SlideShare a Scribd company logo
1 of 41
1
หน่วยที่ 1
คอมพิวเตอร์
และการพัฒนาโปรแกรม
สาระสำคัญ
หน่วยที่ 1 คอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
กกกกกกก
กกกกกกกปัจจุบันคอมพิวเตอร์นับว่ามีบทบาทสาคัญอย่างยิ่งต่อชีวิตประจาวันของมนุษย์เนื่องจาก
คอมพิวเตอร์ได้ถูกนามาใช้ในการปฏิบัติงาน เพื่อผ่อนแรงของมนุษย์ในแทบทุกงาน ไม่ว่าจะเป็น
การนาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการประมวลผลข้อมูลเชิงข้อความ ประมวลผลข้อมูลเชิงตัวเลข เป็นต้น
โดยในการประมวลผลข้อมูลดังกล่าว จาเป็นจะต้องใช้โปรแกรม (Software) ในการสั่งงานให้
คอมพิวเตอร์ทาการประมวลผล เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามความต้องการของผู้ใช้
กกกกกกกโปรแกรมที่ใช้ในการสั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทาการประมวลผลนั้นมีหลายประเภท แต่ละ
ประเภทจะทาหน้าที่แตกต่างกัน สาหรับโปรแกรมที่มีบทบาทสาคัญต่อคอมพิวเตอร์ มี 2 ประเภท
คือ โปรแกรมที่ทาหน้าที่ควบคุมอุปกรณ์ต่างๆ เพื่อให้คอมพิวเตอร์มีความพร้อมในการปฏิบัติงาน
เรียกว่า โปรแกรมระบบปฏิบัติการ (Operating System : OS) และโปรแกรมที่พัฒนาขึ้น เพื่อใช้งาน
ด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะ เรียกว่า โปรแกรมประยุกต์ (Application Software) โดยโปรแกรม
เหล่านี้นักเขียนโปรแกรม (Programmer) พัฒนาขึ้นเพื่อใช้ในงานเฉพาะอย่างใดอย่างหนึ่ง
กกกกกกกหลักสาคัญประการหนึ่งในการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์คือ การเขียนหลักเกณฑ์ในการ
พัฒนาโปรแกรม โดยอาจเขียนคาอธิบายเป็นขั้นตอน จากนั้นนามาเขียนเป็นรหัสเทียม (Pseudo
Code) หรือเขียนเป็นผังงาน (Flowchart) เพื่อแสดงให้เห็นถึงกระบวนการทางานของโปรแกรม
ก่อนที่จะนาไปเขียนเป็นโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ต่อไป
ก1. อธิบายความหมายของคอมพิวเตอร์ได้
กกกกกกก2. อธิบายข้อแตกต่างระหว่างภาษาเครื่องและภาษาระดับสูงได้
กกกกกกก3. อธิบายความหมายของโปรแกรมแปลภาษาคอมพิวเตอร์ได้
4. บอกข้อแตกต่างระหว่างโปรแกรมแปลภาษาแบบอินเทอร์พรีเตอร์และคอมไพเลอร์ได้
กกกกกกก5. บอกข้อแตกต่างระหว่างโปรแกรมระบบปฏิบัติการและโปรแกรมประยุกต์ได้
กกกกกกก6. เขียนสัญลักษณ์และบอกความหมายของสัญลักษณ์ที่ใช้เขียนผังงานได้
สาระสาคัญ
จุดประสงค์การเรียนรู้จุดประสงค์การเรียนรู้
2
กกกกกกก7. อธิบายขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม ได้แก่ การกาหนดปัญหา การออกแบบโปรแกรม
กกกกกกกก การเขียนโปรแกรม การทดสอบโปรแกรม การนาโปรแกรมไปใช้งานจริง และการ
กกกกกกกก จัดทาเอกสารประกอบโปรแกรมได้
กกกกกกก8. เข้าใจขั้นตอนการออกแบบโปรแกรม ได้แก่ การกาหนดข้อมูลนาเข้า การกาหนด
ข้อมูลนาออก การเขียนขั้นตอนการประมวลผลข้อมูล การเขียนรหัสเทียม การเขียน
ผังงานได้
กกกกกกต9. เขียนขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม ได้แก่ การกาหนดปัญหา การออกแบบโปรแกรม
กกกกกกกกก การเขียนโปรแกรม การทดสอบโปรแกรม การนาโปรแกรมไปใช้งานจริงและการ
กกกกกกกกก จัดทาเอกสารประกอบโปรแกรมได้ก
กกกกกกก1.1 คอมพิวเตอร์และภาษาคอมพิวเตอร์
กกกกกกก1.1 1.1.1 ความหมายของคอมพิวเตอร์
กกกกกกก1.1 1.1.2 ความหมายและระดับของภาษาคอมพิวเตอร์
กกกกกกก1.2 โปรแกรมแปลภาษาและชนิดของตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์
กกกกกกก1.1 1.2.1 ความหมายของโปรแกรมแปลภาษาคอมพิวเตอร์
กกกกกกก1.1 1.2.2 ชนิดของตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์
กกกกกกก1.3 โปรแกรมและประเภทของโปรแกรม
กกกกกกก1.1 1.3.1 ความหมายของโปรแกรม
กกกกกกก1.1 1.3.2 ประเภทของโปรแกรม
กกกกกกก1.4 การพัฒนาโปรแกรม
เนื้อหาที่เรียน
เนื้อหาที่เรียน
3
3
แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยที่ 1
คอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
คาชี้แจง 1. แบบทดสอบเป็นชนิดเลือกตอบ แต่ละข้อมี 5 ตัวเลือก จานวนทั้งหมด 14 ข้อ
คะแนนเต็ม 14 คะแนน
2. ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย  เพื่อเลือกคาตอบในช่องคาตอบ ก ข ค ง หรือ จ ที่เห็น
ว่าถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว
1. ความหมายของคอมพิวเตอร์ ข้อใดถูกต้องที่สุด
ก. อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ชนิดหนึ่ง
ข. อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ประมวลผลข้อมูลด้วยความรวดเร็ว ถูกต้องและเชื่อถือได้
ค. อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ทาหน้าที่ประมวลผลประมวลผลข้อมูล
ง. อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ประมวลผลข้อมูลด้วยความรวดเร็ว
จ. อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถตัดสินใจแทนมนุษย์ได้
2. โปรแกรมแปลภาษาคอมพิวเตอร์ มีความหมายตรงกับข้อใด
ก. โปรแกรมที่ทาการแปลภาษาคอมพิวเตอร์ที่นักเขียนโปรแกรมเขียนขึ้น ให้เป็น
ภาษาเครื่อง
ข. โปรแกรมที่ทาการแปลภาษาเครื่องให้เป็นภาษาคอมพิวเตอร์
ค. โปรแกรมที่ทาการแปลภาษาอังกฤษให้เป็นภาษาที่นักเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
เข้าใจ
ง. โปรแกรมที่ทาการแปลภาษาที่นักเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์เขียนขึ้นให้เป็น
ภาษาอังกฤษ
จ. โปรแกรมที่ทาการแปลภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาหนึ่ง ให้เป็นภาษาคอมพิวเตอร์อีกภาษา
หนึ่ง
3. ภาษาเครื่องและภาษาระดับสูง มีข้อแตกต่างกันอย่างไร
ก. ภาษาเครื่องคือภาษาที่นักเขียนโปรแกรมเข้าใจ ส่วนภาษาระดับสูงคือ
ภาษาที่คอมพิวเตอร์เข้าใจ
ข. ภาษาเครื่องคือภาษาที่คอมพิวเตอร์ไม่สามารถนาไปประมวลผลได้ทันที
ส่วนภาษาระดับสูงคือภาษาที่คอมพิวเตอร์สามารถนาไปประมวลผลได้ทันที
แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยที่ 1
คอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
4
ค. ภาษาเครื่องคือภาษาที่คอมพิวเตอร์สามารถนาไปประมวลผลได้ทันที
