SlideShare a Scribd company logo
สังคมก้มหน้า
วันวิสา รัตนกุล เลขที่ 18
ณัฐฐินันท์ทองด้วง เลขที่ 29
พรพิมล บุรมณ์ เลขที่ 30
การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้นี้ เป็ นส่วนหนึ่ง
ของการศึกษาตามหลักสูตร
การศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง ของโรงเรียนสตรีนนทบุรี
1มิถุนายน2560
คณะกรรมการควบคุมได้พิจารณาการศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง
ฉบับนี้แล้ว เห็นสมควรรับ เป็ นส่วนหนึ่งของการศึกษา
ตามหลักสูตรของโรงเรียนสตรีนนทบุรี
……………............…………..อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก
(............................................................
............)
ฝ่ายวิชาการ อนุมัติให้รับการศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง ฉบับนี้
เป็ นส่วนหนึ่งของการศึกษา ตามหลักสูตรการศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง
ของโรงเรียนสตรีนนทบุรี
.……………………….................รองผู้อานวยการฝ่า
ยวิชาการ
(.............................................)
วันที่……....เดือน……………พ.ศ……….....
ประกาศคุณูปการ
การศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง เรื่องสังคมก้มหน้า
สาเร็จลุล่วงลงได้ด้วยความกรุณาและความเอาใจใส่อย่างดียิ่งจาก คุณครู
สุรีรัตน์ สรรคพงษ์ ครูที่ปรึกษาการศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง ที่ให้คาปรึกษา
คาแนะนา และเสียสละเวลา ในการจัดทาการศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเองครั้งนี้
ขอขอบคุณ ดร.ธนะสิทธิ์ ศิริวรธรรมผู้อานวยการโรงเรียนสตรีนนทบุรี
นางชณากานต์ ศิลปรัศมี
รองผู้อานวยการโรงเรียนสตรีนนทบุรีที่ให้การสนับสนุนและเป็นกาลังใจที่ดีตล
อดมาจนทาให้การจัดทาการศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง
ครั้งนี้สาเร็จลุล่วงลงได้ด้วยดี
คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าการศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง
เล่มนี้จะเป็นประโยชน์สูงสุดต่อนักเรียน ผู้สนใจ และ
ใช้เป็นแนวทางในการจัดทาการศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเองเรื่องอื่นๆเพื่อเป็นประ
โยชน์แก่การปรับใช้ในชีวิตประจาวัน
คุณความดี และ ประโยชน์ จากการจัดทาการศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเองนี้
ขอมอบแด่ คุณพ่อ คุณแม่ ครู อาจารย์ และผู้มีพระคุณทุกๆท่าน
ที่กรุณาให้ความรู้ ให้คาแนะนา ช่วยเหลือ อบรมสั่งสอนเป็นอย่างดี
คณะผู้จัดทา
บทคัดย่อ
คาสาคัญ: สังคมก้มหน้า/โทรศัพท์มือถือ/อินเตอร์เน็ต
เรื่อง: สังคมก้มหน้า
ผู้ศึกษา: นางสาว วันวิสา รัตนกุล
นางสาว ณัฐฐินันท์ ทองด้วง
นางสาว พรพิมล บุรมณ์
การศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเองครั้งนี้ เป็นการศึกษาประเภทสารวจ
รวบรวมข้อมูล
จัดทาขึ้นจากการศึกษาค้นคว้าทั้งในและนอกห้องเรียนตามความสนใจของนัก
เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่6โรงเรียนสตรีนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี จานวน 3 คน
ระยะเวลาในการศึกษา 60 วัน ระหว่างเดือนมิถุนายน-กรกฎาคม 2560
(หลังเลิกเรียนและวันหยุดราชการ)คณะผู้จัดทาจัดทาขึ้นเพื่อสนับสนุนให้นักเรี
ยนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่6
โรงเรียนสตรีนนทบุรีรู้จักใช้โทรศัพท์มือถือให้ถูกที่ถูกเวลาและเกิดประโยชน์สู
งสุดเพื่อประชาสัมพันธ์โทษของสังคมก้มหน้าให้นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 6 และเพื่อลดจานวนสังคมก้มหน้าของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ผลการศึกษาพบว่า คณะผู้จัดทารวบรวมความรู้เรื่องสังคมก้มหน้า
ที่มีทั้งอันตรายและโทษ
รวมถึงผลการสารวจจากกลุ่มตัวอย่างของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6
ที่ได้ความรู้ถึงอันตรายและโทษของสังคมก้มหน้า
ทาให้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิตได้ดียิ่งขึ้น
มีการปรับตัวเข้าหาผู้คนรอบข้างได้ง่ายยิ่งขึ้น
และทาให้ปัญหาสังคมก้มหน้าในโรงเรียนสตรีนนทบุรีลดน้อยลง
ABSTRACT
KEYWORDS: Social Ignore/Mobile phone/Internet
TITLE: Social Ignore
AUTHOR: Wanwisa Rattanakul
Nuttinan Thongdaung
Pornpimon Burom
The purpose research by itself, this time as a study type
survey. Collected data.Prepared from the research both inside
and outside the classroom, according to the interest of high
school grade 12 Satrinonthaburi schools. 3 people in 60 days
during the months of June-July 2560 (after school and holidays).
group established to encourages students to grade 12
Satrinonthaburi schools known use mobile phones, at the right
time and maximum benefit. to promote the social sanctions or to
student grade 12 and in order to reduce the number of Social
Ignore of students of the grade 12.
The study found that the group collected knowledge about
social patterns that are both dangerous and punishable,
including survey results from Social Ignore of high school grade
12 knowledge aboutthe dangers of a society or make is to modify
the behavior of living better. Are adapting to the people around
you have easier and makes the social problems Social Ignore in
Satrinonthaburi reduced.
สารบัญ
หน้า
ประการคุณูปการ………….……………………..............….....................................
..................................…..ก
บทคัดย่อภาษาไทย………….……...............................................................
.....……………...................…...ข
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ…………............................................……....………......
...............................……….ค
สารบัญ……………………..…………………...........................................................
.......…........................…….ง
สารบัญตาราง.………………...……....………....................................................
...........................................จ
สารบัญภาพ....………...….....…………………...................................................
..........................................ฉ
บทที่...............................................................................................
......................................................ช
1.บทนา….………….......……....................................................................
................................................1
ความเป็นมาและความสาคัญ........................................................
............................1
วัตถุประสงค์ของการศึกษา..........................................................
.............................1
สมมติฐานการศึกษา..................................................................
................................2
ขอบเขตการศึกษา.....................................................................
................................2
สถานที่...................................................................................
.....................2
ระยะเวลา................................................................................
....................2
ตัวแปรหรือประชากรและกลุ่มตัวอย่าง...........................................
............2
ตัวแปรต้น...............................................................................
.......2
ตัวแปรตาม..............................................................................
......2
ประชากร................................................................................
......2
กลุ่มตัวอย่าง.............................................................................
.....2
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากศึกษา.............................................
...........................2
2.วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง...................................………….........................
...............................................3
น.ส.สุภาภรณ์
สาเนียง...................................................................................
...........3
น.ส.จันทร์จิรา เบ็ญจมาด
และผู้จัดทา……………………………………..…..............………4
สารบัญ (ต่อ)
หน้า
CAT
magazine…………………………………………………………………………………………4-5
เพจเฟสบุ๊คการแก้ปัญหาสมาคมก้มหน้า…………………………………………
…….………5-6
วิธีป้องกันสมาคมก้มหน้า............................................................
..............5
การเล่นไลน์นั้นมีทั้งผลดีและผลเสีย...............................................
.........5-6
สุธีร์
วนกุล…………………………………………………………………………………………………..7
ประโยชน์ของ
facebook..........................................................................7
โทษในการใช้งาน
Facrbook……………………………………………………….…7-8
เว็บเพจ sukkaphap-
d.......................................................................................8-10
เว็บไซต์ Thai Love Health
(TLH)…………………………………………………….…..10-12
นิตยาสาร TO BR NUMBER
ONE……………………………………………………………….13
3.วิธีดาเนินการศึกษา................................…………................................
.............................................14
วัสดุ อุปกรณ์
และเครื่องมือที่ใช้ในการทาโครงงาน.............................................
...14
ขั้นตอนการดาเนินงาน………………………………………………………………………
…………14
ตัวอย่างแบบสอบถาม…………………………………………………………………………
………15
ตัวอย่างโปสเตอร์รณรงค์…………………………………………………………………
…………..16.
4.
ผลของการศึกษา……………………….……………………………………………………………………………
…..17-28
สรุปผล
(ก่อนรณรงค์)…………………………………………………………………………………22
สรุปผล
(หลังรณรงค์)…………………………………………………………………………………28
5.สรุปและอภิปรายผล…………………………………………………….………………………………………
……………29
สรุปการสารวจ……………………………………..……………………………………………………2
9
สรุปผลสารวจ...........................................................................
..............................34
อภิปรายผล..............................................................................
...............................34
ปัญหาที่พบ……………………………………………………………………………………………….35
ข้อเสนอแนะ………………………………………………………………………………………………3
5
สารบัญ (ต่อ)
หน้า
การแก้ไขปัญหา...............................................................
......................................35
ภาคผนวก……………………………………………………………………………...………………………………
…………..36
บรรณานุกรม……………………………………………………………………………………………………………
………….39
ประวัติของผู้ศึกษา.............................................................................
.................................................41
สารบัญตาราง
หน้า
ตารางที่ 1.ผลสารวจระยะเวลาในการเล่นสมาร์ทโฟน
(ก่อนรณรงค์)………………………………………….17
ตารางที่ 2.ผลสารวจเหตุผลในการเล่าสมาร์ทโฟน
(ก่อนรณรงค์)……………………………………………..18
ตารางที่ 3.ผลสารวจอารมณ์เมื่อไม่ได้เล่นสมาร์ทโฟน
(ก่อนรณรงค์)………………………………………….19
ตารางที่ 4.ผลสารวจระยะเวลาในการเล่นสมาร์ทโฟน
(หลังรณรงค์)…………………………………………..23
ตารางที่ 5.ผลสารวจเหตุผลในการเล่นสมาร์ทโฟน
(หลังรณรงค์)……………………………………………....24
ตารางที่ 6.ผลสารวจอารมณ์เมื่อไม่ได้เล่นสมาร์ทโฟน
(หลังรณรงค์)…………………………………………..25
ตารางที่
7.ตารางการเปรียบเทียบระยะเวลาในการเล่นสมาร์ทโฟน…………………………………
…………29
ตารางที่
8.ตารางการเปรียบเทียบเหตุผลในการเล่นสมาร์ทโฟน..............................
..........................30
ตารางที่
9.ตารางการเปรียบเทียบอารมณ์เมื่อไม่ได้เล่นสมาร์ทโฟน………………………………
……………31
สารบัญภาพ
หน้า
ภาพที่
1.ตัวอย่างโปรสเตอร์รณรงค์…………………………………………………………………………………
……..16
ภาพที่ 2.แสดงผลสารวจระยะเวลาในการเล่นสมาร์ทโฟน
(ก่อนรณรงค์)..........................................20
ภาพที่ 3.แสดงผลสารวจเหตุผลในการเล่นสมาร์ทโฟน
(ก่อนรณรงค์)................................................20
ภาพที่ 4.แสดงผลสารวจอารมณ์เมื่อไม่ได้เล่นสมาร์ทโฟน
(ก่อนรณรงค์)...........................................21
ภาพที่ 5.แสดงผลสารวจระยะเวลาในการเล่นสมาร์ทโฟน
(หลังรณรงค์)...........................................26
ภาพที่ 6.แสดงผลสารวจเหตุผลในการเล่นสมาร์ทโฟน
(หลังรณรงค์).................................................26
ภาพที่ 7.แสดงผลสารวจอารมณ์เมื่อไม่ได้เล่นสมาร์ทโฟน
(หลังรณรงค์)............................................27
ภาพที่
8.การเปรียบเทียบระยะเวลาในการเล่นสมาร์ทโฟน……………………………………………
………….32
ภาพที่
9.การเปรียบเทียบเหตุผลในการเล่นสมาร์ทโฟน.......................................
..............................32
ภาพที่
10.การเปรียบเทียบอารมณ์เมื่อไม่ได้เล่นสมาร์ทโฟน………………………………………
………………33
ภาพที่
11.ติดโปรสเตอร์ประชาสัมพันธ์...........................................................
...................................37
ภาพที่
12.ติดโปรสเตอร์ประชาสัมพันธ์……………………………………………………………………………
……37
ภาพที่
13.ติดโปรสเตอร์ประชาสัมพันธ์...........................................................
...................................38
บทที่ 1
บทนา
ความเป็ นมาและความสาคัญ
ในสังคมปัจจุบันโทรศัพท์มือถือเป็ นสิ่งพื้นฐานที่มนุษย์ทุกคนต้องมีเสมือ
นเป็นอีกหนึ่งปัจจัยสาคัญในการดารงชีวิตเราใช้โทรศัพท์มือถือในการติดต่อสื่
อสารซึ่งเป็นหนทางที่สะดวกรวดเร็วและ
นอกจากนี้โทรศัพท์มือถือยังสามารถเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตที่ทาให้เราได้เปิดโล
กกว้าง
แต่ภายใต้ข้อดีก็มีข้อเสียเช่นกันเมื่อผู้คนไม่รู้จักการใช้โทรศัพท์มือถือที่ถูกต้อง
ซึ่งก่อให้เกิด“ปัญหาสังคมก้มหน้า” ขึ้นมา
เราสามารถพบเห็นสังคมก้มหน้าได้ทั่วไปไม่ว่าจะตามท้องถนนในรถไฟ
ฟ้าหรือแม้แต่ในห้องเรียน จากการสารวจพบว่า เด็กไทย 51%
จะเล่นสมาร์ทโฟนทันทีที่ตื่นนอน และอีก 34%
จะเล่นโซเซียลก่อนนอนทุกคืนซึ่งจะส่งผลต่อการปรับตัวเข้าสู่สังคม และ
ส่งผลเสียต่อสุขภาพ โดยเฉพาะการเล่นสมาร์ทโฟนในสถานที่และ
เวลาที่ไม่เหมาะสม สามารถก่อให้เกิดปัญหา และ
อันตรายขึ้นได้ทั้งต่อชีวิตและทรัพย์สิน
คณะผู้จัดทาจึงเล็งเห็นว่าในนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่
6ของโรงเรียนสตรีนนทบุรี จานวนไม่น้อยที่ก้าวเข้าสู้สังคมก้มหน้า
คณะผู้จัดทาจึงได้จัดทาโครงงานนี้ขึ้นเพื่อลดจานวนสังคมก้มหน้าของเด็
กนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
และเพื่อเป็นจุดคลี่คลายในการลดปัญหาสังคมก้มหน้าต่อไป
วัตถุประสงค์ของการศึกษา
1.
เพื่อสนับสนุนให้นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่6ใช้โทรศัพท์มือถือให้ถูกที่ถู
กเวลาและเกิดประโยชน์สูงสุด
2.
เพื่อประชาสัมพันธ์โทษของสังคมก้มหน้าให้นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่
6
3. เพื่อลดจานวนสังคมก้มหน้าของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6
สมมติฐานการศึกษา
1.
คาดว่าจะเกิดการสื่อสารกันจากการพูดคุยต่อหน้าขณะอยู่ด้วยกันมากขึ้น
2. กลุ่มตัวอย่างมีทักษะในการเข้าสังคมเพิ่มมากขึ้น
3. สามารถลดปัญหาและอันตรายที่เกิดจากสังคมก้มหน้าได้
ขอบเขตของการศึกษา
3.1 สถานที่
โรงเรียนสตรีนนทบุรี
3.2 ระยะเวลา
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560
3.3 ตัวแปรหรือประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
3.3.1 ตัวแปรต้น
กลุ่มตัวอย่างจากนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่6
ของโรงเรียนสตรีนนทบุรี จานวน 120 คน
3.3.2 ตัวแปรตาม
เลือกบุคคลที่มีพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนเป็
นประจา
3.3.3 ประชากร คือ นักเรียนสตรีนนทบุรี
