SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
การสื่อสารข้อมูล
1. ความหมายของการสือ สารข้อ มูล
                   ่


 การสื่อสารข้อมูล หมายถึง การโอนถ่าย (Transmission)
 ข้อมูลหรือการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างต้นทางกับปลาย
 ทาง โดยใช้อุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์หรือเครื่อง
 คอมพิวเตอร์ ซึ่งมีตัวกลาง เช่น ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
 สำาหรับควบคุมการส่งและการไหลของข้อมูลจากต้นทาง
 ไปยังปลายทาง นอกจากนี้อาจจะมีผู้รับผิดชอบในการ
 กำาหนดกฎเกณฑ์ในการส่งหรือรับข้อมูลตามรูปแบบที่
 ต้องการ
2. องค์ป ระกอบพืน ฐานของระบบ
                ้
สือ สารข้อ มูล
  ่

1. ผู้ส ่ง หรือ อุป กรณ์ส ่ง ข้อ มูล (Sender)
   ข้อมูลต่างๆ ที่อยู่ต้นทางจะต้องจัดเตรียมนำาเข้าสู่อุปกรณ์
   สำาหรับส่งข้อมูล ซึ่งได้แก่เครื่องพิมพ์ หรืออุปกรณ์
   ควบคุมต่าง ๆ จานไมโครเวฟ จานดาวเทียม ซึ่งข้อมูล
   เหล่านั้นถูกเปลียนให้อยู่ในรูปแบบที่สามารถส่งข้อมูล
                      ่
   นั้นได้ก่อน
2. ผู้ร ับ หรือ อุป กรณ์ร ับ ข้อ มูล (Receiver)
   ข้อมูลที่ถกส่งจากอุปกรณ์ส่งข้อมูลต้นทาง เมื่อไปถึง
                ู
   ปลายทางก็จะมีอุปกรณ์สำาหรับรับข้อมูลเหล่านั้นเพื่อนำา
   ไปใช้ประโยชน์ต่อไป อุปกรณ์เหล่านี้ได้แก่ เครื่องพิมพ์
   คอมพิวเตอร์ จานไมโครเวฟ จานดาวเทียม ฯลฯ
3. โปรโตคอล (Protocol)
   โปรโตคอล คือ กฎระเบียบ หรือวิธการใช้เป็นข้อกำาหนด
                                      ี
   สำาหรับการสื่อสาร เพื่อให้ผู้รับและผู้ส่งเข้าใจกันได้ ซึ่งมี
   หลายชนิดให้เลือกใช้ เช่น TCP/IP, X.25, SDLC เป็นต้น
4. ซอฟต์แ วร์ (Software)
   การส่งข้อมูลผ่านคอมพิวเตอร์จำาเป็นต้องมีโปรแกรม
   สำาหรับดำาเนินการ และควบคุมการส่งข้อมูลเพื่อให้ได้
   ข้อมูลตามที่กำาหนดไว้ ได้แก่ Novell's NetWare UNIX Windows
   NT ฯลฯ
5. ข่า วสาร (Message)
ข้อ มูล (Data) เป็นรายละเอียดของสิ่งต่าง ๆ ซึ่งถูกสร้าง
   และจัดเก็บด้วยคอมพิวเตอร์ มีรูปแบบแน่นอน
ข้อ ความ (Text) อยู่ในรูปของเอกสารหรือตัวอักขระ ไม่มี
   รูปแบบที่แน่นอน ชัดเจนนับจำานวนได้คอนข้างยาก และ
   มีความสามารถในการส่งปานกลาง
รูป ภาพ (Image) เป็นข่าวสารที่อยู่ในรูปของภาพกราฟิก
   แบบต่างๆ ซึ่งข้อมูลชนิดนี้จะต้องอาศัยสื่อสำาหรับเก็บ
   และใช้หน่วยความจำาเป็นจำานวนมาก
เสีย ง (Voice) อยู่ในรูปของเสียงพูด เสียงดนตรี หรือเสียง
   อื่น ๆ ข้อมูลชนิดนี้จะกระจัดกระจาย ไม่สามารถวัด
   ขนาดที่แน่นอนได้ การส่งจะทำาได้ด้วยความเร็ว ค่อน
6. ตัว กลาง (Medium)
   เป็นตัวกลางหรือสื่อกลางที่ทำาหน้าที่นำาข่าวสารในรูป
   แบบต่าง ๆ จากผู้ส่งหรืออุปกรณ์ส่งต้นทางไปยังผู้รับ
   หรืออุปกรณ์รับปลายทาง ซึ่งมีหลายรูปแบบได้แก่ สาย
   ไป ขดลวด สายเคเบิล สายไฟเบอร์ออฟติก ตัวกลางอาจ
   จะอยู่ในรูปของคลื่นที่ส่งผ่านทางอากาศ เช่น คลื่น
   ไมโครเวฟ คลื่นดาวเทียม หรือคลื่นวิทยุ เป็นต้น
3. การเชือ มต่อ คอมพิว เตอร์
          ่
สำา หรับ สือ สารข้อ มูล
            ่

 เป็นการเชือมโยงคอมพิวเตอร์ต้นทางเข้ากับ
             ่
 คอมพิวเตอร์ปลายทาง โดยใช้ตัวกลางหรือสื่อกลาง
 สำาหรับเชื่อมต่อ ขึ้นอยู่กับลักษณะของการใช้งาน
 เป็นการเชือมต่อระยะไกลจากคอมพิวเตอร์ต้นทางไปยัง
               ่
 ปลายทาง โดยผ่านเครือข่ายโทรศัพท์สาธารณะ
4. การส่ง สัญ ญาณข้อ มูล (Transmission
Definition)