ส่วนภาษาระดับสูงคือภาษาที่คอมพิวเตอร์ไม่สามารถนาไปประมวลผลได้ทันที
ง. ภาษาเครื่องคือภาษาที่อยู่ในรูปแบบรหัสภาษาอังกฤษที่อ่านเข้าใจง่าย ส่วนภาษา
ระดับสูงคือภาษาที่อยู่ในรูปแบบรหัสเลขฐานสอง ประกอบด้วยบิต 0 และบิต 1
จ. ภาษาเครื่องและภาษาระดับสูงไม่แตกต่างกัน
4. โปแกรมระบบปฏิบัติการและโปรแกรมประยุกต์ แตกต่างกันอย่างไร
ก. โปรแกรมระบบปฏิบัติการ ทาหน้าที่เฉพาะด้านตามที่นักเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
เขียนขึ้น ส่วนโปรแกรมประยุกต์ เป็นโปรแกรมที่ทาหน้าที่ควบคุมโปรแกรม
ระบบปฏิบัติการ
ข. โปรแกรมประยุกต์ ทาหน้าที่ควบคุมระบบคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่างๆ ส่วน
โปรแกรมระบบปฏิบัติการ ทาหน้าที่เฉพาะด้านตามที่นักเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
เขียนขึ้น
ค. โปรแกรมระบบปฏิบัติการ ทาหน้าที่ควบคุมระบบคอมพิวเตอร์ ส่วนโปรแกรม
ประยุกต์ทาหน้าที่เฉพาะด้านตามที่นักเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์เขียนขึ้น
ง. โปรแกรมระบบปฏิบัติการ ทาหน้าที่ควบคุมระบบคอมพิวเตอร์ ส่วนโปรแกรม
ประยุกต์ทาหน้าที่ควบคุมโปรแกรมระบบปฏิบัติการ
จ. โปรแกรมระบบปฏิบัติการ ทาหน้าที่แปลภาษาคอมพิวเตอร์ ส่วนโปรแกรมประยุกต์
ทาหน้าที่เฉพาะด้านตามที่นักเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์เขียนขึ้น
5. โปรแกรมแปลภาษาประเภทอินเทอร์พรีเตอร์และคอมไพเลอร์ แตกต่างกันอย่างไร
ก. อินเทอร์พรีเตอร์ แปลภาษาคอมพิวเตอร์ให้เป็นภาษาเครื่อง ส่วนคอมไพเลอร์
แปลภาษาเครื่อง ให้เป็นภาษาคอมพิวเตอร์
ข. อินเทอร์พรีเตอร์ แปลภาษาเครื่องให้เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ ส่วนคอมไพเลอร์
แปลภาษาคอมพิวเตอร์ ให้เป็นภาษาเครื่อง
ค. อินเทอร์พรีเตอร์ แปลภาษาคอมพิวเตอร์ทีละบรรทัด ส่วนคอมไพเลอร์ แปลภาษา
คอมพิวเตอร์ทีละโปรแกรม
ง. อินเทอร์พรีเตอร์ แปลภาษาคอมพิวเตอร์ทีละโปรแกรม ส่วนคอมไพเลอร์แปลภาษา
คอมพิวเตอร์ทีละบรรทัด
จ. อินเทอร์พรีเตอร์และคอมไพเลอร์ไม่แตกต่างกัน
5
6. สัญลักษณ์ มีความหมายตรงกับข้อใด
ก. ประมวลผลข้อมูล
ข. รับข้อมูลโดยไม่ระบุสื่อ
ค. รับข้อมูลผ่านทางแป้ นพิมพ์
ง. แสดงผลข้อมูลออกทางจอภาพ
จ. กาหนดค่าข้อมูล
7. สัญลักษณ์ มีความหมายตรงกับข้อใด
ก. บอกจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดของผังงาน
ข. ประมวลผลข้อมูล
ค. แสดงผลข้อมูลออกทางจอภาพ
ง. รับข้อมูลโดยไม่ระบุสื่อ
จ. กาหนดค่าข้อมูล
8. ขั้นตอนการกาหนดปัญหา หมายถึงข้อใด
ก. การพิจารณาถึงผลลัพธ์ที่ได้ของปัญหา
ข. การกาหนดข้อมูลนาเข้า
ค. การเขียนผังงาน
ง. การเขียนโปรแกรม
จ. การเขียนรหัสเทียม
9. ขั้นตอนแรกของการพัฒนาโปรแกรม คือขั้นตอนใด
ก. การกาหนดปัญหา
ข. การกาหนดข้อมูลนาเข้า
ค. การกาหนดข้อมูลนาออก
ง. การประมวลผลข้อมูล
จ. การกาหนดผังงาน
10. นักเขียนโปรแกรม จะต้องทราบกระบวนการใด จึงสามารถกาหนดข้อมูลนาเข้าได้
ก. การกาหนดปัญหา
ข. การประมวลผลข้อมูล
ค. การเขียนผังงาน
6
ง. การกาหนดข้อมูลนาออก
จ. การเขียนรหัสเทียม
จากปัญหาต่อไปนี้ ให้ตอบคาถามข้อ 11-12
ให้หาค่าเฉลี่ยของเลขจานวนเต็ม 3 จานวน ที่รับผ่านทางแป้ นพิมพ์และแสดงค่าเฉลี่ยออก
ทางจอภาพ
11. การกาหนดข้อมูลนาเข้าของปัญหานี้ คือข้อใด
ก. ค่าผลรวมของเลขจานวนเต็ม 3 จานวน
ข. ค่าของเลขจานวนเต็ม 3 จานวน ที่รับผ่านทางแป้ นพิมพ์
ค. ค่าเฉลี่ยของเลขจานวนเต็ม ที่แสดงออกทางจอภาพ
ง. ค่าเฉลี่ยของเลขจานวนเต็ม 3 จานวน ที่แสดงออกทางจอภาพ
จ. ค่าเฉลี่ย
12. ผลลัพธ์ที่ต้องการจากปัญหานี้ คือข้อใด
ก. ค่าของตัวแปร 3 ตัว
ข. ค่าของเลขจานวนเต็ม 3 จานวน ที่รับผ่านทางแป้ นพิมพ์
ค. ค่าเฉลี่ยของเลขจานวนเต็ม 3 จานวน
ง. ค่าเฉลี่ยของเลขจานวนเต็ม 3 จานวน ที่แสดงออกทางจอภาพ
จ. ค่าเฉลี่ย
จากรหัสเทียมต่อไปนี้ จงตอบคาถามข้อ 13-14
1. begin
2. read base, high
3. area  0.5 * base * high
4. write area
5. end
7
13. จากขั้นตอนในบรรทัดที่ 2 ของรหัสเทียม
2. read base, high
ขั้นตอนนี้ หมายความว่าอย่างไร
ก. รับค่าของ base และ high เพื่อกาหนดเป็นข้อมูลนาเข้า
ข. แสดงค่าของ base และ high เพื่อกาหนดเป็นข้อมูลนาออก
ค. ประมวลผลค่าของ base และ high
ง. กาหนดค่าเริ่มต้นให้กับ base และ high
จ. แสดงค่าของ base และ high เพื่อกาหนดเป็นข้อมูลนาเข้า
14. รหัสเทียมข้างต้น ใช้หาค่าของอะไร
ก. พื้นที่สี่เหลี่ยม
ข. พื้นที่สามเหลี่ยม
ค. พื้นที่วงกลม
ง. พื้นที่สี่เหลี่ยมคางหมู
จ. พื้นที่สี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน
8
กกกกกก ในการประมวลผลข้อมูลของคอมพิวเตอร์นั้น จาเป็นจะต้องอาศัยโปรแกรมเพื่อสั่งงาน
ให้คอมพิวเตอร์ทาการประมวลผล โดยโปรแกรมดังกล่าว อาจจะเป็นโปรแกรมสาเร็จรูป หรือ
โปรแกรมที่นักเขียนโปรแกรมพัฒนาขึ้น โดยใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่ง ที่นักเขียน
โปรแกรมมีความถนัด ซึ่งในหน่วยการเรียนนี้ ได้กล่าวถึง คอมพิวเตอร์และภาษาคอมพิวเตอร์
โปรแกรมแปลภาษาและชนิดของตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ โปรแกรมและประเภทของโปรแกรม
และการพัฒนาโปรแกรม ตามลาดับ
1.1 คอมพิวเตอร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.1.1 ความหมายของคอมพิวเตอร์
กกกกกก คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่สาคัญในปัจจุบัน ที่ใช้ในการประมวลผลข้อมูล
ของมนุษย์เพื่อให้สาเร็จด้วยความรวดเร็ว และถูกต้อง นักวิชาการหลายท่าน ได้ให้คาจากัดความ
ของคอมพิวเตอร์ไว้ดังนี้
กกกกกก ภาสกร เรืองรอง (2550 : ออนไลน์) ให้คาจากัดความของคอมพิวเตอร์ไว้ดังนี้
คอมพิวเตอร์ หมายถึง เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ ทาหน้าที่เหมือนสมองกล ใช้สาหรับ
แก้ปัญหาต่างๆ ที่ง่ายและซับซ้อนโดยวิธีทางคณิตศาสตร์
กกกกกกกธีรวัฒน์ ประกอบผล (2550 : 2) ให้คาจากัดความของคอมพิวเตอร์ไว้ดังนี้ เครื่อง
คอมพิวเตอร์ เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อย่างหนึ่ง โดยการให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางาน จะต้อง
