SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
Download to read offline
ISBN : 978-974-625-580-6
ค�ำน�ำ
แตงกวาเป็นพืชที่นิยมบริโภคในหมู่คนไทยในทุกระดับ เป็นพืชเศรษฐกิจ
ที่ส�ำคัญชนิดหนึ่งมีประโยชน์ต่อร่างกายมีคุณสมบัติแก้กระหาย เพิ่มความชุ่มชื้น
ช่วยการก�ำจัดของเสียที่ตกค้างในร่างกาย เปลือกแตงกวามีกากใยอาหารและ
แร่ธาตุจ�ำเป็น เช่น ซิลิก้า โพแทสเซียม โมลิบดีนั่ม แมงกานีสและแมกนีเซียม
ซิลิก้าซึ่งเป็น
แร่ธาตุที่เสริมความแข็งแรงให้กับกล้ามเนื้อกระดูกอ่อน เส้นเอ็น และกระดูก
แตงกวาเป็นพืชตระกูลเดียวกันกับแตงโมฟักทองบวบมะระนํ้าเต้าซึ่งมีการปลูก
กันอย่างแพร่หลายทั่วทุกภาคของประเทศมีอายุตั้งแต่ปลูกจนถึงเก็บเกี่ยวสั้นโดย
ใช้เวลาเพียง ๓๐-๔๕ วัน หลังปลูกเมื่อเปรียบเทียบรายได้จากการปลูกแตงกวา
กับพืชอื่นๆหลายชนิดแล้วแตงกวาเป็นพืชหนึ่งที่สามารถท�ำรายได้ดีส�ำหรับ
ในแง่ของผู้บริโภคแล้วแตงกวาที่สามารถน�ำไปปรุงอาหารได้มากมายหลายชนิด
หรืออาจแปรรูปเป็นแตงกวาดองส�ำหรับส่งจ�ำหน่ายต่างประเทศมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลล้านนาจึงได้รวบรวมสายพันธุ์จากหมู่บ้านต่างๆเพื่อพัฒนาและ
ปรับปรุงพันธุ์ ให้ได้มาซึ่งพันธุ์แตงกวาผลยาว ที่มีผลผลิตฝักสดต่อไร่สูงและต้านทาน
โรคมีความกรอบอายุเก็บเกี่ยวสั้นและสามารถปลูกได้ในทุกฤดูกาลโดยท�ำการปลูก
คัดเลือกพันธุ์ที่ศูนย์พัฒนาพันธุ์พืชจักรพันธ์เพ็ญศิริและสถาบันวิจัย
เทคโนโลยีเกษตร
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
สารบัญ
เรื่อง	
•	ความส�ำคัญ
•	ลักษณะทั่วไปของพืช
•	ลักษณะการเจริญเติบโตของแตงกวา	
ผลยาว เบอร ์๒
•	สภาพภูมิอากาศและฤดูปลูกที่เหมาะสม
•	พื้นที่ปลูก
•	ความเป็นมาของการพัฒนาพันธุ์	
แตงกวาผลยาว เบอร์ ๒
•	การปลูกแตงกวาผลยาว เบอร์ ๒
•	ผังการปลูก
•	ภาคผนวก
หน้า
       
