SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
Number Bases
ระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐานที่มีความเกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ คือ ช่วยใน
เรื่องการจัดการระบบดิจิตอลหรือระบบอิเล็กทรอนิกส์ใน คอมพิวเตอร์
หรือแทนรหัสข้อมูลในระบบ ASCII โดยส่วนใหญ่ระบบเลขฐานที่ใช้ใน
คอมพิวเตอร์เป็ น ระบบเลขฐานสอง ระบบเลขฐานแปดและระบบ
เลขฐานสิบหก โดยจะต้องมีการนาระบบเลขฐานดังกล่าวมาคานวณผล
ด้วย ตัวดาเนินการทางคณิตศาสตร์ ตลอดจนกระทั่งการเปลี่ยนระบบเลข
ฐาน เพื่อให้มนุษย์เกิดความเข้าใจระบบการทางานของ คอมพิวเตอร์ซึ่ง
ในการประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์นั้นข้อมูลต่าง ๆ จะถูกนาเข้า
เป็ นลาดับของบิต (Bit) หรือเลขฐานสองก่อน เช่น
110100110110 110101100110 110110
110110
คอมพิวเตอร์กับเลขฐาน
ระบบเลขฐาน 2 เป็ นเลขฐานที่ประกอบด้วยเลข 2 ตัว
ได้แก่เลข 0 กับ เลข 1
ตัวอย่าง
110101100110
Binary Number System
ระบบเลขฐาน 8 เป็ นเลขฐานที่ประกอบด้วยเลข 8 ตัว
ซึ่งประกอบด้วยเลข 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7 ซึ่งเป็ น
เลขฐานที่เพิ่มเนื้อที่หน่วยความจาในการเก็บให้มากขึ้น
การเก็บข้อมูลเป็ นเลขฐาน 8 จะทาให้เก็บข้อมูลได้มาก
ขึ้น
Octal Number System
ระบบเลขฐาน 10 เป็ นเลขฐานที่ประกอบด้วยตัวเลข
10 ตัว ซึ่งประกอบด้วยเลข 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6,
7, 8, 9 ซึ่งระบบเลขฐาน 10 เป็ นระบบเลขฐานที่คน
ทั่วไปสามารถเข้าใจได้เป็ นอย่างดี เพราะเป็ นตัวเลขที่
เกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวันซึ่งใช้มาตลอด สามารถจาได้
และคานวณได้ง่ายกว่าเลขฐานอื่น ๆ
Decimal Number System
ระบบเลขฐาน 16 เป็ นเลขฐานที่ประกอบด้วยตัวเลข
10 ตัวและตัวอักษรแทนตัวเลขอีก 6 ตัว ซึ่ง
ประกอบด้วยเลข 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9
และตัวอักษรภาษาอังกฤษแทน 10 ถึง 15 ได้แก่ A,
B, C, D, E, F ซึ่งก็จะเก็บข้อมูลได้มากกว่าระบบเลข
ฐาน 2 ฐาน 8
Hexadecimal Number System
การคานวณ
1. การแปลงค่าเลขฐานสิบให้เป็ น
เลขฐานสอง ฐานแปด และฐานสิบหก สามารถ
คานวณได้จาก การหารสั้นด้วยเลขฐานที่ต้องการแปลง
ค่า แล้วนาผลลัพธ์และเศษที่ได้มาเรียงต่อกันจากล่างขึ้น
บน
การแปลงค่าเลขฐาน
2. การแปลงเลขฐานสอง ฐานแปด และฐานสิบหกให้
เป็ นเลขฐานสิบ สามารถคานวณได้ จากการนาเลขฐานที่
ต้องการแปลงในหลักนั้นมาคูณกับค่าประจาหลักของ
ฐาน แล้วนาแต่ละหลักมารวมกัน
Binary code
เปรียบเทียบขนาดความจุข้อมูลของระบบคอมพิวเตอร์
ความจุข้อมูล เทียบได้เท่ากับ
8 บิต (Bit) 1 ไบต์
1024 ไบต์ (Byte) 1 กิโลไบต์ (Kilobyte or KB)
1024 กิโลไบต์ (Kilobyte)
1 เมกกะไบต์ (Megabyte or
MB)
1024 เมกกะไบต์ (Megabyte) 1 กิกะไบต์ (Gigabyte or GB)
1024 กิกะไบต์ (Gigabyte) 1 เทราไบต์ (Terabyte or TB)
1024 เทราไบต์ (Terabyte) 1 เพทาไบต์ (Patabyte or PB)
1024 เพทาไบต์ (Patabyte) 1 เอ็กซาไบต์ (Exabyte or EB)
1024 เอ็กซาไบต์ (Exabyte)
1 เซ็ตทาไบต์ (Zettabyte or
ZB)
1024 เซ็ตทาไบต์ (Zettabyte) 1 Yottabyte or YB
มาถอดรหัส Binary Code กันดีกว่าตัวอย่าง Binary Code ( 2 แบบ )
แบบที่ 1 :
010000100110010101100001011100
10
แบบที่ 2 : 01000010 01100101
01100001 01110010
Binary Code นั้นจะประกอบด้วยตัวเลขที่มีแค่ 0
และ 1 ตามชื่อของมัน และ การเว้นวรรคไม่มีผลต่อการ
อ่าน
มาถอดรหัส Binary Code กันดีกว่า
ขั้นแรก ให้แบ่ง Binary Code ที่จะถอดรหัส
ออกเป็ นกลุ่มๆทีละ 8 ตัว โดยจะเริ่มจากหัวหรือท้าย
ก่อนก็ได้ เพื่อง่ายต่อการอ่าน
มาถอดรหัส Binary Code กันดีกว่า
010000010110111001110100
01000001 01101110 01110100
มาถอดรหัส Binary Code กันดีกว่า
ขั้นที่สอง ให้ดูเลข 5 ตัวหลังของแต่ละกลุ่มก่อน และ
แปลงให้เป็ นเลขฐาน 10
มาถอดรหัส Binary Code กันดีกว่า
01000001 01101110 01110100
1 14 20
ซึ่งตัวเลขเหล่านั้นคือลาดับของตัวอักษรในภาษาอังกฤษ
นั้นเอง ส่วนเลขสามตัวหน้าที่เรามองข้ามไปนั่นคือถ้าเป็น
010 จะเป็นตัวพิมพ์ใหญ่ส่วน 011 จะเป็น
ตัวพิมพ์เล็ก
มาถอดรหัส Binary Code กันดีกว่า
คาตอบ คือ Ant
มาลองกัน!!!!
ให้แปลงชื่อเล่นภาษาอังกฤษ
เป็ น Binary Code
มาลองกัน!!!!
ให้แปลงชื่อเล่นภาษาอังกฤษ
เป็ น Binary Code
ง่ายกว่านั้นก็มีนะ!!!