      การส่งสัญญาณข้อมูล หมายถึง การส่งข้อมูลหรือ
 ข่าวสารต่างๆ จากอุปกรณ์สำาหรับส่งหรือผู้ส่ง ผ่านทาง
 ตัวกลางหรือสื่อกลางไปยังอุปกรณ์รับหรือผู้รับข้อมูล
 หรือข่าว ซึ่งข้อมูลหรือข่าวสารที่ส่งไปอาจจะอยู่ในรูป
 ของสัญญาณเสียง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าหรือแสงก็ได้
 โดยที่สื่อกลางหรือตัวกลางของสัญญาณนั้นแบ่งเป็น 2
 ชนิด คือชนิดที่สามารถกำาหนดเส้นทางสัญญาณได้ เช่น
 สายเกลียวคู่ (Twisted paire) สายโทรศัพท์ สายโคแอกเชีย
 ล (Coaxial) สายใยแก้วนำาแสง (Fiber Optic) ส่วนตัวกลางอีก
 ชนิดหนึ่งนั้นไม่สามารถกำาหนดเส้นทางของสัญญาณได้
 เช่น สุญญากาศ นำ้า และ ชั้นบรรยากาศ เป็นต้น
แบบของการส่งสัญญาณข้อมูล
  แบ่งได้เป็น 4 รูปแบบดังนี้
การส่ง สัญ ญาณทางเดีย ว (One-Way Transmission หรือ
  Simplex)
- การส่งวิทยุกระจายเสียง การแพร่ภาพโทรทัศน์
การส่ง สัญ ญาณกึ่ง ทางคู่ (Half-Duplex หรือ Either-Way)
- วิทยุสนาม
การส่ง สัญ ญาณทางคู่ (Full-Duplex หรือ Both way
  Transmission)
- การใช้โทรศัพท์
มาตรฐานสากล (International Standards)
 ISO (The International Standards Organization)
  พัฒนามาตรฐานสากลเกี่ยวกับสถาปัตยกรรมเครือข่าย
 CCITT (The Conseclitive Committee in International)
  พัฒนามาตรฐาน V และ x โดยทีมาตรฐาน v ใช้สำาหรับวงจรโทรศัพท์และ
                                        ่
  โมเด็ม เช่น v29, v34 ส่วนมาตรฐาน x ใช้กับเครือข่ายข้อมูลสาธารณะเช่น
  เครือข่าย x.25 แพ็กเกจสวิตช์ (Package switch) เป็นต้น
 ANSI (The American National Standards Institute)
  พัฒนามาตรฐานเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูลและระบบเครือข่ายมาตรฐาน
  ส่วนใหญ่จะเกี่ยวข้องกับการประดิษฐ์ตัวเลขที่ใช้ในการติดต่อสือสาร
                                                               ่
  ข้อมูลและมาตรฐานเทอร์มนัล        ิ
 IEE (The Institute of Electronic Engineers)
  มาตรฐานนี้จะเน้นไปทางด้านอุตสาหกรรมไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ ไมโคร
  โปรเซสเซอร์ และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ในไมโครคอมพิวเตอร์ เช่น IEE
  802.3 ซึ่งใช้ระบบ LAN (Local Area Network)
 EIA (The Electronics Industries Association)
6. ลัก ษณะของสัญ ญาณที่ใ ช้ใ นการ
ส่ง สัญ ญาณข้อ มูล

     2 ลัก ษณะดัง นี้
 การส่ง สัญ ญาณแบบอนาลอก (Analog Transmission)
 สัญญาณอนาลอกที่ส่งออกไปนั้นเมื่อระยะห่างออกไป
 สัญญาณก็จะอ่อนลงเรื่อย ๆ -- Amplifier
 - เกิด Noise ขึ้น
 - แก้ไขโดยใช้ Filter
การส่ง สัญ ญาณแบบดิจ ิต อล (Digital Transmission)
 การส่งสัญญาณแบบดิจิตอลจะใช้เมื่อต้องการข้อมูลที่
 ถูกต้องชัดเจนแน่นอน ดังนั้นจึงจำาเป็นต้องสนใจราย
 ละเอียดทุกอย่างที่บรรจุมากับสัญญาณ เมื่อระยะทางใน
 การส่งมากขึ้น สัญญาณดิจิตอลก็จะจางลง ซึ่งสามารถ
 แก้ไขได้โดยรีพีตเตอร์ (Repeater)
7. รหัสที่ใช้สงสัญญาณข้อมูล (Transmission
               ่
Code)