3.3.4 กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่6
จานวน 120 คน
3.4 งบประมาณ
300 บาท
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการศึกษา
1. นักเรียนกลุ่มตัวอย่างชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ใช้โทรศัพท์มือถือกันได้อย่างถูกที่ถูกเวลาและเป็นประโยชน์มากขึ้น
2. นักเรียนกลุ่มตัวอย่างชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ได้รับความรู้เกี่ยวกับโทษของสังคมก้มหน้า
3. ลดปัญหาสังคมก้มหน้าของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
โรงเรียนสตรีนนทบุรี
บทที่ 2
วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
สังคมก้มหน้า
น.ส.สุภาภรณ์ สาเนียง เจ้าหน้าที่สานักงานประชาสัมพันธ์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า
ปัจจุบันเทคโนโลยีต่างๆมีความเจริญก้าวหน้า และ
เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว
ซึ่งการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยีบนโลกนี้ได้ส่งผลกระทบต่อคว
ามสัมพันธ์ ระหว่าง บุคคลในระดับต่างๆไม่ว่าจะเป็น สังคมระดับครอบครัว
แวดวงเพื่อนฝูง หรือ แม้กระทั่ง
สังคมในที่ทางานซึ่งจะเห็นได้จากการเสพติดโทรศัพท์ประเภทสมาร์ทโฟนที่สา
มารถเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตได้แค่เพียงปลายนิ้วจนกระทั่งเทคโนโลยีเหล่านี้กลา
ยเป็นปัจจัยที่ 5 นอกเหนือจากปัจจัย 4
ที่เป็นปัจจัยพื้นฐานในการดาเนินชีวิตของมนุษย์ทั่วไปได้แก่อาหาร ที่อยู่อาศัย
เครื่องนุ่งห่ม และ ยารักษาโรค รวมทั้ง รถยนต์ หรือ ยานพาหนะต่างๆ
ซึ่งกลายมาเป็นปัจจัยที่ 5 ที่จาเป็นอย่างยิ่งในการดาเนินชีวิต
ที่กล่าวมาข้างต้นนั้น จะเห็นได้ว่า
สมาร์ทโฟนทั้งหลายได้กลายเป็นสิ่งจาเป็นในชีวิตประจาวัน
ของคนส่วนใหญ่ หรือ คนทั่วโลกไปแล้ว
จะเห็นได้จากกลุ่มคนทุกวัยตั้งแต่วัยเด็ก วัยรุ่น วัยทางาน
ไปจนถึงผู้สูงวัยทั้งหลาย ล้วนแล้วจะต้องเป็นเจ้าของสมาร์ทโฟน อย่างน้อย 1
เครื่อง
ผลกระทบที่ตามมาจากการที่ทุกคนให้ความสาคัญกับสมาร์ทโฟนเหล่านี้ก็คือ
ทาให้ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในสังคมระดับต่างๆ ลดลงไปจนถึงขั้นย่าแย่
เนื่องจากสมาร์ทโฟนได้ดึงความสนใจจากสิ่งต่างๆรอบตัวไปจนหมดทุกคนต่า
งก้มหน้าก้มตาเสียเวลาไปกับสิ่งนี้ จนทาให้ขาดปฏิสัมพันธ์ระหว่างคนรอบข้าง
ไม่มีใครสนใจใครจนกลายเป็น “สังคมก้มหน้า” ที่เราได้ยินกันจนคุ้นหู และ
เห็นภาพเหล่านี้จนชินตา
นอกจากนี้ยังก่อให้เกิดปัญหาทางด้านสุขภาพไม่ว่าจะเป็นทางด้านร่างก
าย ปัญหาทางสายตา หรือ ทางด้านจิตใจ
จากปัญหาที่กล่าวมาทั้งหมดนี้จะสามารถคลี่คลายได้หากผู้ใช้รู้จักใช้อย่างมีสติ
และ รู้เท่าทันเทคโนโลยี เพียงเท่านี้ปัญหา “สังคมก้มหน้า” ก็จะหมดไป
น.ส.จันทร์จิรา เบ็ญจมาด และผู้จัดทา กล่าวว่า
สังคมก้มหน้าในปัจจุบัน
ถูกนิยามว่าเป็นสังคมที่ต่างคนต่างเล่นโทรศัพท์มือถือของตัวเอง
จนไม่สนใจสิ่งรอบข้าง และ สาเหตุก็คือ
เห็นว่าเครื่องมือเหล่านี้ทาให้สื่อสารกับผู้คนได้อย่างง่ายขึ้น
ทาให้ได้รับข้อมูลต่างๆได้ง่ายและสะดวกสบายขึ้นแต่ปัญหา คือ
ใช้แล้วเสพติดจนลืมการพูดคุยกับคนในชีวิตจริงไป
สิ่งนี้คือปัญหาซึ่งสาเหตุก็มาจากความสะดวกสบาย
แนวโน้มของสังคมก้มหน้าจะแย่ลงเพราะผู้คนเกิดการเสพติดโซเซียลและสังค
มก้มหน้าจะกลายเป็นปัญหาเรื้อรัง ต้องแก้ที่สาเหตุของปัญหา คือ
ต้องเริ่มจากการปล่อยมือถือที่เล่นอยู่ลง แล้วลองปฏิสัมพันธ์กับคนอื่น
ต้องเริ่มลดสิ่งเหล่านี้ จะทาให้เห็นแง่มุมที่ละเลยไป ดังนั้นต้องแก้ที่ตัวเอง
ความสะดวกสบายที่เกิดขึ้น ความรวดเร็ว
ถ้าเกิดประโยชน์ก็อาจจะทาให้โลกมันไร้พรมแดน
ทาให้มีหูตากว้างไกลมากขึ้น แต่โทษของสมาร์ทโฟน คือ
ทาให้ละเลยการใช้ชีวิตประจาวันที่ไม่มีสมาร์ทโฟน
ทาให้เกิดการละเลยการพูดคุยกับคนปกติธรรมดาโดยที่ไม่ต้องใช้สมาร์ทโฟน
ผลเสียมีมากกว่าผลดี เพราะใช้สมาร์ทโฟนจนกระทั่งไม่รู้ว่ามีผลดีอะไร
นี่คือสิ่งที่น่ากลัว จนกลายเป็นเรื่องปกติของมนุษย์ปุถุชนธรรมดา
จนลืมไปแล้วว่าการที่จะมีสมาร์ทโฟน ต้องมีเงินที่จะซื้อสมาร์ทโฟน
CAT magazine กล่าวว่า
ปัจจุบันคนไทยทุกเพศทุกวัยหันมาใช้สมาร์ทโฟนอย่างแพร่หลายเพื่อตอ
บโจทย์ในชีวิตประจาวันไม่ว่าจะเป็นการติดต่อสื่อสาร การใช้โซเซียลมีเดีย
ฯลฯ จนไม่น่าเชื่อว่าคนไทยหยิบสมาร์ทโฟนขึ้นมาใช้ทุกๆ 5
นาทีเรียกว่าบ่อยเสียยิ่งกว่าการเปิดกระเป๋าสตางค์ตัวเองด้วยซ้าโดยมีโซเซียลมี
เดียครองใจอย่างไลน์ เฟคบุ๊ค และ
เกมออนไลน์ต่างๆเป็นแอพพลิเคชั่นอันดับต้นๆ
ข้อมูลดังกล่าวมาจากโครงการนาร่องสารวจพฤติกรรมคนกรุงกับการใช้
สมาร์ทโฟนผ่านแอพพลิเคชั่น ที่มีชื่อว่า Digital Life Survey
โดยติดตามการใช้งานสมาร์ทโฟนของผู้บริโภค จานวน 197
คนในกรุงเทพฯและปริมณฑลช่วงอายุตั้งแต่ 15-45 ปีเป็นเวลา 2
สัปดาห์ระหว่างวันที่ 1-14 พฤษภาคม 2558 พบว่า
1. ช่วงวลาสาวจ 14 วันมีการใช้สมาร์ทโฟนมากถึง 461,252
ครั้งแสดงว่าใน 1 วันมีการเปิด ใช้งานเฉลี่ย 176
/ครั้ง/คน/วันหรือเปิดใช้แอพพลิเคชั่นทุก 5 นาที
2. ช่วงเวลาเปิดสมาร์ทโฟนบ่อยที่สุดคือช่วงเวลา 16.01-20.00 น. เฉลี่ยน
49 ครั้ง/คน/วัน
3. กลุ่มตัวอย่างมีการปลดล็อกหน้าจอสมาร์ทโฟนเฉลี่ย 47 ครั้ง/คน/วัน
4. กลุ่มวัยรุ่นTeen GEN ZC มีความถี่ในการสัมผัสหน้าจอเฉลี่ยสูงถึง
8,508 ครั้ง/คน/วัน
5. กลุ่มพ่อ-แม่สมัยใหม่นิยมใช้สมาร์ทโฟนตั้งแต่เวลา 16.00-20.00 น.
6. แอพพลิเคชั่นที่ถูกสัมผัสหน้าจอมากที่สุดได้แก่ไลน์
เฟคบุ๊คและเกมออนไลน์ต่างๆ
โครงการดังกล่าวเล็งเห็นว่าตลาดสมาร์ทโฟนของไทยนั้นใหญ่ขึ้นเป็นอั
นดับ 2
ของภูมิภาคเอเชียอีกทั้งปัจจุบันสมาร์ทโฟนยังเป็นปัจจัยสาคัญในการวางแผน
กลยุทธ์สื่อสารการตลาดของสินค้าและบริการต่างๆมากมายแต่ประเทศไทยกลั
บมีข้อมูลเชิงลึกของผู้บริโภคกับสมาร์ทโนอยู่ไม่มากนักการออกแบบแอพพลิเ
คชั้นเพื่อเก็บข้อมูลการใช้งานสมาร์ทโฟนแบบเรียลไทม์นี้ข้อมูลที่ได้จะมีความ
แม่นยามากกว่าการตอบแบบสอบถามหรือสัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมายซึ่งแน่นอน
ว่าส่งผลดีต่อการวางแผนการสื่อสารการตลาดกับกลุ่มเป้าหมายได้ดีมากยิ่งขึ้น
ในอนาคต
เพจเฟสบุ๊คการแก้ปัญหาสมาคมก้มหน้า กล่าวว่า
วิธีป้องกันสมาคมก้มหน้า
1. เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม พักสายตา 2 - 3 นาทีต่อการใช้ 30นาที หรือ
1 ชั่วโมง กระพริบตาบ่อยๆ 10 - 15 ครั้งต่อนาที
2. นั่งทางานในที่สว่าง ปรับขนาดตัวหนังสืออ่านง่าย
3. ใส่แว่นกันแดดเพื่อลดปริมาณแสงเข้าดวงตา
4. รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ เช่น ผัก ผลไม้ที่มีวิตามินเอสูง อาทิ
ราสเบอร์รี่ สตรอเบอร์รี่ ซึ่งช่วยด้านอนุมูลอิสระ และความเสื่อมของดวงตา
5. ควรดื่มน้ามากๆ ออกกาลังกาย พักผ่อนอย่างเพียงพอ
และควรไปพบจักษุแพทย์ เพื่อตรวจสุขภาพดวงตาอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
ล่าสุดพบว่า วัยรุ่นร้อยละ 51 ตื่นมาเล่นทันที อีกร้อยละ 35
เล่นก่อนนอนทุกวัน เมื่อเป็นเช่นนี้แล้ว
ผู้ปกครองควรวางกติกาการเล่นให้กับเด็ก ทั้งกาหนดเวลาในการเล่น
ไม่ให้มีการใช้โทรศัพท์ในช่วงเวลาไม่เหมาะสมอย่างไรก็ดีขณะนี้สถาบันสุขภ
าพจิตเด็กและวัยรุ่นราชนครินทร์ได้เปิดให้บริการปรึกษาแก่เด็ก และ
ผู้ปกครองที่มีบุตรหลาน ติดโทรศัพท์มือถือ หรือติดเกม โดยสามารถ
ขอคาปรึกษาได้ที่โทรศัพท์ หมายเลข 02-248-8990
หรือโทรสายด่วนสุขภาพจิต หมายเลข 1323 สาหรับ 24
ชั่วโมงให้บริการทั่วประเทศ
การเล่นไลน์นั้นมีทั้งผลดีและผลเสีย คือ
ผลดี : อาจจะสร้างความสะดวกในการสื่อสาร
สามารถส่งได้ทั้งภาพและเสียง อีกทั้งประหยัดไม่ต้องเสียค่าโทรศัพท์
ผลเสีย : ในปัจจุบันเด็กและเยาวชนที่ยังไม่มีวุฒิภาวะ
และผู้ปกครองไม่ชี้แนะ หรือ ควบคุมการใช้งานอย่างจริงจัง
ก็จะส่งผลกระทบทั้งสุขภาพกาย และ สุขภาพจิตโดยเฉพาะพฤติกรรมก้มหน้า
ซึ่งจะทาให้การสื่อสารแบบเผชิญหน้าลดน้องลง
และอาจจะเป็นนิสัยที่ติดต่อต่อไปในส่วนของผู้ใหญ่ ก็มีผลกระทบเช่นกัน
ซึ่งหากผู้ใช้อยู่ในโลกส่วนตัวมากเกินไป หรือขาดความระมัดระวัง
ก็อาจจะทาให้เกิดปัญหาอุบัติเหตุหรือจราจรเพิ่มขึ้น
นายแพทย์วชิระ เพ็งจันทร์ อธิบดีกรมสุขภาพจิต กล่าวว่า
แอพพลิเคชั่นไลน์ที่เด็กนิยม เล่นกันนั้น บางคนเล่นทุกวัน
จนทาให้เด็กสูญเสียการใช้ชีวิตประจาวันที่ควรจะเป็น เช่นเรื่องสัมพันธภาพ
การวางตัว
ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นพัฒนาการที่สาคัญของวัยรุ่นและการเล่นจนติดเป็นนิสัยนั้นจ
ะทาให้เด็กมีพฤติกรรมที่แข็งกระด้าง
สุธีร์ วนกุล กล่าวว่า
ประโยชน์ของ facebook คือ
การเล่นหรือการใช้งาน FACEBOOK
นั้นมีประโยนช์เหมือนกันไปดูเลยว่ามีอะไรบ้าง
1.
ใช้งานทางด้านการเรียนการสอนการศึกษาการเรียนรู้การติดต่อสื่อสารแบบไ
หม
2. ได้พบเพื่อนใหม่ๆเพิ่มขึ้น
และอาจได้พบเพื่อนเก่าสมัยเรียนมัธยมเพื่อนในมหาลัยหรืออาจเป็นเพื่อนในที่
ทางาน
3. ใช้ทางด้านธุรกิจเพื่อจาหน่ายสินค้าเปิดร้านค้าออนไลน์ ตัวอย่าง เช่น
eBay Auctionแอพพลิเคชั่นประมูลสินค้าผ่านทาง facebook
4.
ใช้แสดงความคิดเห็นนาเสนอเรื่องราวที่กาลังเกิดขึ้นหรือเรื่องที่สนใจกับเพื่อน
สมาชิก
5. ติดตามข่าวสารของศิลปินนักร้องดาราบุคคลที่ชื่นชอบแบบไม่ตกข่าว
6.
ใช้ในการโฆษณาประชาสัมพันธ์สินค้าให้กับบริษัทองค์กรเพื่อสร้างเครือข่ายท
างสังคม
โทษในการใช้งาน Facrbook
โทษของ facebook คือ
1. ติดเกมส์ใน facebook
เพราะว่ามีเกมส์ให้เลือกเล่นมากมายและบางเกมส์ต้องหมั่นเข้าไปตรวจสอบติ
ดตามผลที่เกิดขึ้น
2. ติด facebook
ว่างเมื่อไหร่ก็จะเข้ามาคอมเมนต์หรือส่งข้อตความตลอดเวลาอาจทาให้เสียการ
เรียนเสียเวลาการทางานเพราะมีการใช้งานที่หมกหมุ่นมากเกินไปยังทาให้ไม่เ
กิดประโยชน์และเสียสุขภาพอีกด้วย
3.
ต้องระวังมิจฉาชีพที่แอบแฝงเข้ามาหลอกลวงเป็นเพื่อนแล้วแอบขโมยข้อมูล
หรือ หลอกเพื่อขายสินค้า
4. ในบางบริษัทหรือบางสถานศึกษามีนโยบายปิดกั้นไม่ให้มีการใช้
facebook เพราะทาให้เกิดปัญหามากมายในการทางานและการเรียน
5. ข้องความที่โพสต์จะถูกส่งไปหาเพื่อนๆทั้งหมด
ซึ่งอาจไม่เป็นความลับแค่ 2-3 คน
อีกต่อไปแต่จะมีอีกหลายร้อยหลายพันคนที่ทราบเรื่องราวที่โพสต์เพราะฉนั้นทุ
กครั้งก่อนโพสต์ควรตรวจสอบให้แน่ใจก่อนว่าเป็นข้อมูลลับหรือไม่เช่นตอนนี้
ไม่อยู่บ้านกาลังเดินทางไปต่างประเทศเป็นต้น
6. ข้อความที่โพสต์ในบางครั้งอาจจะมีผู้เข้ามายุยงใส่ร้าย หรือ
ข้อความอาจไม่เหมาะสมหากผู้อ่านไม่มีวุฒิภาวะมากพอก็อาจจะเกิดความขัด
แย้งและเกิดปัญหาภายหลังได้บางข้อความอาจจะ เข้าข่ายผิกกฎหมายพรบ.
คอมพิวเตอร์อีกด้วย
7. หากทาผิกกฏของ facebook อาจโดนบล็อกหรือปิดหน้า facebook
เช่นแชร์ภาพไม่เหมาะสมหรือใช้หน้า facebook
ขายของแทนที่จะเป็นหน้าfan page
8. แน่ใจได้ยังไงว่าผู้ที่กาลังโพสต์ข้อความคุยนั้นเป็นดารา หรือ
เพื่อนใหม่ที่น่าคบหาจริงๆเพราะแฟนคลับบางคนที่ชอบดาราศิลปินจะสร้าง
facebook
ให้กับดาราและศิลปินที่ตนชื่นชอบส่วนในกรณีเพื่อนใหม่ที่พึ่งรู้จักจะแน่ใจได้
อย่างไรว่าเป็นคนนั้นหน้าตาแบบนั้นจริงๆในการพูดคุย
อาจใช้ถ้อยคาที่ดีแต่อย่าพึ่งไว้ใจบอกข้อมูลส่วนตัวเพราะไม่ทราบว่าเพื่อนใหม่
มีจุดประสงค์ดีหรือร้าย
เว็บเพจ sukkaphap-d กล่าวว่า
โรคภัยของสังคมก้มหน้า หรือ โรค เท็กซ์เนค
ไม่ใช่เรื่องใหม่แต่พูดถึงกันมาตลอด
ยิ่งในปัจจุบันโรคภัยสังคมก้มหน้าตอนนี้มันกาลังกลายเป็น โกลบอลซินโดรม
ที่ออกอาการกันแพร่หลายไปทั่วโลกโดยการแพร่ระบาดของอุปกรณ์พกพาสา
รพัด ไม่ว่าจะเป็น สมาร์ทโฟน แท็บเล็ต อีบุ๊ค
รีดเดอร์โดยอุปกรณ์เหล่านี้ถูกจากัดการใช้งานด้วยการเชื่อมต่อ
แบบทุกที่ทุกเวลา ซึ่งส่วนใหญ่จะมากับหน้าจอที่หลากหลายมากขึ้น
ไม่ว่าจะเป็นเกมส์ ไลน์ เฟสบุค ไลน์ ฯลฯ
สัดส่วนการใช้งานต่อวันก็ยังเป็นการเพิ่มขึ้นมากมายมหาศาล เรียกว่า
ปัจจุบันไม่ว่าจะเดินทาง ไปไหนมาไหนก็เจอแต่ผู้คน
ก้มหน้าลงหาจอสี่เหลี่ยมเล็กๆ กันไปหมด ไม่ว่าจะเป็นบนรถไฟฟ้ า
รถประจาทาง ร้านอาหาร หรือ แม้แต่ในรถยนต์
ที่ทาให้เกิดอุบัติเหตุมานักต่อนัก ทาให้สังคมยุคนี้ถูกประณามว่าเป็ น
"สังคมก้มหน้า" ไปแล้ว ซึ่งภัยจากสังคมก้มหน้ามีผลเสียมากมาย
สังคมก้มหน้าหรือ เท็กซ์เนค เป็นคาที่ นายแพทย์ ดีนฟิชแมน
ซึ่งเป็นแพทย์กายภาพบาบัดผู้เชี่ยวชาญด้านบาบัดอาการของกระดูกสันหลังชา
วอเมริกัน ได้มีการคิดขึ้นชื่อนี้ขึ้นมา
สาหรับเรียกกลุ่มอาการของโรคที่เกิดขึ้นจาก การที่คนเราก้มหน้าบ่อยๆ
และซ้าๆ จนนานเกินปกตินี้ จะทาให้เกิดอาการต่างๆขึ้น
ไม่ว่าจะเป็นการปวดกล้ามเนื้อบริเวณไหล่ หรือกล้ามเนื้อคอ
และปวดศีรษะเรื้อรัง
หากอาการหนักก็อาจพาลไปถึงเกิดการอักเสบของข้อต่อกระดูกสันหลังส่วนบ
น ซึ่งเป็นอาการสาหัส
โรคภัยสังคมก้มหน้า คือการก้มหน้าในลักษณะนี้บ่อยๆ อย่างนานๆ
ซึ่งจะส่งผลต่อบุคลิกท่าทาง และการเจริญเติบโตของร่างกายในเด็กและวัยรุ่น
ที่ทาให้ออกมาบิดเบี้ยวโค้งงอจนต้องรีบหาทางแก้กันอย่างยุ่งยากในภายหลัง
ซึ่งที่มาของโรคนี้
สาเหตุมาจากการก้มหน้าบ่อยๆแพทย์บอกว่าเพียงแค่การก้มศีรษะลงไปข้างห
น้า ซึ่งถือเป็นท่าที่ผิดปกติตามธรรมชาติ เพียงแค่นิ้วเดียว
น้าหนักของศีรษะก็จะมีส่วนทาให้ กล้ามเนื้อ กระดูกเอ็น รวมถึง
เส้นประสาทในบริเวณไหล่ คอ จะต้อง แบกรับภาระหนักเพิ่มขึ้นมากแล้ว
ด้วยน้าหนักที่เพิ่มขึ้นจากการถ่วงไปข้างหน้า
เพื่อที่จะทาการไปดึงรั้งกล้ามเนื้อเส้นเอ็นทั้งหมดให้ต้องแบกรับภาระมากขึ้นต
ามไปด้วย ทาให้เกิดอาการตึงๆ ยิ่งหากเกิดขึ้นบ่อยๆ
เพราะเป็นการก้มหน้าและทาซ้าๆ หลายๆ
ครั้งก็จะเกิดการบาดเจ็บขึ้นได้ทั้งกับกล้ามเนื้อ เอ็น
หรือเส้นประสาทในบริเวณดังกล่าวได้
ผู้ที่ประสบปัญหาโรคจากสังคมก้มหน้าจะทาให้กระดูกสองสามชิ้นที่อยู่บ
ริเวณข้อต่อกระดูกสันหลัง
ที่เป็นส่วนบนโค้งงอไปด้านหน้าเป็นแบบผิดธรรมชาติ เพราะ
เฉลี่ยแล้วศีรษะของมนุษย์ หนักประมาณ 5 กิโลกรัม
ซึ่งหากมีการก้มไปข้างหน้าทุกๆ 2
เซนติเมตรจะทาให้ไหล่จะต้องแบกรับน้าหนักมากขึ้น 100 เปอร์เซ็นต์
หากก้มลงไป 6 เซนติเมตร น้าหนักของศีรษะที่ คอ ไหล่ และกระดูกสันหลัง
จะต้องรองรับน้าหนักเพิ่มมากขึ้นเป็น 20 กิโลกรัม
มันคือเหตุผลที่ว่าทาไมการก้มนานๆ ซ้าๆ อยู่ทั้งวัน
จึงก่อให้เกิดอาการได้มากมายขนาดนั้น
คาแนะนาของแพทย์สาหรับโรคสังคมก้มหน้า เพื่อการป้องกันไม่ให้เกิด
โรคเท็กซ์เนค อย่างง่ายๆ สามารถทาได้โดยการ ละสายตาจากจอ
เปลี่ยนท่าจากการก้มหน้า
ให้เป็นการปล่อยให้ศีรษะกลับคืนสู่ท่าธรรมชาติในทุกๆ 15
นาทีและค่อยๆเงยหน้าขึ้น เหลียวไปรอบๆ
หากยังจาเป็นต้องจ้องจออยู่ก็ ลองยกสมาร์ทโฟนให้ขึ้นมาอยู่ในระดับสายตา
เพื่อช่วยในการลดการแบกรับน้าหนักของคอลงเป็นระยะๆ
ถ้าเป็นไปได้หากมีความจาเป็นที่จะต้องก้มหน้าก้มตาอยู่ตลอดเวลา
กับการทากิจกรรมต่างๆบนโลกออนไลน์
ควรจะหันไปออกกาลังกายในท่าที่สามารถช่วยทาให้กล้ามเนื้อบริเวณคอและไ
หล่ได้มีการผ่อนคลาย ซึ่งอาจจะหันมาเล่นโยคะเย็น หรือโยคะร้อนก
หรือจะเป็นกายบริหารแบบพิลาทีส
ที่เป็นการมุ่งเน้นไปที่การฝึกทาให้ร่างกายของเราอยู่ในท่าทางที่ถูกต้อง
ซึ่งการออกกาลังกาย สามารถทาให้ได้ทุกวันจะป้องกันปัญหาเหล่านี้ได้
เพราะร่างกายมีความเคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลา
โดยการใช้ทุกส่วนให้สัมพันธ์กัน
หากใช้วิธีเหล่านี้แล้วยังไม่ได้ผล แสดงว่าเท็กซ์เนค
หรือโรคภัยสังคมก้มหน้าค่อนข้างไปทางรุนแรงแล้ว ควรไปพบแพทย์เพราะ
อาจต้องใช้ยาจาพวกที่จะช่วยคลายกล้ามเนื้อช่วย
แต่หากอาการดังกล่าวเกิดไปกระทบทาให้กลุ่มประสาทในบริเวณต่างๆ
ถูกบีบและถูกกดอยู่นานๆ จนทาให้เกิดอาการปวดประสาท
ซึ่งก็จัดอยู่ในขั้นต้องให้แพทย์ที่เชี่ยวชาญดูแลเป็นการเฉพาะจะดีที่สุด
แล้วก็ต้องลดการกระทาที่เป็นส่วนหนึ่งของสังคมก้มหน้า เพื่อให้เหลือน้อยที่สุด
ไม่มีใครห้ามที่จะไม่ให้เล่นอยู่แต่กับจอสี่เหลี่ยมด้วยการก้มหน้า
เพราะนั่นอาจจะเป็นส่วนหนึ่งของการทางาน หากแต่คิดว่า
มันมีความจาเป็นแล้ว การที่รู้จักป้องกันตัวเองตั้งแต่เนิ่นๆ
ก็อาจจะช่วยให้อยู่ห่างจากโรคภัยสังคมก้มหน้าได้อย่างปลอดภัยต่อไป
โดยที่ไม่เสียสุขภาพและยังสามารถก้มหน้าก้มตาทางานต่อไปได้
เว็บไซต์ Thai Love Health (TLH) - อาหารเพื่อสุขภาพ ความรู้สารอาหาร
โภชนาการ โรค กล่าวว่า
เมื่อใดก็ตามที่เริ่มมีอาการวิตกกังวล, กระสับกระส่าย
เพราะหาสมาร์ทโฟนไม่เจอ หรือรู้สึกไม่ดีเมื่อเวลาแบตกาลังจะหมด
รู้สึกปวดหัว และปวดคออย่างรุนแรงโดยไม่ทราบสาเหตุ รู้สึกปวดตา
หรือแสบตาเมื่อต้องเจอแสง นั่นหมายความว่ามีสิทธิ์ที่จะเป็นโรคนี้แล้ว
โรคนี้แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม
1. Computer Vision Syndrome Computer Vision Syndrome
