SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
หากเอ่ยถึงปลานิลหลายท่านคงคุ้นหูและคุ้นลิ้นในรสชาติกัน
     เปิดประตูสู่โครงการ 
                เป็นอย่างดี เพราะเป็นปลาที่อร่อย หารับประทานง่าย ที่สำคัญ
     ตามรอยทางอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
   ราคาไม่แพงเหมาะกับการบริโภคในปัจจุบัน แต่จะมีกี่คนที่ทราบ
                                          ว่ า ปลานิ ล ที่ เ ราๆ ท่ า นๆ บริ โ ภคกั น อยู่ นั้ น มี จุ ด กำเนิ ด มาจาก

     ศูนย์เพาะเลี้ยง                      ประเทศญี่ปุ่น โดยย้อนหลังไปเมื่อปี พ.ศ. 2508 พระจักรพรรดิ
                                          อะกิ ฮิ โ ต แห่ ง ประเทศญี่ ปุ่ น ทรงจั ด ปลาจำนวน 50 ตั ว

     ปลานิลจิตรลดา                        ทูลเกล้าฯ ถวายแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ต่อมาทรงพระ
                                          กรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ทดลองเลี้ยงไว้ภายในบริเวณสวนจิตรลดา
     ของมูลนิธิชัยพัฒนา                   ทรงเห็นว่าเป็นปลาที่เลี้ยงง่าย เจริญเติบโตเร็ว จึงมีพระราช
                                          ประสงค์ที่จะให้ขยายพันธุ์ปลานี้เพื่อเป็นประโยชน์แก่ประชาชนชาว
     เรื่อง : ปิยะฉัตร ภมรสูต             ไทย และได้ พ ระราชทานชื่ อ ปลานี้ ว่ า “ปลานิ ล ” เมื่ อ วั น ที่ 17
                                          มีนาคม 2509 เป็นต้นมา 




36
จากที่กล่าวมาข้างต้น คณะผู้จัดทำวารสารมูลนิธิชัยพัฒนา จึง
จะขอนำท่านผู้อ่านเยี่ยมชมศูนยเพาะเลี้ยงปลานิลจิตรลดา ของมูลนิธิ
ชั ย พั ฒ นา ที่ ไ ด้ ด ำเนิ น งานตามแนวพระราชดำริ พ ระบาทสมเด็ จ
พระเจ้าอยู่หัว ในการพัฒนาสายพันธุ์ปลานิลเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อ
ประชาชนและเกษตรกรไทย
        ศูนย์เพาะเลี้ยงปลานิลจิตรลดา ของมูลนิธิชัยพัฒนา ตั้งอยู่ที่   ผลิ ต อาหารเม็ ด สำเร็ จ รู ป ที่ ใ ช้ ใ นการเพาะเลี้ ย งปลานิ ล เป็ น ต้ น
บ้ า นเกาะกา ตำบลท่ า เรื อ อำเภอปากพลี จั ง หวั ด นครนายก มี         นอกจากนี้ยังมีการแปลงเพศปลานิลหรือที่เราคุ้นหูกันดีว่าปลานิล
วัตถุประสงค์เพื่อดำเนินการผลิตลูกปลานิลสายพันธุ์จิตรลดาแท้ ที่มี      แปลงเพศ เพื่อกำหนดเพศให้เป็นเพศผู้ เนื่องจากปลานิลเพศผู้มีอัตรา
คุณลักษณะดี และมีเปาหมายเพาะพันธุ์ปลานิลสายพันธุ์จิตรลดาให้ได้       การเจริญเติบโตสูงกว่าเพศเมีย ทั้งยังมีตัวใหญ่และให้ผลผลิตต่อไร่สูง
ผลผลิต 5-10 ล้านตัวต่อป เพื่อจำหน่ายในราคาถูกให้เกษตรกรนำไป          กว่า และยังสามารถกำหนดขนาดของปลาให้มีขนาดใกล้เคียงกันเกือบ
เป็นพ่อพันธุ์แม่พันธุ์ และถ่ายทอดความรู้ด้านการเพาะปลานิลสาย          ทั้งบ่ออีกด้วย
พันธุ์จิตรลดา ให้แก่เกษตรกรและประชาชนที่สนใจทั่วไป                        ผู้สนใจสามารถติดต่อเพื่อขอเยี่ยมชมโครงการได้ที่ สำนักบริหาร
        ภายในโครงการประกอบด้วยบ่อดินขนาด 2 ไร่ สำหรับใช้เป็น          โครงการ สำนักงานมูลนิธิชัยพัฒนา โทร 0-2282-4425-7 ตอ 119
บ่อเลี้ยงพ่อแม่พันธุ์ซึ่งได้มาจากสวนจิตรลดา และบ่ออนุบาลลูกปลา        120 121 ตามวัน เวลา ราชการ นอกจากทานจะไดรับความรูแลวยัง
จำนวน 10 บ่อ อาคารเพาะฟักและอนุบาลลูกปลา รวมถึงโรงเรือน               อาจไดปลานิลคุณภาพดีราคาถูกติดไมติดมือกลับบานดวย