 แบ่งออกเป็น 2 ระบบ คือ แบบดิจิตอลและแบบอนาลอก
 ตัวอักษร ตัวเลข เสียง และภาพต่าง ๆ ซึ่งข่าวสารเหล่านี้
 จะอยู่ในรูปแบบอนาลอก แต่เมื่อต้องการนำาข้อมูลหรือ
 ข่าวสารเหล่านี้มาใช้กับคอมพิวเตอร์ จะต้องเปลี่ยน
 ข้อมูล หรือข่าวสารเหล่านี้ให้อยู่ในรูปแบบที่
 คอมพิวเตอร์เข้าใจได้เสียก่อน ซึ่งคอมพิวเตอร์จะรับรู้
 ข่าวสารที่เป็นแบบดิจิตอลเท่านั้น นั่นคือการเข้าสู่
 กระบวนการเปลียนข่าวสารแบบอนาลอกให้เป็นข่าวสาร
                  ่
 แบบดิจิตอล
 - ตัวอักษรที่พิมพ์เข้าไปจะต้องมีการเข้ารหัสโดยผ่านตัว
 Encoder ให้อยู่ในรูปของสัญญาณที่สามารถส่งสัญญาณ
 ต่อไปได้เมื่อสัญญาณถูกส่งไปยังเครื่องรับ จากนั้น
 เครื่องรับก็จะตีความสัญญาณที่ส่งมาและผ่านตัว Decodes
8. รูป แบบของรหัส
  รหัสทีใช้ในการสื่อสารข้อมูลโดยทั่วไปจะอยู่ในรูปของไบนารี (Binary) หรือเลขฐานสอง
         ่
  ซึ่งประกอบด้วยเลข 0 กับเลข 1 โดยใช้รหัสทีเป็นเลข 0 แทนการไม่มีสัญญาณไฟและเลข
                                                      ่
  1 แทนการมีสัญญาณไฟ ซึ่งเป็นไปตามหลักการของไฟฟ้าที่มลักษณะมีไฟและไม่มไฟี                      ี
  อยู่ตลอดเวลา เรียกรหัสที่ประกอบด้วย 0 กับ 1 ว่าบิต (Binary Digit) แต่เนื่องจากข้อมูลหรือ
  ข่าวสารทั่วไปประกอบด้วยตัวอักษร ตัวเลขและสัญลักษณ์มากมาย ถ้าจะใช้ 0 กับ 1 เป็น
  รหัสแทนแล้วก็คงจะได้เพียง 2 ตัวเท่านั้น เช่น 0 แทนตัว A และ 1 แทนด้วย B
 รหัส แอสกี (ASCll CODE) American Standard Code for Information Interchange ใช้สำาหรับส่ง
  ข่าวสาร มีขนาด 8 บิต โดยใช้ 7 บิตแรกเข้ารหัสแทนตัวอักษร ส่วนบิตที่ 8 จะเป็นบิต
  ตรวจสอบ (Parity Bit Check) รหัสแอสกีได้รับมาตรฐานของ CCITT หมายเลข 5 เป็นรหัสที่ได้
  รับความนิยมในการสื่อสารข้อมูลอย่างกว้างขวาง เนื่องจากรหัสแอสกีใช้ 7 บิตแรกแทน
  ตัวอักขระ แต่ละบิตจะประกอบด้วยตัวเลข 0 หรือเลข 1 ดังนั้นรหัสแอสกีจะมีรหัสทีแตก             ่
  ต่างกันได้เท่ากับ 27 หรือเท่ากับ 128 ตัวอักขระนั่นเองในจำานวนนี้จะแบ่งเป็นตัวอักษรที่
  พิมพ์ได้ 96 อักขระ และเป็นตัวควบคุม (Control Characters) อีก 32 อักขระ ซึงใช้สำาหรับ
                                                                                   ่
  ควบคุมอุปกรณ์และการ ทำางานต่าง ๆ
 รหัส โบคอต (Baudot Code) เป็นรหัสทีใช้กบระบบโทรเลข และเทเล็กซ์ ซึ่งอยู่ภายใต้
                                            ่     ั
  มาตรฐานของ CCITT หมายเลข 2 เป็นรหัสขนาด 5 บิต สามารถมีรหัสทีแตกต่างกันได้      ่
  เท่ากับ 25 หรือเท่ากับ 32 รูปแบบ ซึงไม่เพียงพอกับจำานวนอักขระทังหมด จึงมีการเพิ่ม
                                       ่                                      ้
  อักขระพิเศษขึ้นอีก 2 ตัว คือ 11111 หรือ LS (Letter Shift Character) เพื่อเปลี่ยนกลุ่มตัวอักษรเป็น
  ตัวพิมพ์เล็ก (Lower case) และ 11011 หรือ FS(Figured Shift Character) สำาหรับเปลี่ยนกลุ่มตัวอักษร
  เป็นตัวพิมพ์ใหญ่ทำาให้มีรหัสเพิ่มขึนอีก 32 ตัว แต่มอักขระซำ้ากับอักขระเดิม 6 ตัว จึง
                                         ้                  ี
  สามารถใช้รหัสได้จริง 58 ตัว อีก 32 ตัว แต่มอักขระซำ้ากับอักขระเดิม 6 เดิม จึงสามารถ
                                                    ี
  ใช้รหัสได้จริง 58 ตัว เนื่องจากรหัสโบคอตมีขนาด 5 บิต ซึงไม่มีบิตตรวจสอบจึงไม่นิยม
                                                                    ่
  นำามาใช้กับคอมพิวเตอร์
 รหัส EBCDIC (Extended Binary Coded Decimal Interchange Code) พัฒนาขึนโดยบริษัท IBM มีขนาด
                                                                            ้
  8 บิตต่อหนึ่งอักขระ โดยใช้บิตที่ 9 เป็น บิตตรวจสอบ ดังนั้นจึงสามารถมีรหัสทีแตกต่าง      ่
9. รหัส แบบของการเชือ มต่อ เพื่อ การ
                      ่
  สือ สารข้อ มูล
    ่
1. การเชื่อ มต่อ แบบจุด ต่อ จุด (Point to Point Line)
เป็นการเชื่อมต่อแบบพืนฐาน โดยต่อจากอุปกรณ์รับหรือส่ง 2 ชุด
                       ้
ใช้สายสือสารเพียงสายเดียวมีความยาวของสายไม่จำากัด เชื่อมต่อ
         ่
สายสื่อสารไว้ตลอดเวลา (Lease Line) ซึ่งสายส่งอาจจะเป็นชนิด
สายส่งทางเดียว (Simplex) สายส่งกึ่งทางคู่ (Half-duplex) หรือสายส่ง
ทางคู่แบบสมบูรณ์ (Full-duplex) ก็ได้ และสามารถส่งสัญญาณข้อมูล
ได้ทั้งแบบซิงโครนัสหรือแบบอซิงโครนัส
2. การเชื่อ มต่อ แบบหลายจุด (Multipoint or Multidrop)
เนื่องจากค่าเช่าช่องทางในการส่งผ่านข้อมูลต้องเสียค่าใช้จ่ายสูง
การเชื่อมต่อแบบจุดต่อจุดนั้นสิ้นเปลืองสายสื่อสารมากการส่ง
ข้อมูลไม่ได้ใช้งานตลอดเวลา จึงมีแนวความคิดที่จะใช้สายสื่อสาร
เพียงสายเดียวแต่เชื่อมต่อกับหลายๆ จุด ซึ่งทำาให้ประหยัดค่าใช้
จ่ายได้มากกว่า
การเชื่อมต่อแบบหลายจุดแต่จุดจะมี Buffer ซึ่งเป็นที่พกเก็บข้อมูล
                                                        ั
ชั่วคราวก่อนทำาการส่ง โดยบัฟเฟอร์จะรับข้อมูลมาเก็บเรื่อย ๆ จน
3. การเชื่อ มต่อ เครือ ข่า ยแบบสลับ ช่อ งทางการ
   สื่อ สาร (Switched Network)
         เครือข่ายแบบสลับช่องทางการสื่อสารที่เห็นโดย
   ทั่วไปมี 4 รูปแบบดังนี้
เครือข่ายสื่อสารโทรศัพท์ (The Telephone Network)
เครือข่ายสื่อสารเทลเล็กช์ (The Telex/TWX Network)
เครือข่ายสื่อสารแพคเกตสวิตซ์ซิ่ง (package Switching
   Network)
เครือข่ายสื่อสารสเปเซียลไลซ์ ดิจิตอล (Specialized Digital
   Network)
10. สือ กลางที่ใ ช้ใ นการสือ สาร
        ่                  ่
ข้อ มูล