หรือ คนที่มีปัญหาสุขภาพ จากการก้มหน้ามองจอสมาร์ทโฟน แท็บเล็ต หรือ
จอคอมพิวเตอร์ เป็นเวลานาน จนทาให้เกิดอาการไม่พึงประสงค์ต่าง
ๆ ตามมา เช่น ปวดตา ตาแห้ง ปวดศีรษะหรือคอมากผิดปกติ
ซึ่งโรคนี้มีแนวโน้มของคนที่เป็นเพิ่มสูงขึ้น โดยพบว่า 50%
ของคนไทยเริ่มมีอาการเหล่านี้แล้ว เมื่อปี 2549 ได้มีการสารวจพบว่า
คนไทยไม่ต่ากว่า 15 ล้านคนมีสายตาผิดปกติ และมีแนวโน้มสูงขึ้นเรื่อย ๆ
เพราะการใช้ชีวิตที่เปลี่ยนไปของคนยุคใหม่ ที่ใช้สายตากันมากขึ้น
จนทาให้มีอายุตาที่เกินกว่าอายุจริง และการจ้องจอคอมพิวเตอร์
ที่ใช้กันมากขึ้นในการทางาน หรือการหาข้อมูลในการเรียน ต่าง ๆ
โดยมักจะใช้กันทั้งวัน จนทาให้เนื้อตาต้องทางานหนัก
ซึ่งจะเพิ่มโอกาสทาให้สายตาเสียได้มากกว่าการอ่านหนังสือจากกระดาษปกติ
และจอคอมยังมีแสงสีฟ้าที่ทาลายสายตาเราได้อย่างน่ากลัว
ทั้งนี้ได้มีการแนะนาจากแพทย์สายตาว่าเราควรใช้สาตาจ้องจอแค่วันละ 3 ชม.
เท่านั้นถึงจะปลอดภัย ถ้าปล่อยนาน ๆ เข้าก็จะเริ่มมีการเคืองตา
มองเห็นภาพเบลอ แสบตา และ สู้แสงไม่ได้
ซึ่งเป็นสัญญาณอันตรายบ่งบอกความรุนแรง ของอาการที่จะเพิ่มมากขึ้น
Computer Vision Syndrome นอกจากนี้ ยังมีอาการของกลุ่มอื่นร่วมด้วย
เช่น กลุ่มอาการปวดเกร็งของกล้ามเนื้อ หรือ Myofascial pain syndrome
( MFS ) ที่ส่งผลต่อกระดูกต้นคอ ทาให้เกิดการรับน้าหนักมากกว่าปกติถึง 6
เท่า จนทาให้กระดูกต้นคอเสื่อมสภาพก่อนวัย
หรืออาจถึงขั้นหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาทเลยก็ได้ ซึ่งจะมีอาการปวดคอ
ปวดบ่า และลุกลามไปถึงปวดศีรษะ จนทาให้นอนไม่หลับ
อาการปวดศีรษะก็มักจะเกิดตรงท้ายทอย ขมับ กระบอกตา หน้าผาก
รวมถึงกลางกระหม่อมได้ เมื่อปวดมาก ๆ ก็จะทาให้นอนหลับไม่สนิท
ร่างกายก็จะพักผ่อนไม่เพียงพอ จนในที่สุดก็จะลุกลาม
ไปหาโรคอื่นได้ง่ายขึ้นอีกด้วย โดยเฉพาะในกลุ่มคนที่เป็นไมเกรน
ควรระวังให้มาก เพราะหน้าจอจะมีแสงสีฟ้ า
ที่ทาให้เกิดอาการไมเกรนแบบเฉียบพลันได้
รวมไปถึงการปวดคอและศีรษะที่เพิ่มมากขึ้น
ก็ยิ่งไปกระตุ้นอาการของไมเกรน ให้มีอาการหนักมากกว่าเดิม
วิธีการรักษาและฟื้นฟูควรทาตามที่แพทย์แนะนา
คือจ้องหน้าจอคอมไม่เกินวันละ 3 ชม. หรือต้องพักสายตา จากหน้าจออยู่เรื่อย
ๆ กระพริบตาให้บ่อย 10 – 15 ครั้งต่อนาที เปลี่ยนตัวอักษรให้ใหญ่
เหมาะแก่การอ่านมากขึ้น เลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อสายตา
เช่น ผลไม้ตระกูลเบอร์รี่ เช่น บลูเบอร์รี่ สตรอเบอร์รี่ แครนเบอร์รี่ ราสเบอร์รี่
และ แบล็คเคอร์แรนต์ เป็นต้น เพราะในผลไม้เหล่านี้มีวิตามินเอสูง
ที่จะป้องกันอาการตาแห้ง ช่วยบารุงสายตา และการมองเห็นได้ดี
ผลไม้ตระกูลเบอร์รี่นั้นยังมี สารแอนโธไซยานิน
ที่ช่วยลดความเหนื่อยล้าของกล้ามเนื้อตา
ทาให้มองเห็นในเวลากลางคืนได้ดีขึ้น และ ยังช่วยให้ระบบเลือดไหลเวียนดี
นอกจากนี้ วิตามินอีก็สามารถช่วยบารุงสายตาได้ เพราะ ในวิตามินอีมีสาร
ไบโอฟลาโวนอยด์
ที่ต้านอนุมูลอิสระและป้องกันไม่ให้สายตาถูกทาลายไปได้โดยง่าย
และควรพักผ่อนให้เพียงพอ ออกกาลังกายสม่าเสมอ และไปเช็คสุขภาพ
ตรวจสายตาปีละครั้ง ซึ่งถ้าหากมีอาการผิดปกติ ก็จะได้รับการรักษาทันท่วงที
2. No-Mobile-Phone No Mobile Phone หรือ “โนโมโฟเบีย”
เป็นโรคทางจิตเวช ที่หมายถึง “โรคกลัว” จะมีอาการกลัว
และวิตกกังวลมากเกินกว่าคนปกติ สังเกตได้ง่าย ๆ คือ
จะชอบเช็คโทรศัพท์อยู่บ่อย ๆ ตลอดทั้งวัน เมื่อเวลาแบตฯ
ใกล้หมดก็มีอาการกังวลแสดงออกมาเห็นได้ชัด หรือหงุดหงิดมากเมื่อแบตฯ
หมดแล้วไม่สามารถหาที่ชาร์ตได้ ตลอดจนการที่ตอบข้อความ ต่าง ๆ
ทันทีที่เมื่อมีเสียงเตือน โดยคนที่ เป็นโรคนี้จะไม่สามารถขาดโทรศัพท์ได้เลย
แม้แต่วินาทีเดียว ถึงขั้นว่าถ้าเข้านอนก็ต้องเอาวางไว้ข้าง ๆ ตัวอยู่ตลอด
และในบางรายอาจถึงขั้น มีอาการเครียดจัด ตัวสั่น อาเจียน
และเหงื่อออกไม่หยุด เมื่อต้องห่างจากโทรศัพท์
ซึ่งโรคนี้มักจะเกิดกับเด็กในวัยเรียนซะส่วนใหญ่ เพราะ
เด็กในกลุ่มนี้จะติดสังคม Social และ เกมส์ต่าง ๆ ในสมาร์ทโฟนมาก
โดยได้มีการสารวจจากสานักงานส่งเสริมสังคมเเห่งการเรียนรู้ เเละ
คุณภาพเยาวชน หรือ สสค. ว่า 1 วันในชีวิตเด็กไทยนั้น 51%
จะเช็คโทรศัพท์ทันทีหลังตื่นนอน และอีก 34%
จะเล่นโซเซียลมีเดียลก่อนนอนทุกคืน ซึ่งผลเสียจากการเป็นโรคนี้
ส่งผลในแง่ของการปรับตัวเข้าสู่สังคม เพราะผู้ที่เป็นจะเกิดอาการแปลกแยก
โลกส่วนตัวสูง ไม่ใส่ใจผู้คนหรือสิ่งรอบข้าง และไม่มีความรับผิดชอบในสังคม
ตลอดจนเกิดปัญหาการโดนหลอกลวง
ซึ่งอาจนาไปสู่ปัญหาอาชญากรรมไปในที่สุด
วิธีการรักษา และ ฟื้นฟู ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิตใหม่
โดยการตั้งใจที่จะไม่ เล่นโทรศัพท์ และ หาใครสักคนคุยด้วย
เมื่อเวลาที่เรานึกอยากจะเล่นโทรศัพท์ขึ้นมา ในช่วงวันหยุดสุดสัปดาห์
หากิจกรรมทาแทนการนั่งเล่นโทรศัพท์ เช่น ไปเที่ยว เล่นกีฬาออกกาลัง
นั่งสมาธิ ทาให้ใจสงบ หรือแม้แต่ การหาหนังสือดี ๆ สักเล่ม
อ่านแทนการแชท ตลอดจนการปิดโทรศัพท์ ทุกครั้งตอนนอน
ซึ่งถ้าทาแล้วยังมีปัญหาการติดโทรศัพท์อยู่ ก็อาจจะต้องเปลี่ยนมาใช้โทรศัพท์
“ระบบปกติ” แทนที่การใช้ สมาร์ทโฟน เพื่อแก้อาการเบื้องต้น
หรือถ้าอาการหนักขึ้น ควรที่จะไปพบแพทย์เพื่อหาทางแก้ไขต่อไป
เทคโนโลยีสมัยใหม่ ทาให้ผู้คนสะดวกสบายขึ้น แต่ผู้คนเองก็ต้องใช้อย่างมีสติ
และระมัดระวัง ไม่งั้นเทคโนโลยีก็อาจหันกลับมาทาร้ายได้
เมื่อต้องปรับเปลี่ยนพฤติกรรมมาสู่ยุคใหม่ ก็ไม่ควรที่จะเปลี่ยนวิถีชีวิต
และสังคมที่เคยอยู่ไปด้วย เพราะอย่างน้อยการมีสังคมยัง ทาให้ได้ยิ้ม
ได้พูดคุย ได้เข้าถึงกัน โดยไม่ต้องเสียสุขภาพกาย และสุขภาพจิตไป
เพราะฉะนั้นควรใช้อย่างระมัดระวังและพอดี
ก็น่าจะดีกับชีวิตไม่น้อยเลยทีเดียว
นิตยาสาร TO BR NUMBER ONE กล่าวว่า
ปิดมือถือก่อนนอนเพิ่มความสดชื่นแจ่มใส
กรมสุขภาพจิตกระทรวงสาธารณสุขเผยว่าผู้ที่ติดโปรแกรมแชทหรือคลั่งแชท
อาจมีการละเมอแชท (sleep taxting) กล่าวคือการลุกขึ้นมาแชทขณะหลับ
เมื่อได้ยินเสียงข้อความส่งมา
ปัญหาที่ตามมาคือร่างกาอ่อนแอจากการพักผ่อนไม่เพียงพอทาให้เกิดโรคอ้วน
ภาวะซึมเศร้า โรควุ้นในตาเสื่อม
และอาจส่งผลกระทบในการเรียนหรือการทางาน
ดังนั้นการเล่นโปรแกรมแชทควรทาแต่พอดี
หากติดมากควรลองอยู่ห่างจากสมาร์ทโฟน ตัดสินใจปิดมือถือ ปิดเสียง
หรือปิดสัญญารอินเตอร์เน็ตก่อนนอน
วิธีนี้จะช่วยให้ห่างไกลจากการละเมอแชท
และฟื้นฟูสุขภาพการนอนหลับให้เต็มอิ่ม
ตื่นเช้ามาพร้อมกับความสดชื่นแจ่มใสและสุขภาพร่างการที่แข็งแรงขึ้น
บทที่ 3
วิธีดาเนินการศึกษา
การศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเองครั้งนี้ เป็นการศึกษาประเภทสารวจ
รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับสังคมก้มหน้าของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ซึ่งคณะผู้จัดทาได้มีวิธีการดาเนินงานตามขั้นตอนดังต่อไปนี้
3.1 วัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องมือที่ใช้ในการทาโครงงาน
3.1.1. เครื่องคอมพิวเตอร์สาหรับพิมพ์โครงงาน
3.1.2. โปรแกรม Photoshop cs5
ใช้ในการออกแบบโปสเตอร์รณรงค์
3.1.3. โปรแกรม Microsoft Word
3.1.4. โปรแกรม Google docs
3.2 ขั้นตอนการดาเนินงาน
3.2.1. คิดหัวข้อโครงงานและนาเสนอต่อคุณครูที่ปรึกษาโครงงาน
3.2.2. ประชุมชี้แจ้งเกี่ยวกับหัวข้อโครงงาน และ
แบ่งหน้าที่ตามความเหมาะสม
3.2.3. ศึกษาละค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับสังคมก้มหน้า ในเว็บไซต์
บทความ และหนังสือ
3.2.4. จัดทาแบบประเมินเกี่ยวกับสังคมก้มหน้า จานวน 120 ใบ
3.2.5. สรุปแบบประเมินและวิเคราะห์ถึงสาเหตุของการติดโซเชียล
3.2.6.
จัดทาโปสเตอร์รณรงค์เกี่ยวกับสังคมก้มหน้าและนาไปติดไว้ภายใ
นโรงเรียนโดยจะเป็นสถานที่ที่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่6
มักเดินผ่านหรือทากิจกรรม
3.2.7.
จัดทาแบบประเมินเกี่ยวกับสังคมก้มหน้าว่ามีการลดลงหรือไม่ จานวน
120 ใบ
3.2.8. สรุปข้อมูลที่ได้
3.2.9. พิมพ์รูปเล่มโครงงาน
3.2.10. นาเสนอโครงงานต่อคุณครูที่ปรึกษาโครงงาน
3.2.11. แก้ไขข้อผิดพลาดของโครงงาน และ ปรับปรุง
ตามคาแนะนาของคุณครูที่ปรึกษา
ตัวอย่างแบบสอบถาม
พฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของกลุ่มตัวอย่าง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่6
โรงเรียนสตรีนนทบุรี จานวน 120 คน
ส่วนที่1 ข้อมูลส่วนบุคคลทั่วไป
คาชี้แจง โปรดเติมข้อความลงในช่องว่างตรงตามความเป็นจริง
1.กาลังศึกษาอยู่ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/…….
ส่วนที่2 พฤติกรรมเกี่ยวกับการใช้สมาร์ทโฟน
คาชี้แจง โปรดทาเครื่องหมาย
✔ลงในช่องที่ตรงตามความพฤติกรรมของคุณมากที่สุด
1.คุณใช้โทรศัพท์ประมาณกี่ชั่วโมงต่อวัน
☐1-2 ชั่วโมง ☐ 3-4 ชั่วโมง ☐ 5-6 ชั่วโมง
☐มากกว่า 6 ชั่วโมง
2.เหตุผลส่วนมากในการใช้สมาร์ทโฟนของคุณ คืออะไร
☐เล่นเกมส์
☐สืบค้นข้อมูลหรือความรู้
☐ถ่ายรูป
☐โซเซียลมีเดีย (Facebook,Line,Instagram,Twitter)
☐ดูหนัง, รายการโปรด, ซีรี่ย์, การ์ตูน, ฟังเพลง
☐อื่นๆ (ระบุ).................................
3.ภายใน 1 วัน หากคุณไม่ได้ใช้สมาร์ทโฟน คุณจะมีอารมณ์อย่างไร
☐ซึมเศร้า
☐สดใส ร่าเริง
☐เฉยๆ
☐หงุดหงิด
☐อื่นๆ (ระบุ)...........................
ตัวอย่างโปสเตอร์รณรงค์
ภาพที่ 1.ตัวอย่างโปรสเตอร์รณรงค์
บทที่ 4
ผลของการศึกษา
ผลการสารวจการใช้สมาร์ทโฟนของกลุ่มตัวอย่างนักเรียนชั้นมัธยมศึ
กษาปี ที่ 6 โรงเรียนสตรีนนทบุรี ก่อนทาการรณรงค์ ดังนี้
ตารางที่ 1.ผลสารวจระยะเวลาในการเล่นสมาร์ทโฟน (ก่อนรณรงค์)
ระยะเวลผาในการเล่นสมาร์ทโฟน 1-2
ชั่วโมง
3-4
ชั่วโมง
5-6
ชั่วโมง
มากกว่า
6
ชั่วโมง
ม.6/1 1 2 6 1
ม.6/2 1 2 3 4
ม.6/3 - - 3 7
ม.6/4 - 2 7 1
ม.6/5 2 1 4 3
ม.6/6 - 6 3 1
ม.6/7 1 - 7 2
ม.6/8 1 - - 9
ม.6/9 1 3 1 5
ม.6/10 - 5 3 2
ม.6/11 - 6 2 2
ม.6/12 1 8 1 -
รวม 8 35 40 37
ตารางที่ 2.ผลสารวจเหตุผลในการเล่าสมาร์ทโฟน (ก่อนรณรงค์)
เหตุผลในการเล่นสมาร์ทโฟน เล่นเกมส์ สืบค้นข้อมูล ถ่ายรูป โซเซียลมีเดีย ดูหนัง,รา
ซีรี่ย์,การ
ม.6/1 4 4 4 8
ม.6/2 5 5 3 8
ม.6/3 4 5 1 9
ม.6/4 3 3 3 8
ม.6/5 5 4 2 7
ม.6/6 1 3 - 7
ม.6/7 4 2 2 6
ม.6/8 7 6 6 9
ม.6/9 5 9 7 10
ม.6/10 6 4 3 9
ม.6/11 4 7 6 7
ม.6/12 1 3 - 4
รวม 46 55 37 172
ตารางที่ 3.ผลสารวจอารมณ์เมื่อไม่ได้เล่นสมาร์ทโฟน (ก่อนรณรงค์)
อารมณ์เมื่อไม่ได้เล่นสมาร์ทโฟน ซึมเศร้า สดใส
ร่าเริง
เฉยๆ หงุดหงิด อื่นๆ
ม.6/1 - - 8 1 1
ม.6/2 - - 6 - 4
ม.6/3 - - 8 1 3
ม.6/4 - - 8 2 -
ม.6/5 1 - 8 1 -
ม.6/6 - - 10 - -
ม.6/7 - - 7 1 3
ม.6/8 1 3 5 4 -
ม.6/9 - - 7 3 2
ม.6/10 2 - 9 1 2
ม.6/11 - 1 8 1 1
ม.6/12 1 1 8 - -
รวม 5 5 92 15 16
กราฟแสดงผลสารวจ (ก่อนรณรงค์)
ภาพที่ 2.แสดงผลสารวจระยะเวลาในการเล่นสมาร์ทโฟน (ก่อนรณรงค์)
ภาพที่ 3.แสดงผลสารวจเหตุผลในการเล่นสมาร์ทโฟน (ก่อนรณรงค์)
ภาพที่ 4.แสดงผลสารวจอารมณ์เมื่อไม่ได้เล่นสมาร์ทโฟน (ก่อนรณรงค์)
1-2 ชั่วโมง
7%
3-4 ชั่วโมง
29%
5-6 ชั่วโมง
33%
มากกว่า 6 ชั่วโมง
31%
ผลสำรวจระยะเวลำในกำรเล่นสมำร์ทโฟน (ก่อนรณรงค์)
1-2 ชั่วโมง 3-4 ชั่วโมง 5-6 ชั่วโมง มากกว่า 6 ชั่วโมง
เล่นเกมส์
12%
สืบค้นข้อมูลหรือความรู้
14%
ถ่ายรูป
9%
โซเซียลมีเดีย
43%
ดูหนัง,รายการโปรด,ซีรีย์,
การ์ตูน,ฟังเพลง
21%
อื่นๆ
1%
ผลสำรวจเหตุผลในกำรเล่นสมำร์ทโฟน (ก่อนรณรงค์)
เล่นเกมส์ สืบค้นข้อมูลหรือความรู้ ถ่ายรูป โซเซียลมีเดีย ดูหนัง,รายการโปรด,ซีรีย์,การ์ตูน,ฟังเพลง อื่นๆ
สรุปผล (ก่อนรณรงค์)
ระยะเวลาในการเล่นสมาร์ทโฟนจากกลุ่มตัวอย่างของนักเรียนชั้นมัธยม
ศึกษาชั้นปีที่6
อันดับที่ 1. คือการเล่นสมาร์ทโฟน 5-6 ชั่วโมงต่อวัน ซึ่งมีจานวนมากถึง 40
คน โดยคิดเป็นเปอร์เซ็น คือ 33%
ซึมเศร้า
4%
สดใส ร่าเริง
4%
เฉยๆ
69%
หงุดหงิด
11%
อื่นๆ
12%
ผลกำรสำรวจอำรมณ์เมื่อไม่ได้เล่นสมำร์ทโฟน (ก่อนรณรงค์)
ซึมเศร้า สดใส ร่าเริง เฉยๆ หงุดหงิด อื่นๆ
อันดับที่ 2. คือการเล่นสมาร์ทโฟนมากกว่า 6 ชั่วโมงต่อวัน โดยมีมากถึง 37
คน คิดเป็นเปอร์เซ็น คือ 31%
อันดับที่ 3. คือการเล่นสมาร์ทโฟน 3-4 ชั่วโมงต่อวัน มีจานวน 29 คน
คิดเป็นเปอร์เซ็น คือ 29%
อันดับที่ 4. คือการเล่นสมาร์ทโฟน 1-2 ชั่วโมงต่อวัน มีเพียงแค่ 8 คน
คิดเป็นเปอร์เซ็นได้แค่ 7% เท่านั้น
เหตุผลจากกลุ่มตัวอย่างของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 6
ที่เล่นสมาร์ทโฟน
อันดับที่ 1. คือ โซเซียลมีเดีย ซึ่งมีถึง 172 คน คิดเป็นเปอร์เซ็น คือ 43%
อันดับที่ 2. คือ ดูหนัง,รายการโปรด,ซี่รีย์,การ์ตูน,ฟังเพลง มี 83 คน
คิดเป็นเปอร์เซ็น คือ 21%
อันดับที่ 3. คือ สืบค้นข้อมูลหรือความรู้ มี 55 คน คิดเป็นเปอร์เซ็น คือ 14%
อันดับที่ 4. คือ เล่นเกมส์ มี 46 คน คิดเป็นเปอร์เซ็น คือ 12%
อันดับที่ 5. คือ ถ่ายรูป มี 37 คน คิดเป็นเปอร์เซ็น คือ 9%
อันดับที่ 6. คือ อื่นๆ มี 3 คน คิดเป็นเปอร์เซ็น คือ 1%
โดยกลุ่มตัวอย่างของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 6 จะเพิ่มการ
โทรคุยโทรศัพท์
อารมณ์เมื่อไม่ได้เล่นสมาร์ทโฟนจากกลุ่มตัวอย่างของนักเรียนชั้นมัธยม
ศึกษาชั้นปีที่ 6
อันดับที่ 1. คือ เฉยๆ มีจานวนมากถึง 92 คน คิดเป็นเปอร์เซ็น คือ 69%
อันดับที่ 2. คือ อื่นๆ มีจานวน 16 คน คิดเป็นเปอร์เซ็น คือ 12%
โดยกลุ่มตัวอย่างของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 6 จะเพิ่มอารมณ์ เหงา
เบื่อ ไม่มีอะไรทา
อันดับที่ 3. คือ หงุดหงิด มี 15 คน คิดเป็นเปอร์เซ็น คือ 11%
อันดับที่ 4. คือ ซึมเศร้าและสดใส ร่าเริง ซึ่งได้จานวนเท่ากันได้แก่ 5 คน
คิดเป็นเปอร์เซ็น คือ 4%
ผลการสารวจการใช้สมาร์ทโฟนของกลุ่มตัวอย่างนักเรียนชั้นมัธยมศึ
กษาปี ที่ 6 โรงเรียนสตรีนนทบุรี ก่อนทาการรณรงค์ ดังนี้
ตารางที่ 4.ผลสารวจระยะเวลาในการเล่นสมาร์ทโฟน (หลังรณรงค์)
ระยะเวลาในการเล่นสมาร์ทโฟน 1-2
ชั่วโมง
3-4
ชั่วโมง
5-6
ชั่วโมง
มากกว่า 6
ชั่วโมง
ม.6/1 4 4 2 -
ม.6/2 4 6 - -
ม.6/3 1 - 5 4
ม.6/4 - 5 4 1
ม.6/5 2 5 2 1
ม.6/6 - 2 7 1
ม.6/7 - 3 2 5
ม.6/8 3 1 5 1
ม.6/9 - 7 3 -
ม.6/10 - 2 4 4
ม.6/11 - 1 6 3
ม.6/12 - 4 3 3
รวม 14 40 43 23
ตารางที่ 5.ผลสารวจเหตุผลในการเล่นสมาร์ทโฟน (หลังรณรงค์)
เหตุผลในการเล่นส
มาร์ทโฟน
เล่นเก
มส์
สืบค้นข้
อมูล
ถ่าย
รูป
โซเซียล
มีเดีย
ดูหนัง,รายกา
รโปรด
ซีรี่ย์,การ์ตูน,
ฟังเพลง
อื่
น
ๆ
ม.6/1 3 7 2 7 3 -
ม.6/2 - 7 3 4 3 -
ม.6/3 4 5 4 7 7 1
ม.6/4 6 4 4 9 6 -
ม.6/5 4 4 3 6 8 -
ม.6/6 6 4 3 4 2 -
ม.6/7 3 1 3 8 4 -
ม.6/8 5 4 6 5 6 1
ม.6/9 2 6 5 9 8 -
ม.6/10 7 3 8 7 8 -
ม.6/11 2 1 5 9 7 -
ม.6/12 2 5 9 9 9 1
รวม 44 51 54 84 71 3
ตารางที่ 6.ผลสารวจอารมณ์เมื่อไม่ได้เล่นสมาร์ทโฟน (หลังรณรงค์)
อารมณ์เมื่อไม่ได้เล่นสมาร์ทโฟน ซึมเศร้า สดใส
ร่าเริง
เฉยๆ หงุดหงิด อื่นๆ
ม.6/1 - 2 8 - -
ม.6/2 - 1 9 - -
ม.6/3 2 3 7 1 -
ม.6/4 - 1 6 2 1
ม.6/5 - - 9 1 -
ม.6/6 - 5 5 - -
ม.6/7 1 1 6 2 -
ม.6/8 1 1 4 4 -
ม.6/9 - 3 7 - -
ม.6/10 3 1 3 3 -
ม.6/11 - - 10 - -
ม.6/12 - 2 5 1 2
รวม 7 20 79 14 3
กราฟแสดงผลสารวจ (หลังรณรงค์)
ภาพที่ 5.แสดงผลสารวจระยะเวลาในการเล่นสมาร์ทโฟน (หลังรณรงค์)
ภาพที่ 6.แสดงผลสารวจเหตุผลในการเล่นสมาร์ทโฟน (หลังรณรงค์)
ภาพที่ 7.แสดงผลสารวจอารมณ์เมื่อไม่ได้เล่นสมาร์ทโฟน (หลังรณรงค์)
1-2 ชั่วโมง
12%
3-4 ชั่วโมง
33%
5-6 ชั่วโมง
36%
มากกว่า 6 ชั่วโมง
19%
ผลสำรวจระยะเวลำในกำรเล่นสมำร์ทโฟน (หลังรณรงค์)
1-2 ชั่วโมง 3-4 ชั่วโมง 5-6 ชั่วโมง มากกว่า6 ชั่วโมง
เล่นเกมส์
14%
สืบค้นข้อมูล
17%
ถ่ายรูป
18%
โซเซียลมีเดีย
27%
ดูหนัง,รายการโปรด ซีรี่ย์,การ์ตูน
,ฟังเพลง
23%
อื่นๆ
1%
ผลสำรวจเหตุผลในกำรเล่ำสมำร์ทโฟน (หลังรณรงค์)
เล่นเกมส์ สืบค้นข้อมูล ถ่ายรูป โซเซียลมีเดีย ดูหนัง,รายการโปรด ซีรี่ย์,การ์ตูน,ฟังเพลง อื่นๆ
สรุปผล (หลังรณรงค์)
ระยะเวลาในการเล่นสมาร์ทโฟนจากกลุ่มตัวอย่างของนักเรียนชั้นมัธยม
ศึกษาชั้นปีที่6
อันดับที่ 1. คือ การเล่นสมาร์ทโฟน 5-6 ชั่วโมงต่อวัน ซึ่งมีจานวนมากถึง 43
คน โดยคิดเป็นเปอร์เซ็น คือ 36%
อันดับที่ 2. คือการเล่นสมาร์ทโฟน 3-4 ชั่วโมงต่อวัน โดยมีมากถึง 40 คน
คิดเป็นเปอร์เซ็น คือ 33%
ซึมเศร้า
6%
สดใส ร่าเริง
16%
เฉยๆ
64%
หงุดหงิด
11%
อื่นๆ
3%
ผลสำรวจอำรมณ์เมื่อไม่ได้เล่นสมำร์ทโฟน (หลังรณรงค์)
ซึมเศร้า สดใส ร่าเริง เฉยๆ หงุดหงิด อื่นๆ
สังคมก้มหน้า
สังคมก้มหน้า
สังคมก้มหน้า
สังคมก้มหน้า
สังคมก้มหน้า
สังคมก้มหน้า
สังคมก้มหน้า
สังคมก้มหน้า
สังคมก้มหน้า
สังคมก้มหน้า
สังคมก้มหน้า
สังคมก้มหน้า
สังคมก้มหน้า
สังคมก้มหน้า