๒  
๓
๓
๔
๔
๕
๖
๑๐
๑๑
แตงกวา
ผลยาวเบอร์ ๒
ความส�ำคัญของแตงกวา
แตงกวาเป็นพืชผักอายุสั้นใช้เวลาเพียง ๓๐-๔๕ วัน
หลังจากปลูก ให้ผลผลิตสูงต่อพื้นที่ปลูกง่ายสามารถสร้าง
รายได้ให้กับผู้ปลูกได้เป็นอย่างดี เมื่อเปรียบเทียบรายได้
จากการปลูกแตงกวากับพืชอื่นๆ หลายชนิดแล้ว แตงกวา
เป็นพืชหนึ่งที่สามารถท�ำรายได้ดีทีเดียว ส�ำหรับในแง่ของ
ผู้บริโภคแล้ว แตงกวาผลอ่อนที่ยังไม่เติบโตเต็มที่ น�ำไป
ปรุงอาหารได้มากมายหลายชนิด เช่น การน�ำไปแกงจืด
ผัด จิ้มน�้ำพริก หรืออาจแปรรูปเป็นแตงกวาดอง ในต่าง
ประเทศนิยมรับประทานแตงกวาดองกันมาก โดยเฉพาะ
ในทวีปยุโรป สหรัฐอเมริกาและญี่ปุ่น ซึ่งมีพันธุ์แตงกวา
ที่ใช้ส�ำหรับดองโดยเฉพาะจะเห็นได้ว่าแตงกวาเป็นพืชที่
เข้ามามีบทบาทต่อการค้าทั้งในและต่างประเทศ นอกจาก
นี้ในผลแตงกวายังมีเอ็นไซม์ cryssin ซึ่งช่วยย่อยโปรตีนจะ
ช่วยย่อยผิวหนังที่หยาบกร้าน ให้หลุดออกไปเพื่อให้ผิว
ใหม่ที่อ่อนนุ่ม เกิดขึ้นมาแทนที่ บางคนใช้แตงกวาสด
ผ่าเป็นชิ้นบางๆวางบนใบหน้าที่ล้างสะอาด แทนน�้ำแตงกวา
ปัจจุบัน มีน�้ำแตงกวาผสมในเครื่องส�ำอาง เช่นครีมล้าง
หน้า ครีมทาตัว เพื่อช่วยให้ผิวไม่หยาบกร้านและช่วย
สมานผิวแตงกวาเป็นสมุนไพรที่หาง่ายมีประโยชน์ราคาถูก
ใช้ติดต่อกันเป็นประจ�ำ จะท�ำให้สวย สดชื่น มีน�้ำมีนวล
แตงกวา ๑๐๐ กรัม ให้พลังงาน ๑๓ กิโลแคลอรี ประกอบ
ด้วยโปรตีน๐.๘กรัมไขมัน๐.๑กรัมคาร์โบไฮเดรต๒.๓กรัม
แคลเซียม ๕ มิลลิกรัม ฟอสฟอรัส ๑๑ มิลลิกรัม
เหล็ก ๐.๔ มิลลิกรัม เบต้า-แคโรทีน ๘.๖๐ ไมโครกรัม
เส้นใย ๑.๓๐ กรัม
วิตามินบี ๑๐.๓ มิลลิกรัม วิตามินบี ๒๐.๐๕ มิลลิกรัม
วิตามินซี ๕.๐๐ มิลลิกรัม
๒
ลักษณะทั่วไปของพืช
ชื่อวิทยาศาสตร์ : CucumissativusL.
ชื่อวงศ์ : Cucurbitacae
ชื่อสามัญ : Cucumber
ชื่ออื่น : ภาคเหนือเรียกว่า แตงขี้ไก่ แตงขี้ควาย แตง 	
	 ช้าง เชียงใหม่เรียกว่า แตงปี แตงยาว แตงเห็น
แตงกวา เป็นผักที่นิยมบริโภคทั่วโลก ทั้งการ
บริโภคสดและแปรรูป เป็นพืชผสมข้ามตามธรรมชาติ
โดยอาศัยลมและแมลง แต่พบอัตราการผสมตัวเอง
๑-๔๗เปอร์เซ็นต์ โดยธรรมชาติมีดอกเพศผู้และดอก
เพศเมียแยกดอกแต่อยู่ภายในต้นเดียวกัน เป็นพืชฤดู
เดียว ล�ำต้นเถาเลื้อย เป็นเหลี่ยม มีขนขึ้นปกคลุมทั่วไป
มีข้อยาว 10-20 เซนติเมตร มือเกาะเกิดออก มาตามข้อ โดย
ส่วนปลายของมือเกาะ ใบมีก้านใบยาว ๕-๑๕ เซนติเมตร
ใบหยาบมีขนใบมีมุมใบ ๓-๕ มุม ปลายใบแหลม
ใบใหญ่แบบ palmate มีเส้นใบ ๕-๗ เส้น ดอกเพศเมีย
เป็นดอกเดี่ยว เกิดจากบริเวณมุม ใบหรือข้อมีกลีบเลี้ยง
สีเขียว ๕ กลีบ กลีบดอกสีเหลือง ๕ กลีบ รังไข่มีลักษณะ
กลมยาวประมาณ ๒-๕ เซนติเมตร มีปุ่มนูนของหนาม
และขนชัดเจน ส่วนของยอดเกสรตัวเมียมี ๒-๕ แฉก ส่วน
ดอกเพศผู้อาจเป็นดอกเดี่ยวหรือเป็นช่อ มีกลีบเลี้ยงและ
กลีบดอกเหมือนดอกเพศเมีย ละอองเกสรตัวผู้ ๓ อัน
และมีก้านชูเกสรสั้นๆ ดอกเพศเมียและดอกแตงกวาเพศ
ผู้บานในตอนเช้าและพร้อมรับการผสมเกสร ดอกจะหุบ
ตอนบ่ายภายในวันเดียวกัน ต้นมีรากแก้วและมีรากแขนง
เป็นจ�ำนวนมาก สามารถแผ่ทางด้านกว้างและหยั่งลงได้ลึก
ถึง ๑ เมตร
ลักษณะการเจริญเติบโต
ของแตงกวาผลยาวเบอร์ ๒
๓
สภาพภูมิอากาศและฤดูปลูกที่เหมาะสม
อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการงอกของเมล็ดแตงกวา ระหว่าง ๒๕-๓๐ องศาเซลเซียส สามารถเจริญเติบโตได้ผลดี
ระหว่างอุณหภูมิ ๒๐-๓๐ องศาเซลเซียส อุณหภูมิกลางวัน ๒๒-๒๘องศาเซลเซียส แตงกวาจะชะงักการเจริญเติบโต
ส�ำหรับอุณหภูมิที่เหมาะสมกับการผสมเกสรนั้นอยู่ระหว่าง ๑๗-๒๕ องศาเซลเซียส
พื้นที่ปลูก
แตงกวาเป็นพืชผักสามารถขึ้นได้กับดินแทบทุกชนิดโครงสร้างของดินที่ปลูกแตงกวาควรมีลักษณะเป็นดินร่วน
ปนทราย มีการระบายน�้ำดี ควรมีความเป็นกรด ด่าง (pH) อยู่ระหว่าง ๕.๕-๖.๕ ในสภาพดินที่เป็นดินทรายจัด หรือ
เหนียวจัด จ�ำเป็นต้องปรับปรุงบ�ำรุงดินก่อนการปลูก โดยใช้ปุ๋ยอินทรีย์ เช่น ปุ๋ยคอก หรือปุ๋ยหมักที่สลายตัวแล้ว ส�ำหรับ
แตงกวาพันธุ์นี้เป็นพันธุ์ที่มีความทนทานปรับตัวเข้ากับพื้นที่ทางภาคเหนือได้ดี โดยเฉพาะในพื้นที่ที่ศูนย์พัฒนาพันธุ์
พืชจักรพันธ์ฯซึ่งเดิมเป็นพื้นที่ปลูกยาสูบความอุดมสมบูรณ์และอินทรียวัตถุของดินต�่ำ โรคทางดินมีมาก และมีแมลง
ศัตรูคอยระบาดเป็นประจ�ำ ดังนั้นพืชที่สามารถเจริญเติบโตได้แสดงว่าจะต้องปรับตัวเข้ากับสภาพพื้นที่นี้ได้เป็นอย่างดี
๔
ความเป็นมาของการพัฒนาพันธุ์แตงกวาผลยาว เบอร์ ๒
จากการรวบรวมพันธุ์แตงกวาทั้งที่เป็นพันธุ์ท้องถิ่นและพันธุ์การค้าตั้งแต่
ปี พ.ศ. ๒๕๕๑ ประมาณ ๑๕ เบอร์เป็นแตงกวาผลยาวทั้งหมดจากบริษัทเมล็ดพันธุ์
ในประเทศ ๑๐ บริษัท จากพันธุ์แตงกวาพื้นเมือง ๕ พื้นที่ ล�ำปาง แม่ฮ่องสอน เชียงราย
เชียงใหม่ ตาก ท�ำการปลูกคัดเลือกลักษณะที่ต้องการคือ ดกติดผลทุกข้อ มีข้อถี่และสั้น
ภายในต้นเดี่ยวกันมีทั้งดอกตัวผู้และดอกตัวเมีย สีผลเขียวเข้ม เจริญเติบโตดี ทนโรคแมลง
มีการคัดเลือกแบบจดประวัติแต่ละเบอร์ที่คัดเลือกสลับกับการคัดเลือกแบบรวม ในแต่ละ
ปีจะปลูกเพื่อการคัดเลือก ๑ – ๒ รุ่น ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาได้คัดเลือกแตงกวาผลยาว
ที่มีลักษณะตรงตามเป้าหมายที่ก�ำหนดไว้ ๑ พันธุ์ทั้งนี้ได้คัดเลือกให้มีการผสมตัวเองมา
ตลอดเพื่อเตรียมให้เป็นแท้ที่มีลักษณะดี รอที่จะน�ำไปเป็นพ่อแม่พันธุ์ต่อไป ซึ่งมีลักษณะ
ประจ�ำพันธุ์แตงกวาผลยาวเบอร์ ๒ ดังใน ตารางที่ ๑
หมายเหตุ เป็นข้อมูลลักษณะประจ�ำพันธุ์แตงกวาผลยาวที่ปลูกในพื้นที่ศูนย์พัฒนาพันธุ์พืช
จักรพันธ์ฯในปี พ.ศ. ๒๕๕๕
๕
การปลูกแตงกวาผลยาว
๑. เริ่มจากการเพาะเมล็ดซึ่งนิยมเพาะในถาดหลุม
พลาสติกที่มี ๑๐๔ หลุม วัสดุที่จะใช้เพาะอาจเป็นดิน
ผสมส�ำเร็จรูปที่มีการจ�ำหน่ายในท้องตลาดหรือจะเป็น
ผสมเตรียมเองโดยมีอัตราส่วนดิน : ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก
๓ :๑ คลุกให้เข้ากัน
๒. การดูแลรักษากล้า หลังจากหยอดเมล็ดแล้ว
ให้น�้ำทันทีโดยวิธีการฉีดพ่นให้เป็นฝอยละเอียดที่สุดเท่า
ที่จะท�ำได้ควรจะให้วันละ ๑ ครั้ง ทั้งนี้ให้ตรวจดูความชื้น
ก่อนการให้น�้ำทุกครั้งถาดเพาะกล้านี้ควรเก็บไว้ในที่แดด
ไม่จัดหรือมีการใช้วัสดุกันแสงไม่ให้มากระทบต้นกล้ามาก
เกินไปเมื่อแตงกวาเริ่มงอกให้หมั่นตรวจดูความผิดปกติ
ของต้นกล้าเป็นระยะๆหากมีการระบาดของแมลงหรือโรค
พืช ต้องรีบก�ำจัดโดยเร็ว และเมื่อต้นกล้ามีใบจริงประมาณ
๓-๔ ใบ จะอยู่ในระยะพร้อมที่จะย้ายปลูกประมาณ
๑๐-๑๕ วัน
๓. การเตรียมแปลงปลูกควรใช้ปูนขาวหรือโดโลไมด์
โรยให้ทั่วพื้นที่ใช้อัตรา ๕๐-๑๐๐ กิโลกรัมต่อไร่ แล้ว
ไถพรวนคลุกเคล้ากัน จากนั้นจึงขึ้นแปลงมีขนาดกว้าง
๑ เมตร ยาวตามพื้นที่ ตรงกลางแปลงท�ำเป็นร่องลึก
ประมาณ ๑๐-๑๕ เซนติเมตร ยาวตลอดแปลงเพื่อใส่ปุ๋ย
คอกหรือปุ๋ยหมักประมาณ ๑ ตันต่อไร่พร้อมกับปุ๋ยเคมี
๑๕-๑๕-๑๕ ในอัตรา ๒๕ กิโลกรัมต่อไร่ รองก้นหลุม
ก่อนย้ายต้นกล้าแตงกวามาปลูก แล้วกลบดินตามเดิม
ใช้วัสดุคลุมแปลงเป็นฟางข้าวหรือพลาสติกด�ำคลุมแปลง
ป้องกันวัชพืช จากนั้นย้ายกล้าจากถาดเพาะมาปลูกใน
แปลงที่เตรียมไว้ โดยปลูกแถวเดี่ยวระยะ ระหว่างต้น
๕๐ เซนติเมตร การปลูกแตงกวาผลยาวนิยมท�ำค้างซึ่ง