 2 ประเภท คือ สื่อกลางที่กำาหนดเส้นทางได้ เช่น สาย Coaxial
 สายเกลียวคู่ (Twisted-pair) สาย Fiber Optic และสื่อกลางที่กำาหนด
 เส้นทางไม่ได้ เช่น คลืนวิทยุ คลื่นดาวเทียม คลื่นไมโครเวฟ
                         ่
 เป็นต้น
สาย Coaxial Cable
 นิยมใช้ในระบบการสื่อสารความถี่สูง เช่น สายอากาศของทีวี
 สายชนิดนี้ถูกออกแบบมาให้มีค่าความต้านทาน 75 โอห์มและ
 50 โอห์ม โดยสาย 75 โอห์ม ส่วนใหญ่ใช้กับสายอากาศทีวีและ
 สาย 50 โอห์ม จะนำามาใช้กับการสื่อสารที่เป็นระบบดิจิตอล
 - คุณสมบัติ ประกอบด้วยตัวนำาสองสาย โดยมีสายหนึ่งเป็น
 แกนอยู่ตรงกลางและอีกเส้นเป็นตัวนำาล้อมรอบอยู่อกชั้น มีี
 ขนาดของสาย 0.4 ถึง 1 นิ้ว
 - มี 2 แบบ คือ แบบหนาและแบบบาง แบบหนาจะแข็ง การ
 เดินสายทำาได้ค่อนข้างยาก แต่สามารถส่งสัญญาณได้ไกล
สายคู่บ ิด เกลีย ว ( Twisted-Pair)
  สายมาตรฐานสองเส้นหุ้มด้วยฉนวนแล้วบิดเป็นเกลียว สามารถ
  รับส่งข้อมูลได้ทั้งแบบ อนาลอกและแบบดิจิตอล สายชนิดนี้จะมี
  ขนาด 0.015-0.056 นิ้ว ส่งข้อมูลได้ด้วยความเร็ว 10 เมกะบิตต่อ
  วินาที ถ้าใช้ส่งสัญญาณแบบอนาลอกจะต้องใช้วงจรขยายหรือ
  แอมพลิฟายเออร์ ทุก ๆ ระยะ 5-6 กม. แต่ถ้าต้องการส่งสัญญาณ
  แบบดิจิตอลจะต้องใช้อปกรณ์ทำาซำ้าสัญญาณ (Repeater) ทุก ๆ
                           ุ
  ระยะ 2-3 กม. การส่งข้อมูลแบบดิจิตอล สัญญาณที่ส่งเป็น
  ลักษณะคลื่นสี่เหลี่ยม สายคู่บิดเกลียวสามารถใช้ส่งข้อมูลได้
  หลายเมกะบิตต่อวินาทีในระยะทางได้ไกลหลายกิโลเมตร
  เนื่องจากสายคู่เกลียว มีราคาไม่แพงมาก ใช้ส่งข้อมูลได้ดี และ
  มีนำ้าหนักเบา นอกจากนั้นยังง่ายต่อการติดตั้ง จึงถูกใช้งาน
  อย่างกว้างขวางตัวอย่างของสายคู่บิดเกลียว คือ สายโทรศัพท์
  สายคู่บิดเกลียวนั้นจะมีอยู่ 2 ชนิดคือ
 สายคู่บิดเกลียวชนิดหุ้มฉนวน (Shielded Twisted Pair : STP) เป็นสาย
  คู่บิดเกลียวที่หุ้มด้วยฉนวนชั้นนอกที่หนาอีกชั้นหนึ่ง เพื่อ
  ป้องกันการรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
สายส่ง แบบ Fiber Optic
เป็นการส่งสัญญาณด้วยใยแก้ว และส่งสัญญาณด้วยแสงมี
 ความเร็วในการส่งข้อมูลสูงสามารถส่งข้อมูลได้ด้วยเร็ว
 เท่ากับแสง ไม่มีสัญญาณรบกวนจากภายนอก
 - ประกอบด้วยเส้นใยแก้ว 2 ชนิด ชนิดหนึ่งอยู่ตรงแกนกลาง
 อีกชนิดหนึ่งอยู่ด้านนอก โดยที่ใยแก้วทั้ง 2 นี้จะมีดัชนีใน
 การสะท้อนแสงต่างกัน ทำาให้แสงที่ส่งจากปลายด้านหนึ่ง
 ผ่านไปยังอีกด้านหนึ่งได้
14. รูป แบบการประมวลผลแบบกระจาย
 เครือ ข่า ย (Organizational Distributed Processing)


วิธการประมวลผลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์มี 3 รูปแบบ คือ
    ี
   1.Terminal-to-Host Processing
   2. File Server Processing
   3. Client/Server

More Related Content

What's hot

การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลTharathep Chumchuen
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and networkkamol
 
การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต
การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตการติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต
การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตKruPor Sirirat Namthai
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1Morn Suwanno
 
การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!Nattha Nganpakamongkhol
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ptwnice01
 
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายบทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายPokypoky Leonardo
 
หน่วยที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยที่  3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งานหน่วยที่  3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งานอรยา ม่วงมนตรี
 
บบที่ 4 การสื่อสารข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์
บบที่ 4 การสื่อสารข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์บบที่ 4 การสื่อสารข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์
บบที่ 4 การสื่อสารข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์xsitezaa
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ARAM Narapol
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2อรยา ม่วงมนตรี
 
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)supatra2011
 
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์jzturbo
 
บทที่ 4 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
บทที่ 4 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายบทที่ 4 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
บทที่ 4 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายxsitezaa
 
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลการสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลBebearjang1
 
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลการสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลMareeyalosocity
 

What's hot (19)

การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and network
 
การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต
การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตการติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต
การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
 
การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายบทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
 