More Related Content

What's hot

โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกโครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกพัน พัน
 
รายงานการสังเคราะห์การฝึกพิมพ์สัมผัส ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
รายงานการสังเคราะห์การฝึกพิมพ์สัมผัส ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปรายงานการสังเคราะห์การฝึกพิมพ์สัมผัส ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
รายงานการสังเคราะห์การฝึกพิมพ์สัมผัส ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปยิ่งใหญ่ไอที อ.รัตนวาปี
 
โครงงานแบดมินตัน
โครงงานแบดมินตันโครงงานแบดมินตัน
โครงงานแบดมินตันSupakit10
 
รูปเล่มคอม
รูปเล่มคอมรูปเล่มคอม
รูปเล่มคอมN O Net Pitchanon
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1peter dontoom
 
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก) โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก) Np Vnk
 
2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรมkrupornpana55
 
เรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดเรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดพัน พัน
 
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่างBest practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่างsomdetpittayakom school
 
แผ่นพับโครงงานคณิตศาสตร์ 1
แผ่นพับโครงงานคณิตศาสตร์ 1แผ่นพับโครงงานคณิตศาสตร์ 1
แผ่นพับโครงงานคณิตศาสตร์ 1KruKaiNui
 
การสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่ายการสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่ายkrupornpana55
 
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56misspornpun
 
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านthkitiya
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์แวมไพร์ แวมไพร์
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดพัน พัน
 
แบบฟอร์ม แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน
แบบฟอร์ม แฟ้มสะสมผลงานนักเรียนแบบฟอร์ม แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน
แบบฟอร์ม แฟ้มสะสมผลงานนักเรียนธนิสร ยางคำ
 
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013Kruthai Kidsdee
 
บันทึกการเยี่ยมชมนวัตกรรม
บันทึกการเยี่ยมชมนวัตกรรมบันทึกการเยี่ยมชมนวัตกรรม
บันทึกการเยี่ยมชมนวัตกรรมJirathorn Buenglee
 

What's hot (20)

สาวน้อยนักกายกรรม
สาวน้อยนักกายกรรมสาวน้อยนักกายกรรม
สาวน้อยนักกายกรรม
 
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกโครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
 
รายงานการสังเคราะห์การฝึกพิมพ์สัมผัส ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
รายงานการสังเคราะห์การฝึกพิมพ์สัมผัส ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปรายงานการสังเคราะห์การฝึกพิมพ์สัมผัส ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
รายงานการสังเคราะห์การฝึกพิมพ์สัมผัส ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
 
โครงงานแบดมินตัน
โครงงานแบดมินตันโครงงานแบดมินตัน
โครงงานแบดมินตัน
 
รูปเล่มคอม
รูปเล่มคอมรูปเล่มคอม
รูปเล่มคอม
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1
 
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก) โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
 
2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม
 
เรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดเรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติด
 
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่างBest practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
 
แผ่นพับโครงงานคณิตศาสตร์ 1
แผ่นพับโครงงานคณิตศาสตร์ 1แผ่นพับโครงงานคณิตศาสตร์ 1
แผ่นพับโครงงานคณิตศาสตร์ 1
 
การสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่ายการสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่าย
 
