคําตอบของสิ่งที่ไดจากการทดลองนั้นใหมีความนาเชื่อถือรวมกันมาก ขึ้นคืออะไร(การลงขอสรุปสิ่งที่ไดพิสูจนรวมกัน)
  • 12. 12 โดย นายธัชวุฒิ กงประโคน ครู โรงเรียนอนุบาลชัยภูมิ - นักเรียนคิดวาสิ่งที่มีความจําเปนสําหรับการคนควาทดลองเพื่อพิสูจนทฤษฎีที่ อริสโตเติลตั้งขึ้นนั้นมีอะไรบาง(การใชจินตนาการ การลงมือทําการทดลอง การหาขอสรุป รวมกัน) - สิ่งที่สงผลใหความคิดของอริสโตเติลยังคงไดรับการยอมรับนับถือเรื่อยมาจนถึง ปจจุบันนั้นคืออะไร(ไมมีใครกลาคัดคาน เพราะทุกคนยอมรับแนวคิดของอริสโตเติลโดย ปราศจากขอสงสัย และในศาสนจักรถือวาเปนความผิดรายแรง ถามีใครไปลบลางหรือบิดเบือน แนวคิดของอริสโตเติล) ) - หากความเชื่อเหลานี้ยังคงอยู นักเรียนคิดวาจะสงผลใหวิทยาศาสตรเปนอยางไร (ความกาวหนาทางวิทยาศาสตรลดนอยลง ขาดการตอยอดความรู เปนตน) 12. จากนั้นครูประเมินตามสภาพจริง จากการสังเกตพฤติกรรมขณะเขารวมกิจกรรม ประเมิน แผนภาพความคิด และประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค โดยใชเกณฑการใหคะแนนแบบการประเมิน ตามสภาพจริง กิจกรรม : การเคลื่อนที่ของกาลิเลโอ เวลา 2 ชั่วโมง 1. ครูนําลูกปงปอง และลูกฟุตบอล แลวทําการปลอยที่ตําแหนงเดียวกันพรอมกัน ดังรูป 2. จากนั้นครูตั้งคําถามเพื่อใหนักเรียนรวมกันอภิปราย ดังนี้ - ลูกปงปอง และลูกฟุตบอลมีลักษณะอยางไร (ทรงกลม) - ลูกแกวทั้งสองลูกนี้มีมวลเปนอยางไร(ไมเทากัน) - นักเรียนคิดวาเมื่อปลอยลูกแกวทั้งสองที่ตําแหนงเดียวกันพรอมกันจะเปนอยางไร (นักเรียนแสดงความคิดเห็น) 3. จากนั้น ครูปลอยลงมาในตําแหนงเดียวกันลงมาที่พื้น จากนั้นใหนักเรียนรวมกันอภิปราย รวมกันวาเพราะเหตุใดถึงเปนเชนนั้น 4. หลังจากสาธิตใหนักเรียนดูแลว ครูตั้งคําถามเพิ่มเติมเพื่อใหนักเรียนแสดงความคิดเห็น ดังนี้ - ในสมัยกอนนั้นเชื่อวา ของที่หนักกวาตกกอนของที่เบากวาเสมอ นักเรียนคิดวา เพราะเหตุใดถึงคิดเชนนั้น - นักเรียนคิดวา อะไรเปนสาเหตุสําคัญที่ทําใหความเชื่อเหลานั้นคงอยูนานถึง 2000 ป - นักเรียนคิดวาอะไรที่เปนสิ่งจําเปนและมีความสําคัญสําหรับการปรับเปลี่ยนแนวคิด เหลานั้น
  • 13. 13 โดย นายธัชวุฒิ กงประโคน ครู โรงเรียนอนุบาลชัยภูมิ 5. ครูใหนักเรียนศึกษาทฤษฎีการเคลื่อนที่ของโคเปอรนิคัสและกาลิเลโอ (หนังสือการตูน ประวัติของโคเปอรนิคัสและกาลิเลโอเกี่ยวกับการเคลื่อนที่)ใหเขาใจเพื่อนําสูการอภิปราย โดยใชคําถาม ดังนี้ - โคเปอรนิคัสคนพบอะไร(โลกเราไมไดหยุดนิ่งแตเคลื่อนที่และโคจรไปรอบดวง อาทิตย) - ขัดแยงกับแนวคิดของใคร(อริสโตเติล) - แตกตางจากอดีตอยางไร(โลกเปนศูนยกลาง) - สิ่งที่โคเปอรนิคัสคนพบนั้นสงผลตอโคเปอรนิคัสเอง อยางไรบาง(อาจถูกลงโทษถึงขั้น