หน่วยที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยที่  3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งานหน่วยที่  3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
 
บบที่ 4 การสื่อสารข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์
บบที่ 4 การสื่อสารข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์บบที่ 4 การสื่อสารข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์
บบที่ 4 การสื่อสารข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and network
 
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 4 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
บทที่ 4 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายบทที่ 4 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
บทที่ 4 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
 
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลการสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
 
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลการสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
 

Similar to การสื่อสารข้อมูล

อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์Vorakit Prateeppetchthong
 
เทอม 1 คาบ 7 บทบาทของการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 7 บทบาทของการสื่อสารเทอม 1 คาบ 7 บทบาทของการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 7 บทบาทของการสื่อสารMrpopovic Popovic
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์Vorakit Prateeppetchthong
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์C'loudy Surapit Meak
 
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์Meaw Sukee
 
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสาร
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสารบทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสาร
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสารBeauso English
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์Patchrawat Wongwisarn
 
Basiccom2
Basiccom2Basiccom2
Basiccom2mod2may
 

Similar to การสื่อสารข้อมูล (20)

Communication Concept 3
Communication Concept 3Communication Concept 3
Communication Concept 3
 
Supichaya
SupichayaSupichaya
Supichaya
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Protocol
ProtocolProtocol
Protocol
 
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศหน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Datacom
DatacomDatacom
Datacom
 
เทอม 1 คาบ 7 บทบาทของการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 7 บทบาทของการสื่อสารเทอม 1 คาบ 7 บทบาทของการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 7 บทบาทของการสื่อสาร
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสาร
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสารบทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสาร
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสาร
 
Computer(powerpoint)
Computer(powerpoint)Computer(powerpoint)
Computer(powerpoint)
 
pw
pwpw
pw
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
Basiccom2
Basiccom2Basiccom2
Basiccom2
 