                                                                                                                                              37
Nil fish, among most Thais, not only that they are tasty, but
     Open a Gateway 
                      they are also an easy to find source of protein with reasonable
     to the Royal Development Project
     price. Although many Thai people are familiar with Nil fish, only a
                                           few are aware that Nil fish that we are consuming traveled a
  The Chitralada Nil Fish
 long journey from Japan. In 1965, the Crown Prince Akihito of
     Breeding Center of 
                  Japan, before he was enthroned as the Japan’s Emperor,
 the Chaipattana Foundation
 presented 50 Nil fish to His Majesty King Bhumibol Adulyadej, to
                                           be raised in a pond in the Chitralada Palace. When witnessing
         Written by Piyachat Pamornsoot
   that Nil fish were easy to raise and easy to reproduce, His
      Translated by Suleeporn Bunbongkarn
 Majesty, therefore, had an initiative to breed in a greater
                                           magnitude.




38
Since Nil fish have been important in serving as the great
source of protein and income, in this issue, you will be
introduced to the Chitralada Nil Fish Breeding Center of the
Chaipattana Foundation which answered His Majesty’s
initiative in developing and breeding Nil fish to benefit the
Thai people.                                                       transformation female Nil fish into male is another productive
      This breeding center is situated in Baan Kohka, Tha Rue      activity. This activity received great attention because the
Subdistrict, Pak Plee District in Nakorn Nayok Province. The       male fish have a higher growth rate and their sizes are larger
objectives are to produce the quality Chitralada breed             than the female ones. If farmers raise only male fish in one
fingerlings and to produce up to 5-10 million fingerlings per      pond, the yields will be higher than raising two sexes in the
year. Low price fingerlings will be sold to the local people to    same pond and another advantage is that they can raise the
serve as breeders and the knowledge on how to raise Nil fish       fish to grow into similar sizes.
will also be disseminated to farmers and interested public.              If you are interested in visiting the center, you can
      Inside the project area, there are two ponds with the size   contact the Office of the Chaipattana Foundation through
of five acres each. They are used for raising the breeders         this number: 0-2282-4425-7 ext. 119 120 121. During the visit,
which were transferred from the Chitralada Palace. Other ten       you may not only receive knowledge regarding how to raise
ponds and a building for fingerlings nursery as well as a house    good quality Nil fish, but you might get low price products
for fish feed production were also excavated. The                  home as well.