More Related Content

What's hot

9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัยguest9e1b8
 
สรุประดับความรุนแรงของความเสี่ยงทางคลินิก และทางกายภาพ
สรุประดับความรุนแรงของความเสี่ยงทางคลินิก และทางกายภาพสรุประดับความรุนแรงของความเสี่ยงทางคลินิก และทางกายภาพ
สรุประดับความรุนแรงของความเสี่ยงทางคลินิก และทางกายภาพSuradet Sriangkoon
 
แบบสอบถาม “แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนการสมรส
แบบสอบถาม “แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนการสมรสแบบสอบถาม “แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนการสมรส
แบบสอบถาม “แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนการสมรสสำเร็จ นางสีคุณ
 
พรบ.วิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน 2556
พรบ.วิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน 2556พรบ.วิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน 2556
พรบ.วิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน 2556อินทนนท์ อินทนพ
 
Eis presentation
Eis presentationEis presentation
Eis presentationpimpatcha
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำNickson Butsriwong
 
Introduction to Mixed-Methods Research (MMR)
Introduction to Mixed-Methods Research (MMR) Introduction to Mixed-Methods Research (MMR)
Introduction to Mixed-Methods Research (MMR) Borwornsom Leerapan
 
ประเทศไทยมีกี่ศาล
ประเทศไทยมีกี่ศาลประเทศไทยมีกี่ศาล
ประเทศไทยมีกี่ศาลNanthapong Sornkaew
 
Powerpoint3กระบวนการทางธุรกิจระบบสารสนเทศ
Powerpoint3กระบวนการทางธุรกิจระบบสารสนเทศPowerpoint3กระบวนการทางธุรกิจระบบสารสนเทศ
Powerpoint3กระบวนการทางธุรกิจระบบสารสนเทศNawaponch
 
Chapter 10 internet system and information system structures
Chapter 10 internet system and information system structuresChapter 10 internet system and information system structures
Chapter 10 internet system and information system structuresTeetut Tresirichod
 
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบอินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
Chapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planningChapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planningTeetut Tresirichod
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
คู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพ
คู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพคู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพ
คู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพUtai Sukviwatsirikul
 
รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54
รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54
รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54RMUTT
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoonการบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet SriangkoonSuradet Sriangkoon
 
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นโครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นkvcthidarat
 
9789740329817
97897403298179789740329817
9789740329817CUPress
 

What's hot (20)

9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย
 
สรุประดับความรุนแรงของความเสี่ยงทางคลินิก และทางกายภาพ
สรุประดับความรุนแรงของความเสี่ยงทางคลินิก และทางกายภาพสรุประดับความรุนแรงของความเสี่ยงทางคลินิก และทางกายภาพ
สรุประดับความรุนแรงของความเสี่ยงทางคลินิก และทางกายภาพ
 
แบบสอบถาม “แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนการสมรส
แบบสอบถาม “แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนการสมรสแบบสอบถาม “แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนการสมรส
แบบสอบถาม “แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนการสมรส
 
บทที่ 5 การแปลง er diagram ให้เป็น table
บทที่ 5 การแปลง er diagram ให้เป็น tableบทที่ 5 การแปลง er diagram ให้เป็น table
บทที่ 5 การแปลง er diagram ให้เป็น table
 
พรบ.วิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน 2556
พรบ.วิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน 2556พรบ.วิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน 2556
พรบ.วิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน 2556
 
Eis presentation
Eis presentationEis presentation
Eis presentation
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
 
Introduction to Mixed-Methods Research (MMR)
Introduction to Mixed-Methods Research (MMR) Introduction to Mixed-Methods Research (MMR)
Introduction to Mixed-Methods Research (MMR)
 
ประเทศไทยมีกี่ศาล
ประเทศไทยมีกี่ศาลประเทศไทยมีกี่ศาล
ประเทศไทยมีกี่ศาล
 
Powerpoint3กระบวนการทางธุรกิจระบบสารสนเทศ
Powerpoint3กระบวนการทางธุรกิจระบบสารสนเทศPowerpoint3กระบวนการทางธุรกิจระบบสารสนเทศ
Powerpoint3กระบวนการทางธุรกิจระบบสารสนเทศ
 
Chapter 10 internet system and information system structures
Chapter 10 internet system and information system structuresChapter 10 internet system and information system structures
Chapter 10 internet system and information system structures
 
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบอินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
 
Chapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planningChapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planning
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
 
คู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพ
คู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพคู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพ
คู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพ
 
รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54
รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54
รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoonการบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
 
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นโครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
 
9789740329817
97897403298179789740329817
9789740329817
 
ทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบ
 

Viewers also liked

Viewers also liked (6)

Units of storage in computer
Units of storage in computerUnits of storage in computer
Units of storage in computer
 