ปัจจุบันมีตาข่ายส�ำเร็จรูปที่ขึงเป็นค้างแตงกวาได้โดยมี
เสาไม้ไผ่ปักเป็นระยะห่างกันประมาณ ๑ เมตร ตลอดตาม
ความยาวของแปลง
๔. การให้น�้ำช่วงแรกหลังย้ายกล้าปลูกต้องให้
น�้ำทันที ระบบการให้น�้ำนั้นอาจจะแตกต่างกันขึ้นอยู่กับ
สภาพพื้นที่ แต่ระบบที่เหมาะสมกับแตงกวา คือการให้น�้ำ
ตามร่องเพราะว่าจะไม่ท�ำให้ล�ำต้น และใบไม่ชื้น ลดการ
ลุกลามของโรคพืชทางใบช่วงเวลาการให้น�้ำในระยะแรก
ควรให้ ๒-๓ วันต่อครั้งและเมื่อต้นแตงกวาเริ่มเจริญเติบโต
แล้วจึงปรับช่วงเวลาการให้น�้ำให้นานขึ้นข้อควรค�ำนึง
ส�ำหรับการให้น�้ำนั้น คือ ต้องกระจายในพื้นที่สม�่ำเสมอ
ตลอดแปลงและตรวจดูความชื้นในดินไม่ให้สูงเกินไป
จนกลายเป็นแฉะเพราะจะท�ำให้รากเน่าได้
๖
๕. การใส่ปุ๋ยในแตงกวานั้นอาจแบ่งเป็นระยะต่าง ๆ ดังนี้
		 ๕.๑. ระยะเตรียมดิน ใส่ปุ๋ยอินทรีย์ เช่น ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก
อัตรา ๑-๒ ตันต่อไร่และใส่ปุ๋ยสูตร ๑๕-๑๕-๑๕ หรือ ๑๒-๒๔-๑๒ อัตราประมาณ
๒๐-๓๐ กิโลกรัมต่อไร่ผสมกับดินตามแนวแปลงปลูก หรือจะใช้รองก้นหลุมตามแนว
ยาวของแถวแตงกวาที่จะปลูกบนแปลงที่เตรียมไว้ซึ่งวิถีนี้จะประหยัดการใช้ปุ๋ย
และแตงกวาได้ใช้ประโยชน์จากปุ๋ยที่ใส่มากกว่าหว่านทั้งแปลง
		 ๕.๒. หลังย้ายปลูกประมาณ ๗ วันใส่ปุ๋ยที่มีไนโตรเจน เช่น ยูเรีย
หรือ แอมโมเนียซัลเฟต ในอัตราประมาณ ๒๐ กิโลกรัมต่อไร่
		 ๕.๓. ระยะแตงกวาออกดอก ซึ่งจะใช้ระยะเวลาประมาณ ๒๕ วันหลัง
จากย้ายกล้า ใส่ปุ๋ยสูตร ๑๕-๑๕-๑๕ หรือ ๑๒-๒๔-๑๒ อัตรา ประมาณ ๒๐-๓๐ กิโลกรัม
ต่อไร่ หลังจากใส่ปุ๋ยเคมีทุกครั้งต้องให้น�้ำทันที
๖. การป้องกันก�ำจัดโรคแมลงซึ่งพยายามลดการใช้สารเคมีใช้จุลินทรีย์และสารสกัด
จากพืชแทนในการป้องกันก�ำจัดทั้งโรคและแมลง
๗
การเก็บเกี่ยว
อายุการเก็บเกี่ยวของแตงกวานับจากวันปลูกประมาณ
๓๐-๔๐ วันแล้วแต่พันธุ์แตงกวาส�ำหรับบริโภคสดควรเลือกเก็บขณะ
ที่ผลยังอ่อนอยู่เนื้อแน่นกรอบและสังเกตได้จากมีนวลสีขาวเกาะและ
ยังมีหนามอยู่บ้างถ้าผลแก่นวลจะจางหายสีผลเริ่มเป็นสีเหลืองและ
ไม่มีหนามการเก็บแตงกวาควรทยอยเก็บวันเว้นวันไม่ปล่อยให้แก่คา
ต้นเพราะจะท�ำให้ผลผลิตทั้งหมดลดลงโดยปกติจะเก็บเกี่ยวผลผลิตได้
ประมาณ ๑ เดือน
เพาะกล้า ๑๐-๑๕ วัน
การท�ำค้าง ใช้หลักไม้ไผ่ปักปักเป็นโครงยึดติดกันป้องกัน
ลมพัดแล้วใช้ตาข่ายส�ำเร็จรูปที่ขึง เป็นค้างแตงกวา
การดูแลรักษา หลังปลูก ๗ วัน ควรใส่ปุ๋ย ให้น�้ำ
อย่างต่อเนื่องและป้องกันก�ำจักโรคแมลง
ย้ายกล้าปลูกแถวเดี่ยว ระยะต้น ๕๐ เซนติเมตร
๘
การเก็บเกี่ยว ช่วงการ
พัฒนาพันธุ์จะเก็บผลแตงที่
แก่เต็มที่เพื่อให้ได้เมล็ดที่มี
ความสมบูรณ์ที่สุด ส�ำหรับ
การบริโภคผลสด สามารถ
เก็บได้ตั้งแต่ผลอ่อนมาก
จนถึงผลมีขนาดใหญ่ตาม
ความต้องการ
๙
๑๐
๑๑
ภาคผนวก
  โครงการศูนย์พัฒนาพันธุ์พืชจักรพันธ์เพ็ญศิริ
  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
โครงการศูนย์พัฒนาพันธุ์พืชจักรพันธ์เพ็ญศิริ
ประวัติความเป็นมา
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มูลนิธิชัยพัฒนาร่วมกับมูลนิธิ
แม่ฟ้าหลวง ด�ำเนินการจัดตั้ง “ศูนย์พัฒนาพันธุ์พืชจักรพันธ์เพ็ญศิริ” ขึ้น เพื่อเป็นที่ระลึกในวาระครบรอบ ๑๐๐ ปี
พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ ในบริเวณส่วนหนึ่งของที่ดินราชพัสดุ ทะเบียนที่ อชร ๑ ต�ำบลโป่งผา
อ�ำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย พื้นที่ ๑๓๕ ไร่ ๑ งาน ๑๐.๓ ตารางวา มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาพันธุ์พืช
ให้เกษตรกรได้มีพืชที่มีสายพันธุ์ที่ดี ตอบสนองต่อความต้องการของเกษตรกรด้านพันธุ์พืช ทนทานต่อโรคและแมลง
ได้ผลผลิตที่ดี
แนวพระราชด�ำริ
ศูนย์พัฒนาพันธุ์พืชจักรพันธ์เพ็ญศิริปลูกพืชผักเพื่อผลิตเป็นเมล็ดพันธุ์ และเริ่มรับซื้อเมล็ดพันธุ์พืชจาก
โครงการอื่นๆ ของมูลนิธิชัยพัฒนา น�ำมาสะสมไว้เป็นเมล็ดพันธุ์พืชผักพื้นบ้าน เพื่อเป็นเมล็ดพันธุ์พระราชทานแก่ราษฎร
ทั่วไป และราษฎรที่ประสบภัยพิบัติ
ศูนย์พัฒนาพันธุ์พืชจักรพันธ์เพ็ญศิริ รวบรวมพันธุ์พืชอาหารพื้นบ้าน เพื่อคัดเลือกพันธุ์ที่ดีเผยแพร่ ให้เกษตรกร
ให้เกษตรกรได้มีพันธุ์พืชที่มีคุณภาพดีพอสมควร มีความต้านทานโรคดีพอสมควร ให้ผลผลิตดีพอสมควร เพื่อให้เกษตรกร
น�ำพันธุ์ไปขยายหรือปลูกเองได้ในอนาคต โดยวางแผนที่จะพัฒนาพันธุ์พืชอาหารที่มีความจ�ำเป็นต่อการด�ำรงชีพในชีวิต
ประจ�ำวัน เพื่อให้เกษตรกรมีพันธุ์พืชที่ดี  แม้ไม่ใช่พันธุ์ที่ดีที่สุดในเชิงเศรษฐกิจ แต่จะเป็นพันธุ์ที่ดีพอสมควร สามารถ
สร้างผลผลิตที่มีคุณภาพให้กับครัวเรือน สร้างความแข็งแรงมั่นคงให้เกิดขึ้นกับตนเอง และครอบครัวได้อย่างยั่งยืน
๑๒
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
ประวัติความเป็นมา
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เป็นสถาบันอุดมศึกษาที่ตั้งอยู่ในเขตภาคเหนือตอนบนถือก�ำเนิดมา
จากวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา ตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๑๘ ต่อมาในปี พ.ศ.๒๕๓๑ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ
ทรงมีพระกรุณาโปรดเกล้าฯพระราชทานนามใหม่ว่า”สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล” และในปี พ.ศ.๒๕๔๘ ได้รับการ
ยกฐานะเป็นมหาวิทยาลัย ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พร้อมกันทั้ง ๙ แห่ง ในสังกัด ส�ำนักงาน
คณะกรรมการการอุดมศึกษา ซึ่งมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ได้จัดการศึกษาแบบมหาวิทยาลัยเสมือน
มีการแบ่งเขตพื้นที่การบริหารและจัดการศึกษาครอบคลุม ๖ จังหวัดในเขตภาคเหนือได้แก่ เชียงราย ตาก น่าน พิษณุโลก
เชียงใหม่ และล�ำปาง
การจัดการศึกษา
มหาวิทยาลัยมีนโยบายยกระดับคุณภาพมาตรฐานการศึกษา โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพอาจารย์พัฒนาวิธี
การเรียนการสอน เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ทางวิชาการเป็นบัณฑิตนักปฏิบัติ (Hands-on) นอกจากนี้ยังให้ความ
ส�ำคัญกับกระบวนการเรียนรู้ (Cognitive learning process) ผ่านการบูรณาการทางการศึกษาและการวิจัยที่อยู่บน
พื้นฐานความต้องการของชุมชนและประเทศชาติ เน้นให้นักศึกษามีการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Life-long learning) มี
ความเชื่อมโยงกับสถานประกอบการในการฝึกทักษะวิชาชีพ ทักษะสังคมพึ่งตนเองได้ และสามารถออกไปท�ำงานเพื่อ
สร้างสรรค์สังคม เป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพ(Employability) ปัจจุบันมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนามีการ
เปิดสอนใน ๔ คณะวิชา ได้แก่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจ
และศิลปศาสตร์ และคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตรรวมทั้งสิ้น ๑๐๑ หลักสูตร แบ่งเป็นหลักสูตรระดับ
ปวช.จ�ำนวน ๒ หลักสูตร ปวส. จ�ำนวน ๒๙ หลักสูตร ปริญญาตรี จ�ำนวน ๖๗ หลักสูตร และหลักสูตรปริญญาโท
จ�ำนวน ๓ หลักสูตร
๑๓
แตงกวาผลยาว เบอร์ ๒
แตงกวาผลยาว เบอร์ ๒
แตงกวาผลยาว เบอร์ ๒