                                                                                                                              39
ศัพท์ควรรู้
     ในโครงการพระราชดำริ
     เรื่อง : ศุลีพร บุญบงการ
     

      พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงให้ความสำคัญในหลายด้าน                      การแบ่งกลุ่มประเทศยังอยู่ในรูปแบบของ North-South divide
ของพัฒนาประเทศมาโดยตลอดตั้งแต่ระยะเริ่มต้นของการเสด็จขึ้น              หรือ การแบ่งประเทศเหนือใต้ ซึ่งประเทศทางซีกเหนือมักร่ำรวยและ
ครองราชย์ เพราะทรงตระหนักถึงปัญหาต่างๆ โดยเฉพาะปัญหา                   พัฒนา แต่ประเทศทางซีกใต้มักยากจนและด้อยพัฒนา แต่การแบ่ง
ความยากจนที่ทำให้ชาวบ้านในชนบทอันห่างไกลต้องเผชิญกับความ               กลุ่มประเทศประเภทนี้ไม่ได้แบ่งตามตำแหน่งที่ตั้งทางภูมิศาสตร์เสมอ
ยากลำบากในการเลี้ยงปากท้องและยกระดับคุณภาพชีวิตของตนเอง                ไป หากได้แบ่งตามสถานะทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองการ
ให้ดีขึ้น ประเทศไทยในมุมมองของประเทศที่ร่ำรวยทางเศรษฐกิจ               ปกครองระหว่างประเทศที่พัฒนาแล้วด้วยเช่นกัน ซึ่งประเทศที่พัฒนา
ถือว่าเป็นประเทศที่ยังไม่พัฒนา ซึ่งการแบ่งประเทศออกเป็นกลุ่มตาม        แล้วที่ไม่ได้ตั้งอยู่ทางซีกเหนือของโลกอาจจัดอยู่ในกลุ่มเหนือด้วยก็ได้
ความร่ำรวยทางเศรษฐกิจและความเจริญก้าวหน้าด้านต่างๆ ของ                 ต่อมาการแบ่งทั้งหลายนี้ได้แปรเปลี่ยนไปใช้คำนิยามใหม่ที่ออกแนว
แต่ละประเทศนั้น ได้เกิดขึ้นในช่วงสงครามเย็น 
                          เป็นกลาง ไม่เชิงเป็นการดูถูกประเทศยากจนมากจนเกินไป เช่น เรียก
      คงเป็นที่คุ้นเคยกันบ้างกับการเรียกขานประเทศที่ยากจนว่าเป็น       ประเทศยากจนเหล่ า นี้ ว่ า Developing countries ซึ่ ง หมายถึ ง
ประเทศโลกที่สาม หรือ Third world countries คำว่า Third world นี้       ประเทศกำลั ง พั ฒ นา หรื อ Less economically developed
เริ่มใช้กันแพร่หลายในภาษาฝรั่งเศสมาก่อน (Le tiers monde) โดยผู้        countries ที่ เ รี ย กประเทศที่ มี ก ารพั ฒ นาด้ า นเศรษฐกิ จ น้ อ ยกว่ า
เชี่ยวชาญด้านประชากรศาสตร์ Alfred Sauvy ที่ใช้เรียกประเทศที่มี         ประเทศอื่น
ความยากจนทางเศรษฐกิจ เช่น ประเทศส่วนใหญ่ที่อยู่ในแถบละติน
                     อาจสังเกตได้ว่าการแบ่งประเทศออกเป็นกลุ่มต่างๆ นั้น ได้แบ่ง
อเมริกา แอฟริกา และเอเชีย ซึ่งประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้านก็           โดยประเทศที่อ้างว่าตนเองเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว โดยยึดเอาความ
จัดอยู่ในกลุ่มประเทศนี้ด้วย ส่วน ประเทศโลกที่หนึ่ง หรือ First world    มั่งคั่งทางเศรษฐกิจ เทคโนโลยี และอุตสาหกรรมเป็นที่ตั้ง ซึ่งประเทศ
และ ประเทศโลกที่สอง หรือ Second world ได้รับการนิยามใน
                ไทยเองก็เคยอยากให้ประเทศของตนจัดอยู่ในกลุ่มที่เรียกได้ว่าพัฒนา
ภายหลัง ซึ่งประเทศโลกที่หนึ่งหมายรวมประเทศที่มีความร่ำรวยทาง           แล้วเช่นเดียวกันโดยลืมใส่ใจสมดุลด้านต่างๆ ที่ทำให้เกิดความอยู่ดีมี
เศรษฐกิจและเติบโตทางเทคโนโลยีและอุตสาหกรรม ซึ่งส่วนมากอยู่ใน           สุขที่ยั่งยืน ซึ่งเมื่อหันกลับมามองการพัฒนาตามแบบของพระบาท
แถบทวีปยุโรป อเมริกาเหนือ และออสเตรเลีย ส่วนประเทศโลกที่สอง            สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวแล้ว การพัฒนาที่เน้นตัวเงิน ไม่ได้สำคัญมากไป
นั้นหมายถึงประเทศในระบบคอมมิวนิสต์ทั้งหลายที่ไม่หลงเหลือให้เห็น        กว่าความอยู่เย็นเป็นสุขของคนไทยทั้งประเทศเลย
                                                                                                                            ❐
                                                                                                                           

ชัดเจนในปัจจุบันอีกต่อไป 
                                                      



อ้างอิง
World Wide Word, Michael Quinion, 2005
Therien. J.P, (1999) Beyond the North-South Divide: the two tales of world poverty. Third World Quarterly. Vol 20. No. 4. pp723-742 

40

More Related Content

Similar to Chaipat apr p036 040

โครงการพัฒนาการประมง
โครงการพัฒนาการประมงโครงการพัฒนาการประมง
โครงการพัฒนาการประมงAbnPlathong Ag'
 