เสียชีวิตได) - ขอจํากัดของการคนพบความรูของโคเปอรนิคัสนั้นคืออะไร(การขัดแยงกับศาสนจักร) - สิ่งที่เปนอุปสรรคในการเผยแพรขอมูลที่ตัวโคเปอรนิคัสเองคนพบ มีอะไรบาง(กลัว การลงโทษ เนื่องจากความเชื่อหรือทฤษฎีที่ขัดแยงจากความเชื่อรวมกันจะกระทบแนวความคิด โดยรวมของสังคม และประการที่สองเขาไมยอมรับผลการการทดลองหรือการคนพบครั้งนั้น เนื่องจากเขาไมสามารถยอมรับแนวความคิดที่โลกเคลื่อนที่ได) - นักเรียนคิดวาสิ่งที่ทําใหโคเปอรนิคัสยอมตีพิมพขอมูลที่ตนเองคนพบ คืออะไร (นักเรียนแสดงความคิดเห็น) - หลังจากที่นักเรียนไดอานประวัติของกาลิเลโอแลวนักเรียนคิดวาลักษณะนิสัยของ กาลิเลโอเปนอยางไร(ไมคอยจะยอมเชื่ออะไรงายๆจนกวาจะไดทดลองใหเห็นดวยตนเอง) - เพราะเหตุใดกาลิเลโอถึงไดกลาพิสูจนเรื่องราวที่อาจเปนอันตรายตอชีวิตของเขา (เพราะเขารูวาทฤษฎีที่เขาศึกษาและผูคนตางๆเชื่อถือมาเปนเวลาเกือบ 2,000 ปนั้นไมเปน ความจริง) - เรื่องที่กาลิเลโอศึกษานั้นเกี่ยวของกับใคร(อริสโตเติลเจาของทฤษฎีเดิมและศาสน จักรผูเชื่อถือในความคิดของอริสโตเติล) - กาลิเลโอพิสูจนทฤษฎีของอยางไร(ทําการทดลองใหสาธารณชนเห็นเปนประจักษ) 6. ครูแบงกลุมนักเรียนเพื่อทําการทดลองกลุมละ 4-5คน และรับใบกิจกรรมที่ 2 และอุปกรณ การทดลอง เรื่องการทดลองเพื่อพิสูจนทฤษฎีการเคลื่อนที่ของกาลิเลโอ โดยครูชี้แจงการทําการทดลอง ดังนี้ - ใหนักเรียนปฏิบัติการทดลองตามใบกิจกรรมการทดลอง สังเกตและบันทึกผล - หลังจากนั้นใหนักเรียนรวมกันอภิปรายและลงขอสรุปเกี่ยวกับทฤษฎีของกาลิเลโอ 7. ครูสุมเลือกตัวแทนกลุม เพื่อออกมานําเสนอผลที่ไดจากการทดลอง 8. จากนั้นนักเรียนและครูรวมกันอภิปราย โดยครูตั้งคําถามดังตอไปนี้ - จากการทดลองของกาลิเลโอ กาลิเลโอมีความเชื่อเกี่ยวกับการตกของวัตถุอยางไร (วัตถุที่มีรูปรางเหมือนกันจะตกถึงพื้นดินพรอม) - นักเรียนทําการทดลองอยางไร(ทําการทดลอง โดยในการทดลองใหดินน้ํามันที่มีมวล แตกตางกัน 2 เทา ปนใหเปนรูปทรงกลมปลอยจากที่สูงในระดับเดียวกันแลวจับเวลา ทดลอง ทําซ้ํา 3 ครั้ง) - จากการทดลอง ผลเปนอยางไร(วัตถุตกถึงพื้นดวยระยะเวลาเทากัน)
  • 14. 14 โดย นายธัชวุฒิ กงประโคน ครู โรงเรียนอนุบาลชัยภูมิ - ในการทดลองเพราะเหตุใดถึงตองทําซ้ํา 3 ครั้ง(เพื่อยืนยันผลการทดลองและใหเกิด ความผิดพลาดจากการทดลองนอยที่สุด) - นักเรียนคิดวากาลิเลโอทําการทดลองเชนเดียวกันกับนักเรียนหรือไม(อาจจะทําและ อาจจะทําการทดลองซ้ําๆ มากกวานี้) - จากการทดลองนักเรียนไดขอสรุปอยางไร(กอนวัตถุที่หนักกวาอีกกอนเปนสองเทา ไมไดตกเร็วกวาเปนสองเทาแตจะตกถึงพื้นพรอมกัน) - นักเรียนคิดวาเพราะเหตุใดกาลิเลโอถึงตองทําการพิสูจนสิ่งที่เขาคิดและคนพบ เหลานั้น(นักเรียนแสดงความคิดเห็น) - การที่กาลิเลโอไดทําการทดลองแสดงตอสาธารณชนในเมืองปซานั้นเพื่อเหตุผล ประการใดบาง(นักเรียนแสดงความคิดเห็น) - นักเรียนคิดวาทฤษฎีของอริสโตเติลที่ถูกยึดถือมากวา 2,000 ป แตก็ถูกลบลางดวย การพิสูจนของกาลิเลโอเปนเพราะสาเหตุใด(นักเรียนแสดงความคิดเห็น) - หลังจากที่นักเรียนทราบแลววากอนวัตถุที่หนักกวาอีกกอนเปนสองเทาไมไดตกเร็ว กวาเปนสองเทาแตจะตกถึงพื้นพรอมกัน แตในอดีตนักเรียนคิดวาทําไมอริสโตเติลถึงคิดอยาง นั้น (นักเรียนแสดงความคิดเห็น) - และอะไรเปนปจจัยสําคัญที่ทําใหอริสโตเติลคิดวาของที่เบากวายอมตกลงมาชากวา ของที่หนักกวา(นักเรียนแสดงความคิดเห็น) 9. จากนั้นครูนํากระดาษ A4 และลูกปงปอง มาปลอยที่ตําแหนงเดียวกันใหนักเรียนสังเกต แลว ตั้งคําถามกอน ปลอย ดังนี้ - นักเรียนคิดวาวัตถุทั้งสองจะตกอยางไร(ลูกปงปองตกเร็วกวากระดาษ) 10. จากนั้นครูปลอยวัตถุทั้งสองพรอมกัน เพื่อพิสูจนคําตอบของนักเรียน ดังรูป 11. ครูตั้งคําถามเพื่ออภิปรายและดําเนินการ ดังนี้ - นักเรียนคิดวาอะไรเปนสาเหตุที่ทําใหวัตถุทั้งสอง ตกลงมาถึงพื้นไมพรอมกัน (นักเรียนแสดงความคิดเห็น) - นักเรียนจะมีวิธีการอยางไรที่ทําใหวัตถุทั้งสองตกลงมาถึงพื้นพรอมกัน(นักเรียนระดม ความคิดรวมกันและแสดงความคิดเห็น) - ครูและนักเรียนแสดงวิธีการทําใหวัตถุทั้งสองตกลงมาถึงพื้นพรอมกันโดยเตรียม หนังสือขนาดเทากัน 2 เลม แลวนําวัตถุตางชนิดกันวางบนหนังสือ แตละเลม แลวปลอยลงจาก ระดับความสูงเดียวกัน จากนั้นสังเกตผล
  • 15. 15 โดย นายธัชวุฒิ กงประโคน ครู โรงเรียนอนุบาลชัยภูมิ 12. ครูแบงกลุมนักเรียนเพื่อทําการทดลองกลุมละ 4-5คน กลุมเดิม และรับใบกิจกรรมที่ 3 และครูสาธิตการทดลอง เรื่องการเคลื่อนที่ของวัตถุบนพื้นเอียง หนาชั้นเรียน และสุมเลือกตัวแทน นักเรียนมาทําการทดลองตามแบบปฏิบัติการทดลองตามใบกิจกรรมการทดลอง สังเกตและบันทึกผล รวมกันอภิปรายและลงขอสรุปเกี่ยวกับการทดลองเรื่องการเคลื่อนที่ของวัตถุบนพื้นเอียง 13. ครูสุมเลือกตัวแทนกลุม เพื่อออกมานําเสนอผลที่ไดจากการทดลอง 14. จากนั้นนักเรียนและครูรวมกันอภิปราย โดยครูตั้งคําถามดังตอไปนี้ - จากการทดลองของกาลิเลโอ คนพบอะไรบาง(ลูกแกวที่ถูกปลอยจากหยุดนิ่งบนดาน หนึ่งของพื้นเอียงที่ลาดลง จะกลิ้งลงมาและกลิ้งขึ้นไปไปพื้นลาดขึ้น จนหยุด ณ ตําแหนงที่มี ความสูงเกือบเทาเดิม) - เพราะเหตุใดถึงเปนเชนนั้น(ความเสียดทานที่กันไมใหลูกแกวกลิ้งไปจนมีความสูงเทา เดิม) - เมื่อเปลี่ยนพื้นเปนพื้นที่ลื่นขึ้นลูกแกวก็จะกลิ้งอยางไร (ลูกแกวจะกลิ้งขึ้นไปจนสูง ใกลความสูงเริ่มตนมากขึ้น) - เมื่อเปลี่ยนใหดานพื้นลาดขึ้นมีความชันลดลงจะเกิดอะไรขึ้น (พบวาลูกแกวกลิ้งไป