Lan 01
Lan 01Lan 01
Lan 01
 
Lan 01
Lan 01Lan 01
Lan 01
 

การสื่อสารข้อมูล

  • 2. 1. ความหมายของการสือ สารข้อ มูล ่ การสื่อสารข้อมูล หมายถึง การโอนถ่าย (Transmission) ข้อมูลหรือการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างต้นทางกับปลาย ทาง โดยใช้อุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์หรือเครื่อง คอมพิวเตอร์ ซึ่งมีตัวกลาง เช่น ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ สำาหรับควบคุมการส่งและการไหลของข้อมูลจากต้นทาง ไปยังปลายทาง นอกจากนี้อาจจะมีผู้รับผิดชอบในการ กำาหนดกฎเกณฑ์ในการส่งหรือรับข้อมูลตามรูปแบบที่ ต้องการ
  • 3. 2. องค์ป ระกอบพืน ฐานของระบบ ้ สือ สารข้อ มูล ่ 1. ผู้ส ่ง หรือ อุป กรณ์ส ่ง ข้อ มูล (Sender) ข้อมูลต่างๆ ที่อยู่ต้นทางจะต้องจัดเตรียมนำาเข้าสู่อุปกรณ์ สำาหรับส่งข้อมูล ซึ่งได้แก่เครื่องพิมพ์ หรืออุปกรณ์ ควบคุมต่าง ๆ จานไมโครเวฟ จานดาวเทียม ซึ่งข้อมูล เหล่านั้นถูกเปลียนให้อยู่ในรูปแบบที่สามารถส่งข้อมูล ่ นั้นได้ก่อน 2. ผู้ร ับ หรือ อุป กรณ์ร ับ ข้อ มูล (Receiver) ข้อมูลที่ถกส่งจากอุปกรณ์ส่งข้อมูลต้นทาง เมื่อไปถึง ู ปลายทางก็จะมีอุปกรณ์สำาหรับรับข้อมูลเหล่านั้นเพื่อนำา ไปใช้ประโยชน์ต่อไป อุปกรณ์เหล่านี้ได้แก่ เครื่องพิมพ์ คอมพิวเตอร์ จานไมโครเวฟ จานดาวเทียม ฯลฯ
  • 4. 3. โปรโตคอล (Protocol) โปรโตคอล คือ กฎระเบียบ หรือวิธการใช้เป็นข้อกำาหนด ี สำาหรับการสื่อสาร เพื่อให้ผู้รับและผู้ส่งเข้าใจกันได้ ซึ่งมี หลายชนิดให้เลือกใช้ เช่น TCP/IP, X.25, SDLC เป็นต้น 4. ซอฟต์แ วร์ (Software) การส่งข้อมูลผ่านคอมพิวเตอร์จำาเป็นต้องมีโปรแกรม สำาหรับดำาเนินการ และควบคุมการส่งข้อมูลเพื่อให้ได้ ข้อมูลตามที่กำาหนดไว้ ได้แก่ Novell's NetWare UNIX Windows NT ฯลฯ
  • 5. 5. ข่า วสาร (Message) ข้อ มูล (Data) เป็นรายละเอียดของสิ่งต่าง ๆ ซึ่งถูกสร้าง และจัดเก็บด้วยคอมพิวเตอร์ มีรูปแบบแน่นอน ข้อ ความ (Text) อยู่ในรูปของเอกสารหรือตัวอักขระ ไม่มี รูปแบบที่แน่นอน ชัดเจนนับจำานวนได้คอนข้างยาก และ มีความสามารถในการส่งปานกลาง รูป ภาพ (Image) เป็นข่าวสารที่อยู่ในรูปของภาพกราฟิก แบบต่างๆ ซึ่งข้อมูลชนิดนี้จะต้องอาศัยสื่อสำาหรับเก็บ และใช้หน่วยความจำาเป็นจำานวนมาก เสีย ง (Voice) อยู่ในรูปของเสียงพูด เสียงดนตรี หรือเสียง อื่น ๆ ข้อมูลชนิดนี้จะกระจัดกระจาย ไม่สามารถวัด ขนาดที่แน่นอนได้ การส่งจะทำาได้ด้วยความเร็ว ค่อน
  • 6. 6. ตัว กลาง (Medium) เป็นตัวกลางหรือสื่อกลางที่ทำาหน้าที่นำาข่าวสารในรูป แบบต่าง ๆ จากผู้ส่งหรืออุปกรณ์ส่งต้นทางไปยังผู้รับ หรืออุปกรณ์รับปลายทาง ซึ่งมีหลายรูปแบบได้แก่ สาย ไป ขดลวด สายเคเบิล สายไฟเบอร์ออฟติก ตัวกลางอาจ จะอยู่ในรูปของคลื่นที่ส่งผ่านทางอากาศ เช่น คลื่น ไมโครเวฟ คลื่นดาวเทียม หรือคลื่นวิทยุ เป็นต้น
  • 7. 3. การเชือ มต่อ คอมพิว เตอร์ ่ สำา หรับ สือ สารข้อ มูล ่ เป็นการเชือมโยงคอมพิวเตอร์ต้นทางเข้ากับ ่ คอมพิวเตอร์ปลายทาง โดยใช้ตัวกลางหรือสื่อกลาง สำาหรับเชื่อมต่อ ขึ้นอยู่กับลักษณะของการใช้งาน เป็นการเชือมต่อระยะไกลจากคอมพิวเตอร์ต้นทางไปยัง ่ ปลายทาง โดยผ่านเครือข่ายโทรศัพท์สาธารณะ
  • 8. 4. การส่ง สัญ ญาณข้อ มูล (Transmission Definition) การส่งสัญญาณข้อมูล หมายถึง การส่งข้อมูลหรือ ข่าวสารต่างๆ จากอุปกรณ์สำาหรับส่งหรือผู้ส่ง ผ่านทาง ตัวกลางหรือสื่อกลางไปยังอุปกรณ์รับหรือผู้รับข้อมูล หรือข่าว ซึ่งข้อมูลหรือข่าวสารที่ส่งไปอาจจะอยู่ในรูป ของสัญญาณเสียง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าหรือแสงก็ได้ โดยที่สื่อกลางหรือตัวกลางของสัญญาณนั้นแบ่งเป็น 2 ชนิด คือชนิดที่สามารถกำาหนดเส้นทางสัญญาณได้ เช่น สายเกลียวคู่ (Twisted paire) สายโทรศัพท์ สายโคแอกเชีย ล (Coaxial) สายใยแก้วนำาแสง (Fiber Optic) ส่วนตัวกลางอีก ชนิดหนึ่งนั้นไม่สามารถกำาหนดเส้นทางของสัญญาณได้ เช่น สุญญากาศ นำ้า และ ชั้นบรรยากาศ เป็นต้น
  • 9. แบบของการส่งสัญญาณข้อมูล แบ่งได้เป็น 4 รูปแบบดังนี้ การส่ง สัญ ญาณทางเดีย ว (One-Way Transmission หรือ Simplex) - การส่งวิทยุกระจายเสียง การแพร่ภาพโทรทัศน์ การส่ง สัญ ญาณกึ่ง ทางคู่ (Half-Duplex หรือ Either-Way) - วิทยุสนาม การส่ง สัญ ญาณทางคู่ (Full-Duplex หรือ Both way Transmission) - การใช้โทรศัพท์