35 ปี ปะการังเทียม
35 ปี ปะการังเทียม35 ปี ปะการังเทียม
35 ปี ปะการังเทียมRangsimant Buatong
 
โครงการ การประมง
โครงการ การประมงโครงการ การประมง
โครงการ การประมงmoemon12
 
ปลาทอง
ปลาทองปลาทอง
ปลาทองsittichart
 
โครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docx
โครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docxโครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docx
โครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docxKamontip Jiruksa
 
การประมงตามพระราชดำริ
การประมงตามพระราชดำริการประมงตามพระราชดำริ
การประมงตามพระราชดำริTanggwa
 

Similar to Chaipat apr p036 040 (8)

โครงการพัฒนาการประมง
โครงการพัฒนาการประมงโครงการพัฒนาการประมง
โครงการพัฒนาการประมง
 
35 ปี ปะการังเทียม
35 ปี ปะการังเทียม35 ปี ปะการังเทียม
35 ปี ปะการังเทียม
 
โครงการ การประมง
โครงการ การประมงโครงการ การประมง
โครงการ การประมง
 
Thanawat
ThanawatThanawat
Thanawat
 
ปลาทอง
ปลาทองปลาทอง
ปลาทอง
 
โครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docx
โครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docxโครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docx
โครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docx
 
การประมงตามพระราชดำริ
การประมงตามพระราชดำริการประมงตามพระราชดำริ
การประมงตามพระราชดำริ
 
Wuttipong
WuttipongWuttipong
Wuttipong
 

More from i_cavalry

ระเบียบปี 56 การช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ
ระเบียบปี 56 การช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติระเบียบปี 56 การช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ
ระเบียบปี 56 การช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติi_cavalry
 
ระเบียบ ทบ. ว่าด้วยการลา พ.ศ.2556
ระเบียบ ทบ. ว่าด้วยการลา พ.ศ.2556ระเบียบ ทบ. ว่าด้วยการลา พ.ศ.2556
ระเบียบ ทบ. ว่าด้วยการลา พ.ศ.2556i_cavalry
 
หลักเกณฑ์ในการขอพระราชทานเพลิงศพ
หลักเกณฑ์ในการขอพระราชทานเพลิงศพหลักเกณฑ์ในการขอพระราชทานเพลิงศพ
หลักเกณฑ์ในการขอพระราชทานเพลิงศพi_cavalry
 
เอกสาร : การควบคุมภายในภาคราชการ
เอกสาร : การควบคุมภายในภาคราชการเอกสาร : การควบคุมภายในภาคราชการ
เอกสาร : การควบคุมภายในภาคราชการi_cavalry
 
โครงการประกวดเว็บไซต์
โครงการประกวดเว็บไซต์โครงการประกวดเว็บไซต์
โครงการประกวดเว็บไซต์i_cavalry
 
แบบ ปม กรมการสัตว์ทหารบก 2555
แบบ ปม กรมการสัตว์ทหารบก 2555แบบ ปม กรมการสัตว์ทหารบก 2555
แบบ ปม กรมการสัตว์ทหารบก 2555i_cavalry
 
กลยุทธ์ กส.ทบ. ประจำปี 2556
กลยุทธ์ กส.ทบ. ประจำปี 2556 กลยุทธ์ กส.ทบ. ประจำปี 2556
กลยุทธ์ กส.ทบ. ประจำปี 2556 i_cavalry
 
๒๘ มีนาคม วันคล้ายวันสถาปนา ศูนย์การสุนัขทหาร
๒๘ มีนาคม  วันคล้ายวันสถาปนา ศูนย์การสุนัขทหาร๒๘ มีนาคม  วันคล้ายวันสถาปนา ศูนย์การสุนัขทหาร
๒๘ มีนาคม วันคล้ายวันสถาปนา ศูนย์การสุนัขทหารi_cavalry
 
เพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และประชาชน
เพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และประชาชนเพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และประชาชน
เพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และประชาชนi_cavalry
 
Cobragold 2013
Cobragold 2013Cobragold 2013
Cobragold 2013i_cavalry
 
การประเมินประสิทธิภาพหน่วยทหาร
การประเมินประสิทธิภาพหน่วยทหารการประเมินประสิทธิภาพหน่วยทหาร
การประเมินประสิทธิภาพหน่วยทหารi_cavalry
 
Negative thinking
Negative thinkingNegative thinking
Negative thinkingi_cavalry
 
Introduction of horse
Introduction of horseIntroduction of horse
Introduction of horsei_cavalry
 