จนมีความสูงเทาเดิม แตตองกลิ้งไปไกลกวา) - เมื่อลดความชันลง ลูกแกวจะกลิ้งอยางไร (ลูกแกวกลิ้งไปจนมีความสูงเทาเดิม) - กาลิเลโอมีความสงสัยวา ถามีพื้นราบที่ยาวมาก ลูกบอลจะตองกลิ้งไปไกลเทาไร เพื่อที่มีความสูงเทาเดิม(ไมมีทางไปถึงความสูงเริ่มตนไดเลย) - ขณะที่ลูกแกวเคลื่อนที่ลงจากพื้นเอียงอันแรก ไปสูการเคลื่อนที่ขึ้นพื้นเอียงอันที่สอง ที่มีความชันเทากัน เปนอยางไร (อัตราเร็วของลูกแกวเคลื่อนที่ขึ้นพื้นเอียงอันสองอยูในระดับ เทากัน) - ขณะที่ลูกแกวเคลื่อนที่ลงจากพื้นเอียงอันแรกที่มีความชันนอยกวา ไปสูการเคลื่อนที่ ขึ้นพื้นเอียงอันที่สองที่มีความชันมากกวา เปนอยางไร (อัตราเร็วของลูกแกวเคลื่อนที่ขึ้นจะ ลดลง แตเมื่อลูกแกวเคลื่อนที่ลงจากพื้นเอียงอันที่สองที่มีความชันมากกวา ไปสูการเคลื่อนที่ขึ้น พื้นเอียงอันแรกที่มีความชันนอยกวา ลูกแกวจะมีอัตราเร็วลดลงชาๆหรือกลิ้งไปไดนานกวา) - เมื่อปลอยลูกแกวเคลื่อนที่ลงจากพื้นเอียงไปสูพื้นราบ ผลเปนอยางไร(ลูกแกว เคลื่อนที่ตอเนื่องไปเรื่อยๆ) - ลักษณะคุณสมบัติที่วัตถุเคลื่อนที่ตอเนื่อง เรียกวาอะไร (ความเฉื่อย) 15. จากนั้นครูนําเหรียญมาตั้งเปนชั้นๆ แลวทําการเคาะดวยไมบรรทัดอยางรวดเร็ว ดังภาพ
  • 16. 16 โดย นายธัชวุฒิ กงประโคน ครู โรงเรียนอนุบาลชัยภูมิ แลวตั้งคําถามเพื่อนําเขาสูการอภิปราย ดังนี้ - นักเรียนคิดวาเมื่อใชไมบรรทัดเคาะเหรียญอันลางสุดอยางรวดเร็วผลจะเปนอยางไร (เหรียญอันลางสุดที่ถูกเคาะจะเคลื่อนที่ออกไปอยางรวดเร็วเหรียญที่อยูขางบนจะ เคลื่อนที่ลงไปแทนเหรียญที่เคลื่อนที่ออกไปทั้งนี้เพราะเหรียญอันที่อยูขางบนรักษาสภาพการ เคลื่อนที่เดิมคือหยุดนิ่ง) - การทดลองดังกลาวอธิบายเกี่ยวกับเรื่องใด(ความเฉื่อย) 16. ครูตั้งคําถามเพื่อรวมกันอภิปรายรวมกันกับนักเรียนเพิ่มเติม ดังนี้ - จากแนวคิดเรื่องความเฉื่อยของกาลิเลโอนี้ ทําใหทฤษฎีการเคลื่อนที่ของอริสโตเติล ไมไดรับการยอมรับอีกตอไปเพราะเหตุใดถึงเปนเชนนั้น (อริสโตเติลคิดไมถึงเรื่องความเฉื่อย เนื่องจากเขาเองไมสามารถนึกถึงการเคลื่อนที่ใดๆที่ปราศจากการเสียดทาน เพราะเขาประสบ แตการเคลื่อนที่ที่ตองมีการตานทานซึ่งเปนศูนยกลางของแนวความคิดของเขาเอง และ แนวความคิดดังกลาวก็ไดหนวงความกาวหนาทางฟสิกสมาถึง 2000 ป) - ความเฉื่อยสงผลตอโลกอยางไร (ไมจําเปนตองมีแรงใดๆ (ผลักหรือดึง) เพื่อทําใหโลก เคลื่อนที่ไปไดเรื่อยๆ) - และจากทฤษฎีโคเปอรนิคัสนั้นที่กลาววาโลกเราไมไดหยุดนิ่งแตเคลื่อนที่และโคจรไป รอบดวงอาทิตย กาลิเลโอมีความคิดเห็นอยางไร (สนับสนุนแนวคิดของโคเปอรนิคัส) - เพราะเหตุใดกาลิเลโอถึงสนับสนุนแนวคิดของโคเปอรนิคัส(เนื่องจากนําความรูเรื่อง ความเฉื่อยไปอธิบาย