More Related Content

Viewers also liked

Аттестация
АттестацияАттестация
Аттестацияpesrox
 
лекция 1 регуляция мц(1)
лекция 1   регуляция мц(1)лекция 1   регуляция мц(1)
лекция 1 регуляция мц(1)cdo_presentation
 
sem3_nivel1_angelascivoli
sem3_nivel1_angelascivolisem3_nivel1_angelascivoli
sem3_nivel1_angelascivolitanafranc
 
20141119 Informační odpoledne pro rodiče studentů/ek 7.B
20141119 Informační odpoledne pro rodiče studentů/ek 7.B20141119 Informační odpoledne pro rodiče studentů/ek 7.B
20141119 Informační odpoledne pro rodiče studentů/ek 7.BJakub Mráček
 
презентация2
презентация2презентация2
презентация2dnz439
 
El Destacado...recomendaciones!
El Destacado...recomendaciones!El Destacado...recomendaciones!
El Destacado...recomendaciones!CamiloBeifong
 
Dis paso1 -207102-12-2017-01
Dis paso1 -207102-12-2017-01Dis paso1 -207102-12-2017-01
Dis paso1 -207102-12-2017-01Helber Bayona
 
PHSC_persp-Fall_2016-sm - Copy
PHSC_persp-Fall_2016-sm - CopyPHSC_persp-Fall_2016-sm - Copy
PHSC_persp-Fall_2016-sm - CopyBonnieMason
 
лекция 11 поздняя материнская помощь
лекция 11   поздняя материнская помощьлекция 11   поздняя материнская помощь
лекция 11 поздняя материнская помощьcdo_presentation
 

Viewers also liked (19)

Comunidades
ComunidadesComunidades
Comunidades
 
Śniadanie Daje Moc
Śniadanie Daje MocŚniadanie Daje Moc
Śniadanie Daje Moc
 
Аттестация
АттестацияАттестация
Аттестация
 
лекция 1 регуляция мц(1)
лекция 1   регуляция мц(1)лекция 1   регуляция мц(1)
лекция 1 регуляция мц(1)
 
Exam 2
Exam 2Exam 2
Exam 2
 
sem3_nivel1_angelascivoli
sem3_nivel1_angelascivolisem3_nivel1_angelascivoli
sem3_nivel1_angelascivoli
 
Śniadanie Daje Moc
Śniadanie Daje MocŚniadanie Daje Moc
Śniadanie Daje Moc
 
20141119 Informační odpoledne pro rodiče studentů/ek 7.B
20141119 Informační odpoledne pro rodiče studentů/ek 7.B20141119 Informační odpoledne pro rodiče studentů/ek 7.B
20141119 Informační odpoledne pro rodiče studentů/ek 7.B
 
Śniadanie Daje Moc
Śniadanie Daje MocŚniadanie Daje Moc
Śniadanie Daje Moc
 
El sustantivo
El sustantivoEl sustantivo
El sustantivo
 
Taller picasaweb, slideshare y prezi
Taller picasaweb, slideshare y preziTaller picasaweb, slideshare y prezi
Taller picasaweb, slideshare y prezi
 
презентация2
презентация2презентация2
презентация2
 
Śniadanie Daje Moc
Śniadanie Daje MocŚniadanie Daje Moc
Śniadanie Daje Moc
 
Diapositivas
Diapositivas Diapositivas
Diapositivas
 
El Destacado...recomendaciones!
El Destacado...recomendaciones!El Destacado...recomendaciones!
El Destacado...recomendaciones!
 