งาน ..
งาน .. งาน ..
งาน .. i_cavalry
 
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 2 กรมการสัตว์ทหารบก
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 2 กรมการสัตว์ทหารบกประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 2 กรมการสัตว์ทหารบก
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 2 กรมการสัตว์ทหารบกi_cavalry
 
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ ๑ กรมการสัตว์ทหารบก
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ ๑ กรมการสัตว์ทหารบกประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ ๑ กรมการสัตว์ทหารบก
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ ๑ กรมการสัตว์ทหารบกi_cavalry
 
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 3 กรมการสัตว์ทหารบก
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 3 กรมการสัตว์ทหารบกประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 3 กรมการสัตว์ทหารบก
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 3 กรมการสัตว์ทหารบกi_cavalry
 
กรมการสัตว์ทหารบก ทูลเกล้าฯ ถวายแจกันดอกไม้แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ
กรมการสัตว์ทหารบก ทูลเกล้าฯ ถวายแจกันดอกไม้แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ กรมการสัตว์ทหารบก ทูลเกล้าฯ ถวายแจกันดอกไม้แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ
กรมการสัตว์ทหารบก ทูลเกล้าฯ ถวายแจกันดอกไม้แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ i_cavalry
 

More from i_cavalry (20)

ระเบียบปี 56 การช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ
ระเบียบปี 56 การช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติระเบียบปี 56 การช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ
ระเบียบปี 56 การช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ
 
ระเบียบ ทบ. ว่าด้วยการลา พ.ศ.2556
ระเบียบ ทบ. ว่าด้วยการลา พ.ศ.2556ระเบียบ ทบ. ว่าด้วยการลา พ.ศ.2556
ระเบียบ ทบ. ว่าด้วยการลา พ.ศ.2556
 
หลักเกณฑ์ในการขอพระราชทานเพลิงศพ
หลักเกณฑ์ในการขอพระราชทานเพลิงศพหลักเกณฑ์ในการขอพระราชทานเพลิงศพ
หลักเกณฑ์ในการขอพระราชทานเพลิงศพ
 
เอกสาร : การควบคุมภายในภาคราชการ
เอกสาร : การควบคุมภายในภาคราชการเอกสาร : การควบคุมภายในภาคราชการ
เอกสาร : การควบคุมภายในภาคราชการ
 
โครงการประกวดเว็บไซต์
โครงการประกวดเว็บไซต์โครงการประกวดเว็บไซต์
โครงการประกวดเว็บไซต์
 
แบบ ปม กรมการสัตว์ทหารบก 2555
แบบ ปม กรมการสัตว์ทหารบก 2555แบบ ปม กรมการสัตว์ทหารบก 2555
แบบ ปม กรมการสัตว์ทหารบก 2555
 
กลยุทธ์ กส.ทบ. ประจำปี 2556
กลยุทธ์ กส.ทบ. ประจำปี 2556 กลยุทธ์ กส.ทบ. ประจำปี 2556
กลยุทธ์ กส.ทบ. ประจำปี 2556
 
๒๘ มีนาคม วันคล้ายวันสถาปนา ศูนย์การสุนัขทหาร
๒๘ มีนาคม  วันคล้ายวันสถาปนา ศูนย์การสุนัขทหาร๒๘ มีนาคม  วันคล้ายวันสถาปนา ศูนย์การสุนัขทหาร
๒๘ มีนาคม วันคล้ายวันสถาปนา ศูนย์การสุนัขทหาร
 
Culture
CultureCulture
Culture
 
เพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และประชาชน
เพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และประชาชนเพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และประชาชน
เพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และประชาชน
 
Cobragold 2013
Cobragold 2013Cobragold 2013
Cobragold 2013
 
การประเมินประสิทธิภาพหน่วยทหาร
การประเมินประสิทธิภาพหน่วยทหารการประเมินประสิทธิภาพหน่วยทหาร
การประเมินประสิทธิภาพหน่วยทหาร
 
Negative thinking
Negative thinkingNegative thinking
Negative thinking
 
Introduction of horse
Introduction of horseIntroduction of horse
Introduction of horse
 
งาน ..
งาน .. งาน ..
งาน ..
 