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
 
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 
แบบฟอร์ม แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน
แบบฟอร์ม แฟ้มสะสมผลงานนักเรียนแบบฟอร์ม แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน
แบบฟอร์ม แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน
 
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013
 
ใบความรู้โครงงานคุณธรรม
ใบความรู้โครงงานคุณธรรมใบความรู้โครงงานคุณธรรม
ใบความรู้โครงงานคุณธรรม
 
บันทึกการเยี่ยมชมนวัตกรรม
บันทึกการเยี่ยมชมนวัตกรรมบันทึกการเยี่ยมชมนวัตกรรม
บันทึกการเยี่ยมชมนวัตกรรม
 

Similar to สังคมก้มหน้า

ต้อนรับคณะศึกษาดูงาน สพท.อุดร
ต้อนรับคณะศึกษาดูงาน สพท.อุดรต้อนรับคณะศึกษาดูงาน สพท.อุดร
ต้อนรับคณะศึกษาดูงาน สพท.อุดรkanidta vatanyoo
 
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่องกรณีตัวอย่าง ม.3แท้งลูก
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่องกรณีตัวอย่าง ม.3แท้งลูกใบกิจกรรมที่ 1 เรื่องกรณีตัวอย่าง ม.3แท้งลูก
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่องกรณีตัวอย่าง ม.3แท้งลูกtassanee chaicharoen
 
ใบกิจกรรมที่ 2 อารมณ์ทางเพศของวัยรุ่น
ใบกิจกรรมที่ 2 อารมณ์ทางเพศของวัยรุ่นใบกิจกรรมที่ 2 อารมณ์ทางเพศของวัยรุ่น
ใบกิจกรรมที่ 2 อารมณ์ทางเพศของวัยรุ่นtassanee chaicharoen
 
ใบกิจกรรมที่ 2 กรณีตัวอย่างจุ๊กจิ๊กนักไม่น่ารักเลย
ใบกิจกรรมที่ 2 กรณีตัวอย่างจุ๊กจิ๊กนักไม่น่ารักเลยใบกิจกรรมที่ 2 กรณีตัวอย่างจุ๊กจิ๊กนักไม่น่ารักเลย
ใบกิจกรรมที่ 2 กรณีตัวอย่างจุ๊กจิ๊กนักไม่น่ารักเลยtassanee chaicharoen
 
002.คัดกรองเยี่ยมบ้าน
002.คัดกรองเยี่ยมบ้าน002.คัดกรองเยี่ยมบ้าน
002.คัดกรองเยี่ยมบ้านKuntoonbut Wissanu
 
แบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานแบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานSita_buf
 
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่Supaporn Khiewwan
 

Similar to สังคมก้มหน้า (10)

ต้อนรับคณะศึกษาดูงาน สพท.อุดร
ต้อนรับคณะศึกษาดูงาน สพท.อุดรต้อนรับคณะศึกษาดูงาน สพท.อุดร
ต้อนรับคณะศึกษาดูงาน สพท.อุดร
 
บันทึกส่ง
บันทึกส่งบันทึกส่ง
บันทึกส่ง
 
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่องกรณีตัวอย่าง ม.3แท้งลูก
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่องกรณีตัวอย่าง ม.3แท้งลูกใบกิจกรรมที่ 1 เรื่องกรณีตัวอย่าง ม.3แท้งลูก
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่องกรณีตัวอย่าง ม.3แท้งลูก
 
ใบกิจกรรมที่ 2 อารมณ์ทางเพศของวัยรุ่น
ใบกิจกรรมที่ 2 อารมณ์ทางเพศของวัยรุ่นใบกิจกรรมที่ 2 อารมณ์ทางเพศของวัยรุ่น
ใบกิจกรรมที่ 2 อารมณ์ทางเพศของวัยรุ่น
 
2.ส่วนหน้าแผน
2.ส่วนหน้าแผน2.ส่วนหน้าแผน
2.ส่วนหน้าแผน
 
ใบกิจกรรมที่ 2 กรณีตัวอย่างจุ๊กจิ๊กนักไม่น่ารักเลย
ใบกิจกรรมที่ 2 กรณีตัวอย่างจุ๊กจิ๊กนักไม่น่ารักเลยใบกิจกรรมที่ 2 กรณีตัวอย่างจุ๊กจิ๊กนักไม่น่ารักเลย
ใบกิจกรรมที่ 2 กรณีตัวอย่างจุ๊กจิ๊กนักไม่น่ารักเลย
 
Sar 54
Sar 54Sar 54
Sar 54
 
002.คัดกรองเยี่ยมบ้าน
002.คัดกรองเยี่ยมบ้าน002.คัดกรองเยี่ยมบ้าน
002.คัดกรองเยี่ยมบ้าน
 
แบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานแบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงาน
 