ป้ อนคาสั่งให้กับมันและต้องเป็นคาสั่งที่เครื่องคอมพิวเตอร์เข้าใจ การนาคาสั่งมาเรียงต่อกันให้
ทางานอย่างใดอย่างหนึ่งเรียกว่า โปรแกรม
กกกกกกกจากคาจากัดความของความหมายของคอมพิวเตอร์ ที่นักวิชาการได้ให้ไว้สรุปได้ว่า
คอมพิวเตอร์ หมายถึง อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่มนุษย์ประดิษฐ์ขึ้น เพื่อสั่งให้ทางานตามคาสั่งของ
มนุษย์ใช้สาหรับแก้ปัญหาต่างๆ ที่ง่ายและซับซ้อนให้สาเร็จด้วยความรวดเร็ว และถูกต้อง ในการ
สั่งการให้คอมพิวเตอร์ทางาน จะต้องอาศัยคาสั่งเพื่อนาไปประมวลผล โดยคาสั่งเหล่านั้นเรียกว่า
โปรแกรม
1.1.2 ความหมายและระดับของภาษาคอมพิวเตอร์
1.1.2.1 ความหมายของภาษาคอมพิวเตอร์
กกกกกก ในการประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์นั้น คอมพิวเตอร์จะทาการประมวลผล
ข้อมูลด้วยตัวมันเองไม่ได้หากปราศจากโปรแกรมเพื่อสั่งงานให้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติงาน โดย
โปรแกรมเหล่านั้นอาจจะพัฒนาขึ้นเองหรือเป็นโปรแกรมสาเร็จรูปที่มีขายทั่วไป ขึ้นอยู่กับความ
กกกกกก ในการประมวลผลข้อมูลของคอมพิวเตอร์นั้น จาเป็ป็ปนจะต้องอาศัยโปรแกรมเพื่อสั่งงาน
หน่วยที่ 1
คอมพิวเตอร์
และการพัฒนาโปรแกรม
ต้องการของผู้ใช้งาน โดยโปรแกรมที่ใช้สั่งการให้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติงานนั้น คือ ภาษาคอมพิวเตอร์
นั่นเอง นักวิชาการหลายท่าน ได้ให้คาจากัดความของภาษาคอมพิวเตอร์ไว้ดังนี้
กกกกกก เอกราช ธรรมษา (ม.ป.ป. : ออนไลน์) ได้ให้คาจากัดความของภาษาคอมพิวเตอร์
ไว้ดังนี้ ภาษาคอมพิวเตอร์ หมายถึง สัญลักษณ์ที่คิดค้นขึ้นมาเพื่อใช้แทนคาสั่ง ในการสั่งงาน
ระหว่างมนุษย์กับตัวเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงอื่นๆ
กกกกกก สมชาย ทยานยง และคณะ (ม.ป.ป. : ออนไลน์) ได้ให้คาจากัดความของภาษา
คอมพิวเตอร์ไว้ดังนี้ ภาษาคอมพิวเตอร์ หมายถึง ภาษาที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์หรือใช้เพื่อสื่อสาร
ให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ และสามารถปฏิบัติตามคาสั่งได้
กกกกกก จากคาจากัดความของความหมายของภาษาคอมพิวเตอร์ ที่นักวิชาการได้ให้ไว้
สรุปได้ว่าภาษาคอมพิวเตอร์ หมายถึง ภาษาที่คิดค้นขึ้นมาเพื่อใช้แทนคาสั่งของมนุษย์ในการ
ติดต่อสื่อสาร และสั่งการให้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติงาน
1.1.2.2 ระดับของภาษาคอมพิวเตอร์
กกกกกก ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้สั่งการให้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติงานนั้น แบ่งได้ดังนี้
กกกกกก โครงการสารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน (2551 : ออนไลน์) ได้แบ่งภาษา
คอมพิวเตอร์ ออกเป็น 2 ระดับ ดังนี้
กกกกกก 1) ภาษาระดับต่า (Low Level Language) คือ ภาษาที่เขียนตามลักษณะการทางาน
ของเครื่อง ผู้ที่ใช้ภาษาเหล่านี้จาเป็นต้องเข้าใจการทางานของเครื่องเป็นอย่างดี ตัวอย่างของภาษา
ระดับต่า ได้แก่ ภาษาเครื่อง ภาษาแอสเซมบลี และภาษามาโครแอสเซมบลี (Macro Assembler)
กกกกกก 2) ภาษาระดับสูง (High Level Language) คือ ภาษาที่เข้าใกล้ลักษณะภาษาที่
มนุษย์ใช้ (Human Oriented Language) มีลักษณะเป็นคาพูด หรือเป็นสมการในการคานวณแบบ
เดียวกับที่ใช้ในวิชาพีชคณิต หรือตรีโกณมิติ เช่น ภาษาซี ภาษาวีบี ภาษาเพิร์ล ภาษาอาร์พีจี เป็นต้น
กกกกกก อัญชลี สุทธิสว่าง (ม.ป.ป. : ออนไลน์) ได้แบ่งภาษาคอมพิวเตอร์ออกเป็น 2
ระดับ ดังนี้
กกกกกก 1) ภาษาระดับต่า (Low Level Language) คือ ภาษาที่ใช้ในยุคแรกๆ จะมีความ
ยุ่งยากในการเขียนโปรแกรม
กกกกกก 2) ภาษาระดับสูง (High Level Language) คือ ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ได้รับการ
พัฒนาให้สามารถใช้งานง่ายและมีความสะดวก การเขียนภาษาไม่ขึ้นกับฮาร์ดแวร์หรือลักษณะ
การทางานภายในของเครื่อง ผู้เขียนโปรแกรมไม่จาเป็นต้องเข้าใจระบบการทางานภายในเครื่อง
เพียงแต่เข้าใจกฎเกณฑ์ในการเขียนแต่ละภาษาให้ดี ซึ่งลักษณะคาสั่งจะคล้ายกับภาษาอังกฤษ ทาให้
10
ภาษาระดับสูงเป็นที่นิยมใช้กันแพร่หลายในปัจจุบัน
กกกกกก จากคาจากัดความของระดับของภาษาคอมพิวเตอร์ ที่นักวิชาการได้ให้ไว้สรุปได้
ว่า ภาษาคอมพิวเตอร์ แบ่งได้เป็น 2 ระดับ คือ ภาษาระดับต่าและภาษาระดับสูง โดยภาษาระดับต่า
คือ ภาษาที่มีลักษณะใกล้เคียงกับภาษาเครื่อง ผู้เขียนโปรแกรมต้องเข้าใจการทางานของเครื่อง
คอมพิวเตอร์เป็นอย่างดี จึงจะสามารถเขียนคาสั่งได้ตัวอย่างของภาษาระดับต่า ได้แก่ ภาษาเครื่อง
และภาษาแอสเซมบลี ส่วนภาษาระดับสูง คือ ภาษาที่มีลักษณะใกล้เคียงกับภาษามนุษย์การเขียน
คาสั่งจะคล้ายกับภาษาอังกฤษ สามารถทาความเข้าใจได้ง่าย ตัวอย่างของภาษาระดับสูง ได้แก่ ภาษา
เบสิก ภาษาพีเอชพี ภาษาจาวา ภาษาซี เป็นต้น
กกกกกก ภาษาระดับสูง เป็นภาษาที่ได้รับความนิยมในการเขียนโปรแกรมอย่างแพร่หลาย
ในปัจจุบัน เกิดจากการนารหัสคาสั่งหลายๆ คาสั่ง มาเขียนรวมเข้าด้วยกันเป็นชุดคาสั่ง ซึ่งเรียกว่า
โปรแกรม โดยโปรแกรมที่ได้จะไม่สามารถสั่งให้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติงานได้ทันที คอมพิวเตอร์
จะต้องทาการแปลโปรแกรมเหล่านั้นให้เป็นภาษาเครื่องเสียก่อน จึงจะสามารถปฏิบัติงานตามคาสั่ง
ได้นักวิชาการหลายท่าน ได้ให้ความหมายของภาษาเครื่องไว้ดังนี้
กกกกกก ธีรวัฒน์ ประกอบผล (2550 : 2) ได้ให้คาจากัดความของภาษาเครื่อง (Machine
Language) ไว้ดังนี้ ภาษาเครื่องเป็นรหัสเลขฐานสอง เมื่อมีการป้อนภาษาคอมพิวเตอร์เข้าไปใน
เครื่องคอมพิวเตอร์ รหัสเลขฐานสองจะถูกเปลี่ยนเป็นสัญญาณทางไฟฟ้าที่คอมพิวเตอร์เข้าใจ
กกกกกก เอกราช ธรรมษา (ม.ป.ป. : ออนไลน์) ได้ให้คาจากัดความของภาษาเครื่อง
(Machine Language) ไว้ดังนี้ ภาษาเครื่องเป็นภาษาที่เครื่องคอมพิวเตอร์สั่งงาน กาหนดเป็นชุดของ