  • 10. มาตรฐานสากล (International Standards)  ISO (The International Standards Organization) พัฒนามาตรฐานสากลเกี่ยวกับสถาปัตยกรรมเครือข่าย  CCITT (The Conseclitive Committee in International) พัฒนามาตรฐาน V และ x โดยทีมาตรฐาน v ใช้สำาหรับวงจรโทรศัพท์และ ่ โมเด็ม เช่น v29, v34 ส่วนมาตรฐาน x ใช้กับเครือข่ายข้อมูลสาธารณะเช่น เครือข่าย x.25 แพ็กเกจสวิตช์ (Package switch) เป็นต้น  ANSI (The American National Standards Institute) พัฒนามาตรฐานเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูลและระบบเครือข่ายมาตรฐาน ส่วนใหญ่จะเกี่ยวข้องกับการประดิษฐ์ตัวเลขที่ใช้ในการติดต่อสือสาร ่ ข้อมูลและมาตรฐานเทอร์มนัล ิ  IEE (The Institute of Electronic Engineers) มาตรฐานนี้จะเน้นไปทางด้านอุตสาหกรรมไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ ไมโคร โปรเซสเซอร์ และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ในไมโครคอมพิวเตอร์ เช่น IEE 802.3 ซึ่งใช้ระบบ LAN (Local Area Network)  EIA (The Electronics Industries Association)
  • 11. 6. ลัก ษณะของสัญ ญาณที่ใ ช้ใ นการ ส่ง สัญ ญาณข้อ มูล 2 ลัก ษณะดัง นี้ การส่ง สัญ ญาณแบบอนาลอก (Analog Transmission) สัญญาณอนาลอกที่ส่งออกไปนั้นเมื่อระยะห่างออกไป สัญญาณก็จะอ่อนลงเรื่อย ๆ -- Amplifier - เกิด Noise ขึ้น - แก้ไขโดยใช้ Filter
  • 12. การส่ง สัญ ญาณแบบดิจ ิต อล (Digital Transmission) การส่งสัญญาณแบบดิจิตอลจะใช้เมื่อต้องการข้อมูลที่ ถูกต้องชัดเจนแน่นอน ดังนั้นจึงจำาเป็นต้องสนใจราย ละเอียดทุกอย่างที่บรรจุมากับสัญญาณ เมื่อระยะทางใน การส่งมากขึ้น สัญญาณดิจิตอลก็จะจางลง ซึ่งสามารถ แก้ไขได้โดยรีพีตเตอร์ (Repeater)
  • 13. 7. รหัสที่ใช้สงสัญญาณข้อมูล (Transmission ่ Code) แบ่งออกเป็น 2 ระบบ คือ แบบดิจิตอลและแบบอนาลอก ตัวอักษร ตัวเลข เสียง และภาพต่าง ๆ ซึ่งข่าวสารเหล่านี้ จะอยู่ในรูปแบบอนาลอก แต่เมื่อต้องการนำาข้อมูลหรือ ข่าวสารเหล่านี้มาใช้กับคอมพิวเตอร์ จะต้องเปลี่ยน ข้อมูล หรือข่าวสารเหล่านี้ให้อยู่ในรูปแบบที่ คอมพิวเตอร์เข้าใจได้เสียก่อน ซึ่งคอมพิวเตอร์จะรับรู้ ข่าวสารที่เป็นแบบดิจิตอลเท่านั้น นั่นคือการเข้าสู่ กระบวนการเปลียนข่าวสารแบบอนาลอกให้เป็นข่าวสาร ่ แบบดิจิตอล - ตัวอักษรที่พิมพ์เข้าไปจะต้องมีการเข้ารหัสโดยผ่านตัว Encoder ให้อยู่ในรูปของสัญญาณที่สามารถส่งสัญญาณ ต่อไปได้เมื่อสัญญาณถูกส่งไปยังเครื่องรับ จากนั้น เครื่องรับก็จะตีความสัญญาณที่ส่งมาและผ่านตัว Decodes
  • 14. 8. รูป แบบของรหัส รหัสทีใช้ในการสื่อสารข้อมูลโดยทั่วไปจะอยู่ในรูปของไบนารี (Binary) หรือเลขฐานสอง ่ ซึ่งประกอบด้วยเลข 0 กับเลข 1 โดยใช้รหัสทีเป็นเลข 0 แทนการไม่มีสัญญาณไฟและเลข ่ 1 แทนการมีสัญญาณไฟ ซึ่งเป็นไปตามหลักการของไฟฟ้าที่มลักษณะมีไฟและไม่มไฟี ี อยู่ตลอดเวลา เรียกรหัสที่ประกอบด้วย 0 กับ 1 ว่าบิต (Binary Digit) แต่เนื่องจากข้อมูลหรือ ข่าวสารทั่วไปประกอบด้วยตัวอักษร ตัวเลขและสัญลักษณ์มากมาย ถ้าจะใช้ 0 กับ 1 เป็น รหัสแทนแล้วก็คงจะได้เพียง 2 ตัวเท่านั้น เช่น 0 แทนตัว A และ 1 แทนด้วย B  รหัส แอสกี (ASCll CODE) American Standard Code for Information Interchange ใช้สำาหรับส่ง ข่าวสาร มีขนาด 8 บิต โดยใช้ 7 บิตแรกเข้ารหัสแทนตัวอักษร ส่วนบิตที่ 8 จะเป็นบิต ตรวจสอบ (Parity Bit Check) รหัสแอสกีได้รับมาตรฐานของ CCITT หมายเลข 5 เป็นรหัสที่ได้ รับความนิยมในการสื่อสารข้อมูลอย่างกว้างขวาง เนื่องจากรหัสแอสกีใช้ 7 บิตแรกแทน ตัวอักขระ แต่ละบิตจะประกอบด้วยตัวเลข 0 หรือเลข 1 ดังนั้นรหัสแอสกีจะมีรหัสทีแตก ่ ต่างกันได้เท่ากับ 27 หรือเท่ากับ 128 ตัวอักขระนั่นเองในจำานวนนี้จะแบ่งเป็นตัวอักษรที่ พิมพ์ได้ 96 อักขระ และเป็นตัวควบคุม (Control Characters) อีก 32 อักขระ ซึงใช้สำาหรับ ่ ควบคุมอุปกรณ์และการ ทำางานต่าง ๆ  รหัส โบคอต (Baudot Code) เป็นรหัสทีใช้กบระบบโทรเลข และเทเล็กซ์ ซึ่งอยู่ภายใต้ ่ ั มาตรฐานของ CCITT หมายเลข 2 เป็นรหัสขนาด 5 บิต สามารถมีรหัสทีแตกต่างกันได้ ่ เท่ากับ 25 หรือเท่ากับ 32 รูปแบบ ซึงไม่เพียงพอกับจำานวนอักขระทังหมด จึงมีการเพิ่ม ่ ้ อักขระพิเศษขึ้นอีก 2 ตัว คือ 11111 หรือ LS (Letter Shift Character) เพื่อเปลี่ยนกลุ่มตัวอักษรเป็น ตัวพิมพ์เล็ก (Lower case) และ 11011 หรือ FS(Figured Shift Character) สำาหรับเปลี่ยนกลุ่มตัวอักษร เป็นตัวพิมพ์ใหญ่ทำาให้มีรหัสเพิ่มขึนอีก 32 ตัว แต่มอักขระซำ้ากับอักขระเดิม 6 ตัว จึง ้ ี สามารถใช้รหัสได้จริง 58 ตัว อีก 32 ตัว แต่มอักขระซำ้ากับอักขระเดิม 6 เดิม จึงสามารถ ี ใช้รหัสได้จริง 58 ตัว เนื่องจากรหัสโบคอตมีขนาด 5 บิต ซึงไม่มีบิตตรวจสอบจึงไม่นิยม ่ นำามาใช้กับคอมพิวเตอร์  รหัส EBCDIC (Extended Binary Coded Decimal Interchange Code) พัฒนาขึนโดยบริษัท IBM มีขนาด ้ 8 บิตต่อหนึ่งอักขระ โดยใช้บิตที่ 9 เป็น บิตตรวจสอบ ดังนั้นจึงสามารถมีรหัสทีแตกต่าง ่