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 2 กรมการสัตว์ทหารบก
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 2 กรมการสัตว์ทหารบกประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 2 กรมการสัตว์ทหารบก
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 2 กรมการสัตว์ทหารบก
 
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ ๑ กรมการสัตว์ทหารบก
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ ๑ กรมการสัตว์ทหารบกประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ ๑ กรมการสัตว์ทหารบก
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ ๑ กรมการสัตว์ทหารบก
 
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 3 กรมการสัตว์ทหารบก
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 3 กรมการสัตว์ทหารบกประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 3 กรมการสัตว์ทหารบก
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 3 กรมการสัตว์ทหารบก
 
กรมการสัตว์ทหารบก ทูลเกล้าฯ ถวายแจกันดอกไม้แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ
กรมการสัตว์ทหารบก ทูลเกล้าฯ ถวายแจกันดอกไม้แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ กรมการสัตว์ทหารบก ทูลเกล้าฯ ถวายแจกันดอกไม้แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ
กรมการสัตว์ทหารบก ทูลเกล้าฯ ถวายแจกันดอกไม้แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ
 
Retreat s.
Retreat s.Retreat s.
Retreat s.
 

Chaipat apr p036 040

  • 1. หากเอ่ยถึงปลานิลหลายท่านคงคุ้นหูและคุ้นลิ้นในรสชาติกัน เปิดประตูสู่โครงการ เป็นอย่างดี เพราะเป็นปลาที่อร่อย หารับประทานง่าย ที่สำคัญ ตามรอยทางอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ราคาไม่แพงเหมาะกับการบริโภคในปัจจุบัน แต่จะมีกี่คนที่ทราบ ว่ า ปลานิ ล ที่ เ ราๆ ท่ า นๆ บริ โ ภคกั น อยู่ นั้ น มี จุ ด กำเนิ ด มาจาก ศูนย์เพาะเลี้ยง ประเทศญี่ปุ่น โดยย้อนหลังไปเมื่อปี พ.ศ. 2508 พระจักรพรรดิ อะกิ ฮิ โ ต แห่ ง ประเทศญี่ ปุ่ น ทรงจั ด ปลาจำนวน 50 ตั ว ปลานิลจิตรลดา ทูลเกล้าฯ ถวายแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ต่อมาทรงพระ กรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ทดลองเลี้ยงไว้ภายในบริเวณสวนจิตรลดา ของมูลนิธิชัยพัฒนา ทรงเห็นว่าเป็นปลาที่เลี้ยงง่าย เจริญเติบโตเร็ว จึงมีพระราช ประสงค์ที่จะให้ขยายพันธุ์ปลานี้เพื่อเป็นประโยชน์แก่ประชาชนชาว เรื่อง : ปิยะฉัตร ภมรสูต ไทย และได้ พ ระราชทานชื่ อ ปลานี้ ว่ า “ปลานิ ล ” เมื่ อ วั น ที่ 17 มีนาคม 2509 เป็นต้นมา 36
  • 2. จากที่กล่าวมาข้างต้น คณะผู้จัดทำวารสารมูลนิธิชัยพัฒนา จึง จะขอนำท่านผู้อ่านเยี่ยมชมศูนยเพาะเลี้ยงปลานิลจิตรลดา ของมูลนิธิ ชั ย พั ฒ นา ที่ ไ ด้ ด ำเนิ น งานตามแนวพระราชดำริ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัว ในการพัฒนาสายพันธุ์ปลานิลเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อ ประชาชนและเกษตรกรไทย ศูนย์เพาะเลี้ยงปลานิลจิตรลดา ของมูลนิธิชัยพัฒนา ตั้งอยู่ที่ ผลิ ต อาหารเม็ ด สำเร็ จ รู ป ที่ ใ ช้ ใ นการเพาะเลี้ ย งปลานิ ล เป็ น ต้ น บ้ า นเกาะกา ตำบลท่ า เรื อ อำเภอปากพลี จั ง หวั ด นครนายก มี นอกจากนี้ยังมีการแปลงเพศปลานิลหรือที่เราคุ้นหูกันดีว่าปลานิล วัตถุประสงค์เพื่อดำเนินการผลิตลูกปลานิลสายพันธุ์จิตรลดาแท้ ที่มี แปลงเพศ เพื่อกำหนดเพศให้เป็นเพศผู้ เนื่องจากปลานิลเพศผู้มีอัตรา คุณลักษณะดี และมีเปาหมายเพาะพันธุ์ปลานิลสายพันธุ์จิตรลดาให้ได้ การเจริญเติบโตสูงกว่าเพศเมีย ทั้งยังมีตัวใหญ่และให้ผลผลิตต่อไร่สูง ผลผลิต 5-10 ล้านตัวต่อป เพื่อจำหน่ายในราคาถูกให้เกษตรกรนำไป กว่า และยังสามารถกำหนดขนาดของปลาให้มีขนาดใกล้เคียงกันเกือบ เป็นพ่อพันธุ์แม่พันธุ์ และถ่ายทอดความรู้ด้านการเพาะปลานิลสาย ทั้งบ่ออีกด้วย พันธุ์จิตรลดา ให้แก่เกษตรกรและประชาชนที่สนใจทั่วไป ผู้สนใจสามารถติดต่อเพื่อขอเยี่ยมชมโครงการได้ที่ สำนักบริหาร ภายในโครงการประกอบด้วยบ่อดินขนาด 2 ไร่ สำหรับใช้เป็น โครงการ สำนักงานมูลนิธิชัยพัฒนา โทร 0-2282-4425-7 ตอ 119 บ่อเลี้ยงพ่อแม่พันธุ์ซึ่งได้มาจากสวนจิตรลดา และบ่ออนุบาลลูกปลา 120 121 ตามวัน เวลา ราชการ นอกจากทานจะไดรับความรูแลวยัง จำนวน 10 บ่อ อาคารเพาะฟักและอนุบาลลูกปลา รวมถึงโรงเรือน อาจไดปลานิลคุณภาพดีราคาถูกติดไมติดมือกลับบานดวย 37
  • 3. Nil fish, among most Thais, not only that they are tasty, but Open a Gateway they are also an easy to find source of protein with reasonable to the Royal Development Project price. Although many Thai people are familiar with Nil fish, only a few are aware that Nil fish that we are consuming traveled a The Chitralada Nil Fish long journey from Japan. In 1965, the Crown Prince Akihito of Breeding Center of Japan, before he was enthroned as the Japan’s Emperor, the Chaipattana Foundation presented 50 Nil fish to His Majesty King Bhumibol Adulyadej, to be raised in a pond in the Chitralada Palace. When witnessing Written by Piyachat Pamornsoot that Nil fish were easy to raise and easy to reproduce, His Translated by Suleeporn Bunbongkarn Majesty, therefore, had an initiative to breed in a greater magnitude. 38
  • 4. Since Nil fish have been important in serving as the great source of protein and income, in this issue, you will be introduced to the Chitralada Nil Fish Breeding Center of the Chaipattana Foundation which answered His Majesty’s initiative in developing and breeding Nil fish to benefit the Thai people. transformation female Nil fish into male is another productive This breeding center is situated in Baan Kohka, Tha Rue activity. This activity received great attention because the Subdistrict, Pak Plee District in Nakorn Nayok Province. The male fish have a higher growth rate and their sizes are larger objectives are to produce the quality Chitralada breed than the female ones. If farmers raise only male fish in one fingerlings and to produce up to 5-10 million fingerlings per pond, the yields will be higher than raising two sexes in the year. Low price fingerlings will be sold to the local people to same pond and another advantage is that they can raise the serve as breeders and the knowledge on how to raise Nil fish fish to grow into similar sizes. will also be disseminated to farmers and interested public. If you are interested in visiting the center, you can Inside the project area, there are two ponds with the size contact the Office of the Chaipattana Foundation through of five acres each. They are used for raising the breeders this number: 0-2282-4425-7 ext. 119 120 121. During the visit, which were transferred from the Chitralada Palace. Other ten you may not only receive knowledge regarding how to raise ponds and a building for fingerlings nursery as well as a house good quality Nil fish, but you might get low price products for fish feed production were also excavated. The home as well. 39