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่
 

สังคมก้มหน้า

  • 1. สังคมก้มหน้า วันวิสา รัตนกุล เลขที่ 18 ณัฐฐินันท์ทองด้วง เลขที่ 29 พรพิมล บุรมณ์ เลขที่ 30 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้นี้ เป็ นส่วนหนึ่ง ของการศึกษาตามหลักสูตร การศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง ของโรงเรียนสตรีนนทบุรี 1มิถุนายน2560 คณะกรรมการควบคุมได้พิจารณาการศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง ฉบับนี้แล้ว เห็นสมควรรับ เป็ นส่วนหนึ่งของการศึกษา ตามหลักสูตรของโรงเรียนสตรีนนทบุรี
  • 2. ……………............…………..อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก (............................................................ ............) ฝ่ายวิชาการ อนุมัติให้รับการศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง ฉบับนี้ เป็ นส่วนหนึ่งของการศึกษา ตามหลักสูตรการศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง ของโรงเรียนสตรีนนทบุรี .……………………….................รองผู้อานวยการฝ่า ยวิชาการ (.............................................) วันที่……....เดือน……………พ.ศ………..... ประกาศคุณูปการ การศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง เรื่องสังคมก้มหน้า สาเร็จลุล่วงลงได้ด้วยความกรุณาและความเอาใจใส่อย่างดียิ่งจาก คุณครู
  • 3. สุรีรัตน์ สรรคพงษ์ ครูที่ปรึกษาการศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง ที่ให้คาปรึกษา คาแนะนา และเสียสละเวลา ในการจัดทาการศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเองครั้งนี้ ขอขอบคุณ ดร.ธนะสิทธิ์ ศิริวรธรรมผู้อานวยการโรงเรียนสตรีนนทบุรี นางชณากานต์ ศิลปรัศมี รองผู้อานวยการโรงเรียนสตรีนนทบุรีที่ให้การสนับสนุนและเป็นกาลังใจที่ดีตล อดมาจนทาให้การจัดทาการศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง ครั้งนี้สาเร็จลุล่วงลงได้ด้วยดี คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าการศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง เล่มนี้จะเป็นประโยชน์สูงสุดต่อนักเรียน ผู้สนใจ และ ใช้เป็นแนวทางในการจัดทาการศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเองเรื่องอื่นๆเพื่อเป็นประ โยชน์แก่การปรับใช้ในชีวิตประจาวัน คุณความดี และ ประโยชน์ จากการจัดทาการศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเองนี้ ขอมอบแด่ คุณพ่อ คุณแม่ ครู อาจารย์ และผู้มีพระคุณทุกๆท่าน ที่กรุณาให้ความรู้ ให้คาแนะนา ช่วยเหลือ อบรมสั่งสอนเป็นอย่างดี คณะผู้จัดทา บทคัดย่อ คาสาคัญ: สังคมก้มหน้า/โทรศัพท์มือถือ/อินเตอร์เน็ต เรื่อง: สังคมก้มหน้า ผู้ศึกษา: นางสาว วันวิสา รัตนกุล นางสาว ณัฐฐินันท์ ทองด้วง นางสาว พรพิมล บุรมณ์
  • 4. การศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเองครั้งนี้ เป็นการศึกษาประเภทสารวจ รวบรวมข้อมูล จัดทาขึ้นจากการศึกษาค้นคว้าทั้งในและนอกห้องเรียนตามความสนใจของนัก เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่6โรงเรียนสตรีนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี จานวน 3 คน ระยะเวลาในการศึกษา 60 วัน ระหว่างเดือนมิถุนายน-กรกฎาคม 2560 (หลังเลิกเรียนและวันหยุดราชการ)คณะผู้จัดทาจัดทาขึ้นเพื่อสนับสนุนให้นักเรี ยนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่6 โรงเรียนสตรีนนทบุรีรู้จักใช้โทรศัพท์มือถือให้ถูกที่ถูกเวลาและเกิดประโยชน์สู งสุดเพื่อประชาสัมพันธ์โทษของสังคมก้มหน้าให้นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 6 และเพื่อลดจานวนสังคมก้มหน้าของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ผลการศึกษาพบว่า คณะผู้จัดทารวบรวมความรู้เรื่องสังคมก้มหน้า ที่มีทั้งอันตรายและโทษ รวมถึงผลการสารวจจากกลุ่มตัวอย่างของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 ที่ได้ความรู้ถึงอันตรายและโทษของสังคมก้มหน้า ทาให้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิตได้ดียิ่งขึ้น มีการปรับตัวเข้าหาผู้คนรอบข้างได้ง่ายยิ่งขึ้น และทาให้ปัญหาสังคมก้มหน้าในโรงเรียนสตรีนนทบุรีลดน้อยลง ABSTRACT KEYWORDS: Social Ignore/Mobile phone/Internet TITLE: Social Ignore AUTHOR: Wanwisa Rattanakul Nuttinan Thongdaung Pornpimon Burom
  • 5. The purpose research by itself, this time as a study type survey. Collected data.Prepared from the research both inside and outside the classroom, according to the interest of high school grade 12 Satrinonthaburi schools. 3 people in 60 days during the months of June-July 2560 (after school and holidays). group established to encourages students to grade 12 Satrinonthaburi schools known use mobile phones, at the right time and maximum benefit. to promote the social sanctions or to student grade 12 and in order to reduce the number of Social Ignore of students of the grade 12. The study found that the group collected knowledge about social patterns that are both dangerous and punishable, including survey results from Social Ignore of high school grade 12 knowledge aboutthe dangers of a society or make is to modify the behavior of living better. Are adapting to the people around you have easier and makes the social problems Social Ignore in Satrinonthaburi reduced. สารบัญ หน้า ประการคุณูปการ………….……………………..............…..................................... ..................................…..ก บทคัดย่อภาษาไทย………….……............................................................... .....……………...................…...ข บทคัดย่อภาษาอังกฤษ…………............................................……....………...... ...............................……….ค สารบัญ……………………..…………………........................................................... .......…........................…….ง
  • 6. สารบัญตาราง.………………...……....……….................................................... ...........................................จ สารบัญภาพ....………...….....…………………................................................... ..........................................ฉ บทที่............................................................................................... ......................................................ช 1.บทนา….………….......…….................................................................... ................................................1 ความเป็นมาและความสาคัญ........................................................ ............................1 วัตถุประสงค์ของการศึกษา.......................................................... .............................1 สมมติฐานการศึกษา.................................................................. ................................2 ขอบเขตการศึกษา..................................................................... ................................2 สถานที่................................................................................... .....................2 ระยะเวลา................................................................................ ....................2 ตัวแปรหรือประชากรและกลุ่มตัวอย่าง........................................... ............2 ตัวแปรต้น............................................................................... .......2
  • 7. ตัวแปรตาม.............................................................................. ......2 ประชากร................................................................................ ......2 กลุ่มตัวอย่าง............................................................................. .....2 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากศึกษา............................................. ...........................2 2.วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง...................................…………......................... ...............................................3 น.ส.สุภาภรณ์ สาเนียง................................................................................... ...........3 น.ส.จันทร์จิรา เบ็ญจมาด และผู้จัดทา……………………………………..…..............………4 สารบัญ (ต่อ) หน้า CAT magazine…………………………………………………………………………………………4-5 เพจเฟสบุ๊คการแก้ปัญหาสมาคมก้มหน้า………………………………………… …….………5-6 วิธีป้องกันสมาคมก้มหน้า............................................................ ..............5 การเล่นไลน์นั้นมีทั้งผลดีและผลเสีย............................................... .........5-6 สุธีร์ วนกุล…………………………………………………………………………………………………..7
  • 8. ประโยชน์ของ facebook..........................................................................7 โทษในการใช้งาน Facrbook……………………………………………………….…7-8 เว็บเพจ sukkaphap- d.......................................................................................8-10 เว็บไซต์ Thai Love Health (TLH)…………………………………………………….…..10-12 นิตยาสาร TO BR NUMBER ONE……………………………………………………………….13 3.วิธีดาเนินการศึกษา................................…………................................ .............................................14 วัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องมือที่ใช้ในการทาโครงงาน............................................. ...14 ขั้นตอนการดาเนินงาน……………………………………………………………………… …………14 ตัวอย่างแบบสอบถาม………………………………………………………………………… ………15 ตัวอย่างโปสเตอร์รณรงค์………………………………………………………………… …………..16. 4. ผลของการศึกษา……………………….…………………………………………………………………………… …..17-28 สรุปผล (ก่อนรณรงค์)…………………………………………………………………………………22 สรุปผล (หลังรณรงค์)…………………………………………………………………………………28 5.สรุปและอภิปรายผล…………………………………………………….……………………………………… ……………29 สรุปการสารวจ……………………………………..……………………………………………………2 9
  • 9. สรุปผลสารวจ........................................................................... ..............................34 อภิปรายผล.............................................................................. ...............................34 ปัญหาที่พบ……………………………………………………………………………………………….35 ข้อเสนอแนะ………………………………………………………………………………………………3 5 สารบัญ (ต่อ) หน้า การแก้ไขปัญหา............................................................... ......................................35 ภาคผนวก……………………………………………………………………………...……………………………… …………..36 บรรณานุกรม…………………………………………………………………………………………………………… ………….39 ประวัติของผู้ศึกษา............................................................................. .................................................41
  • 10. สารบัญตาราง หน้า ตารางที่ 1.ผลสารวจระยะเวลาในการเล่นสมาร์ทโฟน (ก่อนรณรงค์)………………………………………….17 ตารางที่ 2.ผลสารวจเหตุผลในการเล่าสมาร์ทโฟน (ก่อนรณรงค์)……………………………………………..18 ตารางที่ 3.ผลสารวจอารมณ์เมื่อไม่ได้เล่นสมาร์ทโฟน (ก่อนรณรงค์)………………………………………….19 ตารางที่ 4.ผลสารวจระยะเวลาในการเล่นสมาร์ทโฟน (หลังรณรงค์)…………………………………………..23 ตารางที่ 5.ผลสารวจเหตุผลในการเล่นสมาร์ทโฟน (หลังรณรงค์)……………………………………………....24 ตารางที่ 6.ผลสารวจอารมณ์เมื่อไม่ได้เล่นสมาร์ทโฟน (หลังรณรงค์)…………………………………………..25 ตารางที่ 7.ตารางการเปรียบเทียบระยะเวลาในการเล่นสมาร์ทโฟน………………………………… …………29 ตารางที่ 8.ตารางการเปรียบเทียบเหตุผลในการเล่นสมาร์ทโฟน.............................. ..........................30 ตารางที่ 9.ตารางการเปรียบเทียบอารมณ์เมื่อไม่ได้เล่นสมาร์ทโฟน……………………………… ……………31
  • 11. สารบัญภาพ หน้า ภาพที่ 1.ตัวอย่างโปรสเตอร์รณรงค์………………………………………………………………………………… ……..16 ภาพที่ 2.แสดงผลสารวจระยะเวลาในการเล่นสมาร์ทโฟน (ก่อนรณรงค์)..........................................20 ภาพที่ 3.แสดงผลสารวจเหตุผลในการเล่นสมาร์ทโฟน (ก่อนรณรงค์)................................................20 ภาพที่ 4.แสดงผลสารวจอารมณ์เมื่อไม่ได้เล่นสมาร์ทโฟน (ก่อนรณรงค์)...........................................21 ภาพที่ 5.แสดงผลสารวจระยะเวลาในการเล่นสมาร์ทโฟน (หลังรณรงค์)...........................................26 ภาพที่ 6.แสดงผลสารวจเหตุผลในการเล่นสมาร์ทโฟน (หลังรณรงค์).................................................26
  • 12. ภาพที่ 7.แสดงผลสารวจอารมณ์เมื่อไม่ได้เล่นสมาร์ทโฟน (หลังรณรงค์)............................................27 ภาพที่ 8.การเปรียบเทียบระยะเวลาในการเล่นสมาร์ทโฟน…………………………………………… ………….32 ภาพที่ 9.การเปรียบเทียบเหตุผลในการเล่นสมาร์ทโฟน....................................... ..............................32 ภาพที่ 10.การเปรียบเทียบอารมณ์เมื่อไม่ได้เล่นสมาร์ทโฟน……………………………………… ………………33 ภาพที่ 11.ติดโปรสเตอร์ประชาสัมพันธ์........................................................... ...................................37 ภาพที่ 12.ติดโปรสเตอร์ประชาสัมพันธ์…………………………………………………………………………… ……37 ภาพที่ 13.ติดโปรสเตอร์ประชาสัมพันธ์........................................................... ...................................38
  • 13. บทที่ 1 บทนา ความเป็ นมาและความสาคัญ ในสังคมปัจจุบันโทรศัพท์มือถือเป็ นสิ่งพื้นฐานที่มนุษย์ทุกคนต้องมีเสมือ นเป็นอีกหนึ่งปัจจัยสาคัญในการดารงชีวิตเราใช้โทรศัพท์มือถือในการติดต่อสื่ อสารซึ่งเป็นหนทางที่สะดวกรวดเร็วและ นอกจากนี้โทรศัพท์มือถือยังสามารถเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตที่ทาให้เราได้เปิดโล กกว้าง แต่ภายใต้ข้อดีก็มีข้อเสียเช่นกันเมื่อผู้คนไม่รู้จักการใช้โทรศัพท์มือถือที่ถูกต้อง ซึ่งก่อให้เกิด“ปัญหาสังคมก้มหน้า” ขึ้นมา เราสามารถพบเห็นสังคมก้มหน้าได้ทั่วไปไม่ว่าจะตามท้องถนนในรถไฟ ฟ้าหรือแม้แต่ในห้องเรียน จากการสารวจพบว่า เด็กไทย 51% จะเล่นสมาร์ทโฟนทันทีที่ตื่นนอน และอีก 34% จะเล่นโซเซียลก่อนนอนทุกคืนซึ่งจะส่งผลต่อการปรับตัวเข้าสู่สังคม และ ส่งผลเสียต่อสุขภาพ โดยเฉพาะการเล่นสมาร์ทโฟนในสถานที่และ เวลาที่ไม่เหมาะสม สามารถก่อให้เกิดปัญหา และ อันตรายขึ้นได้ทั้งต่อชีวิตและทรัพย์สิน
  • 14. คณะผู้จัดทาจึงเล็งเห็นว่าในนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6ของโรงเรียนสตรีนนทบุรี จานวนไม่น้อยที่ก้าวเข้าสู้สังคมก้มหน้า คณะผู้จัดทาจึงได้จัดทาโครงงานนี้ขึ้นเพื่อลดจานวนสังคมก้มหน้าของเด็ กนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 และเพื่อเป็นจุดคลี่คลายในการลดปัญหาสังคมก้มหน้าต่อไป วัตถุประสงค์ของการศึกษา 1. เพื่อสนับสนุนให้นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่6ใช้โทรศัพท์มือถือให้ถูกที่ถู กเวลาและเกิดประโยชน์สูงสุด 2. เพื่อประชาสัมพันธ์โทษของสังคมก้มหน้าให้นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 3. เพื่อลดจานวนสังคมก้มหน้าของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 สมมติฐานการศึกษา 1. คาดว่าจะเกิดการสื่อสารกันจากการพูดคุยต่อหน้าขณะอยู่ด้วยกันมากขึ้น 2. กลุ่มตัวอย่างมีทักษะในการเข้าสังคมเพิ่มมากขึ้น 3. สามารถลดปัญหาและอันตรายที่เกิดจากสังคมก้มหน้าได้ ขอบเขตของการศึกษา 3.1 สถานที่ โรงเรียนสตรีนนทบุรี 3.2 ระยะเวลา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 3.3 ตัวแปรหรือประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 3.3.1 ตัวแปรต้น กลุ่มตัวอย่างจากนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา ปีที่6