เลขฐานสอง คือมีเฉพาะเลข 0 และเลข 1 เท่านั้น เป็นภาษาที่ขึ้นอยู่กับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้งาน
กกกกกก จากคาจากัดความของภาษาเครื่อง ที่นักวิชาการได้ให้ไว้สรุปได้ว่า ภาษาเครื่อง
คือ ภาษาที่มีคาสั่งอยู่ในรูปรหัสเลขฐานสอง ซึ่งประกอบด้วยเลข 0 และเลข 1 ผู้เขียนโปรแกรม
จะต้องเข้าใจการทางานของเครื่องเป็นอย่างดี จึงจะสามารถเขียนโปรแกรมสั่งงานด้วยภาษาเครื่อง
ได้
กกกกกก ภาษาซีจัดเป็นภาษาระดับสูง ซึ่งเป็นภาษาที่ได้รับความนิยมในการนามาฝึกเขียน
โปรแกรม เนื่องจากเป็นภาษาที่มีโครงสร้างการทางานที่ง่ายต่อการทาความเข้าใจ และภาษาซีมี
ลักษณะการทางานคล้ายกับภาษาระดับต่า (Low Level Language) ซึ่งภาษาระดับต่า มีลักษณะ
ใกล้เคียงกับภาษาเครื่อง ดังนั้น ภาษาซีจึงเป็นภาษาที่คอมพิวเตอร์เข้าใจง่ายและประมวลผลคาสั่งได้
อย่างรวดเร็ว
11
1.2 โปรแกรมแปลภาษาและชนิดของตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์
1.2.1 ความหมายของโปรแกรมแปลภาษาคอมพิวเตอร์
กกกกกก จรินทร์ ธงงาม และคณะ (ม.ป.ป. : ออนไลน์) ได้ให้คาจากัดความของโปรแกรมแปล
ภาษาคอมพิวเตอร์ไว้ดังนี้ โปรแกรมแปลภาษาคอมพิวเตอร์ หมายถึง โปรแกรมที่ทาหน้าที่แปล
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาต่างๆ ให้เป็นภาษาเครื่อง
กกกกกก คมกริช บุตรอุดม และคณะ (ม.ป.ป. : ออนไลน์) ได้ให้คาจากัดความของโปรแกรมแปล
ภาษาคอมพิวเตอร์ไว้ดังนี้ โปรแกรมแปลภาษาคอมพิวเตอร์ หมายถึง โปรแกรมที่ทาหน้าที่แปล
ภาษาระดับสูงที่เป็นโปรแกรมต้นฉบับ ให้อยู่ในรูปของโปรแกรมเรียกใช้งานที่เครื่องคอมพิวเตอร์
เข้าใจและสามารถทางานได้
กกกกกก จากคาจากัดความของโปรแกรมแปลภาษาคอมพิวเตอร์ ที่นักวิชาการได้ให้ไว้สรุปได้ว่า
โปรแกรมแปลภาษาคอมพิวเตอร์ คือ โปรแกรมที่ทาหน้าที่แปลภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูง ที่มนุษย์
เขียนขึ้น ให้เป็นภาษาเครื่องที่คอมพิวเตอร์สามารถนาไปประมวลผลได้
กกกกกก การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ด้วยภาษาระดับสูงนั้น จะไม่สามารถสั่งให้คอมพิวเตอร์
ทางานได้ตราบใดที่ยังไม่มีการแปลภาษาระดับสูงเหล่านั้นให้เป็นภาษาเครื่อง ในการแปลภาษา
ระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่องนั้น จาเป็นต้องใช้ตัวแปลภาษา ซึ่งตัวแปลภาษาแต่ละตัว จะมีลักษณะ
แตกต่างกันไป
1.2.2 ชนิดของตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์
กกกกกก ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ ทาหน้าที่แปลภาษาระดับสูง ให้เป็นภาษาเครื่อง มีอยู่ 2 ชนิด
คือ อินเทอร์พรีเตอร์ (Interpreter) และคอมไพเลอร์ (Compiler) โดยนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ได้ให้
ความหมายของตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์แต่ละชนิดไว้ดังนี้
กกกกกก สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ม.ป.ป. : ออนไลน์) ได้ให้คาจากัด
ความของอินเทอร์พรีเตอร์ (Interpreter) ไว้ดังนี้ อินเทอร์พรีเตอร์ คือ ตัวแปลภาษา ที่จะทาการแปล
ภาษาระดับสูงทีละคาสั่ง แล้วให้คอมพิวเตอร์ทาตามคาสั่งนั้น เมื่อทาคาสั่งนั้นเรียบร้อยแล้ว จึงจะ
ทาการแปลคาสั่งลาดับต่อไป ส่วนคอมไพเลอร์ (Compiler) คือ ตัวแปลภาษา ที่จะทาการแปลภาษา
ระดับสูงทั้งโปรแกรมให้เป็นภาษาเครื่อง แล้วจึงให้คอมพิวเตอร์ทางานตามภาษาเครื่องนั้น
กกกกกก จรินทร์ ธงงาม (ม.ป.ป. : ออนไลน์) ได้ให้คาจากัดความของอินเทอร์พรีเตอร์
(Interpreter) ไว้ดังนี้ อินเทอร์พรีเตอร์ คือ ตัวแปลภาษาระดับสูงซึ่งเป็นภาษาที่ใกล้เคียงกับภาษา
มนุษย์ให้เป็นภาษาเครื่อง โดยใช้หลักการแปลพร้อมกับงานตามคาสั่งทีละบรรทัดตลอดทั้ง
โปรแกรม ทาให้การแก้ไขโปรแกรมทาได้ง่ายและรวดเร็ว รหัสภาษาเครื่อง (Object Code) ที่ได้จาก
12
การแปลโดยใช้อินเทอร์พรีเตอร์ ไม่สามารถนามาใช้งานได้จะต้องทาการแปลโปรแกรมใหม่
ทุกครั้งที่ต้องการใช้งาน ส่วนคอมไพเลอร์ (Compiler) นั้น จะเป็นตัวแปลภาษาระดับสูง
เช่นเดียวกับอินเทอร์พรีเตอร์ แต่จะใช้วิธีแปลโปรแกรมทั้งโปรแกรม รหัสภาษาเครื่องที่ได้จากการ
แปลนั้นสามารถจัดเก็บไว้เป็นแฟ้มข้อมูลได้ซึ่งเป็นข้อดีของคอมไพเลอร์ ที่จะนาผลที่ได้จากการ
แปลนั้นไปใช้งานในครั้งต่อไป โดยไม่ต้องทาการแปลใหม่ ทาให้การแปลด้วยคอมไพเลอร์ เป็น
รูปแบบการแปลที่ได้รับความนิยมมาก
กกกกกก จากคาจากัดความของชนิดของตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ ที่นักวิชาการได้ให้ไว้สรุปได้ว่า
อินเทอร์พรีเตอร์ เป็นตัวแปลภาษาระดับสูงที่แปลทีละคาสั่ง ตัวแปลภาษาระดับสูงชนิดนี้ หากแปล
แล้วพบข้อผิดพลาดของคาสั่ง จะหยุดการทางานทันที จนกว่านักเขียนโปรแกรมจะแก้ไข
ข้อผิดพลาด จึงจะทาการแปลคาสั่งต่อไป ส่วนคอมไพเลอร์ เป็นตัวแปลภาษาระดับสูงที่แปลทีละ
โปรแกรม และแปลให้เป็นรหัสภาษาเครื่อง หากพบข้อผิดพลาดก็จะแสดงข้อผิดพลาดออกมา
ทาให้โปรแกรมทางานได้เร็ว รหัสภาษาเครื่องที่ได้สามารถนาไปใช้งานในครั้งต่อไป โดยไม่ต้อง
ทาการแปลโปรแกรมใหม่ ทาให้การแปลด้วยคอมไพเลอร์ มีความรวดเร็วกว่าการแปลด้วย
อินเทอร์พรีเตอร์
1.3 โปรแกรมและประเภทของโปรแกรม
1.3.1 ความหมายของโปรแกรม
กกกกกก ธีรวัฒน์ ประกอบผล (2550 : 2) ได้ให้คาจากัดความของโปรแกรมไว้ดังนี้ โปรแกรม
หมายถึง การนาคาสั่งมาเรียงต่อกันให้ทางานอย่างใดอย่างหนึ่ง เมื่อโปรแกรมถูกป้อนเข้าไปใน
เครื่องคอมพิวเตอร์ ตัวเครื่องจะทางานทีละคาสั่ง สาหรับการใช้คาสั่งเพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทางาน
นั้น จะต้องใช้ภาษาที่คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ภาษาที่คอมพิวเตอร์เข้าใจเรียกว่า ภาษาเครื่อง
(Machine Language)
กกกกกก ลักษณา วาทิน (2555 : ออนไลน์) ได้ให้คาจากัดความของโปรแกรมไว้ดังนี้ โปรแกรม
หมายถึง คาสั่งหรือชุดคาสั่ง ที่เขียนขึ้นมาเพื่อสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางานตามต้องการ ซึ่งต้อง
สั่งเป็นขั้นตอน และแต่ละขั้นตอนต้องทาอย่างละเอียดและครบถ้วน
กกกกกก จากคาจากัดความของความหมายของโปรแกรม ที่นักวิชาการได้ให้ไว้สรุปได้ว่า