Memory units
Memory unitsMemory units
Memory units
 
Memory unit
Memory unitMemory unit
Memory unit
 
Bits and bytes
Bits and bytesBits and bytes
Bits and bytes
 
Intro to Bits, Bytes, and Storage
Intro to Bits, Bytes, and StorageIntro to Bits, Bytes, and Storage
Intro to Bits, Bytes, and Storage
 
Ascii codes 3145_app_f
Ascii codes 3145_app_fAscii codes 3145_app_f
Ascii codes 3145_app_f
 

Similar to Number bases

หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์จูน นะค่ะ
 
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์จูน นะค่ะ
 
คอมพิวเตอร์กับการประมวลผลข้อมูล
คอมพิวเตอร์กับการประมวลผลข้อมูลคอมพิวเตอร์กับการประมวลผลข้อมูล
คอมพิวเตอร์กับการประมวลผลข้อมูลเกวลิน แก้ววิจิตร
 
ระบบเลขฐานข้อมูล
ระบบเลขฐานข้อมูลระบบเลขฐานข้อมูล
ระบบเลขฐานข้อมูลjoetreerawut
 
ระบบเลขฐานสอง
ระบบเลขฐานสองระบบเลขฐานสอง
ระบบเลขฐานสองNunnaphat Chadajit
 
ระบบเลขฐานสอง
ระบบเลขฐานสองระบบเลขฐานสอง
ระบบเลขฐานสองNunnaphat Chadajit
 
ระบบเลขฐานข้อมูล
ระบบเลขฐานข้อมูลระบบเลขฐานข้อมูล
ระบบเลขฐานข้อมูลjoetreerawut
 
ระบบเลขฐานข้อมูล
ระบบเลขฐานข้อมูลระบบเลขฐานข้อมูล
ระบบเลขฐานข้อมูลjoetreerawut
 
โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)
โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)
โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)Patchara Wioon
 
ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์sommat
 
ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์Nantawoot Imjit
 
ระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐานระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐานMyname's Jaekaem
 
ระบบเลขฐานข้อมูล(2)
ระบบเลขฐานข้อมูล(2)ระบบเลขฐานข้อมูล(2)
ระบบเลขฐานข้อมูล(2)waralee63
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์Noomim
 
ใบความรู้ที่ 8 เรื่อง การแทนข้อมูล
ใบความรู้ที่ 8 เรื่อง การแทนข้อมูลใบความรู้ที่ 8 เรื่อง การแทนข้อมูล
ใบความรู้ที่ 8 เรื่อง การแทนข้อมูลAngkan Mahawan
 
หน่วยที่ 01
หน่วยที่ 01หน่วยที่ 01
หน่วยที่ 01Nuytoo Naruk
 
หน่วยรับเข้า Present 4-9 (Group1)
หน่วยรับเข้า Present 4-9 (Group1)หน่วยรับเข้า Present 4-9 (Group1)
หน่วยรับเข้า Present 4-9 (Group1)Supaksorn Tatongjai
 

Similar to Number bases (20)

หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
 
Cpu
CpuCpu
Cpu
 
คอมพิวเตอร์กับการประมวลผลข้อมูล
คอมพิวเตอร์กับการประมวลผลข้อมูลคอมพิวเตอร์กับการประมวลผลข้อมูล
คอมพิวเตอร์กับการประมวลผลข้อมูล
 
ระบบเลขฐานข้อมูล
ระบบเลขฐานข้อมูลระบบเลขฐานข้อมูล
ระบบเลขฐานข้อมูล
 
ระบบเลขฐานสอง
ระบบเลขฐานสองระบบเลขฐานสอง
ระบบเลขฐานสอง
 
ระบบเลขฐานสอง
ระบบเลขฐานสองระบบเลขฐานสอง
ระบบเลขฐานสอง
 
ระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐานระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐาน
 