Dis paso1 -207102-12-2017-01
Dis paso1 -207102-12-2017-01Dis paso1 -207102-12-2017-01
Dis paso1 -207102-12-2017-01
 
PHSC_persp-Fall_2016-sm - Copy
PHSC_persp-Fall_2016-sm - CopyPHSC_persp-Fall_2016-sm - Copy
PHSC_persp-Fall_2016-sm - Copy
 
лекция 11 поздняя материнская помощь
лекция 11   поздняя материнская помощьлекция 11   поздняя материнская помощь
лекция 11 поздняя материнская помощь
 
Blog
BlogBlog
Blog
 

Similar to แตงกวาผลยาว เบอร์ ๒

หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตรหน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตรvarut
 
Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2Napalai Jaibaneum
 
รู้จักปาล์มน้ำมัน
รู้จักปาล์มน้ำมันรู้จักปาล์มน้ำมัน
รู้จักปาล์มน้ำมันKrunong9
 
รู้จักปาล์มน้ำมัน
รู้จักปาล์มน้ำมันรู้จักปาล์มน้ำมัน
รู้จักปาล์มน้ำมันKrunong9
 
การเจริญเติบโตของพืช
การเจริญเติบโตของพืชการเจริญเติบโตของพืช
การเจริญเติบโตของพืชkookoon11
 
Power point ped.1
Power point  ped.1Power point  ped.1
Power point ped.1juckit009
 
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]อบต. เหล่าโพนค้อ
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานnmhq
 
Ipmแมลงศัตรูผัก
IpmแมลงศัตรูผักIpmแมลงศัตรูผัก
IpmแมลงศัตรูผักKaemkaem Kanyamas
 
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืชเทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืชdnavaroj
 
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2Enormity_tung
 
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืชหน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืชvarut
 
Plant kingdom 1
Plant kingdom 1Plant kingdom 1
Plant kingdom 1krunidhswk
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1bass-mail
 
บทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุงบทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุงkasetpcc
 
ใบความรู้ที่ 8
ใบความรู้ที่  8ใบความรู้ที่  8
ใบความรู้ที่ 8chunkidtid
 

Similar to แตงกวาผลยาว เบอร์ ๒ (20)

หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตรหน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
 
farmland
farmlandfarmland
farmland
 
Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2
 
รู้จักปาล์มน้ำมัน
รู้จักปาล์มน้ำมันรู้จักปาล์มน้ำมัน
รู้จักปาล์มน้ำมัน
 
รู้จักปาล์มน้ำมัน
รู้จักปาล์มน้ำมันรู้จักปาล์มน้ำมัน
รู้จักปาล์มน้ำมัน
 
การเจริญเติบโตของพืช
การเจริญเติบโตของพืชการเจริญเติบโตของพืช
การเจริญเติบโตของพืช
 
Power point ped.1
Power point  ped.1Power point  ped.1
Power point ped.1
 
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
Ipmแมลงศัตรูผัก
IpmแมลงศัตรูผักIpmแมลงศัตรูผัก
Ipmแมลงศัตรูผัก
 
For2 bio6 28/154
For2 bio6 28/154For2 bio6 28/154
For2 bio6 28/154
 
11111
1111111111
11111
 
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืชเทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
 
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
 
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืชหน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
 
For2 bio6
For2 bio6For2 bio6
For2 bio6
 
Plant kingdom 1
Plant kingdom 1Plant kingdom 1
Plant kingdom 1
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
บทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุงบทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุง
 