โปรแกรม หมายถึง การนาคาสั่งในภาษาคอมพิวเตอร์ มาเรียงต่อกันเป็นชุดคาสั่ง เพื่อสั่งให้
คอมพิวเตอร์ทางานอย่างใดอย่างหนึ่ง โดยคาสั่งจะต้องเขียนเป็นลาดับขั้นตอนอย่างละเอียดและ
ถูกต้อง เมื่อนาชุดคาสั่งไปสั่งให้คอมพิวเตอร์ทางาน จะทาให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ผู้เขียนโปรแกรม
ต้องการ
13
1.3.2 ประเภทของโปรแกรม
กกกกกกกมธุรส จงชัยกิจ (ม.ป.ป. : ออนไลน์) ได้จาแนกประเภทของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ได้ 2
ประเภท ดังนี้
กกกกกกก1. โปรแกรมระบบ (System Software) โดยโปรแกรมระบบ หมายถึง โปรแกรมสั่งงาน
ระบบหรือยูทิลิตีซอฟต์แวร์ (System Utilities) เป็นโปรแกรมซึ่งเขียนขึ้นเพื่อช่วยทาให้การสั่งงาน
เครื่องคอมพิวเตอร์ ทาได้รวดเร็ว ง่ายและมีประสิทธิภาพ ชนิดของโปรแกรมสั่งงานระบบที่ใช้กับ
เครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง จะแตกต่างกันไปตามขนาด และชนิดของคอมพิวเตอร์
กกกกกกก2. โปรแกรมประยุกต์(Application Software) หมายถึง โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ผู้เขียน
โปรแกรมเขียนขึ้นด้วยภาษาโปรแกรมต่างๆ หรือเขียนขึ้นโดยอาศัยโปรแกรมระบบที่เป็นพื้นฐาน
เพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางานตามต้องการ เช่น โปรแกรมสาหรับจัดการฐานข้อมูล (Database
Management) โปรแกรมควบคุมสินค้าคงคลัง (Inventory Control) โปรแกรมจัดทาบัญชีเงินเดือน
(Payroll) โปรแกรมจัดพิมพ์รายงาน หรือจดหมาย (Word Processing) หรือแม้แต่โปรแกรมสาหรับ
เล่นเกมคอมพิวเตอร์ต่างๆ (Computer Games) เป็นต้น ซอฟต์แวร์ประยุกต์อาจเขียนขึ้นโดยผู้ใช้
เครื่องคอมพิวเตอร์เอง หรือผู้ใช้เครื่องอาจจะหาซื้อจากบริษัทผู้ผลิตซอฟต์แวร์ก็ได้
กกกกกกกคมกริช บุตรอุดม และคณะ (ม.ป.ป. : ออนไลน์) ได้จาแนกประเภทของโปรแกรมได้ 2
ประเภทใหญ่ๆ ดังนี้
กกกกกกก1. โปรแกรมระบบ (System Software) หมายถึง โปรแกรมที่มีหน้าที่ควบคุมการทางาน
ของฮาร์ดแวร์ทุกอย่างและอานวยความสะดวกให้กับผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์
กกกกกกก2. โปรแกรมประยุกต์(Application Software) หมายถึง โปรแกรมที่ผู้ใช้คอมพิวเตอร์เป็น
ผู้เขียนขึ้นมาใช้งานเอง เพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทางานอย่างใดอย่างหนึ่งตามที่ต้องการ
กกกกกกกจากคาจากัดความของประเภทของโปรแกรม ที่นักวิชาการได้ให้ไว้สรุปได้ว่า โปรแกรม
แบ่งเป็น 2 ประเภท คือโปรแกรมระบบปฏิบัติการ หมายถึง โปรแกรมที่ใช้ในการควบคุมการ
ทางานของอุปกรณ์ต่างๆ ในระบบคอมพิวเตอร์ ทาให้ผู้ใช้สามารถใช้งานคอมพิวเตอร์ได้หากไม่มี
โปรแกรมชนิดนี้ จะไม่สามารถติดต่อกับอุปกรณ์ต่างๆ ของคอมพิวเตอร์ได้ ตัวอย่างของโปรแกรม
ระบบปฏิบัติการ ได้แก่ Unix, Linux, Microsoft Windows เป็นต้น และโปรแกรมประยุกต์ หมายถึง
โปรแกรมที่นักเขียนโปรแกรมพัฒนาขึ้น เพื่อใช้งานด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง หรือพัฒนาขึ้นเพื่อใช้งาน
ในด้านนั้นโดยเฉพาะ
กกกกกกกโปรแกรมประยุกต์ส่วนใหญ่จะพัฒนาด้วยภาษาระดับสูง ทาให้ง่ายต่อการทาความเข้าใจ
ตัวอย่างของโปรแกรมประยุกต์ ได้แก่ โปรแกรมระบบบัญชี โปรแกรมระบบงานโรงพยาบาล
โปรแกรมระบบสินค้าคงคลัง โปรแกรมระบบงานคลินิก โปรแกรมระบบงานสารบรรณ โปรแกรม
14
ระบบงานพัสดุ โปรแกรมระบบการจองห้องพักโรงแรม และโปรแกรมระบบจองตั๋วภาพยนตร์
เป็นต้น
1.4 การพัฒนาโปรแกรม
กกกกกกกในการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์มีกระบวนการที่สาคัญเพื่อให้ได้โปรแกรมที่มีคุณภาพ
มีความถูกต้องและเหมาะสมกับระบบงาน ซึ่งกระบวนการพัฒนาโปรแกรมดังกล่าวมี 6 ขั้นตอน
ดังนี้
กกกกกกก1. การกาหนดปัญหา
กกกกกกก2. การออกแบบโปรแกรม
กกกกกกก3. การเขียนโปรแกรม
กกกกกกก4. การทดสอบโปรแกรม
กกกกกกก5. การนาโปรแกรมไปใช้งานจริง
กกก 6. การจัดทาเอกสารประกอบโปรแกรม
ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ทั้ง 6 ขั้นตอน เขียนเป็นผังงานได้ดังนี้
การกาหนดปัญหา
การออกแบบโปรแกรม
การเขียนโปรแกรม
เริ่มต้น
A
15
ภาพที่ 1.1 ผังงานแสดงขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
กกกกกกก1. การกาหนดปัญหา
กกกกกกก เป็นขั้นตอนในการวิเคราะห์หาผลลัพธ์ของปัญหา ได้แก่ ปัญหาที่ให้มาต้องการอะไร
มีรูปแบบการแสดงผลอย่างไร จะต้องใช้ข้อมูลอะไรบ้าง มีขั้นตอนในการประมวลผลอย่างไร จึงจะ
ทาให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ ซึ่งจะส่งผลให้การวิเคราะห์ปัญหานั้นมีความถูกต้อง
กกกกกกก2. การออกแบบโปรแกรม
กกกกกกก เป็นขั้นตอนในการกาหนดวิธีการแก้ไขปัญหาในแต่ละขั้นตอน ซึ่งได้แก่ การกาหนด
ข้อมูลนาเข้า การกาหนดข้อมูลนาออก การออกแบบขั้นตอนการประมวลผลข้อมูล การออกแบบ
รหัสเทียม และการออกแบบผังงาน ทั้งนี้เพื่อให้ง่ายต่อการนาไปเขียนโปรแกรมในแต่ละภาษา โดย
รหัสเทียมนิยมเขียนในรูปภาษาอังกฤษ ซึ่งสามารถนารหัสเทียมที่ได้มาเขียนเป็นภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาใดก็ได้ในขั้นตอนการออกแบบโปรแกรม ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน ได้แก่ การกาหนดข้อมูล
นาเข้า การกาหนดข้อมูลนาออก การเขียนขั้นตอนการประมวลผลข้อมูล การเขียนรหัสเทียม และ
การเขียนผังงาน
กกกกกกก 2.1 การกาหนดข้อมูลนาเข้า เป็นกระบวนการในการพิจารณาว่าปัญหานั้น จะต้องนา
ข้อมูลอะไรเข้าสู่คอมพิวเตอร์ จึงจะได้ผลลัพธ์ตามต้องการ และข้อมูลนาเข้ามีชนิดเป็นแบบใด ซึ่ง
จะต้องให้มีชนิดของข้อมูลสอดคล้องกับผลลัพธ์ที่ได้
การนาโปรแกรมไปใช้งานจริง
การจัดทาเอกสารประกอบโปรแกรม
จบการทางาน
A
การทดสอบโปรแกรม
16
2.2 การกาหนดข้อมูลนาออก เป็นกระบวนการในการพิจารณาถึงผลลัพธ์ที่ได้ของ
ปัญหา เช่น ปัญหานั้นต้องการอะไร มีรูปแบบการแสดงผลอย่างไร โดยหากทราบข้อมูลนาออก
จะทาให้สามารถทราบข้อมูลที่จะนาเข้าสู่คอมพิวเตอร์ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ
2.3 การเขียนขั้นตอนการประมวลผลข้อมูลหรือขั้นตอนวิธี เป็นกระบวนการในการ
เขียนขั้นตอนการประมวลผลข้อมูลทีละขั้นตอนของโปรแกรม โดยเรียงลาดับการประมวลผล
ข้อมูลตั้งแต่ขั้นตอนแรกจนถึงขั้นตอนสุดท้าย การเขียนกระบวนการดังกล่าวมักจะเขียนด้วยภาษา
ที่เข้าใจง่าย
2.4 การเขียนรหัสเทียม เป็นกระบวนการในการปรับเปลี่ยนขั้นตอนการประมวลผล
ข้อมูลในรูปความเรียง ให้เป็นภาษาอังกฤษ ที่มีรูปแบบกะทัดรัด และเข้าใจง่าย เรียกว่า รหัสเทียม
ซึ่งรหัสเทียมดังกล่าว พร้อมที่จะนามาแปลงเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดก็ได้ขึ้นอยู่กับความถนัด
ของนักเขียนโปรแกรม
2.5 การเขียนผังงาน เป็นกระบวนการในการปรับเปลี่ยนขั้นตอนการประมวลผล
ข้อมูล หรือรหัสเทียมให้เป็นรูปภาพสัญลักษณ์ที่สื่อความหมาย โดยปกติมนุษย์มักจะทาความเข้าใจ
รูปภาพได้ดีกว่าข้อความ ด้วยหลักการนี้ จึงมีการนาสัญลักษณ์ที่เป็นรูปภาพ มาแทนกระบวนการ
หรือคาสั่งต่างๆ เพื่อให้ง่ายต่อการทาความเข้าใจ
วัชราภรณ์ สุริยาภิวัฒน์ (2553 : 246-249) ได้แสดงสัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงาน
ประกอบด้วยสัญลักษณ์ที่สาคัญๆ ดังต่อไปนี้
การกาหนดจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดของผังงาน
การรับและแสดงค่าข้อมูล โดยไม่ระบุสื่อ
การประมวลผลข้อมูล
การรับข้อมูลผ่านทางแป้นพิมพ์
การแสดงผลข้อมูลออกทางจอภาพ
การแสดงผลข้อมูลออกทางเครื่องพิมพ์
17
การเรียกใช้โปรแกรมย่อย
การทดสอบเงื่อนไข
จุดเชื่อมต่อผังงานภายในหน้ากระดาษเดียวกัน
แสดงทิศทางเดินของข้อมูล
จุดเชื่อมต่อผังงานคนละหน้ากระดาษ
สื่อบันทึกข้อมูล
กกกกกกก3. การเขียนโปรแกรม
กกกกกกก หลังจากทาการออกแบบการแก้ไขปัญหาแล้ว ขั้นตอนต่อไปคือ การเขียนโปรแกรม
ซึ่งมักจะเขียนโปรแกรมด้วยภาษาระดับสูงภาษาใดภาษาหนึ่ง ขึ้นอยู่กับความถนัดของนักเขียน
โปรแกรม ในการเขียนโปรแกรมมักจะนารหัสเทียมหรือผังงานมาเป็นต้นแบบในการเขียน และ
แบ่งระบบงานทั้งระบบออกเป็นระบบงานย่อย ทั้งนี้เพื่อให้ง่ายต่อการเขียน การทดสอบ และการ
แก้ไขโปรแกรม หากเกิดข้อผิดพลาดขึ้น
กกกกกกก4. การทดสอบโปรแกรม
กกกกกกก เมื่อทาการเขียนโปรแกรมเรียบร้อยแล้ว จะต้องทาการทดสอบโปรแกรม โดยจะทา
การทดสอบจากโปรแกรมย่อย ที่ทาการเขียนโปรแกรมเรียบร้อยแล้ว จนครบทุกโปรแกรมย่อย
เมื่อทาการทดสอบโปรแกรมย่อยเรียบร้อยแล้ว ขั้นตอนต่อไปจะต้องนาโปรแกรมย่อยที่ผ่านการ
ทดสอบเรียบร้อยแล้ว มาทาการเชื่อมต่อให้เป็นระบบงานรวม และทาการทดสอบระบบงานรวม
อีกครั้ง เพื่อแก้ไขข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้น ก่อนนาโปรแกรมไปใช้กับระบบงานจริง ในขั้นตอนนี้มักจะ
นาโปรแกรมที่เขียนขึ้น มาทาการทดสอบคู่ขนานไปพร้อมกับระบบงานจริงที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
กกกกกกก5. การนาโปรแกรมไปใช้งานจริง
กกกกกกก เมื่อทาการทดสอบโปรแกรมและแก้ไขข้อผิดพลาดเรียบร้อยแล้ว ขั้นตอนต่อไปคือ
การนาโปรแกรมไปใช้กับระบบงานจริง ซึ่งผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของโปรแกรมจะต้อง
18
มีความถูกต้องสมบูรณ์ที่สุด แต่ถ้าหากโปรแกรมยังเกิดข้อผิดพลาด จะทาให้ผลลัพธ์ที่ได้จากการ
ประมวลผลมีความผิดพลาดด้วย และจะส่งผลให้ระบบงานเกิดความเสียหายได้
กกกกกกก6. การจัดทาเอกสารประกอบโปรแกรม
กกกกกกก เป็นขั้นตอนที่นักเขียนโปรแกรมจะทาการรวบรวมโปรแกรม และจัดทาเอกสาร
ประกอบการใช้โปรแกรม ตลอดจนทาการบารุงรักษาโปรแกรมให้มีความทันสมัยอยู่ตลอดเวลา
ในการจัดทาเอกสารประกอบโปรแกรมนั้น ก็เพื่อเป็นการแสดงขั้นตอนการทางานของโปรแกรม
และจัดทาเป็นคู่มือการใช้โปรแกรมให้กับผู้ปฏิบัติงาน ทาให้สามารถศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองได้
ตลอดเวลา
กกกกกกก ต่อไปนี้เป็นตัวอย่างกระบวนการในการพัฒนาโปรแกรม เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตาม
ต้องการ
จงรับชื่อของนักเรียนผ่านทางแป้นพิมพ์และแสดงชื่อของนักเรียนออกทาง
จอภาพ
1. การกาหนดปัญหา
กกกกกกกสิ่งที่ต้องการแก้ปัญหา คือ แสดงชื่อนักเรียนออกทางจอภาพ
2. การออกแบบโปรแกรม ประกอบด้วย
กกกกกกก2.1 การกาหนดข้อมูลนาเข้า ข้อมูลที่ต้องนาเข้าเพื่อให้ได้สิ่งที่ต้องการแก้ปัญหา หรือ
เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการคือ ชื่อนักเรียนที่รับผ่านทางแป้นพิมพ์
กกกกกกก2.2 การกาหนดข้อมูลนาออก ข้อมูลที่ต้องการนาออกคือ ชื่อนักเรียนที่แสดงออกทาง
จอภาพ
กกกกกกก2.3 การเขียนขั้นตอนการประมวลผลข้อมูล หรือขั้นตอนวิธี จากปัญหาที่พบในขั้นตอน
การกาหนดปัญหา สามารถเขียนเป็นขั้นตอนการประมวลผลข้อมูลได้ดังนี้
1. เริ่มต้น
2. รับชื่อนักเรียนเก็บไว้ในตัวแปร name
3. แสดงชื่อนักเรียนทางจอภาพ
4. จบการทางาน
ตัวอย่างที่ 1.1
19
กกกกกกก2.4 การเขียนรหัสเทียม จากขั้นตอนการประมวลผลข้อมูล สามารถเขียนเป็นรหัสเทียม
ได้ดังนี้
กกกกกกก 1. begin
กกกกกกก 2. read name
กกกกกกก 3. write name
กกกกกกก 4. end
กกกกกกก2.5 การเขียนผังงาน จากขั้นตอนการเขียนรหัสเทียม สามารถเขียนเป็นผังงานได้ดังนี้
กกกกกกก
กกกกกกก
ภาพที่ 1.2 ผังงานการรับชื่อของนักเรียนผ่านทางแป้ นพิมพ์และแสดงชื่อของนักเรียนออกทาง
จอภาพ
3. การเขียนโปรแกรม
กกกกกกกจากขั้นตอนการเขียนผังงาน หรือการเขียนรหัสเทียม สามารถเขียนเป็นโปรแกรมภาษาซี
ได้ดังนี้
begin
read name
write name
end
1 #includestdio.h
2 main(){
3 char name[30];
4 printf(”Enter your name : ”);
5 scanf(”%s”,name);
6 printf(”your name is %sn”,name);
7 }
20
4. การทดสอบโปรแกรม
กกกกกกกจากโปรแกรมที่เขียนขึ้น ได้นามาประมวลผล และทดสอบการทางานของโปรแกรม
จะได้ผลการทางานโปรแกรม ดังภาพ
ภาพที่ 1.3 ผลการทางานโปรแกรม เพื่อทดสอบการรับชื่อของนักเรียนผ่านทางแป้นพิมพ์
และแสดงชื่อของนักเรียนออกทางจอภาพ
กกกกกกกจากภาพที่ 1.3 แสดงผลการทางานโปรแกรม จะเห็นว่าโปรแกรมรับชื่อของนักเรียนผ่าน
ทางแป้นพิมพ์และแสดงชื่อของนักเรียนออกทางจอภาพที่เขียนขึ้น มีผลลัพธ์ถูกต้อง และตรงตาม
ความต้องการของผู้ใช้