โดยโลกไมไดเปนศูนยกลางของระบบสุริยะ และโลกไมไดหยุดนิ่ง แตโลก รักษาสภาพการเคลื่อนที่ของตัวเองอยูซึ่งสอดคลองกับความเฉื่อยที่วัตถุพยายามรักษาสภาพ การเคลื่อนที่ของตนเอง) 17. นักเรียนแตละกลุมรวมกันตรวจสอบสรุปผลการทดลองของตนเองหลังจากที่ไดรวมกัน อภิปรายกลุมกอนนําสงครู 18. ครูตั้งคําถามเพื่อเขาสูการอภิปรายเพิ่มเติมดังนี้ - นักเรียนทราบแลววา คุณสมบัติของความเฉื่อยจะทําใหวัตถุพยายามรักษาสภาพการ เคลื่อนที่หรือหยุดนิ่งของตัวเอง ดังตัวอยางการทดลองสาธิตการเคาะเหรียญ - จากการเคลื่อนที่ของกระดาษที่ตกลงมานั้นชากวาลูกปงปอง นักเรียนเรียนคิดวา เกิดจากสาเหตุใด (แรงตานอากาศ) - เพราะฉะนั้นแลวหากไมมีแรงตานอากาศการตกของกระดาษและลูกปงปองจะเปน อยางไร (ตกถึงพื้นพรอมกัน) - ลักษณะที่เคลื่อนที่ของลูกแกวมีอัตราเร็วแตกตางกันนั้นเกิดจากอะไร(พื้นผิวสัมผัส แตกตางกัน) - ลักษณะพื้นผิวสัมผัสแบบใดที่สงผลทําใหลูกแกวเคลื่อนที่ชาลง(ผิวขรุขระ) - สิ่งที่ทําใหวัตถุเคลื่อนที่ชาลงคืออะไร (แรงเสียดทาน) - นักเรียนคิดวาลักษณะทิศทางของแรงตานอากาศเปนอยางไร(มีทิศขึ้นไปดานบน) - นักเรียนคิดวาลักษณะการเคลื่อนที่ของลูกแกวในการทดลองนั้นมีทิศอยางไร(ทิศทาง ไปตามที่ลูกแกวเคลื่อนที่)
  • 17. 17 โดย นายธัชวุฒิ กงประโคน ครู โรงเรียนอนุบาลชัยภูมิ - แลวลักษณะทิศทางการเคลื่อนที่ของแรงเสียดทานเปนอยางไร(ตรงขามกันการ เคลื่อนที่ของลูกแกว) - แรงเสียดทานจะอยูบริเวณไหน(ระหวางพื้นผิวสัมผัสของพื้นกับวัตถุ) - ถาหากครูผลักโตะไปขางหนา ทิศทางการเคลื่อนที่จะไปทางทิศทางใด(ทิศทางไป ตามที่โตะเคลื่อนที่) - และถาครูดึงโตะกลับมา ทิศทางการเคลื่อนที่จะไปทางทิศทางใด(ทิศทางไปตามที่ โตะเคลื่อนที่กลับมา) - ลักษณะทิศทางการเคลื่อนที่ของแรงเสียดทานของการผลักการดึงของโตะจะเปน อยางไร (ตรงขามกันการเคลื่อนที่ของโตะ) 19. จากนั้นครูสุมเลือกตัวแทนนักเรียนวาดรูปแสดงลักษณะทิศทางการเคลื่อนที่ และทิศทาง ของแรงเสียดทานบนกระดานหนาชั้นเรียน ดังภาพ ทิศทางของการผลัก ทิศทางของการดึง แลวรวมกันพิจารณาวาเปนอยางไร แลวตั้งคําถามตอไปวา - ทิศทางของแรงผลักจะไปทิศทางใด(นักเรียนแสดงความคิดเห็น) - ทิศทางการแรงดึงจะไปทิศทางใด(นักเรียนแสดงความคิดเห็น) - ทิศทางของแรงเสียดทานของแรงผลักและแรงดึงเปนอยางไร(ตรงขามกับการ เคลื่อนที่ของวัตถุ) - ถาหากนักเรียนออกแรงผลักกันหลายๆคนจะเปนอยางไร(วัตถุเคลื่อนที่ไดเร็วมาก ขึ้น) - นักเรียนจะวาดลักษณะการออกแรงหลายๆแรงอยางไร(นักเรียนแสดงความคิดเห็น และวาดรูป ดังนี้)