ใบความรู้ที่ 8
ใบความรู้ที่  8ใบความรู้ที่  8
ใบความรู้ที่ 8
 

แตงกวาผลยาว เบอร์ ๒

  • 2.
  • 3. ค�ำน�ำ แตงกวาเป็นพืชที่นิยมบริโภคในหมู่คนไทยในทุกระดับ เป็นพืชเศรษฐกิจ ที่ส�ำคัญชนิดหนึ่งมีประโยชน์ต่อร่างกายมีคุณสมบัติแก้กระหาย เพิ่มความชุ่มชื้น ช่วยการก�ำจัดของเสียที่ตกค้างในร่างกาย เปลือกแตงกวามีกากใยอาหารและ แร่ธาตุจ�ำเป็น เช่น ซิลิก้า โพแทสเซียม โมลิบดีนั่ม แมงกานีสและแมกนีเซียม ซิลิก้าซึ่งเป็น แร่ธาตุที่เสริมความแข็งแรงให้กับกล้ามเนื้อกระดูกอ่อน เส้นเอ็น และกระดูก แตงกวาเป็นพืชตระกูลเดียวกันกับแตงโมฟักทองบวบมะระนํ้าเต้าซึ่งมีการปลูก กันอย่างแพร่หลายทั่วทุกภาคของประเทศมีอายุตั้งแต่ปลูกจนถึงเก็บเกี่ยวสั้นโดย ใช้เวลาเพียง ๓๐-๔๕ วัน หลังปลูกเมื่อเปรียบเทียบรายได้จากการปลูกแตงกวา กับพืชอื่นๆหลายชนิดแล้วแตงกวาเป็นพืชหนึ่งที่สามารถท�ำรายได้ดีส�ำหรับ ในแง่ของผู้บริโภคแล้วแตงกวาที่สามารถน�ำไปปรุงอาหารได้มากมายหลายชนิด หรืออาจแปรรูปเป็นแตงกวาดองส�ำหรับส่งจ�ำหน่ายต่างประเทศมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลล้านนาจึงได้รวบรวมสายพันธุ์จากหมู่บ้านต่างๆเพื่อพัฒนาและ ปรับปรุงพันธุ์ ให้ได้มาซึ่งพันธุ์แตงกวาผลยาว ที่มีผลผลิตฝักสดต่อไร่สูงและต้านทาน โรคมีความกรอบอายุเก็บเกี่ยวสั้นและสามารถปลูกได้ในทุกฤดูกาลโดยท�ำการปลูก คัดเลือกพันธุ์ที่ศูนย์พัฒนาพันธุ์พืชจักรพันธ์เพ็ญศิริและสถาบันวิจัย เทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
  • 5.
  • 6. แตงกวา ผลยาวเบอร์ ๒ ความส�ำคัญของแตงกวา แตงกวาเป็นพืชผักอายุสั้นใช้เวลาเพียง ๓๐-๔๕ วัน หลังจากปลูก ให้ผลผลิตสูงต่อพื้นที่ปลูกง่ายสามารถสร้าง รายได้ให้กับผู้ปลูกได้เป็นอย่างดี เมื่อเปรียบเทียบรายได้ จากการปลูกแตงกวากับพืชอื่นๆ หลายชนิดแล้ว แตงกวา เป็นพืชหนึ่งที่สามารถท�ำรายได้ดีทีเดียว ส�ำหรับในแง่ของ ผู้บริโภคแล้ว แตงกวาผลอ่อนที่ยังไม่เติบโตเต็มที่ น�ำไป ปรุงอาหารได้มากมายหลายชนิด เช่น การน�ำไปแกงจืด ผัด จิ้มน�้ำพริก หรืออาจแปรรูปเป็นแตงกวาดอง ในต่าง ประเทศนิยมรับประทานแตงกวาดองกันมาก โดยเฉพาะ ในทวีปยุโรป สหรัฐอเมริกาและญี่ปุ่น ซึ่งมีพันธุ์แตงกวา ที่ใช้ส�ำหรับดองโดยเฉพาะจะเห็นได้ว่าแตงกวาเป็นพืชที่ เข้ามามีบทบาทต่อการค้าทั้งในและต่างประเทศ นอกจาก นี้ในผลแตงกวายังมีเอ็นไซม์ cryssin ซึ่งช่วยย่อยโปรตีนจะ ช่วยย่อยผิวหนังที่หยาบกร้าน ให้หลุดออกไปเพื่อให้ผิว ใหม่ที่อ่อนนุ่ม เกิดขึ้นมาแทนที่ บางคนใช้แตงกวาสด ผ่าเป็นชิ้นบางๆวางบนใบหน้าที่ล้างสะอาด แทนน�้ำแตงกวา ปัจจุบัน มีน�้ำแตงกวาผสมในเครื่องส�ำอาง เช่นครีมล้าง หน้า ครีมทาตัว เพื่อช่วยให้ผิวไม่หยาบกร้านและช่วย สมานผิวแตงกวาเป็นสมุนไพรที่หาง่ายมีประโยชน์ราคาถูก ใช้ติดต่อกันเป็นประจ�ำ จะท�ำให้สวย สดชื่น มีน�้ำมีนวล แตงกวา ๑๐๐ กรัม ให้พลังงาน ๑๓ กิโลแคลอรี ประกอบ ด้วยโปรตีน๐.๘กรัมไขมัน๐.๑กรัมคาร์โบไฮเดรต๒.๓กรัม แคลเซียม ๕ มิลลิกรัม ฟอสฟอรัส ๑๑ มิลลิกรัม เหล็ก ๐.๔ มิลลิกรัม เบต้า-แคโรทีน ๘.๖๐ ไมโครกรัม เส้นใย ๑.๓๐ กรัม วิตามินบี ๑๐.๓ มิลลิกรัม วิตามินบี ๒๐.๐๕ มิลลิกรัม วิตามินซี ๕.๐๐ มิลลิกรัม ๒
  • 7. ลักษณะทั่วไปของพืช ชื่อวิทยาศาสตร์ : CucumissativusL. ชื่อวงศ์ : Cucurbitacae ชื่อสามัญ : Cucumber ชื่ออื่น : ภาคเหนือเรียกว่า แตงขี้ไก่ แตงขี้ควาย แตง ช้าง เชียงใหม่เรียกว่า แตงปี แตงยาว แตงเห็น แตงกวา เป็นผักที่นิยมบริโภคทั่วโลก ทั้งการ บริโภคสดและแปรรูป เป็นพืชผสมข้ามตามธรรมชาติ โดยอาศัยลมและแมลง แต่พบอัตราการผสมตัวเอง ๑-๔๗เปอร์เซ็นต์ โดยธรรมชาติมีดอกเพศผู้และดอก เพศเมียแยกดอกแต่อยู่ภายในต้นเดียวกัน เป็นพืชฤดู เดียว ล�ำต้นเถาเลื้อย เป็นเหลี่ยม มีขนขึ้นปกคลุมทั่วไป มีข้อยาว 10-20 เซนติเมตร มือเกาะเกิดออก มาตามข้อ โดย ส่วนปลายของมือเกาะ ใบมีก้านใบยาว ๕-๑๕ เซนติเมตร ใบหยาบมีขนใบมีมุมใบ ๓-๕ มุม ปลายใบแหลม ใบใหญ่แบบ palmate มีเส้นใบ ๕-๗ เส้น ดอกเพศเมีย เป็นดอกเดี่ยว เกิดจากบริเวณมุม ใบหรือข้อมีกลีบเลี้ยง สีเขียว ๕ กลีบ กลีบดอกสีเหลือง ๕ กลีบ รังไข่มีลักษณะ กลมยาวประมาณ ๒-๕ เซนติเมตร มีปุ่มนูนของหนาม และขนชัดเจน ส่วนของยอดเกสรตัวเมียมี ๒-๕ แฉก ส่วน ดอกเพศผู้อาจเป็นดอกเดี่ยวหรือเป็นช่อ มีกลีบเลี้ยงและ กลีบดอกเหมือนดอกเพศเมีย ละอองเกสรตัวผู้ ๓ อัน และมีก้านชูเกสรสั้นๆ ดอกเพศเมียและดอกแตงกวาเพศ ผู้บานในตอนเช้าและพร้อมรับการผสมเกสร ดอกจะหุบ ตอนบ่ายภายในวันเดียวกัน ต้นมีรากแก้วและมีรากแขนง เป็นจ�ำนวนมาก สามารถแผ่ทางด้านกว้างและหยั่งลงได้ลึก ถึง ๑ เมตร ลักษณะการเจริญเติบโต ของแตงกวาผลยาวเบอร์ ๒ ๓