5. การนาโปรแกรมไปใช้งานจริง
กกกกกกกจากการทดสอบโปรแกรม จะเห็นว่าโปรแกรมรับชื่อของนักเรียนผ่านทางแป้นพิมพ์และ
แสดงชื่อของนักเรียนออกทางจอภาพ มีความถูกต้อง ในขั้นตอนต่อไปคือนาโปรแกรมที่ผ่านการ
ทดสอบเรียบร้อยแล้ว ไปใช้กับระบบงานจริง ซึ่งจากตัวอย่างที่ 1.1 จะเห็นว่าโปรแกรมรับชื่อของ
นักเรียนผ่านทางแป้นพิมพ์และแสดงชื่อของนักเรียนออกทางจอภาพ สามารถนาไปใช้งานได้จริง
6. การจัดทาเอกสารประกอบโปรแกรม
กกกกกกกเป็นการนาโปรแกรมที่ได้จากการทดสอบการใช้งานจริง มาทาเอกสารประกอบการ
ใช้งาน ทั้งนี้เพื่อเป็นการอธิบายการทางานของโปรแกรมในแต่ละขั้นตอน และเพื่อให้ผู้ใช้
โปรแกรม สามารถใช้โปรแกรมได้ง่ายขึ้น จากตัวอย่างที่ 1.1 จะเห็นว่าโปรแกรมมีขนาดเล็ก ทาให้
การจัดทาเอกสารประกอบโปรแกรมอาจไม่จาเป็น แต่ถ้าหากโปรแกรมมีขนาดใหญ่ การจัดทา
เอกสารประกอบโปรแกรม ถือว่าเป็นสิ่งที่สาคัญมากสาหรับผู้ใช้โปรแกรม เพื่อเป็นการจัดทา
เอกสารประกอบการใช้งานโปรแกรม ในที่นี้จึงขออธิบายการทางานของโปรแกรม ดังนี้
21
กกกกกกกขั้นตอนที่ 1 ทาการสั่งโปรแกรมให้ทางานโดยคลิกคาสั่ง Run หรือกด Ctrl+F9 จะ
ปรากฏผลการทางานโปรแกรม ดังภาพ
ภาพที่ 1.4 ผลการทางานโปรแกรม เพื่อรอการรับชื่อนักเรียนผ่านทางแป้นพิมพ์
กกกกกกกจากภาพที่ 1.4 เมื่อโปรแกรมทางาน โปรแกรมจะปรากฏคาว่า enter your name : จากนั้น
โปรแกรมจะให้รับชื่อนักเรียนผ่านทางแป้นพิมพ์
กกกกกกกขั้นตอนที่ 2 ทาการรับชื่อนักเรียนผ่านทางแป้นพิมพ์จะปรากฏผลการทางานโปรแกรม
ดังภาพ
ภาพที่ 1.5 ผลการทางานโปรแกรม เมื่อทาการรับชื่อนักเรียนผ่านทางแป้นพิมพ์
22
กกกกกกกจากภาพที่ 1.5 เมื่อทาการรับชื่อนักเรียนผ่านทางแป้นพิมพ์ในที่นี้รับชื่อว่า thanawan
โปรแกรมจะปรากฏคาว่า your name is thanawan ปรากฏทางจอภาพ ตามภาพที่ 1.5 จากนั้น
โปรแกรมจะรอรับการกดปุ่มบนแป้นพิมพ์ปุ่มใดก็ได้ 1 ครั้ง ซึ่งเกิดจากการใช้ฟังก์ชัน getch()
นั่นเอง ทั้งนี้เพราะเมื่อแสดงผลการทางานโปรแกรมเรียบร้อยแล้ว ต้องการให้ผลการทางาน
โปรแกรมปรากฏบนจอภาพ ก่อนที่จะกลับไปยังหน้าจอการเขียนโปรแกรมนั่นเอง
จงรับเลขจานวนเต็ม 2 จานวน ผ่านทางแป้นพิมพ์ จากนั้นทาการหาผลรวม
ของเลขทั้ง 2 จานวน และแสดงผลรวมของเลขทั้ง 2 จานวน ออกทางจอภาพ
1. การกาหนดปัญหา
กกกกกกกสิ่งที่ต้องการแก้ปัญหา คือ ผลรวมของเลขจานวนเต็ม 2 จานวน
2. การออกแบบโปรแกรม ประกอบด้วย
กกกกกกก2.1 การกาหนดข้อมูลนาเข้า ข้อมูลที่ต้องนาเข้าเพื่อให้สามารถแก้ปัญหานี้ได้ คือ
เลขจานวนเต็ม 2 จานวน ได้แก่เลขจานวนเต็มจานวนที่ 1 และเลขจานวนเต็มจานวนที่ 2
กกกกกกก2.2 การกาหนดข้อมูลนาออก ข้อมูลนาออกของปัญหานี้ คือ ผลรวมของเลขจานวนเต็ม 2
จานวนที่แสดงออกทางจอภาพ
กกกกกกก2.3 การเขียนขั้นตอนการประมวลผลข้อมูล หรือขั้นตอนวิธี จากปัญหาที่พบในขั้นตอน
การกาหนดปัญหา สามารถเขียนเป็นขั้นตอนการประมวลผลข้อมูลได้ดังนี้
กกกกกกก 1. เริ่มต้น
กกกกกกก 2. กาหนดให้ตัวแปร sum เก็บผลรวมของเลขจานวนเต็ม 2 จานวน และกาหนดค่า
เริ่มต้นของตัวแปร sum ให้มีค่าเท่ากับ 0
กกกกกกก 3. รับเลขจานวนเต็ม 2 จานวน ผ่านทางแป้ นพิมพ์เก็บไว้ในตัวแปร number1 และ
number2
กกกกกกก 4. คานวณหาผลรวมของค่าตัวแปร number1 และ number2 นาผลลัพธ์ที่ได้เก็บไว้ใน
ตัวแปร sum
กกกกกกก 5. แสดงค่าของตัวแปร sum
กกกกกกก 6. จบการทางาน
ตัวอย่างที่ 1.2
23
กกกกกกก2.4 การเขียนรหัสเทียม จากขั้นตอนการประมวลผลข้อมูล สามารถเขียนเป็นรหัสเทียม
ได้ดังนี้
กกกกกกก 1. begin
กกกกกกก 2. sum  0
กกกกกกก 3. read number1, number2
กกกกกกก 4. sum  number1 + number2
กกกกกกก 5. write sum
กกกกกกก 6. end
กกกกกกก2.5 การเขียนผังงาน จากขั้นตอนการเขียนรหัสเทียม สามารถเขียนเป็นผังงานได้ดังนี้
กกกกกกก
ภาพที่ 1.6 ผังงานการคานวณหาผลรวม และแสดงผลรวมของเลขจานวนเต็ม 2 จานวน
ออกทางจอภาพ
begin
read number1, number2
write sum
end
sum  0
sum  number1 + number2
24
3. การเขียนโปรแกรม
กกกกกกกจากขั้นตอนการเขียนผังงาน หรือการเขียนรหัสเทียม สามารถเขียนเป็นโปรแกรมภาษาซี
ได้ดังนี้
4. การทดสอบโปรแกรม
กกกกกกกจากโปรแกรมที่เขียนขึ้น นาโปรแกรมที่ได้มาทาการประมวลผล และทดสอบการทางาน
ของโปรแกรม จะได้ผลการทางานโปรแกรมดังภาพ
ภาพที่ 1.7 ผลการทางานโปรแกรมรับเลขจานวนเต็ม 2 จานวน ผ่านทางแป้นพิมพ์หาผลรวม
และแสดงผลรวมของเลขทั้ง 2 จานวน ออกทางจอภาพ
1 #includestdio.h
2 #includeconio.h
3 main(){
5 clrscr();
6 int number1, number2, sum = 0;
7 printf(”Enter number1 : ”);
8 scanf(”%d”,number1);
9 printf(”Enter number2 : ”);
10 scanf(”%d”,number2);
11 sum = number1 + number2;
12 printf(”number1 + number2 = %dn”,sum);
13 getch();
14 }
25
กกกกกกกจากภาพที่ 1.7 ผลการทางานโปรแกรม จะเห็นว่าโปรแกรมรับเลขจานวนเต็ม 2 จานวน
ผ่านทางแป้นพิมพ์หาผลรวม และแสดงผลรวมของเลขทั้ง 2 จานวน ออกทางจอภาพ ที่เขียนขึ้น มี
ความถูกต้องและสามารถใช้งานได้
5. การนาโปรแกรมไปใช้งานจริง
กกกกกกกจากการทดสอบโปรแกรม จะเห็นว่าโปรแกรมรับเลขจานวนเต็ม 2 จานวน ผ่านทาง
แป้นพิมพ์หาผลรวม และแสดงผลรวมของเลขทั้ง 2 จานวน ออกทางจอภาพ มีความถูกต้อง
สามารถนาไปใช้งานได้จริง ในขั้นตอนต่อไปคือ นาโปรแกรมที่ผ่านการทดสอบเรียบร้อยแล้ว
ไปใช้กับระบบงานจริง ซึ่งจากตัวอย่างที่ 1.2 จะเห็นว่าโปรแกรมรับเลขจานวนเต็ม 2 จานวน ผ่าน
ทางแป้นพิมพ์หาผลรวม และแสดงผลรวมของเลขทั้ง 2 จานวน ออกทางจอภาพ สามารถนาไป
ใช้งานได้จริง
6. การจัดทาเอกสารประกอบโปรแกรม
กกกกกกก จากตัวอย่างที่ 1.2 สามารถจัดทาเอกสารประกอบการอธิบายการทางานของโปรแกรม
ได้ดังนี้
กกกกกกก ขั้นตอนที่ 1 ทาการสั่งโปรแกรมให้ทางานโดยคลิกคาสั่ง Run หรือกด Ctrl+F9 จะ
ปรากฏผลการทางานโปรแกรม ดังภาพ
ภาพที่ 1.8 ผลการทางานโปรแกรม เพื่อรอการรับเลขจานวนเต็ม จานวนที่ 1 ผ่านทางแป้นพิมพ์
กกกกกกก จากภาพที่ 1.8 เมื่อทาการสั่งโปรแกรมให้ทางาน จะปรากฏคาว่า Enter number1 :
จากนั้นโปรแกรมจะรอรับเลขจานวนเต็ม จานวนที่ 1 ผ่านทางแป้นพิมพ์