  • 15. ของโรงเรียนสตรีนนทบุรี จานวน 120 คน 3.3.2 ตัวแปรตาม เลือกบุคคลที่มีพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนเป็ นประจา 3.3.3 ประชากร คือ นักเรียนสตรีนนทบุรี 3.3.4 กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่6 จานวน 120 คน 3.4 งบประมาณ 300 บาท ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการศึกษา 1. นักเรียนกลุ่มตัวอย่างชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ใช้โทรศัพท์มือถือกันได้อย่างถูกที่ถูกเวลาและเป็นประโยชน์มากขึ้น 2. นักเรียนกลุ่มตัวอย่างชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ได้รับความรู้เกี่ยวกับโทษของสังคมก้มหน้า 3. ลดปัญหาสังคมก้มหน้าของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสตรีนนทบุรี บทที่ 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง สังคมก้มหน้า น.ส.สุภาภรณ์ สาเนียง เจ้าหน้าที่สานักงานประชาสัมพันธ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า ปัจจุบันเทคโนโลยีต่างๆมีความเจริญก้าวหน้า และ เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ซึ่งการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยีบนโลกนี้ได้ส่งผลกระทบต่อคว ามสัมพันธ์ ระหว่าง บุคคลในระดับต่างๆไม่ว่าจะเป็น สังคมระดับครอบครัว แวดวงเพื่อนฝูง หรือ แม้กระทั่ง สังคมในที่ทางานซึ่งจะเห็นได้จากการเสพติดโทรศัพท์ประเภทสมาร์ทโฟนที่สา มารถเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตได้แค่เพียงปลายนิ้วจนกระทั่งเทคโนโลยีเหล่านี้กลา ยเป็นปัจจัยที่ 5 นอกเหนือจากปัจจัย 4
  • 16. ที่เป็นปัจจัยพื้นฐานในการดาเนินชีวิตของมนุษย์ทั่วไปได้แก่อาหาร ที่อยู่อาศัย เครื่องนุ่งห่ม และ ยารักษาโรค รวมทั้ง รถยนต์ หรือ ยานพาหนะต่างๆ ซึ่งกลายมาเป็นปัจจัยที่ 5 ที่จาเป็นอย่างยิ่งในการดาเนินชีวิต ที่กล่าวมาข้างต้นนั้น จะเห็นได้ว่า สมาร์ทโฟนทั้งหลายได้กลายเป็นสิ่งจาเป็นในชีวิตประจาวัน ของคนส่วนใหญ่ หรือ คนทั่วโลกไปแล้ว จะเห็นได้จากกลุ่มคนทุกวัยตั้งแต่วัยเด็ก วัยรุ่น วัยทางาน ไปจนถึงผู้สูงวัยทั้งหลาย ล้วนแล้วจะต้องเป็นเจ้าของสมาร์ทโฟน อย่างน้อย 1 เครื่อง ผลกระทบที่ตามมาจากการที่ทุกคนให้ความสาคัญกับสมาร์ทโฟนเหล่านี้ก็คือ ทาให้ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในสังคมระดับต่างๆ ลดลงไปจนถึงขั้นย่าแย่ เนื่องจากสมาร์ทโฟนได้ดึงความสนใจจากสิ่งต่างๆรอบตัวไปจนหมดทุกคนต่า งก้มหน้าก้มตาเสียเวลาไปกับสิ่งนี้ จนทาให้ขาดปฏิสัมพันธ์ระหว่างคนรอบข้าง ไม่มีใครสนใจใครจนกลายเป็น “สังคมก้มหน้า” ที่เราได้ยินกันจนคุ้นหู และ เห็นภาพเหล่านี้จนชินตา นอกจากนี้ยังก่อให้เกิดปัญหาทางด้านสุขภาพไม่ว่าจะเป็นทางด้านร่างก าย ปัญหาทางสายตา หรือ ทางด้านจิตใจ จากปัญหาที่กล่าวมาทั้งหมดนี้จะสามารถคลี่คลายได้หากผู้ใช้รู้จักใช้อย่างมีสติ และ รู้เท่าทันเทคโนโลยี เพียงเท่านี้ปัญหา “สังคมก้มหน้า” ก็จะหมดไป น.ส.จันทร์จิรา เบ็ญจมาด และผู้จัดทา กล่าวว่า สังคมก้มหน้าในปัจจุบัน ถูกนิยามว่าเป็นสังคมที่ต่างคนต่างเล่นโทรศัพท์มือถือของตัวเอง จนไม่สนใจสิ่งรอบข้าง และ สาเหตุก็คือ เห็นว่าเครื่องมือเหล่านี้ทาให้สื่อสารกับผู้คนได้อย่างง่ายขึ้น ทาให้ได้รับข้อมูลต่างๆได้ง่ายและสะดวกสบายขึ้นแต่ปัญหา คือ ใช้แล้วเสพติดจนลืมการพูดคุยกับคนในชีวิตจริงไป สิ่งนี้คือปัญหาซึ่งสาเหตุก็มาจากความสะดวกสบาย แนวโน้มของสังคมก้มหน้าจะแย่ลงเพราะผู้คนเกิดการเสพติดโซเซียลและสังค มก้มหน้าจะกลายเป็นปัญหาเรื้อรัง ต้องแก้ที่สาเหตุของปัญหา คือ
  • 17. ต้องเริ่มจากการปล่อยมือถือที่เล่นอยู่ลง แล้วลองปฏิสัมพันธ์กับคนอื่น ต้องเริ่มลดสิ่งเหล่านี้ จะทาให้เห็นแง่มุมที่ละเลยไป ดังนั้นต้องแก้ที่ตัวเอง ความสะดวกสบายที่เกิดขึ้น ความรวดเร็ว ถ้าเกิดประโยชน์ก็อาจจะทาให้โลกมันไร้พรมแดน ทาให้มีหูตากว้างไกลมากขึ้น แต่โทษของสมาร์ทโฟน คือ ทาให้ละเลยการใช้ชีวิตประจาวันที่ไม่มีสมาร์ทโฟน ทาให้เกิดการละเลยการพูดคุยกับคนปกติธรรมดาโดยที่ไม่ต้องใช้สมาร์ทโฟน ผลเสียมีมากกว่าผลดี เพราะใช้สมาร์ทโฟนจนกระทั่งไม่รู้ว่ามีผลดีอะไร นี่คือสิ่งที่น่ากลัว จนกลายเป็นเรื่องปกติของมนุษย์ปุถุชนธรรมดา จนลืมไปแล้วว่าการที่จะมีสมาร์ทโฟน ต้องมีเงินที่จะซื้อสมาร์ทโฟน CAT magazine กล่าวว่า ปัจจุบันคนไทยทุกเพศทุกวัยหันมาใช้สมาร์ทโฟนอย่างแพร่หลายเพื่อตอ บโจทย์ในชีวิตประจาวันไม่ว่าจะเป็นการติดต่อสื่อสาร การใช้โซเซียลมีเดีย ฯลฯ จนไม่น่าเชื่อว่าคนไทยหยิบสมาร์ทโฟนขึ้นมาใช้ทุกๆ 5 นาทีเรียกว่าบ่อยเสียยิ่งกว่าการเปิดกระเป๋าสตางค์ตัวเองด้วยซ้าโดยมีโซเซียลมี เดียครองใจอย่างไลน์ เฟคบุ๊ค และ เกมออนไลน์ต่างๆเป็นแอพพลิเคชั่นอันดับต้นๆ ข้อมูลดังกล่าวมาจากโครงการนาร่องสารวจพฤติกรรมคนกรุงกับการใช้ สมาร์ทโฟนผ่านแอพพลิเคชั่น ที่มีชื่อว่า Digital Life Survey โดยติดตามการใช้งานสมาร์ทโฟนของผู้บริโภค จานวน 197 คนในกรุงเทพฯและปริมณฑลช่วงอายุตั้งแต่ 15-45 ปีเป็นเวลา 2 สัปดาห์ระหว่างวันที่ 1-14 พฤษภาคม 2558 พบว่า 1. ช่วงวลาสาวจ 14 วันมีการใช้สมาร์ทโฟนมากถึง 461,252 ครั้งแสดงว่าใน 1 วันมีการเปิด ใช้งานเฉลี่ย 176 /ครั้ง/คน/วันหรือเปิดใช้แอพพลิเคชั่นทุก 5 นาที 2. ช่วงเวลาเปิดสมาร์ทโฟนบ่อยที่สุดคือช่วงเวลา 16.01-20.00 น. เฉลี่ยน 49 ครั้ง/คน/วัน 3. กลุ่มตัวอย่างมีการปลดล็อกหน้าจอสมาร์ทโฟนเฉลี่ย 47 ครั้ง/คน/วัน
  • 18. 4. กลุ่มวัยรุ่นTeen GEN ZC มีความถี่ในการสัมผัสหน้าจอเฉลี่ยสูงถึง 8,508 ครั้ง/คน/วัน 5. กลุ่มพ่อ-แม่สมัยใหม่นิยมใช้สมาร์ทโฟนตั้งแต่เวลา 16.00-20.00 น. 6. แอพพลิเคชั่นที่ถูกสัมผัสหน้าจอมากที่สุดได้แก่ไลน์ เฟคบุ๊คและเกมออนไลน์ต่างๆ โครงการดังกล่าวเล็งเห็นว่าตลาดสมาร์ทโฟนของไทยนั้นใหญ่ขึ้นเป็นอั นดับ 2 ของภูมิภาคเอเชียอีกทั้งปัจจุบันสมาร์ทโฟนยังเป็นปัจจัยสาคัญในการวางแผน กลยุทธ์สื่อสารการตลาดของสินค้าและบริการต่างๆมากมายแต่ประเทศไทยกลั บมีข้อมูลเชิงลึกของผู้บริโภคกับสมาร์ทโนอยู่ไม่มากนักการออกแบบแอพพลิเ คชั้นเพื่อเก็บข้อมูลการใช้งานสมาร์ทโฟนแบบเรียลไทม์นี้ข้อมูลที่ได้จะมีความ แม่นยามากกว่าการตอบแบบสอบถามหรือสัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมายซึ่งแน่นอน ว่าส่งผลดีต่อการวางแผนการสื่อสารการตลาดกับกลุ่มเป้าหมายได้ดีมากยิ่งขึ้น ในอนาคต เพจเฟสบุ๊คการแก้ปัญหาสมาคมก้มหน้า กล่าวว่า วิธีป้องกันสมาคมก้มหน้า 1. เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม พักสายตา 2 - 3 นาทีต่อการใช้ 30นาที หรือ 1 ชั่วโมง กระพริบตาบ่อยๆ 10 - 15 ครั้งต่อนาที 2. นั่งทางานในที่สว่าง ปรับขนาดตัวหนังสืออ่านง่าย 3. ใส่แว่นกันแดดเพื่อลดปริมาณแสงเข้าดวงตา 4. รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ เช่น ผัก ผลไม้ที่มีวิตามินเอสูง อาทิ ราสเบอร์รี่ สตรอเบอร์รี่ ซึ่งช่วยด้านอนุมูลอิสระ และความเสื่อมของดวงตา 5. ควรดื่มน้ามากๆ ออกกาลังกาย พักผ่อนอย่างเพียงพอ และควรไปพบจักษุแพทย์ เพื่อตรวจสุขภาพดวงตาอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ล่าสุดพบว่า วัยรุ่นร้อยละ 51 ตื่นมาเล่นทันที อีกร้อยละ 35 เล่นก่อนนอนทุกวัน เมื่อเป็นเช่นนี้แล้ว ผู้ปกครองควรวางกติกาการเล่นให้กับเด็ก ทั้งกาหนดเวลาในการเล่น ไม่ให้มีการใช้โทรศัพท์ในช่วงเวลาไม่เหมาะสมอย่างไรก็ดีขณะนี้สถาบันสุขภ
  • 19. าพจิตเด็กและวัยรุ่นราชนครินทร์ได้เปิดให้บริการปรึกษาแก่เด็ก และ ผู้ปกครองที่มีบุตรหลาน ติดโทรศัพท์มือถือ หรือติดเกม โดยสามารถ ขอคาปรึกษาได้ที่โทรศัพท์ หมายเลข 02-248-8990 หรือโทรสายด่วนสุขภาพจิต หมายเลข 1323 สาหรับ 24 ชั่วโมงให้บริการทั่วประเทศ การเล่นไลน์นั้นมีทั้งผลดีและผลเสีย คือ ผลดี : อาจจะสร้างความสะดวกในการสื่อสาร สามารถส่งได้ทั้งภาพและเสียง อีกทั้งประหยัดไม่ต้องเสียค่าโทรศัพท์ ผลเสีย : ในปัจจุบันเด็กและเยาวชนที่ยังไม่มีวุฒิภาวะ และผู้ปกครองไม่ชี้แนะ หรือ ควบคุมการใช้งานอย่างจริงจัง ก็จะส่งผลกระทบทั้งสุขภาพกาย และ สุขภาพจิตโดยเฉพาะพฤติกรรมก้มหน้า ซึ่งจะทาให้การสื่อสารแบบเผชิญหน้าลดน้องลง และอาจจะเป็นนิสัยที่ติดต่อต่อไปในส่วนของผู้ใหญ่ ก็มีผลกระทบเช่นกัน ซึ่งหากผู้ใช้อยู่ในโลกส่วนตัวมากเกินไป หรือขาดความระมัดระวัง ก็อาจจะทาให้เกิดปัญหาอุบัติเหตุหรือจราจรเพิ่มขึ้น นายแพทย์วชิระ เพ็งจันทร์ อธิบดีกรมสุขภาพจิต กล่าวว่า แอพพลิเคชั่นไลน์ที่เด็กนิยม เล่นกันนั้น บางคนเล่นทุกวัน จนทาให้เด็กสูญเสียการใช้ชีวิตประจาวันที่ควรจะเป็น เช่นเรื่องสัมพันธภาพ การวางตัว ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นพัฒนาการที่สาคัญของวัยรุ่นและการเล่นจนติดเป็นนิสัยนั้นจ ะทาให้เด็กมีพฤติกรรมที่แข็งกระด้าง สุธีร์ วนกุล กล่าวว่า ประโยชน์ของ facebook คือ การเล่นหรือการใช้งาน FACEBOOK นั้นมีประโยนช์เหมือนกันไปดูเลยว่ามีอะไรบ้าง
  • 20. 1. ใช้งานทางด้านการเรียนการสอนการศึกษาการเรียนรู้การติดต่อสื่อสารแบบไ หม 2. ได้พบเพื่อนใหม่ๆเพิ่มขึ้น และอาจได้พบเพื่อนเก่าสมัยเรียนมัธยมเพื่อนในมหาลัยหรืออาจเป็นเพื่อนในที่ ทางาน 3. ใช้ทางด้านธุรกิจเพื่อจาหน่ายสินค้าเปิดร้านค้าออนไลน์ ตัวอย่าง เช่น eBay Auctionแอพพลิเคชั่นประมูลสินค้าผ่านทาง facebook 4. ใช้แสดงความคิดเห็นนาเสนอเรื่องราวที่กาลังเกิดขึ้นหรือเรื่องที่สนใจกับเพื่อน สมาชิก 5. ติดตามข่าวสารของศิลปินนักร้องดาราบุคคลที่ชื่นชอบแบบไม่ตกข่าว 6. ใช้ในการโฆษณาประชาสัมพันธ์สินค้าให้กับบริษัทองค์กรเพื่อสร้างเครือข่ายท างสังคม โทษในการใช้งาน Facrbook โทษของ facebook คือ 1. ติดเกมส์ใน facebook เพราะว่ามีเกมส์ให้เลือกเล่นมากมายและบางเกมส์ต้องหมั่นเข้าไปตรวจสอบติ ดตามผลที่เกิดขึ้น 2. ติด facebook ว่างเมื่อไหร่ก็จะเข้ามาคอมเมนต์หรือส่งข้อตความตลอดเวลาอาจทาให้เสียการ เรียนเสียเวลาการทางานเพราะมีการใช้งานที่หมกหมุ่นมากเกินไปยังทาให้ไม่เ กิดประโยชน์และเสียสุขภาพอีกด้วย 3. ต้องระวังมิจฉาชีพที่แอบแฝงเข้ามาหลอกลวงเป็นเพื่อนแล้วแอบขโมยข้อมูล หรือ หลอกเพื่อขายสินค้า 4. ในบางบริษัทหรือบางสถานศึกษามีนโยบายปิดกั้นไม่ให้มีการใช้ facebook เพราะทาให้เกิดปัญหามากมายในการทางานและการเรียน
  • 21. 5. ข้องความที่โพสต์จะถูกส่งไปหาเพื่อนๆทั้งหมด ซึ่งอาจไม่เป็นความลับแค่ 2-3 คน อีกต่อไปแต่จะมีอีกหลายร้อยหลายพันคนที่ทราบเรื่องราวที่โพสต์เพราะฉนั้นทุ กครั้งก่อนโพสต์ควรตรวจสอบให้แน่ใจก่อนว่าเป็นข้อมูลลับหรือไม่เช่นตอนนี้ ไม่อยู่บ้านกาลังเดินทางไปต่างประเทศเป็นต้น 6. ข้อความที่โพสต์ในบางครั้งอาจจะมีผู้เข้ามายุยงใส่ร้าย หรือ ข้อความอาจไม่เหมาะสมหากผู้อ่านไม่มีวุฒิภาวะมากพอก็อาจจะเกิดความขัด แย้งและเกิดปัญหาภายหลังได้บางข้อความอาจจะ เข้าข่ายผิกกฎหมายพรบ. คอมพิวเตอร์อีกด้วย 7. หากทาผิกกฏของ facebook อาจโดนบล็อกหรือปิดหน้า facebook เช่นแชร์ภาพไม่เหมาะสมหรือใช้หน้า facebook ขายของแทนที่จะเป็นหน้าfan page 8. แน่ใจได้ยังไงว่าผู้ที่กาลังโพสต์ข้อความคุยนั้นเป็นดารา หรือ เพื่อนใหม่ที่น่าคบหาจริงๆเพราะแฟนคลับบางคนที่ชอบดาราศิลปินจะสร้าง facebook ให้กับดาราและศิลปินที่ตนชื่นชอบส่วนในกรณีเพื่อนใหม่ที่พึ่งรู้จักจะแน่ใจได้ อย่างไรว่าเป็นคนนั้นหน้าตาแบบนั้นจริงๆในการพูดคุย อาจใช้ถ้อยคาที่ดีแต่อย่าพึ่งไว้ใจบอกข้อมูลส่วนตัวเพราะไม่ทราบว่าเพื่อนใหม่ มีจุดประสงค์ดีหรือร้าย เว็บเพจ sukkaphap-d กล่าวว่า โรคภัยของสังคมก้มหน้า หรือ โรค เท็กซ์เนค ไม่ใช่เรื่องใหม่แต่พูดถึงกันมาตลอด ยิ่งในปัจจุบันโรคภัยสังคมก้มหน้าตอนนี้มันกาลังกลายเป็น โกลบอลซินโดรม ที่ออกอาการกันแพร่หลายไปทั่วโลกโดยการแพร่ระบาดของอุปกรณ์พกพาสา รพัด ไม่ว่าจะเป็น สมาร์ทโฟน แท็บเล็ต อีบุ๊ค รีดเดอร์โดยอุปกรณ์เหล่านี้ถูกจากัดการใช้งานด้วยการเชื่อมต่อ แบบทุกที่ทุกเวลา ซึ่งส่วนใหญ่จะมากับหน้าจอที่หลากหลายมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นเกมส์ ไลน์ เฟสบุค ไลน์ ฯลฯ สัดส่วนการใช้งานต่อวันก็ยังเป็นการเพิ่มขึ้นมากมายมหาศาล เรียกว่า ปัจจุบันไม่ว่าจะเดินทาง ไปไหนมาไหนก็เจอแต่ผู้คน
  • 22. ก้มหน้าลงหาจอสี่เหลี่ยมเล็กๆ กันไปหมด ไม่ว่าจะเป็นบนรถไฟฟ้ า รถประจาทาง ร้านอาหาร หรือ แม้แต่ในรถยนต์ ที่ทาให้เกิดอุบัติเหตุมานักต่อนัก ทาให้สังคมยุคนี้ถูกประณามว่าเป็ น "สังคมก้มหน้า" ไปแล้ว ซึ่งภัยจากสังคมก้มหน้ามีผลเสียมากมาย สังคมก้มหน้าหรือ เท็กซ์เนค เป็นคาที่ นายแพทย์ ดีนฟิชแมน ซึ่งเป็นแพทย์กายภาพบาบัดผู้เชี่ยวชาญด้านบาบัดอาการของกระดูกสันหลังชา วอเมริกัน ได้มีการคิดขึ้นชื่อนี้ขึ้นมา สาหรับเรียกกลุ่มอาการของโรคที่เกิดขึ้นจาก การที่คนเราก้มหน้าบ่อยๆ และซ้าๆ จนนานเกินปกตินี้ จะทาให้เกิดอาการต่างๆขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการปวดกล้ามเนื้อบริเวณไหล่ หรือกล้ามเนื้อคอ และปวดศีรษะเรื้อรัง หากอาการหนักก็อาจพาลไปถึงเกิดการอักเสบของข้อต่อกระดูกสันหลังส่วนบ น ซึ่งเป็นอาการสาหัส โรคภัยสังคมก้มหน้า คือการก้มหน้าในลักษณะนี้บ่อยๆ อย่างนานๆ ซึ่งจะส่งผลต่อบุคลิกท่าทาง และการเจริญเติบโตของร่างกายในเด็กและวัยรุ่น ที่ทาให้ออกมาบิดเบี้ยวโค้งงอจนต้องรีบหาทางแก้กันอย่างยุ่งยากในภายหลัง ซึ่งที่มาของโรคนี้ สาเหตุมาจากการก้มหน้าบ่อยๆแพทย์บอกว่าเพียงแค่การก้มศีรษะลงไปข้างห น้า ซึ่งถือเป็นท่าที่ผิดปกติตามธรรมชาติ เพียงแค่นิ้วเดียว น้าหนักของศีรษะก็จะมีส่วนทาให้ กล้ามเนื้อ กระดูกเอ็น รวมถึง เส้นประสาทในบริเวณไหล่ คอ จะต้อง แบกรับภาระหนักเพิ่มขึ้นมากแล้ว ด้วยน้าหนักที่เพิ่มขึ้นจากการถ่วงไปข้างหน้า เพื่อที่จะทาการไปดึงรั้งกล้ามเนื้อเส้นเอ็นทั้งหมดให้ต้องแบกรับภาระมากขึ้นต ามไปด้วย ทาให้เกิดอาการตึงๆ ยิ่งหากเกิดขึ้นบ่อยๆ เพราะเป็นการก้มหน้าและทาซ้าๆ หลายๆ ครั้งก็จะเกิดการบาดเจ็บขึ้นได้ทั้งกับกล้ามเนื้อ เอ็น หรือเส้นประสาทในบริเวณดังกล่าวได้ ผู้ที่ประสบปัญหาโรคจากสังคมก้มหน้าจะทาให้กระดูกสองสามชิ้นที่อยู่บ ริเวณข้อต่อกระดูกสันหลัง ที่เป็นส่วนบนโค้งงอไปด้านหน้าเป็นแบบผิดธรรมชาติ เพราะ เฉลี่ยแล้วศีรษะของมนุษย์ หนักประมาณ 5 กิโลกรัม ซึ่งหากมีการก้มไปข้างหน้าทุกๆ 2
  • 23. เซนติเมตรจะทาให้ไหล่จะต้องแบกรับน้าหนักมากขึ้น 100 เปอร์เซ็นต์ หากก้มลงไป 6 เซนติเมตร น้าหนักของศีรษะที่ คอ ไหล่ และกระดูกสันหลัง จะต้องรองรับน้าหนักเพิ่มมากขึ้นเป็น 20 กิโลกรัม มันคือเหตุผลที่ว่าทาไมการก้มนานๆ ซ้าๆ อยู่ทั้งวัน จึงก่อให้เกิดอาการได้มากมายขนาดนั้น คาแนะนาของแพทย์สาหรับโรคสังคมก้มหน้า เพื่อการป้องกันไม่ให้เกิด โรคเท็กซ์เนค อย่างง่ายๆ สามารถทาได้โดยการ ละสายตาจากจอ เปลี่ยนท่าจากการก้มหน้า ให้เป็นการปล่อยให้ศีรษะกลับคืนสู่ท่าธรรมชาติในทุกๆ 15 นาทีและค่อยๆเงยหน้าขึ้น เหลียวไปรอบๆ หากยังจาเป็นต้องจ้องจออยู่ก็ ลองยกสมาร์ทโฟนให้ขึ้นมาอยู่ในระดับสายตา เพื่อช่วยในการลดการแบกรับน้าหนักของคอลงเป็นระยะๆ ถ้าเป็นไปได้หากมีความจาเป็นที่จะต้องก้มหน้าก้มตาอยู่ตลอดเวลา กับการทากิจกรรมต่างๆบนโลกออนไลน์ ควรจะหันไปออกกาลังกายในท่าที่สามารถช่วยทาให้กล้ามเนื้อบริเวณคอและไ หล่ได้มีการผ่อนคลาย ซึ่งอาจจะหันมาเล่นโยคะเย็น หรือโยคะร้อนก หรือจะเป็นกายบริหารแบบพิลาทีส ที่เป็นการมุ่งเน้นไปที่การฝึกทาให้ร่างกายของเราอยู่ในท่าทางที่ถูกต้อง ซึ่งการออกกาลังกาย สามารถทาให้ได้ทุกวันจะป้องกันปัญหาเหล่านี้ได้ เพราะร่างกายมีความเคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลา โดยการใช้ทุกส่วนให้สัมพันธ์กัน หากใช้วิธีเหล่านี้แล้วยังไม่ได้ผล แสดงว่าเท็กซ์เนค หรือโรคภัยสังคมก้มหน้าค่อนข้างไปทางรุนแรงแล้ว ควรไปพบแพทย์เพราะ อาจต้องใช้ยาจาพวกที่จะช่วยคลายกล้ามเนื้อช่วย แต่หากอาการดังกล่าวเกิดไปกระทบทาให้กลุ่มประสาทในบริเวณต่างๆ ถูกบีบและถูกกดอยู่นานๆ จนทาให้เกิดอาการปวดประสาท ซึ่งก็จัดอยู่ในขั้นต้องให้แพทย์ที่เชี่ยวชาญดูแลเป็นการเฉพาะจะดีที่สุด แล้วก็ต้องลดการกระทาที่เป็นส่วนหนึ่งของสังคมก้มหน้า เพื่อให้เหลือน้อยที่สุด ไม่มีใครห้ามที่จะไม่ให้เล่นอยู่แต่กับจอสี่เหลี่ยมด้วยการก้มหน้า เพราะนั่นอาจจะเป็นส่วนหนึ่งของการทางาน หากแต่คิดว่า มันมีความจาเป็นแล้ว การที่รู้จักป้องกันตัวเองตั้งแต่เนิ่นๆ