  • 8. สภาพภูมิอากาศและฤดูปลูกที่เหมาะสม อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการงอกของเมล็ดแตงกวา ระหว่าง ๒๕-๓๐ องศาเซลเซียส สามารถเจริญเติบโตได้ผลดี ระหว่างอุณหภูมิ ๒๐-๓๐ องศาเซลเซียส อุณหภูมิกลางวัน ๒๒-๒๘องศาเซลเซียส แตงกวาจะชะงักการเจริญเติบโต ส�ำหรับอุณหภูมิที่เหมาะสมกับการผสมเกสรนั้นอยู่ระหว่าง ๑๗-๒๕ องศาเซลเซียส พื้นที่ปลูก แตงกวาเป็นพืชผักสามารถขึ้นได้กับดินแทบทุกชนิดโครงสร้างของดินที่ปลูกแตงกวาควรมีลักษณะเป็นดินร่วน ปนทราย มีการระบายน�้ำดี ควรมีความเป็นกรด ด่าง (pH) อยู่ระหว่าง ๕.๕-๖.๕ ในสภาพดินที่เป็นดินทรายจัด หรือ เหนียวจัด จ�ำเป็นต้องปรับปรุงบ�ำรุงดินก่อนการปลูก โดยใช้ปุ๋ยอินทรีย์ เช่น ปุ๋ยคอก หรือปุ๋ยหมักที่สลายตัวแล้ว ส�ำหรับ แตงกวาพันธุ์นี้เป็นพันธุ์ที่มีความทนทานปรับตัวเข้ากับพื้นที่ทางภาคเหนือได้ดี โดยเฉพาะในพื้นที่ที่ศูนย์พัฒนาพันธุ์ พืชจักรพันธ์ฯซึ่งเดิมเป็นพื้นที่ปลูกยาสูบความอุดมสมบูรณ์และอินทรียวัตถุของดินต�่ำ โรคทางดินมีมาก และมีแมลง ศัตรูคอยระบาดเป็นประจ�ำ ดังนั้นพืชที่สามารถเจริญเติบโตได้แสดงว่าจะต้องปรับตัวเข้ากับสภาพพื้นที่นี้ได้เป็นอย่างดี ๔
  • 9. ความเป็นมาของการพัฒนาพันธุ์แตงกวาผลยาว เบอร์ ๒ จากการรวบรวมพันธุ์แตงกวาทั้งที่เป็นพันธุ์ท้องถิ่นและพันธุ์การค้าตั้งแต่ ปี พ.ศ. ๒๕๕๑ ประมาณ ๑๕ เบอร์เป็นแตงกวาผลยาวทั้งหมดจากบริษัทเมล็ดพันธุ์ ในประเทศ ๑๐ บริษัท จากพันธุ์แตงกวาพื้นเมือง ๕ พื้นที่ ล�ำปาง แม่ฮ่องสอน เชียงราย เชียงใหม่ ตาก ท�ำการปลูกคัดเลือกลักษณะที่ต้องการคือ ดกติดผลทุกข้อ มีข้อถี่และสั้น ภายในต้นเดี่ยวกันมีทั้งดอกตัวผู้และดอกตัวเมีย สีผลเขียวเข้ม เจริญเติบโตดี ทนโรคแมลง มีการคัดเลือกแบบจดประวัติแต่ละเบอร์ที่คัดเลือกสลับกับการคัดเลือกแบบรวม ในแต่ละ ปีจะปลูกเพื่อการคัดเลือก ๑ – ๒ รุ่น ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาได้คัดเลือกแตงกวาผลยาว ที่มีลักษณะตรงตามเป้าหมายที่ก�ำหนดไว้ ๑ พันธุ์ทั้งนี้ได้คัดเลือกให้มีการผสมตัวเองมา ตลอดเพื่อเตรียมให้เป็นแท้ที่มีลักษณะดี รอที่จะน�ำไปเป็นพ่อแม่พันธุ์ต่อไป ซึ่งมีลักษณะ ประจ�ำพันธุ์แตงกวาผลยาวเบอร์ ๒ ดังใน ตารางที่ ๑ หมายเหตุ เป็นข้อมูลลักษณะประจ�ำพันธุ์แตงกวาผลยาวที่ปลูกในพื้นที่ศูนย์พัฒนาพันธุ์พืช จักรพันธ์ฯในปี พ.ศ. ๒๕๕๕ ๕
  • 10. การปลูกแตงกวาผลยาว ๑. เริ่มจากการเพาะเมล็ดซึ่งนิยมเพาะในถาดหลุม พลาสติกที่มี ๑๐๔ หลุม วัสดุที่จะใช้เพาะอาจเป็นดิน ผสมส�ำเร็จรูปที่มีการจ�ำหน่ายในท้องตลาดหรือจะเป็น ผสมเตรียมเองโดยมีอัตราส่วนดิน : ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก ๓ :๑ คลุกให้เข้ากัน ๒. การดูแลรักษากล้า หลังจากหยอดเมล็ดแล้ว ให้น�้ำทันทีโดยวิธีการฉีดพ่นให้เป็นฝอยละเอียดที่สุดเท่า ที่จะท�ำได้ควรจะให้วันละ ๑ ครั้ง ทั้งนี้ให้ตรวจดูความชื้น ก่อนการให้น�้ำทุกครั้งถาดเพาะกล้านี้ควรเก็บไว้ในที่แดด ไม่จัดหรือมีการใช้วัสดุกันแสงไม่ให้มากระทบต้นกล้ามาก เกินไปเมื่อแตงกวาเริ่มงอกให้หมั่นตรวจดูความผิดปกติ ของต้นกล้าเป็นระยะๆหากมีการระบาดของแมลงหรือโรค พืช ต้องรีบก�ำจัดโดยเร็ว และเมื่อต้นกล้ามีใบจริงประมาณ ๓-๔ ใบ จะอยู่ในระยะพร้อมที่จะย้ายปลูกประมาณ ๑๐-๑๕ วัน ๓. การเตรียมแปลงปลูกควรใช้ปูนขาวหรือโดโลไมด์ โรยให้ทั่วพื้นที่ใช้อัตรา ๕๐-๑๐๐ กิโลกรัมต่อไร่ แล้ว ไถพรวนคลุกเคล้ากัน จากนั้นจึงขึ้นแปลงมีขนาดกว้าง ๑ เมตร ยาวตามพื้นที่ ตรงกลางแปลงท�ำเป็นร่องลึก ประมาณ ๑๐-๑๕ เซนติเมตร ยาวตลอดแปลงเพื่อใส่ปุ๋ย คอกหรือปุ๋ยหมักประมาณ ๑ ตันต่อไร่พร้อมกับปุ๋ยเคมี ๑๕-๑๕-๑๕ ในอัตรา ๒๕ กิโลกรัมต่อไร่ รองก้นหลุม ก่อนย้ายต้นกล้าแตงกวามาปลูก แล้วกลบดินตามเดิม ใช้วัสดุคลุมแปลงเป็นฟางข้าวหรือพลาสติกด�ำคลุมแปลง ป้องกันวัชพืช จากนั้นย้ายกล้าจากถาดเพาะมาปลูกใน แปลงที่เตรียมไว้ โดยปลูกแถวเดี่ยวระยะ ระหว่างต้น ๕๐ เซนติเมตร การปลูกแตงกวาผลยาวนิยมท�ำค้างซึ่ง ปัจจุบันมีตาข่ายส�ำเร็จรูปที่ขึงเป็นค้างแตงกวาได้โดยมี เสาไม้ไผ่ปักเป็นระยะห่างกันประมาณ ๑ เมตร ตลอดตาม ความยาวของแปลง ๔. การให้น�้ำช่วงแรกหลังย้ายกล้าปลูกต้องให้ น�้ำทันที ระบบการให้น�้ำนั้นอาจจะแตกต่างกันขึ้นอยู่กับ สภาพพื้นที่ แต่ระบบที่เหมาะสมกับแตงกวา คือการให้น�้ำ ตามร่องเพราะว่าจะไม่ท�ำให้ล�ำต้น และใบไม่ชื้น ลดการ ลุกลามของโรคพืชทางใบช่วงเวลาการให้น�้ำในระยะแรก ควรให้ ๒-๓ วันต่อครั้งและเมื่อต้นแตงกวาเริ่มเจริญเติบโต แล้วจึงปรับช่วงเวลาการให้น�้ำให้นานขึ้นข้อควรค�ำนึง ส�ำหรับการให้น�้ำนั้น คือ ต้องกระจายในพื้นที่สม�่ำเสมอ ตลอดแปลงและตรวจดูความชื้นในดินไม่ให้สูงเกินไป จนกลายเป็นแฉะเพราะจะท�ำให้รากเน่าได้ ๖
  • 11. ๕. การใส่ปุ๋ยในแตงกวานั้นอาจแบ่งเป็นระยะต่าง ๆ ดังนี้ ๕.๑. ระยะเตรียมดิน ใส่ปุ๋ยอินทรีย์ เช่น ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก อัตรา ๑-๒ ตันต่อไร่และใส่ปุ๋ยสูตร ๑๕-๑๕-๑๕ หรือ ๑๒-๒๔-๑๒ อัตราประมาณ ๒๐-๓๐ กิโลกรัมต่อไร่ผสมกับดินตามแนวแปลงปลูก หรือจะใช้รองก้นหลุมตามแนว ยาวของแถวแตงกวาที่จะปลูกบนแปลงที่เตรียมไว้ซึ่งวิถีนี้จะประหยัดการใช้ปุ๋ย และแตงกวาได้ใช้ประโยชน์จากปุ๋ยที่ใส่มากกว่าหว่านทั้งแปลง ๕.๒. หลังย้ายปลูกประมาณ ๗ วันใส่ปุ๋ยที่มีไนโตรเจน เช่น ยูเรีย หรือ แอมโมเนียซัลเฟต ในอัตราประมาณ ๒๐ กิโลกรัมต่อไร่ ๕.๓. ระยะแตงกวาออกดอก ซึ่งจะใช้ระยะเวลาประมาณ ๒๕ วันหลัง จากย้ายกล้า ใส่ปุ๋ยสูตร ๑๕-๑๕-๑๕ หรือ ๑๒-๒๔-๑๒ อัตรา ประมาณ ๒๐-๓๐ กิโลกรัม ต่อไร่ หลังจากใส่ปุ๋ยเคมีทุกครั้งต้องให้น�้ำทันที ๖. การป้องกันก�ำจัดโรคแมลงซึ่งพยายามลดการใช้สารเคมีใช้จุลินทรีย์และสารสกัด จากพืชแทนในการป้องกันก�ำจัดทั้งโรคและแมลง ๗