  • 18. 18 โดย นายธัชวุฒิ กงประโคน ครู โรงเรียนอนุบาลชัยภูมิ 20. ครูรวมอภิปรายกับนักเรียนวาผลรวมของแรงดังกลาวเรียกวา แรงลัพธ และหนวยที่ใชคือ นิวตัน หากออกแรงหลายๆแรงไปในทิศทางเดียวกันจะสามารถรวมแรงเปนแรงเดียวกัน แตถาออกแรง ตรงกันขามจะหักลางกัน และยกตัวอยางการกระทําตอวัตถุวา เกิดแรงลัพธไปในทิศทางใด โดยวาดรูป บนกระดานดังนี้ และถามนักเรียนวารูปแตละรูปมีแรงลัพธเทาใดและไปในทิศทางใด และแรงเสียดทานไปใน ทิศทางใดดวย 21. นักเรียนและครูรวมกันอภิปรายเพื่อหาขอสรุปเกี่ยวกับการทดลอง โดยครูตั้งคําถามดังนี้ - ทฤษฎีการเคลื่อนที่ของวัตถุของอริสโตเติลกลาวไววาอยางไร(วัตถุที่มีมวลกวายอม ตกกอนวัตถุที่มีมวลเบากวาเสมอ) - ความเชื่อนี้ถูกยึดถือมากวา 2,000 ป สอดคลองกับธรรมชาติของวิทยาศาสตร อยางไร (ประวัติศาสตรวัฒนธรรมและสังคมมีสวนกําหนดวิทยาศาสตร) - กาลิเลโอกลาวถึงทฤษฎีการเคลื่อนที่ของวัตถุขัดแยงกับอริสโตเติลวาอยางไร(วัตถุที่ มวลตางๆกันถูกปลอยในเวลาเดียวกันตกกระทบพื้นพรอมๆกัน) - เพราะเหตุใดกาลิเลโอถึงกลาวเชนนั้น(เพราะเขาเปนคนชางคิด ชางสงสัย และไดทํา การทดลองพิสูจนอยางรอบคอบ พบวาสิ่งที่อริสโตเติลกลาวไวนั้นไมเปนความจริง) - ลักษณะนิสัยสําคัญของกาลิเลโอ ที่ทําใหคนพบความรูไดนั้นมีอะไรบาง(นักเรียน แสดงความคิดเห็น)
  • 19. 19 โดย นายธัชวุฒิ กงประโคน ครู โรงเรียนอนุบาลชัยภูมิ - ทฤษฎีการเคลื่อนที่ของวัตถุของอริสโตเติลมีความผิดพลาดตรงสวนใด(อริสโตเติล ไมไดทําการทดลองเพียงแตอาศัยการสังเกตและประสบการณของตนเองมาอธิบายรอยเรียง เปนเหตุผลใหนาเชื่อถือ) - กาลิเลโอพิสูจนเพื่อลบลางทฤษฎีการเคลื่อนที่ของวัตถุของอริสโตเติล(ทําการทดลอง เพื่อพิสูจนโดยออกแบบการทดลองจนสามารถยืนยันคําตอบได) - จากการทดลองของกาลิเลโอสามารถลบลางความเชื่อเดิมที่ถูกยึดถือมากวา 2,000 ป อยางไร (ปลอยวัตถุที่มีรูปรางเหมือนกันแตมีมวลตางกัน บนหอเอนปซา แลวพบวา วัตถุทั้ง สองจะตกถึงพื้นดินพรอมกันตอหนาสาธารณชนที่มาชมการทดลอง) - การที่แสดงการทดลองตอหนาสาธารณชนนั้น เปนเพราะเหตุใด(นักเรียนแสดงความ คิดเห็น) - การที่ความรูทางวิทยาศาสตรตั้งแตสมัยอริสโตเติลที่ถูกยึดถือมาเกือบ 2,000 ปนั้น ถูกลบลางโดยการพิสูจนของกาลิเลโอนั้น เพราะเหตุใดถึงเปนเชนนั้น (ความรูทางวิทยาศาสตร มีความไมแนนอนแตมีความคงทน ) - จากการที่กาลิเลโอทําการทดลองแลวพบวาวัตถุที่มวลตางๆกันถูกปลอยในเวลา เดียวกันตกกระทบพื้นพรอมๆกันนั้น ไดพบขอมูลใหมวามีปจจัยบางอยางที่ทําใหการเคลื่อนที่ ของวัตถุนั้น เปลี่ยนแปลงไปเชน แรงเสียดทาน แรงตานอากาศ เปนตน สอดคลองกับธรรมชาติ วิทยาศาสตรอยางไร (จากการทําการทดลองในแตละครั้งอาจจะไดขอมูลไมเหมือนเดิมในทุกๆ ครั้ง) 22. จากนั้นครูประเมินตามสภาพจริง จากการสังเกตพฤติกรรมขณะเขารวมกิจกรรม ประเมิน แผนภาพความคิด และประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค โดยใชเกณฑการใหคะแนนแบบการประเมิน ตามสภาพจริง กิจกรรม : ผลลัพธของแรงหลายแรงที่กระทําตอวัตถุ(ประดิษฐสะพานไมไอศกรีม) ( 4 ชั่วโมง) 1. ครูนําเชือกมาในชั้นเรียน โดยใหนักเรียนที่มีรูปรางตางกัน 4 คนออกมาหนาชั้นแลวจับปลาย เชือกแตละขาง ขางละ 2 คน โดยคนตัวเล็กอยูอีกฝายหนึ่ง สวนอีกฝายเปนคนตัวใหญ แลวถามนักเรียน วา - ถาเลนชักเยอฝายใดจะเปนผูชนะ เพราะเหตุใด - ถาแตละฝายมีคนตัวเล็กและคนตัวใหญคละกันอยูจะเกิดอะไรขึ้น 2. นักเรียนชวยกันอภิปรายและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเลนชักเยอ เพื่อเชื่อมโยงไปสู การเรียนรูเรื่องแรงลัพธ 3. ครูนําภาพหรือวิดีทัศนเกี่ยวกับคน 2 คนออกแรงเคลื่อนยายวัตถุในลักษณะตาง ๆ เชน คน 2 คนออกแรงผลักรถในทิศทางเดียวกันและในทิศทางตรงขามกัน คน 2 คนชวยกันเคลื่อนยายโตะใน ทิศทางเดียวกันและทิศทางตรงขามกัน มาใหนักเรียนดู 4. นักเรียนรวมกันอภิปรายและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการออกแรงเคลื่อนยายวัตถุใน ลักษณะตาง ๆ
  • 20. 20 โดย นายธัชวุฒิ กงประโคน ครู โรงเรียนอนุบาลชัยภูมิ 5. ครูใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 4-5 คน จากนั้นใหนักเรียนทํากิจกรรมการทดลองนํากอนหิน ใสถุง แลวนํามาเกี่ยวกับตะขอของเครื่องชั่งสปริง จากนั้นชั่งกอนหินอีกครั้ง โดยใชเครื่องชั่งสปริง 2 อัน ใหหูหิ้วของถุงพลาสติกเกี่ยวที่ตะขอเครื่องชั่งขางละหู อานผล และบันทึกผล 6. ครูใหตัวแทนของแตละกลุมนําเสนอคําตอบของกลุมตนเอง 7. ครูใหแตละกลุมสืบคนขอมูลเกี่ยวกับแรงลัพธ 8. ครูใหสมาชิกในแตละกลุมรวมอภิปรายผลการทดลอง เพื่อใหขอสรุปของกลุม 9. ตัวแทนของแตละกลุมออกมานําเสนอผลการทดลอง 10. นักเรียนแตละกลุมรวมกันอภิปรายผลการทดลองเพื่อใหไดขอสรุปวา แรงสองแรงที่กระทําตอ วัตถุในแนวเดียวกัน มีคาของแรงเทากับผลรวมของแรงสองแรงนั้น 11. ครูใหนักเรียนรวมกันอภิปรายวา นักเรียนคิดวา จะนําความรูเกี่ยวกับแรงลัพธไปใช ประโยชนในชีวิตประจําวันไดอยางไร 12. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปผลการอภิปรายเปนองคความรู 13. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปผลการอภิปรายเปนองคความรู 14. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมตอไปนี้ ใหนักเรียนแบงกลุมและทํากิจกรรมเรื่อง ประดิษฐ สะพานไมไอศกรีม ทดสอบประสิทธิภาพของสะพานไมไอศกรีม ของแตละกลุมที่ไดสรางขึ้น นําเสนอผล และสรุปผลการทํากิจกรรม จากนั้นสืบคนหลักการสรางสะพานไมไอศกรีม และประโยชนของการนํา ของสะพาน ไปใช และสรุปการนําความรูเรื่องของสะพาน ไปใชประโยชนเปนแผนภาพความคิดแลวให