  • 24. ก็อาจจะช่วยให้อยู่ห่างจากโรคภัยสังคมก้มหน้าได้อย่างปลอดภัยต่อไป โดยที่ไม่เสียสุขภาพและยังสามารถก้มหน้าก้มตาทางานต่อไปได้ เว็บไซต์ Thai Love Health (TLH) - อาหารเพื่อสุขภาพ ความรู้สารอาหาร โภชนาการ โรค กล่าวว่า เมื่อใดก็ตามที่เริ่มมีอาการวิตกกังวล, กระสับกระส่าย เพราะหาสมาร์ทโฟนไม่เจอ หรือรู้สึกไม่ดีเมื่อเวลาแบตกาลังจะหมด รู้สึกปวดหัว และปวดคออย่างรุนแรงโดยไม่ทราบสาเหตุ รู้สึกปวดตา หรือแสบตาเมื่อต้องเจอแสง นั่นหมายความว่ามีสิทธิ์ที่จะเป็นโรคนี้แล้ว โรคนี้แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม 1. Computer Vision Syndrome Computer Vision Syndrome หรือ คนที่มีปัญหาสุขภาพ จากการก้มหน้ามองจอสมาร์ทโฟน แท็บเล็ต หรือ จอคอมพิวเตอร์ เป็นเวลานาน จนทาให้เกิดอาการไม่พึงประสงค์ต่าง ๆ ตามมา เช่น ปวดตา ตาแห้ง ปวดศีรษะหรือคอมากผิดปกติ ซึ่งโรคนี้มีแนวโน้มของคนที่เป็นเพิ่มสูงขึ้น โดยพบว่า 50% ของคนไทยเริ่มมีอาการเหล่านี้แล้ว เมื่อปี 2549 ได้มีการสารวจพบว่า คนไทยไม่ต่ากว่า 15 ล้านคนมีสายตาผิดปกติ และมีแนวโน้มสูงขึ้นเรื่อย ๆ เพราะการใช้ชีวิตที่เปลี่ยนไปของคนยุคใหม่ ที่ใช้สายตากันมากขึ้น จนทาให้มีอายุตาที่เกินกว่าอายุจริง และการจ้องจอคอมพิวเตอร์ ที่ใช้กันมากขึ้นในการทางาน หรือการหาข้อมูลในการเรียน ต่าง ๆ โดยมักจะใช้กันทั้งวัน จนทาให้เนื้อตาต้องทางานหนัก ซึ่งจะเพิ่มโอกาสทาให้สายตาเสียได้มากกว่าการอ่านหนังสือจากกระดาษปกติ และจอคอมยังมีแสงสีฟ้าที่ทาลายสายตาเราได้อย่างน่ากลัว ทั้งนี้ได้มีการแนะนาจากแพทย์สายตาว่าเราควรใช้สาตาจ้องจอแค่วันละ 3 ชม. เท่านั้นถึงจะปลอดภัย ถ้าปล่อยนาน ๆ เข้าก็จะเริ่มมีการเคืองตา มองเห็นภาพเบลอ แสบตา และ สู้แสงไม่ได้ ซึ่งเป็นสัญญาณอันตรายบ่งบอกความรุนแรง ของอาการที่จะเพิ่มมากขึ้น Computer Vision Syndrome นอกจากนี้ ยังมีอาการของกลุ่มอื่นร่วมด้วย เช่น กลุ่มอาการปวดเกร็งของกล้ามเนื้อ หรือ Myofascial pain syndrome ( MFS ) ที่ส่งผลต่อกระดูกต้นคอ ทาให้เกิดการรับน้าหนักมากกว่าปกติถึง 6 เท่า จนทาให้กระดูกต้นคอเสื่อมสภาพก่อนวัย หรืออาจถึงขั้นหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาทเลยก็ได้ ซึ่งจะมีอาการปวดคอ
  • 25. ปวดบ่า และลุกลามไปถึงปวดศีรษะ จนทาให้นอนไม่หลับ อาการปวดศีรษะก็มักจะเกิดตรงท้ายทอย ขมับ กระบอกตา หน้าผาก รวมถึงกลางกระหม่อมได้ เมื่อปวดมาก ๆ ก็จะทาให้นอนหลับไม่สนิท ร่างกายก็จะพักผ่อนไม่เพียงพอ จนในที่สุดก็จะลุกลาม ไปหาโรคอื่นได้ง่ายขึ้นอีกด้วย โดยเฉพาะในกลุ่มคนที่เป็นไมเกรน ควรระวังให้มาก เพราะหน้าจอจะมีแสงสีฟ้ า ที่ทาให้เกิดอาการไมเกรนแบบเฉียบพลันได้ รวมไปถึงการปวดคอและศีรษะที่เพิ่มมากขึ้น ก็ยิ่งไปกระตุ้นอาการของไมเกรน ให้มีอาการหนักมากกว่าเดิม วิธีการรักษาและฟื้นฟูควรทาตามที่แพทย์แนะนา คือจ้องหน้าจอคอมไม่เกินวันละ 3 ชม. หรือต้องพักสายตา จากหน้าจออยู่เรื่อย ๆ กระพริบตาให้บ่อย 10 – 15 ครั้งต่อนาที เปลี่ยนตัวอักษรให้ใหญ่ เหมาะแก่การอ่านมากขึ้น เลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อสายตา เช่น ผลไม้ตระกูลเบอร์รี่ เช่น บลูเบอร์รี่ สตรอเบอร์รี่ แครนเบอร์รี่ ราสเบอร์รี่ และ แบล็คเคอร์แรนต์ เป็นต้น เพราะในผลไม้เหล่านี้มีวิตามินเอสูง ที่จะป้องกันอาการตาแห้ง ช่วยบารุงสายตา และการมองเห็นได้ดี ผลไม้ตระกูลเบอร์รี่นั้นยังมี สารแอนโธไซยานิน ที่ช่วยลดความเหนื่อยล้าของกล้ามเนื้อตา ทาให้มองเห็นในเวลากลางคืนได้ดีขึ้น และ ยังช่วยให้ระบบเลือดไหลเวียนดี นอกจากนี้ วิตามินอีก็สามารถช่วยบารุงสายตาได้ เพราะ ในวิตามินอีมีสาร ไบโอฟลาโวนอยด์ ที่ต้านอนุมูลอิสระและป้องกันไม่ให้สายตาถูกทาลายไปได้โดยง่าย และควรพักผ่อนให้เพียงพอ ออกกาลังกายสม่าเสมอ และไปเช็คสุขภาพ ตรวจสายตาปีละครั้ง ซึ่งถ้าหากมีอาการผิดปกติ ก็จะได้รับการรักษาทันท่วงที 2. No-Mobile-Phone No Mobile Phone หรือ “โนโมโฟเบีย” เป็นโรคทางจิตเวช ที่หมายถึง “โรคกลัว” จะมีอาการกลัว และวิตกกังวลมากเกินกว่าคนปกติ สังเกตได้ง่าย ๆ คือ จะชอบเช็คโทรศัพท์อยู่บ่อย ๆ ตลอดทั้งวัน เมื่อเวลาแบตฯ ใกล้หมดก็มีอาการกังวลแสดงออกมาเห็นได้ชัด หรือหงุดหงิดมากเมื่อแบตฯ หมดแล้วไม่สามารถหาที่ชาร์ตได้ ตลอดจนการที่ตอบข้อความ ต่าง ๆ ทันทีที่เมื่อมีเสียงเตือน โดยคนที่ เป็นโรคนี้จะไม่สามารถขาดโทรศัพท์ได้เลย แม้แต่วินาทีเดียว ถึงขั้นว่าถ้าเข้านอนก็ต้องเอาวางไว้ข้าง ๆ ตัวอยู่ตลอด และในบางรายอาจถึงขั้น มีอาการเครียดจัด ตัวสั่น อาเจียน
  • 26. และเหงื่อออกไม่หยุด เมื่อต้องห่างจากโทรศัพท์ ซึ่งโรคนี้มักจะเกิดกับเด็กในวัยเรียนซะส่วนใหญ่ เพราะ เด็กในกลุ่มนี้จะติดสังคม Social และ เกมส์ต่าง ๆ ในสมาร์ทโฟนมาก โดยได้มีการสารวจจากสานักงานส่งเสริมสังคมเเห่งการเรียนรู้ เเละ คุณภาพเยาวชน หรือ สสค. ว่า 1 วันในชีวิตเด็กไทยนั้น 51% จะเช็คโทรศัพท์ทันทีหลังตื่นนอน และอีก 34% จะเล่นโซเซียลมีเดียลก่อนนอนทุกคืน ซึ่งผลเสียจากการเป็นโรคนี้ ส่งผลในแง่ของการปรับตัวเข้าสู่สังคม เพราะผู้ที่เป็นจะเกิดอาการแปลกแยก โลกส่วนตัวสูง ไม่ใส่ใจผู้คนหรือสิ่งรอบข้าง และไม่มีความรับผิดชอบในสังคม ตลอดจนเกิดปัญหาการโดนหลอกลวง ซึ่งอาจนาไปสู่ปัญหาอาชญากรรมไปในที่สุด วิธีการรักษา และ ฟื้นฟู ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิตใหม่ โดยการตั้งใจที่จะไม่ เล่นโทรศัพท์ และ หาใครสักคนคุยด้วย เมื่อเวลาที่เรานึกอยากจะเล่นโทรศัพท์ขึ้นมา ในช่วงวันหยุดสุดสัปดาห์ หากิจกรรมทาแทนการนั่งเล่นโทรศัพท์ เช่น ไปเที่ยว เล่นกีฬาออกกาลัง นั่งสมาธิ ทาให้ใจสงบ หรือแม้แต่ การหาหนังสือดี ๆ สักเล่ม อ่านแทนการแชท ตลอดจนการปิดโทรศัพท์ ทุกครั้งตอนนอน ซึ่งถ้าทาแล้วยังมีปัญหาการติดโทรศัพท์อยู่ ก็อาจจะต้องเปลี่ยนมาใช้โทรศัพท์ “ระบบปกติ” แทนที่การใช้ สมาร์ทโฟน เพื่อแก้อาการเบื้องต้น หรือถ้าอาการหนักขึ้น ควรที่จะไปพบแพทย์เพื่อหาทางแก้ไขต่อไป เทคโนโลยีสมัยใหม่ ทาให้ผู้คนสะดวกสบายขึ้น แต่ผู้คนเองก็ต้องใช้อย่างมีสติ และระมัดระวัง ไม่งั้นเทคโนโลยีก็อาจหันกลับมาทาร้ายได้ เมื่อต้องปรับเปลี่ยนพฤติกรรมมาสู่ยุคใหม่ ก็ไม่ควรที่จะเปลี่ยนวิถีชีวิต และสังคมที่เคยอยู่ไปด้วย เพราะอย่างน้อยการมีสังคมยัง ทาให้ได้ยิ้ม ได้พูดคุย ได้เข้าถึงกัน โดยไม่ต้องเสียสุขภาพกาย และสุขภาพจิตไป เพราะฉะนั้นควรใช้อย่างระมัดระวังและพอดี ก็น่าจะดีกับชีวิตไม่น้อยเลยทีเดียว นิตยาสาร TO BR NUMBER ONE กล่าวว่า
  • 27. ปิดมือถือก่อนนอนเพิ่มความสดชื่นแจ่มใส กรมสุขภาพจิตกระทรวงสาธารณสุขเผยว่าผู้ที่ติดโปรแกรมแชทหรือคลั่งแชท อาจมีการละเมอแชท (sleep taxting) กล่าวคือการลุกขึ้นมาแชทขณะหลับ เมื่อได้ยินเสียงข้อความส่งมา ปัญหาที่ตามมาคือร่างกาอ่อนแอจากการพักผ่อนไม่เพียงพอทาให้เกิดโรคอ้วน ภาวะซึมเศร้า โรควุ้นในตาเสื่อม และอาจส่งผลกระทบในการเรียนหรือการทางาน ดังนั้นการเล่นโปรแกรมแชทควรทาแต่พอดี หากติดมากควรลองอยู่ห่างจากสมาร์ทโฟน ตัดสินใจปิดมือถือ ปิดเสียง หรือปิดสัญญารอินเตอร์เน็ตก่อนนอน วิธีนี้จะช่วยให้ห่างไกลจากการละเมอแชท และฟื้นฟูสุขภาพการนอนหลับให้เต็มอิ่ม ตื่นเช้ามาพร้อมกับความสดชื่นแจ่มใสและสุขภาพร่างการที่แข็งแรงขึ้น บทที่ 3 วิธีดาเนินการศึกษา
  • 28. การศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเองครั้งนี้ เป็นการศึกษาประเภทสารวจ รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับสังคมก้มหน้าของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสตรีนนทบุรี ซึ่งคณะผู้จัดทาได้มีวิธีการดาเนินงานตามขั้นตอนดังต่อไปนี้ 3.1 วัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องมือที่ใช้ในการทาโครงงาน 3.1.1. เครื่องคอมพิวเตอร์สาหรับพิมพ์โครงงาน 3.1.2. โปรแกรม Photoshop cs5 ใช้ในการออกแบบโปสเตอร์รณรงค์ 3.1.3. โปรแกรม Microsoft Word 3.1.4. โปรแกรม Google docs 3.2 ขั้นตอนการดาเนินงาน 3.2.1. คิดหัวข้อโครงงานและนาเสนอต่อคุณครูที่ปรึกษาโครงงาน 3.2.2. ประชุมชี้แจ้งเกี่ยวกับหัวข้อโครงงาน และ แบ่งหน้าที่ตามความเหมาะสม 3.2.3. ศึกษาละค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับสังคมก้มหน้า ในเว็บไซต์ บทความ และหนังสือ 3.2.4. จัดทาแบบประเมินเกี่ยวกับสังคมก้มหน้า จานวน 120 ใบ 3.2.5. สรุปแบบประเมินและวิเคราะห์ถึงสาเหตุของการติดโซเชียล 3.2.6. จัดทาโปสเตอร์รณรงค์เกี่ยวกับสังคมก้มหน้าและนาไปติดไว้ภายใ นโรงเรียนโดยจะเป็นสถานที่ที่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่6 มักเดินผ่านหรือทากิจกรรม 3.2.7. จัดทาแบบประเมินเกี่ยวกับสังคมก้มหน้าว่ามีการลดลงหรือไม่ จานวน 120 ใบ 3.2.8. สรุปข้อมูลที่ได้ 3.2.9. พิมพ์รูปเล่มโครงงาน 3.2.10. นาเสนอโครงงานต่อคุณครูที่ปรึกษาโครงงาน 3.2.11. แก้ไขข้อผิดพลาดของโครงงาน และ ปรับปรุง ตามคาแนะนาของคุณครูที่ปรึกษา
  • 29. ตัวอย่างแบบสอบถาม พฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของกลุ่มตัวอย่าง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่6 โรงเรียนสตรีนนทบุรี จานวน 120 คน ส่วนที่1 ข้อมูลส่วนบุคคลทั่วไป คาชี้แจง โปรดเติมข้อความลงในช่องว่างตรงตามความเป็นจริง 1.กาลังศึกษาอยู่ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/……. ส่วนที่2 พฤติกรรมเกี่ยวกับการใช้สมาร์ทโฟน คาชี้แจง โปรดทาเครื่องหมาย ✔ลงในช่องที่ตรงตามความพฤติกรรมของคุณมากที่สุด 1.คุณใช้โทรศัพท์ประมาณกี่ชั่วโมงต่อวัน ☐1-2 ชั่วโมง ☐ 3-4 ชั่วโมง ☐ 5-6 ชั่วโมง ☐มากกว่า 6 ชั่วโมง 2.เหตุผลส่วนมากในการใช้สมาร์ทโฟนของคุณ คืออะไร ☐เล่นเกมส์ ☐สืบค้นข้อมูลหรือความรู้ ☐ถ่ายรูป ☐โซเซียลมีเดีย (Facebook,Line,Instagram,Twitter) ☐ดูหนัง, รายการโปรด, ซีรี่ย์, การ์ตูน, ฟังเพลง ☐อื่นๆ (ระบุ)................................. 3.ภายใน 1 วัน หากคุณไม่ได้ใช้สมาร์ทโฟน คุณจะมีอารมณ์อย่างไร ☐ซึมเศร้า ☐สดใส ร่าเริง ☐เฉยๆ ☐หงุดหงิด ☐อื่นๆ (ระบุ)........................... ตัวอย่างโปสเตอร์รณรงค์
  • 31. ผลการสารวจการใช้สมาร์ทโฟนของกลุ่มตัวอย่างนักเรียนชั้นมัธยมศึ กษาปี ที่ 6 โรงเรียนสตรีนนทบุรี ก่อนทาการรณรงค์ ดังนี้ ตารางที่ 1.ผลสารวจระยะเวลาในการเล่นสมาร์ทโฟน (ก่อนรณรงค์) ระยะเวลผาในการเล่นสมาร์ทโฟน 1-2 ชั่วโมง 3-4 ชั่วโมง 5-6 ชั่วโมง มากกว่า 6 ชั่วโมง ม.6/1 1 2 6 1 ม.6/2 1 2 3 4 ม.6/3 - - 3 7 ม.6/4 - 2 7 1 ม.6/5 2 1 4 3 ม.6/6 - 6 3 1 ม.6/7 1 - 7 2 ม.6/8 1 - - 9 ม.6/9 1 3 1 5 ม.6/10 - 5 3 2 ม.6/11 - 6 2 2 ม.6/12 1 8 1 - รวม 8 35 40 37 ตารางที่ 2.ผลสารวจเหตุผลในการเล่าสมาร์ทโฟน (ก่อนรณรงค์) เหตุผลในการเล่นสมาร์ทโฟน เล่นเกมส์ สืบค้นข้อมูล ถ่ายรูป โซเซียลมีเดีย ดูหนัง,รา ซีรี่ย์,การ ม.6/1 4 4 4 8
  • 32. ม.6/2 5 5 3 8 ม.6/3 4 5 1 9 ม.6/4 3 3 3 8 ม.6/5 5 4 2 7 ม.6/6 1 3 - 7 ม.6/7 4 2 2 6 ม.6/8 7 6 6 9 ม.6/9 5 9 7 10 ม.6/10 6 4 3 9 ม.6/11 4 7 6 7 ม.6/12 1 3 - 4 รวม 46 55 37 172 ตารางที่ 3.ผลสารวจอารมณ์เมื่อไม่ได้เล่นสมาร์ทโฟน (ก่อนรณรงค์) อารมณ์เมื่อไม่ได้เล่นสมาร์ทโฟน ซึมเศร้า สดใส ร่าเริง เฉยๆ หงุดหงิด อื่นๆ ม.6/1 - - 8 1 1 ม.6/2 - - 6 - 4 ม.6/3 - - 8 1 3
  • 33. ม.6/4 - - 8 2 - ม.6/5 1 - 8 1 - ม.6/6 - - 10 - - ม.6/7 - - 7 1 3 ม.6/8 1 3 5 4 - ม.6/9 - - 7 3 2 ม.6/10 2 - 9 1 2 ม.6/11 - 1 8 1 1 ม.6/12 1 1 8 - - รวม 5 5 92 15 16 กราฟแสดงผลสารวจ (ก่อนรณรงค์) ภาพที่ 2.แสดงผลสารวจระยะเวลาในการเล่นสมาร์ทโฟน (ก่อนรณรงค์)
  • 34. ภาพที่ 3.แสดงผลสารวจเหตุผลในการเล่นสมาร์ทโฟน (ก่อนรณรงค์) ภาพที่ 4.แสดงผลสารวจอารมณ์เมื่อไม่ได้เล่นสมาร์ทโฟน (ก่อนรณรงค์) 1-2 ชั่วโมง 7% 3-4 ชั่วโมง 29% 5-6 ชั่วโมง 33% มากกว่า 6 ชั่วโมง 31% ผลสำรวจระยะเวลำในกำรเล่นสมำร์ทโฟน (ก่อนรณรงค์) 1-2 ชั่วโมง 3-4 ชั่วโมง 5-6 ชั่วโมง มากกว่า 6 ชั่วโมง เล่นเกมส์ 12% สืบค้นข้อมูลหรือความรู้ 14% ถ่ายรูป 9% โซเซียลมีเดีย 43% ดูหนัง,รายการโปรด,ซีรีย์, การ์ตูน,ฟังเพลง 21% อื่นๆ 1% ผลสำรวจเหตุผลในกำรเล่นสมำร์ทโฟน (ก่อนรณรงค์) เล่นเกมส์ สืบค้นข้อมูลหรือความรู้ ถ่ายรูป โซเซียลมีเดีย ดูหนัง,รายการโปรด,ซีรีย์,การ์ตูน,ฟังเพลง อื่นๆ
  • 35. สรุปผล (ก่อนรณรงค์) ระยะเวลาในการเล่นสมาร์ทโฟนจากกลุ่มตัวอย่างของนักเรียนชั้นมัธยม ศึกษาชั้นปีที่6 อันดับที่ 1. คือการเล่นสมาร์ทโฟน 5-6 ชั่วโมงต่อวัน ซึ่งมีจานวนมากถึง 40 คน โดยคิดเป็นเปอร์เซ็น คือ 33% ซึมเศร้า 4% สดใส ร่าเริง 4% เฉยๆ 69% หงุดหงิด 11% อื่นๆ 12% ผลกำรสำรวจอำรมณ์เมื่อไม่ได้เล่นสมำร์ทโฟน (ก่อนรณรงค์) ซึมเศร้า สดใส ร่าเริง เฉยๆ หงุดหงิด อื่นๆ
  • 36. อันดับที่ 2. คือการเล่นสมาร์ทโฟนมากกว่า 6 ชั่วโมงต่อวัน โดยมีมากถึง 37 คน คิดเป็นเปอร์เซ็น คือ 31% อันดับที่ 3. คือการเล่นสมาร์ทโฟน 3-4 ชั่วโมงต่อวัน มีจานวน 29 คน คิดเป็นเปอร์เซ็น คือ 29% อันดับที่ 4. คือการเล่นสมาร์ทโฟน 1-2 ชั่วโมงต่อวัน มีเพียงแค่ 8 คน คิดเป็นเปอร์เซ็นได้แค่ 7% เท่านั้น เหตุผลจากกลุ่มตัวอย่างของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 6 ที่เล่นสมาร์ทโฟน อันดับที่ 1. คือ โซเซียลมีเดีย ซึ่งมีถึง 172 คน คิดเป็นเปอร์เซ็น คือ 43% อันดับที่ 2. คือ ดูหนัง,รายการโปรด,ซี่รีย์,การ์ตูน,ฟังเพลง มี 83 คน คิดเป็นเปอร์เซ็น คือ 21% อันดับที่ 3. คือ สืบค้นข้อมูลหรือความรู้ มี 55 คน คิดเป็นเปอร์เซ็น คือ 14% อันดับที่ 4. คือ เล่นเกมส์ มี 46 คน คิดเป็นเปอร์เซ็น คือ 12% อันดับที่ 5. คือ ถ่ายรูป มี 37 คน คิดเป็นเปอร์เซ็น คือ 9% อันดับที่ 6. คือ อื่นๆ มี 3 คน คิดเป็นเปอร์เซ็น คือ 1% โดยกลุ่มตัวอย่างของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 6 จะเพิ่มการ โทรคุยโทรศัพท์ อารมณ์เมื่อไม่ได้เล่นสมาร์ทโฟนจากกลุ่มตัวอย่างของนักเรียนชั้นมัธยม ศึกษาชั้นปีที่ 6 อันดับที่ 1. คือ เฉยๆ มีจานวนมากถึง 92 คน คิดเป็นเปอร์เซ็น คือ 69% อันดับที่ 2. คือ อื่นๆ มีจานวน 16 คน คิดเป็นเปอร์เซ็น คือ 12% โดยกลุ่มตัวอย่างของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 6 จะเพิ่มอารมณ์ เหงา เบื่อ ไม่มีอะไรทา อันดับที่ 3. คือ หงุดหงิด มี 15 คน คิดเป็นเปอร์เซ็น คือ 11% อันดับที่ 4. คือ ซึมเศร้าและสดใส ร่าเริง ซึ่งได้จานวนเท่ากันได้แก่ 5 คน คิดเป็นเปอร์เซ็น คือ 4% ผลการสารวจการใช้สมาร์ทโฟนของกลุ่มตัวอย่างนักเรียนชั้นมัธยมศึ กษาปี ที่ 6 โรงเรียนสตรีนนทบุรี ก่อนทาการรณรงค์ ดังนี้
  • 37. ตารางที่ 4.ผลสารวจระยะเวลาในการเล่นสมาร์ทโฟน (หลังรณรงค์) ระยะเวลาในการเล่นสมาร์ทโฟน 1-2 ชั่วโมง 3-4 ชั่วโมง 5-6 ชั่วโมง มากกว่า 6 ชั่วโมง ม.6/1 4 4 2 - ม.6/2 4 6 - - ม.6/3 1 - 5 4 ม.6/4 - 5 4 1 ม.6/5 2 5 2 1 ม.6/6 - 2 7 1 ม.6/7 - 3 2 5 ม.6/8 3 1 5 1 ม.6/9 - 7 3 - ม.6/10 - 2 4 4 ม.6/11 - 1 6 3 ม.6/12 - 4 3 3 รวม 14 40 43 23 ตารางที่ 5.ผลสารวจเหตุผลในการเล่นสมาร์ทโฟน (หลังรณรงค์) เหตุผลในการเล่นส มาร์ทโฟน เล่นเก มส์ สืบค้นข้ อมูล ถ่าย รูป โซเซียล มีเดีย ดูหนัง,รายกา รโปรด ซีรี่ย์,การ์ตูน, ฟังเพลง อื่ น ๆ ม.6/1 3 7 2 7 3 -
  • 38. ม.6/2 - 7 3 4 3 - ม.6/3 4 5 4 7 7 1 ม.6/4 6 4 4 9 6 - ม.6/5 4 4 3 6 8 - ม.6/6 6 4 3 4 2 - ม.6/7 3 1 3 8 4 - ม.6/8 5 4 6 5 6 1 ม.6/9 2 6 5 9 8 - ม.6/10 7 3 8 7 8 - ม.6/11 2 1 5 9 7 - ม.6/12 2 5 9 9 9 1 รวม 44 51 54 84 71 3 ตารางที่ 6.ผลสารวจอารมณ์เมื่อไม่ได้เล่นสมาร์ทโฟน (หลังรณรงค์) อารมณ์เมื่อไม่ได้เล่นสมาร์ทโฟน ซึมเศร้า สดใส ร่าเริง เฉยๆ หงุดหงิด อื่นๆ ม.6/1 - 2 8 - - ม.6/2 - 1 9 - - ม.6/3 2 3 7 1 -
  • 39. ม.6/4 - 1 6 2 1 ม.6/5 - - 9 1 - ม.6/6 - 5 5 - - ม.6/7 1 1 6 2 - ม.6/8 1 1 4 4 - ม.6/9 - 3 7 - - ม.6/10 3 1 3 3 - ม.6/11 - - 10 - - ม.6/12 - 2 5 1 2 รวม 7 20 79 14 3 กราฟแสดงผลสารวจ (หลังรณรงค์) ภาพที่ 5.แสดงผลสารวจระยะเวลาในการเล่นสมาร์ทโฟน (หลังรณรงค์)
  • 40. ภาพที่ 6.แสดงผลสารวจเหตุผลในการเล่นสมาร์ทโฟน (หลังรณรงค์) ภาพที่ 7.แสดงผลสารวจอารมณ์เมื่อไม่ได้เล่นสมาร์ทโฟน (หลังรณรงค์) 1-2 ชั่วโมง 12% 3-4 ชั่วโมง 33% 5-6 ชั่วโมง 36% มากกว่า 6 ชั่วโมง 19% ผลสำรวจระยะเวลำในกำรเล่นสมำร์ทโฟน (หลังรณรงค์) 1-2 ชั่วโมง 3-4 ชั่วโมง 5-6 ชั่วโมง มากกว่า6 ชั่วโมง เล่นเกมส์ 14% สืบค้นข้อมูล 17% ถ่ายรูป 18% โซเซียลมีเดีย 27% ดูหนัง,รายการโปรด ซีรี่ย์,การ์ตูน ,ฟังเพลง 23% อื่นๆ 1% ผลสำรวจเหตุผลในกำรเล่ำสมำร์ทโฟน (หลังรณรงค์) เล่นเกมส์ สืบค้นข้อมูล ถ่ายรูป โซเซียลมีเดีย ดูหนัง,รายการโปรด ซีรี่ย์,การ์ตูน,ฟังเพลง อื่นๆ
  • 41. สรุปผล (หลังรณรงค์) ระยะเวลาในการเล่นสมาร์ทโฟนจากกลุ่มตัวอย่างของนักเรียนชั้นมัธยม ศึกษาชั้นปีที่6 อันดับที่ 1. คือ การเล่นสมาร์ทโฟน 5-6 ชั่วโมงต่อวัน ซึ่งมีจานวนมากถึง 43 คน โดยคิดเป็นเปอร์เซ็น คือ 36% อันดับที่ 2. คือการเล่นสมาร์ทโฟน 3-4 ชั่วโมงต่อวัน โดยมีมากถึง 40 คน คิดเป็นเปอร์เซ็น คือ 33% ซึมเศร้า 6% สดใส ร่าเริง 16% เฉยๆ 64% หงุดหงิด 11% อื่นๆ 3% ผลสำรวจอำรมณ์เมื่อไม่ได้เล่นสมำร์ทโฟน (หลังรณรงค์) ซึมเศร้า สดใส ร่าเริง เฉยๆ หงุดหงิด อื่นๆ