  • 15. 9. รหัส แบบของการเชือ มต่อ เพื่อ การ ่ สือ สารข้อ มูล ่ 1. การเชื่อ มต่อ แบบจุด ต่อ จุด (Point to Point Line) เป็นการเชื่อมต่อแบบพืนฐาน โดยต่อจากอุปกรณ์รับหรือส่ง 2 ชุด ้ ใช้สายสือสารเพียงสายเดียวมีความยาวของสายไม่จำากัด เชื่อมต่อ ่ สายสื่อสารไว้ตลอดเวลา (Lease Line) ซึ่งสายส่งอาจจะเป็นชนิด สายส่งทางเดียว (Simplex) สายส่งกึ่งทางคู่ (Half-duplex) หรือสายส่ง ทางคู่แบบสมบูรณ์ (Full-duplex) ก็ได้ และสามารถส่งสัญญาณข้อมูล ได้ทั้งแบบซิงโครนัสหรือแบบอซิงโครนัส 2. การเชื่อ มต่อ แบบหลายจุด (Multipoint or Multidrop) เนื่องจากค่าเช่าช่องทางในการส่งผ่านข้อมูลต้องเสียค่าใช้จ่ายสูง การเชื่อมต่อแบบจุดต่อจุดนั้นสิ้นเปลืองสายสื่อสารมากการส่ง ข้อมูลไม่ได้ใช้งานตลอดเวลา จึงมีแนวความคิดที่จะใช้สายสื่อสาร เพียงสายเดียวแต่เชื่อมต่อกับหลายๆ จุด ซึ่งทำาให้ประหยัดค่าใช้ จ่ายได้มากกว่า การเชื่อมต่อแบบหลายจุดแต่จุดจะมี Buffer ซึ่งเป็นที่พกเก็บข้อมูล ั ชั่วคราวก่อนทำาการส่ง โดยบัฟเฟอร์จะรับข้อมูลมาเก็บเรื่อย ๆ จน
  • 16. 3. การเชื่อ มต่อ เครือ ข่า ยแบบสลับ ช่อ งทางการ สื่อ สาร (Switched Network) เครือข่ายแบบสลับช่องทางการสื่อสารที่เห็นโดย ทั่วไปมี 4 รูปแบบดังนี้ เครือข่ายสื่อสารโทรศัพท์ (The Telephone Network) เครือข่ายสื่อสารเทลเล็กช์ (The Telex/TWX Network) เครือข่ายสื่อสารแพคเกตสวิตซ์ซิ่ง (package Switching Network) เครือข่ายสื่อสารสเปเซียลไลซ์ ดิจิตอล (Specialized Digital Network)
  • 17. 10. สือ กลางที่ใ ช้ใ นการสือ สาร ่ ่ ข้อ มูล 2 ประเภท คือ สื่อกลางที่กำาหนดเส้นทางได้ เช่น สาย Coaxial สายเกลียวคู่ (Twisted-pair) สาย Fiber Optic และสื่อกลางที่กำาหนด เส้นทางไม่ได้ เช่น คลืนวิทยุ คลื่นดาวเทียม คลื่นไมโครเวฟ ่ เป็นต้น สาย Coaxial Cable นิยมใช้ในระบบการสื่อสารความถี่สูง เช่น สายอากาศของทีวี สายชนิดนี้ถูกออกแบบมาให้มีค่าความต้านทาน 75 โอห์มและ 50 โอห์ม โดยสาย 75 โอห์ม ส่วนใหญ่ใช้กับสายอากาศทีวีและ สาย 50 โอห์ม จะนำามาใช้กับการสื่อสารที่เป็นระบบดิจิตอล - คุณสมบัติ ประกอบด้วยตัวนำาสองสาย โดยมีสายหนึ่งเป็น แกนอยู่ตรงกลางและอีกเส้นเป็นตัวนำาล้อมรอบอยู่อกชั้น มีี ขนาดของสาย 0.4 ถึง 1 นิ้ว - มี 2 แบบ คือ แบบหนาและแบบบาง แบบหนาจะแข็ง การ เดินสายทำาได้ค่อนข้างยาก แต่สามารถส่งสัญญาณได้ไกล
  • 18. สายคู่บ ิด เกลีย ว ( Twisted-Pair) สายมาตรฐานสองเส้นหุ้มด้วยฉนวนแล้วบิดเป็นเกลียว สามารถ รับส่งข้อมูลได้ทั้งแบบ อนาลอกและแบบดิจิตอล สายชนิดนี้จะมี ขนาด 0.015-0.056 นิ้ว ส่งข้อมูลได้ด้วยความเร็ว 10 เมกะบิตต่อ วินาที ถ้าใช้ส่งสัญญาณแบบอนาลอกจะต้องใช้วงจรขยายหรือ แอมพลิฟายเออร์ ทุก ๆ ระยะ 5-6 กม. แต่ถ้าต้องการส่งสัญญาณ แบบดิจิตอลจะต้องใช้อปกรณ์ทำาซำ้าสัญญาณ (Repeater) ทุก ๆ ุ ระยะ 2-3 กม. การส่งข้อมูลแบบดิจิตอล สัญญาณที่ส่งเป็น ลักษณะคลื่นสี่เหลี่ยม สายคู่บิดเกลียวสามารถใช้ส่งข้อมูลได้ หลายเมกะบิตต่อวินาทีในระยะทางได้ไกลหลายกิโลเมตร เนื่องจากสายคู่เกลียว มีราคาไม่แพงมาก ใช้ส่งข้อมูลได้ดี และ มีนำ้าหนักเบา นอกจากนั้นยังง่ายต่อการติดตั้ง จึงถูกใช้งาน อย่างกว้างขวางตัวอย่างของสายคู่บิดเกลียว คือ สายโทรศัพท์ สายคู่บิดเกลียวนั้นจะมีอยู่ 2 ชนิดคือ  สายคู่บิดเกลียวชนิดหุ้มฉนวน (Shielded Twisted Pair : STP) เป็นสาย คู่บิดเกลียวที่หุ้มด้วยฉนวนชั้นนอกที่หนาอีกชั้นหนึ่ง เพื่อ ป้องกันการรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
  • 19. สายส่ง แบบ Fiber Optic เป็นการส่งสัญญาณด้วยใยแก้ว และส่งสัญญาณด้วยแสงมี ความเร็วในการส่งข้อมูลสูงสามารถส่งข้อมูลได้ด้วยเร็ว เท่ากับแสง ไม่มีสัญญาณรบกวนจากภายนอก - ประกอบด้วยเส้นใยแก้ว 2 ชนิด ชนิดหนึ่งอยู่ตรงแกนกลาง อีกชนิดหนึ่งอยู่ด้านนอก โดยที่ใยแก้วทั้ง 2 นี้จะมีดัชนีใน การสะท้อนแสงต่างกัน ทำาให้แสงที่ส่งจากปลายด้านหนึ่ง ผ่านไปยังอีกด้านหนึ่งได้
  • 20. 14. รูป แบบการประมวลผลแบบกระจาย เครือ ข่า ย (Organizational Distributed Processing) วิธการประมวลผลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์มี 3 รูปแบบ คือ ี 1.Terminal-to-Host Processing 2. File Server Processing 3. Client/Server