ระบบเลขฐานข้อมูล
ระบบเลขฐานข้อมูลระบบเลขฐานข้อมูล
ระบบเลขฐานข้อมูล
 
ระบบเลขฐานข้อมูล
ระบบเลขฐานข้อมูลระบบเลขฐานข้อมูล
ระบบเลขฐานข้อมูล
 
โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)
โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)
โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)
 
ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์
 
ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์
 
Work3-49
Work3-49Work3-49
Work3-49
 
ระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐานระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐาน
 
ระบบเลขฐานข้อมูล(2)
ระบบเลขฐานข้อมูล(2)ระบบเลขฐานข้อมูล(2)
ระบบเลขฐานข้อมูล(2)
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 8 เรื่อง การแทนข้อมูล
ใบความรู้ที่ 8 เรื่อง การแทนข้อมูลใบความรู้ที่ 8 เรื่อง การแทนข้อมูล
ใบความรู้ที่ 8 เรื่อง การแทนข้อมูล
 
หน่วยที่ 01
หน่วยที่ 01หน่วยที่ 01
หน่วยที่ 01
 
หน่วยรับเข้า Present 4-9 (Group1)
หน่วยรับเข้า Present 4-9 (Group1)หน่วยรับเข้า Present 4-9 (Group1)
หน่วยรับเข้า Present 4-9 (Group1)
 