แตละกลุมนําเสนอแลกเปลี่ยนหนาชั้นเรียน 15. ใหนักเรียนแตละกลุมนําเสนอผลงานการประดิษฐสะพานไมไอศกรีม ที่สรางขึ้น โดย นําเสนอแนวคิดในการสราง รูปแบบของสะพานไมไอศกรีม เหตุผลในการเลือกใชวัสดุ รวมทั้งผลการ ทดสอบและการปรับปรุงแกไขสะพานไมไอศกรีม จนมีประสิทธิผลมากที่สุด 16. จากนั้นครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายความรูเกี่ยวกับหลักการทางวิทยาศาสตรที่ เกี่ยวของกับสะพานไมไอศกรีม 17. จากนั้นครูประเมินตามสภาพจริง จากการสังเกตพฤติกรรมขณะเขารวมกิจกรรม ประเมิน แผนภาพความคิด และประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค โดยใชเกณฑการใหคะแนนแบบการประเมิน ตามสภาพจริง
  • 21. 21 โดย นายธัชวุฒิ กงประโคน ครู โรงเรียนอนุบาลชัยภูมิ กิจกรรม : หลักของอารคีเมดิส เวลา 2 ชั่วโมง 1. ครูนําลูกปงปอง จํานวนมากที่มีมวลแตกตางกัน มาปลอยในอางน้ํา ดังรูป 2. จากนั้นครูตั้งคําถามเพื่อใหนักเรียนรวมกันอภิปราย ดังนี้ - ลูกปงปองมีลักษณะอยางไร (ทรงกลม) - นักเรียนคิดวาถานําลูกปงปองไปปลอยในอางน้ําจะเกิดอะไรขึ้น (นักเรียนแสดงความ คิดเห็น) 3. จากนั้น ครูปลอยลูกปงปองลงไปในอางน้ํา จากนั้นใหนักเรียนรวมกันอภิปรายรวมกันวา เพราะเหตุใดถึงเปนเชนนั้น 4. ครูใหนักเรียนศึกษาใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง หลักของอารคีเมดิส (หนังสือการตูนประวัติของ อารคีเมดิสเกี่ยวกับหลักของอารคีเมดิส)ใหเขาใจเพื่อนําสูการอภิปราย โดยใชคําถามดังนี้ - อารคีเมดิสเปนคนที่มีลักษณะนิสัยอยางไร (นักเรียนแสดงความคิดเห็น) - เพราะเหตุใดอารคีเมดิสถึงไดรับยกยองวาเปนนักวิทยาศาสตร คณิตศาสตรที่ยิ่งใหญ ของโลก(นักเรียนแสดงความคิดเห็น) - อารคีเมดิสคนพบอะไรบาง(นักเรียนแสดงความคิดเห็น) - เพราะเหตุใดพระราชาจึงมีความสงสัยในตัวของชางทอง(เกิดความไมมั่นใจในความ ซื่อสัตยของชางทองทํามงกุฎ) - พระราชาแกปญหาสิ่งที่ตนเองสงสัยอยางไร(ใหอารคีเมดิสชวยแกไขปญหา) - พระราชามอบหมายใหอารคีเมดิสไปหาคําตอบเรื่องอะไร(ทําอยางไรถึงจะรูไดวา มงกุฎทองที่ชางทองทําใหเปนทองแทหรือทองที่ถูกผสม) - อารคีเมดิสคนหาคําตอบอยางไร(ขบคิดปญหา และพบคําตอบเมื่อไปอาบน้ํา โดย พบวาเมื่อน้ําเต็มปริ่มขอบอางแตเมื่อเอาตัวลงมาพบวาน้ําไหลซูออกมานอกอาง) - อารคีเมดิสนําสิ่งที่ตนเองคนพบไปทําอยางไร(ทําการทดลองโดยเอามงกุฎมาผูกเชือก เสนเล็กๆ แลวเอาน้ําใสอางใหเต็มพอดีกับขอบ เอามงกุฎหยอนลงไปในอางน้ํา รองน้ําที่ลน ออกมาตวงหาปริมาตร แลวก็นําเอาเงิน และทองคําแท แตละกอนที่มีน้ําหนักเทากับมงกุฎอัน นั้น มาทดลองหาปริมาตรบาง ก็พบวา ทองคําแทมีปริมาตรนอยกวามงกุฎ และเงินมีปริมาตร มากกวามงกุฎ)