  • 12. การเก็บเกี่ยว อายุการเก็บเกี่ยวของแตงกวานับจากวันปลูกประมาณ ๓๐-๔๐ วันแล้วแต่พันธุ์แตงกวาส�ำหรับบริโภคสดควรเลือกเก็บขณะ ที่ผลยังอ่อนอยู่เนื้อแน่นกรอบและสังเกตได้จากมีนวลสีขาวเกาะและ ยังมีหนามอยู่บ้างถ้าผลแก่นวลจะจางหายสีผลเริ่มเป็นสีเหลืองและ ไม่มีหนามการเก็บแตงกวาควรทยอยเก็บวันเว้นวันไม่ปล่อยให้แก่คา ต้นเพราะจะท�ำให้ผลผลิตทั้งหมดลดลงโดยปกติจะเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ ประมาณ ๑ เดือน เพาะกล้า ๑๐-๑๕ วัน การท�ำค้าง ใช้หลักไม้ไผ่ปักปักเป็นโครงยึดติดกันป้องกัน ลมพัดแล้วใช้ตาข่ายส�ำเร็จรูปที่ขึง เป็นค้างแตงกวา การดูแลรักษา หลังปลูก ๗ วัน ควรใส่ปุ๋ย ให้น�้ำ อย่างต่อเนื่องและป้องกันก�ำจักโรคแมลง ย้ายกล้าปลูกแถวเดี่ยว ระยะต้น ๕๐ เซนติเมตร ๘
  • 16. โครงการศูนย์พัฒนาพันธุ์พืชจักรพันธ์เพ็ญศิริ ประวัติความเป็นมา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มูลนิธิชัยพัฒนาร่วมกับมูลนิธิ แม่ฟ้าหลวง ด�ำเนินการจัดตั้ง “ศูนย์พัฒนาพันธุ์พืชจักรพันธ์เพ็ญศิริ” ขึ้น เพื่อเป็นที่ระลึกในวาระครบรอบ ๑๐๐ ปี พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ ในบริเวณส่วนหนึ่งของที่ดินราชพัสดุ ทะเบียนที่ อชร ๑ ต�ำบลโป่งผา อ�ำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย พื้นที่ ๑๓๕ ไร่ ๑ งาน ๑๐.๓ ตารางวา มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาพันธุ์พืช ให้เกษตรกรได้มีพืชที่มีสายพันธุ์ที่ดี ตอบสนองต่อความต้องการของเกษตรกรด้านพันธุ์พืช ทนทานต่อโรคและแมลง ได้ผลผลิตที่ดี แนวพระราชด�ำริ ศูนย์พัฒนาพันธุ์พืชจักรพันธ์เพ็ญศิริปลูกพืชผักเพื่อผลิตเป็นเมล็ดพันธุ์ และเริ่มรับซื้อเมล็ดพันธุ์พืชจาก โครงการอื่นๆ ของมูลนิธิชัยพัฒนา น�ำมาสะสมไว้เป็นเมล็ดพันธุ์พืชผักพื้นบ้าน เพื่อเป็นเมล็ดพันธุ์พระราชทานแก่ราษฎร ทั่วไป และราษฎรที่ประสบภัยพิบัติ ศูนย์พัฒนาพันธุ์พืชจักรพันธ์เพ็ญศิริ รวบรวมพันธุ์พืชอาหารพื้นบ้าน เพื่อคัดเลือกพันธุ์ที่ดีเผยแพร่ ให้เกษตรกร ให้เกษตรกรได้มีพันธุ์พืชที่มีคุณภาพดีพอสมควร มีความต้านทานโรคดีพอสมควร ให้ผลผลิตดีพอสมควร เพื่อให้เกษตรกร น�ำพันธุ์ไปขยายหรือปลูกเองได้ในอนาคต โดยวางแผนที่จะพัฒนาพันธุ์พืชอาหารที่มีความจ�ำเป็นต่อการด�ำรงชีพในชีวิต ประจ�ำวัน เพื่อให้เกษตรกรมีพันธุ์พืชที่ดี  แม้ไม่ใช่พันธุ์ที่ดีที่สุดในเชิงเศรษฐกิจ แต่จะเป็นพันธุ์ที่ดีพอสมควร สามารถ สร้างผลผลิตที่มีคุณภาพให้กับครัวเรือน สร้างความแข็งแรงมั่นคงให้เกิดขึ้นกับตนเอง และครอบครัวได้อย่างยั่งยืน ๑๒
  • 17. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ประวัติความเป็นมา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เป็นสถาบันอุดมศึกษาที่ตั้งอยู่ในเขตภาคเหนือตอนบนถือก�ำเนิดมา จากวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา ตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๑๘ ต่อมาในปี พ.ศ.๒๕๓๑ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงมีพระกรุณาโปรดเกล้าฯพระราชทานนามใหม่ว่า”สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล” และในปี พ.ศ.๒๕๔๘ ได้รับการ ยกฐานะเป็นมหาวิทยาลัย ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พร้อมกันทั้ง ๙ แห่ง ในสังกัด ส�ำนักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา ซึ่งมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ได้จัดการศึกษาแบบมหาวิทยาลัยเสมือน มีการแบ่งเขตพื้นที่การบริหารและจัดการศึกษาครอบคลุม ๖ จังหวัดในเขตภาคเหนือได้แก่ เชียงราย ตาก น่าน พิษณุโลก เชียงใหม่ และล�ำปาง การจัดการศึกษา มหาวิทยาลัยมีนโยบายยกระดับคุณภาพมาตรฐานการศึกษา โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพอาจารย์พัฒนาวิธี การเรียนการสอน เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ทางวิชาการเป็นบัณฑิตนักปฏิบัติ (Hands-on) นอกจากนี้ยังให้ความ ส�ำคัญกับกระบวนการเรียนรู้ (Cognitive learning process) ผ่านการบูรณาการทางการศึกษาและการวิจัยที่อยู่บน พื้นฐานความต้องการของชุมชนและประเทศชาติ เน้นให้นักศึกษามีการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Life-long learning) มี ความเชื่อมโยงกับสถานประกอบการในการฝึกทักษะวิชาชีพ ทักษะสังคมพึ่งตนเองได้ และสามารถออกไปท�ำงานเพื่อ สร้างสรรค์สังคม เป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพ(Employability) ปัจจุบันมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนามีการ เปิดสอนใน ๔ คณะวิชา ได้แก่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจ และศิลปศาสตร์ และคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตรรวมทั้งสิ้น ๑๐๑ หลักสูตร แบ่งเป็นหลักสูตรระดับ ปวช.จ�ำนวน ๒ หลักสูตร ปวส. จ�ำนวน ๒๙ หลักสูตร ปริญญาตรี จ�ำนวน ๖๗ หลักสูตร และหลักสูตรปริญญาโท จ�ำนวน ๓ หลักสูตร ๑๓