Number bases

  • 2. ระบบเลขฐานที่มีความเกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ คือ ช่วยใน เรื่องการจัดการระบบดิจิตอลหรือระบบอิเล็กทรอนิกส์ใน คอมพิวเตอร์ หรือแทนรหัสข้อมูลในระบบ ASCII โดยส่วนใหญ่ระบบเลขฐานที่ใช้ใน คอมพิวเตอร์เป็ น ระบบเลขฐานสอง ระบบเลขฐานแปดและระบบ เลขฐานสิบหก โดยจะต้องมีการนาระบบเลขฐานดังกล่าวมาคานวณผล ด้วย ตัวดาเนินการทางคณิตศาสตร์ ตลอดจนกระทั่งการเปลี่ยนระบบเลข ฐาน เพื่อให้มนุษย์เกิดความเข้าใจระบบการทางานของ คอมพิวเตอร์ซึ่ง ในการประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์นั้นข้อมูลต่าง ๆ จะถูกนาเข้า เป็ นลาดับของบิต (Bit) หรือเลขฐานสองก่อน เช่น 110100110110 110101100110 110110 110110 คอมพิวเตอร์กับเลขฐาน
  • 3. ระบบเลขฐาน 2 เป็ นเลขฐานที่ประกอบด้วยเลข 2 ตัว ได้แก่เลข 0 กับ เลข 1 ตัวอย่าง 110101100110 Binary Number System
  • 4. ระบบเลขฐาน 8 เป็ นเลขฐานที่ประกอบด้วยเลข 8 ตัว ซึ่งประกอบด้วยเลข 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7 ซึ่งเป็ น เลขฐานที่เพิ่มเนื้อที่หน่วยความจาในการเก็บให้มากขึ้น การเก็บข้อมูลเป็ นเลขฐาน 8 จะทาให้เก็บข้อมูลได้มาก ขึ้น Octal Number System
  • 5. ระบบเลขฐาน 10 เป็ นเลขฐานที่ประกอบด้วยตัวเลข 10 ตัว ซึ่งประกอบด้วยเลข 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9 ซึ่งระบบเลขฐาน 10 เป็ นระบบเลขฐานที่คน ทั่วไปสามารถเข้าใจได้เป็ นอย่างดี เพราะเป็ นตัวเลขที่ เกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวันซึ่งใช้มาตลอด สามารถจาได้ และคานวณได้ง่ายกว่าเลขฐานอื่น ๆ Decimal Number System
  • 6. ระบบเลขฐาน 16 เป็ นเลขฐานที่ประกอบด้วยตัวเลข 10 ตัวและตัวอักษรแทนตัวเลขอีก 6 ตัว ซึ่ง ประกอบด้วยเลข 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9 และตัวอักษรภาษาอังกฤษแทน 10 ถึง 15 ได้แก่ A, B, C, D, E, F ซึ่งก็จะเก็บข้อมูลได้มากกว่าระบบเลข ฐาน 2 ฐาน 8 Hexadecimal Number System
  • 7. การคานวณ 1. การแปลงค่าเลขฐานสิบให้เป็ น เลขฐานสอง ฐานแปด และฐานสิบหก สามารถ คานวณได้จาก การหารสั้นด้วยเลขฐานที่ต้องการแปลง ค่า แล้วนาผลลัพธ์และเศษที่ได้มาเรียงต่อกันจากล่างขึ้น บน การแปลงค่าเลขฐาน
  • 8. 2. การแปลงเลขฐานสอง ฐานแปด และฐานสิบหกให้ เป็ นเลขฐานสิบ สามารถคานวณได้ จากการนาเลขฐานที่ ต้องการแปลงในหลักนั้นมาคูณกับค่าประจาหลักของ ฐาน แล้วนาแต่ละหลักมารวมกัน
  • 9.
  • 11. เปรียบเทียบขนาดความจุข้อมูลของระบบคอมพิวเตอร์ ความจุข้อมูล เทียบได้เท่ากับ 8 บิต (Bit) 1 ไบต์ 1024 ไบต์ (Byte) 1 กิโลไบต์ (Kilobyte or KB) 1024 กิโลไบต์ (Kilobyte) 1 เมกกะไบต์ (Megabyte or MB) 1024 เมกกะไบต์ (Megabyte) 1 กิกะไบต์ (Gigabyte or GB) 1024 กิกะไบต์ (Gigabyte) 1 เทราไบต์ (Terabyte or TB) 1024 เทราไบต์ (Terabyte) 1 เพทาไบต์ (Patabyte or PB) 1024 เพทาไบต์ (Patabyte) 1 เอ็กซาไบต์ (Exabyte or EB) 1024 เอ็กซาไบต์ (Exabyte) 1 เซ็ตทาไบต์ (Zettabyte or ZB) 1024 เซ็ตทาไบต์ (Zettabyte) 1 Yottabyte or YB
  • 12. มาถอดรหัส Binary Code กันดีกว่าตัวอย่าง Binary Code ( 2 แบบ ) แบบที่ 1 : 010000100110010101100001011100 10 แบบที่ 2 : 01000010 01100101 01100001 01110010 Binary Code นั้นจะประกอบด้วยตัวเลขที่มีแค่ 0 และ 1 ตามชื่อของมัน และ การเว้นวรรคไม่มีผลต่อการ อ่าน
  • 13. มาถอดรหัส Binary Code กันดีกว่า ขั้นแรก ให้แบ่ง Binary Code ที่จะถอดรหัส ออกเป็ นกลุ่มๆทีละ 8 ตัว โดยจะเริ่มจากหัวหรือท้าย ก่อนก็ได้ เพื่อง่ายต่อการอ่าน
  • 14. มาถอดรหัส Binary Code กันดีกว่า 010000010110111001110100 01000001 01101110 01110100
  • 15. มาถอดรหัส Binary Code กันดีกว่า ขั้นที่สอง ให้ดูเลข 5 ตัวหลังของแต่ละกลุ่มก่อน และ แปลงให้เป็ นเลขฐาน 10
  • 16. มาถอดรหัส Binary Code กันดีกว่า 01000001 01101110 01110100 1 14 20 ซึ่งตัวเลขเหล่านั้นคือลาดับของตัวอักษรในภาษาอังกฤษ นั้นเอง ส่วนเลขสามตัวหน้าที่เรามองข้ามไปนั่นคือถ้าเป็น 010 จะเป็นตัวพิมพ์ใหญ่ส่วน 011 จะเป็น ตัวพิมพ์เล็ก
  • 17. มาถอดรหัส Binary Code กันดีกว่า คาตอบ คือ Ant