  • 5. ศัพท์ควรรู้ ในโครงการพระราชดำริ เรื่อง : ศุลีพร บุญบงการ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงให้ความสำคัญในหลายด้าน การแบ่งกลุ่มประเทศยังอยู่ในรูปแบบของ North-South divide ของพัฒนาประเทศมาโดยตลอดตั้งแต่ระยะเริ่มต้นของการเสด็จขึ้น หรือ การแบ่งประเทศเหนือใต้ ซึ่งประเทศทางซีกเหนือมักร่ำรวยและ ครองราชย์ เพราะทรงตระหนักถึงปัญหาต่างๆ โดยเฉพาะปัญหา พัฒนา แต่ประเทศทางซีกใต้มักยากจนและด้อยพัฒนา แต่การแบ่ง ความยากจนที่ทำให้ชาวบ้านในชนบทอันห่างไกลต้องเผชิญกับความ กลุ่มประเทศประเภทนี้ไม่ได้แบ่งตามตำแหน่งที่ตั้งทางภูมิศาสตร์เสมอ ยากลำบากในการเลี้ยงปากท้องและยกระดับคุณภาพชีวิตของตนเอง ไป หากได้แบ่งตามสถานะทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองการ ให้ดีขึ้น ประเทศไทยในมุมมองของประเทศที่ร่ำรวยทางเศรษฐกิจ ปกครองระหว่างประเทศที่พัฒนาแล้วด้วยเช่นกัน ซึ่งประเทศที่พัฒนา ถือว่าเป็นประเทศที่ยังไม่พัฒนา ซึ่งการแบ่งประเทศออกเป็นกลุ่มตาม แล้วที่ไม่ได้ตั้งอยู่ทางซีกเหนือของโลกอาจจัดอยู่ในกลุ่มเหนือด้วยก็ได้ ความร่ำรวยทางเศรษฐกิจและความเจริญก้าวหน้าด้านต่างๆ ของ ต่อมาการแบ่งทั้งหลายนี้ได้แปรเปลี่ยนไปใช้คำนิยามใหม่ที่ออกแนว แต่ละประเทศนั้น ได้เกิดขึ้นในช่วงสงครามเย็น เป็นกลาง ไม่เชิงเป็นการดูถูกประเทศยากจนมากจนเกินไป เช่น เรียก คงเป็นที่คุ้นเคยกันบ้างกับการเรียกขานประเทศที่ยากจนว่าเป็น ประเทศยากจนเหล่ า นี้ ว่ า Developing countries ซึ่ ง หมายถึ ง ประเทศโลกที่สาม หรือ Third world countries คำว่า Third world นี้ ประเทศกำลั ง พั ฒ นา หรื อ Less economically developed เริ่มใช้กันแพร่หลายในภาษาฝรั่งเศสมาก่อน (Le tiers monde) โดยผู้ countries ที่ เ รี ย กประเทศที่ มี ก ารพั ฒ นาด้ า นเศรษฐกิ จ น้ อ ยกว่ า เชี่ยวชาญด้านประชากรศาสตร์ Alfred Sauvy ที่ใช้เรียกประเทศที่มี ประเทศอื่น ความยากจนทางเศรษฐกิจ เช่น ประเทศส่วนใหญ่ที่อยู่ในแถบละติน อาจสังเกตได้ว่าการแบ่งประเทศออกเป็นกลุ่มต่างๆ นั้น ได้แบ่ง อเมริกา แอฟริกา และเอเชีย ซึ่งประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้านก็ โดยประเทศที่อ้างว่าตนเองเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว โดยยึดเอาความ จัดอยู่ในกลุ่มประเทศนี้ด้วย ส่วน ประเทศโลกที่หนึ่ง หรือ First world มั่งคั่งทางเศรษฐกิจ เทคโนโลยี และอุตสาหกรรมเป็นที่ตั้ง ซึ่งประเทศ และ ประเทศโลกที่สอง หรือ Second world ได้รับการนิยามใน ไทยเองก็เคยอยากให้ประเทศของตนจัดอยู่ในกลุ่มที่เรียกได้ว่าพัฒนา ภายหลัง ซึ่งประเทศโลกที่หนึ่งหมายรวมประเทศที่มีความร่ำรวยทาง แล้วเช่นเดียวกันโดยลืมใส่ใจสมดุลด้านต่างๆ ที่ทำให้เกิดความอยู่ดีมี เศรษฐกิจและเติบโตทางเทคโนโลยีและอุตสาหกรรม ซึ่งส่วนมากอยู่ใน สุขที่ยั่งยืน ซึ่งเมื่อหันกลับมามองการพัฒนาตามแบบของพระบาท แถบทวีปยุโรป อเมริกาเหนือ และออสเตรเลีย ส่วนประเทศโลกที่สอง สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวแล้ว การพัฒนาที่เน้นตัวเงิน ไม่ได้สำคัญมากไป นั้นหมายถึงประเทศในระบบคอมมิวนิสต์ทั้งหลายที่ไม่หลงเหลือให้เห็น กว่าความอยู่เย็นเป็นสุขของคนไทยทั้งประเทศเลย ❐ ชัดเจนในปัจจุบันอีกต่อไป อ้างอิง World Wide Word, Michael Quinion, 2005 Therien. J.P, (1999) Beyond the North-South Divide: the two tales of world poverty. Third World Quarterly. Vol 20. No. 4. pp723-742 40