26
กกกกกกก ขั้นตอนที่ 2 ทาการรับเลขจานวนเต็ม จานวนที่ 1 ผ่านทางแป้นพิมพ์จะปรากฏผล
การทางานโปรแกรม ดังภาพ
ภาพที่ 1.9 ผลการทางานโปรแกรม เมื่อทาการรับเลขจานวนเต็ม จานวนที่ 1 ผ่านทางแป้ นพิมพ์
กกกกกกกจากภาพที่ 1.9 เมื่อทาการรับเลขจานวนเต็ม จานวนที่ 1 ผ่านทางแป้นพิมพ์ ในที่นี้รับเลข
5 โปรแกรมจะปรากฏคาว่า Enter number2 : ปรากฏทางจอภาพ จากนั้นโปรแกรมจะรอรับเลข
จานวนเต็ม จานวนที่ 2
กกกกกกกขั้นตอนที่ 3 ทาการรับเลขจานวนเต็ม จานวนที่ 2 ผ่านทางแป้นพิมพ์โปรแกรมจะทาการ
หาผลรวมของเลขจานวนเต็ม จานวนที่ 1 และเลขจานวนเต็ม จานวนที่ 2 โดยปรากฏผลการทางาน
โปรแกรม ดังภาพ
ภาพที่ 1.10 ผลการทางานโปรแกรม เมื่อทาการรับเลขจานวนเต็ม จานวนที่ 2 ผ่านทางแป้นพิมพ์
27
กกกกกกกจากภาพที่ 1.10 เมื่อทาการรับเลขจานวนเต็ม จานวนที่ 2 ผ่านทางแป้ นพิมพ์ ในที่นี้รับเลข
9 โปรแกรมจะปรากฏคาว่า number1 + number2 = 14 ปรากฏทางจอภาพ จากนั้นโปรแกรมจะรอ
รับการกดปุ่มบนแป้นพิมพ์ 1 ครั้ง
จงรับเลขจานวนเต็ม 2 จานวน ผ่านทางแป้นพิมพ์ จากนั้นทาการทดสอบค่า
เลขจานวนเต็มทั้งสองจานวน หากจานวนใดมากที่สุด ให้แสดงค่าเลข
จานวนเต็มที่มากที่สุดออกทางจอภาพ
1. การกาหนดปัญหา ประกอบด้วย
กกกกกกกสิ่งที่ต้องการแก้ปัญหา คือ หาค่าที่มากที่สุดของเลขจานวนเต็ม 2 จานวน
2. การออกแบบโปรแกรม
กกกกกกก2.1 การกาหนดข้อมูลนาเข้า ข้อมูลที่ต้องนาเข้าเพื่อให้ได้สิ่งที่ต้องการแก้ปัญหา คือ เลข
จานวนเต็ม 2 จานวน ได้แก่เลขจานวนเต็ม จานวนที่ 1 และเลขจานวนเต็ม จานวนที่ 2
กกกกกกก2.2 การกาหนดข้อมูลนาออก ผลลัพธ์ที่ต้องการคือ หาค่าที่มากที่สุดของเลขจานวนเต็ม 2
จานวน ที่แสดงออกทางจอภาพ
กกกกกกก2.3 การเขียนขั้นตอนการประมวลผลข้อมูล หรือขั้นตอนวิธี จากปัญหาที่พบในขั้นตอน
การกาหนดปัญหา สามารถเขียนเป็นขั้นตอนการประมวลผลข้อมูลได้ดังนี้
กกกกกกก 1. เริ่มต้น
กกกกกกก 2. รับเลขจานวนเต็ม 2 จานวน เก็บไว้ในตัวแปร number1 และ number2
กกกกกกก 3. ทดสอบค่าของตัวแปร number1 ว่ามากกว่าค่าของตัวแปร number2 หรือไม่
3.1 ถ้าใช่ ให้ตัวแปร max เก็บค่าของตัวแปร number1
3.2 มิฉะนั้นแล้ว ให้ตัวแปร max เก็บค่าของตัวแปร number2
กกกกกกก 4. แสดงค่าของตัวแปร max ออกทางจอภาพ
กกกกกกก 5. จบการทางาน
กกกกกกก2.4 การเขียนรหัสเทียม จากขั้นตอนการประมวลผลข้อมูล สามารถเขียนเป็นรหัสเทียม
ได้ดังนี้
กกกกกกก 1. begin
กกกกกกก 2. read number1, number2
กกกกกกก 3. if number1  number2
3.1 max  number1
ตัวอย่างที่ 1.3
28
3.2 else max  number2
กกกกกกก 4. write max
กกกกกกก 5. end
กกกกกกก2.5 การเขียนผังงาน จากขั้นตอนการเขียนรหัสเทียม สามารถเขียนเป็นผังงานได้ดังนี้
กกกกกกก
ภาพที่ 1.11 ผังงานการหาค่าที่มากที่สุดของเลขจานวนเต็ม 2 จานวน ผ่านทางแป้นพิมพ์
และแสดงค่าที่มากที่สุดออกทางจอภาพ
begin
read number1, number2
write max
end
number1  number2
max  number2
max  number1
ไม่ใช่
ใช่
29
3. การเขียนโปรแกรม จากขั้นตอนการเขียนผังงาน หรือการเขียนรหัสเทียม สามารถเขียนเป็น
โปรแกรมภาษาซีได้ดังนี้
1 #includestdio.h
2 #includeconio.h
3 main()
4 {
5 clrscr();
6 int number1, number2, max;
7 printf(”Enter number1 : ”);
8 scanf(”%d”,number1);
9 printf(”Enter number2 : ”);
10 scanf(”%d”,number2);
11 if(number1  number2)
12 max = number1;
13 else
14 max = number2;
15 printf(”maximum number is %dn”,max);
16 getch();
17 }
30
4. การทดสอบโปรแกรม
กกกกกกกจากโปรแกรมที่เขียนขึ้น นาโปรแกรมที่ได้มาประมวลผล และทดสอบการทางานของ
โปรแกรม จะได้ผลการทางานโปรแกรม ดังภาพ
ภาพที่ 1.12 ผลการทางานโปรแกรมการหาค่าที่มากที่สุด ของเลขจานวนเต็ม 2 จานวน
ผ่านทางแป้นพิมพ์และแสดงค่าที่มากที่สุดออกทางจอภาพ
กกกกกกกจากภาพที่ 1.12 ผลการทางานโปรแกรม จะเห็นว่าโปรแกรมรับเลขจานวนเต็ม 2 จานวน
ผ่านทางแป้นพิมพ์หาค่าที่มากที่สุด และแสดงค่าที่มากที่สุดของเลขทั้ง 2 จานวน ออกทางจอภาพ
ที่เขียนขึ้น มีความถูกต้องและสามารถใช้งานได้
5. การนาโปรแกรมไปใช้งานจริง
กกกกกกกจากการทดสอบโปรแกรม จะเห็นว่า โปรแกรมรับเลขจานวนเต็ม 2 จานวน ผ่านทาง
แป้นพิมพ์จากนั้นหาค่าที่มากที่สุด และแสดงค่าที่มากที่สุดของเลขทั้ง 2 จานวน ออกทางจอภาพ
มีความถูกต้อง สามารถนาไปใช้งานได้จริง ในขั้นตอนต่อไปคือ นาโปรแกรมที่ผ่านการทดสอบ
เรียบร้อยแล้ว ไปใช้กับระบบงานจริง ซึ่งจากตัวอย่างที่ 1.3 จะเห็นว่าโปรแกรมรับเลขจานวนเต็ม 2
จานวน ผ่านทางแป้นพิมพ์หาค่าที่มากที่สุด และแสดงค่าที่มากที่สุดของเลขทั้ง 2 จานวนออกทาง
จอภาพ สามารถนาไปใช้งานได้จริง
6. การจัดทาเอกสารประกอบโปรแกรม
กกกกกกก จากตัวอย่างที่ 1.3 สามารถจัดทาเอกสารประกอบการอธิบายการทางานของโปรแกรม
ได้ดังนี้
31
กกกกกกกขั้นตอนที่ 1 ทาการสั่งโปรแกรมให้ทางานโดยคลิกคาสั่ง Run หรือกด Ctrl+F9 จะ
ปรากฏผลการทางานโปรแกรม ดังภาพ
ภาพที่ 1.13 ผลการทางานโปรแกรม เพื่อรอรับเลขจานวนเต็ม จานวนที่ 1 ผ่านทางแป้นพิมพ์
กกกกกกกจากภาพที่ 1.13 เมื่อทาการสั่งโปรแกรมให้ทางาน จะปรากฏคาว่า Enter number1 :
จากนั้นโปรแกรมจะให้รับเลขจานวนเต็ม จานวนที่ 1 ผ่านทางแป้นพิมพ์
กกกกกกกขั้นตอนที่ 2 ทาการรับเลขจานวนเต็ม จานวนที่ 1 ผ่านทางแป้นพิมพ์จะปรากฏผล
การทางานโปรแกรม ดังภาพ
ภาพที่ 1.14 ผลการทางานโปรแกรม เมื่อทาการรับเลขจานวนเต็ม จานวนที่ 1 ผ่านทางแป้นพิมพ์
32
กกกกกกกจากภาพที่ 1.14 เมื่อทาการรับเลขจานวนเต็ม จานวนที่ 1 ผ่านทางแป้นพิมพ์ ในที่นี้รับเลข
9 โปรแกรมจะปรากฏคาว่า Enter number2 : ปรากฏทางจอภาพ จากนั้นโปรแกรมจะรอรับเลข
จานวนเต็ม จานวนที่ 2
กกกกกกกขั้นตอนที่ 3 ทาการรับเลขจานวนเต็ม จานวนที่ 2 ผ่านทางแป้นพิมพ์ในที่นี้รับเลข -5
โปรแกรมจะทาการทดสอบค่าของเลขจานวนเต็ม จานวนที่ 1 คือ 9 และเลขจานวนเต็ม จานวนที่ 2
คือ -5 หากค่าของเลขจานวนใดมากที่สุด จะแสดงค่าของเลขจานวนนั้นออกทางจอภาพ โดยปรากฏ
ผลการทางานโปรแกรม ดังภาพ
ภาพที่ 1.15 ผลการทางานโปรแกรมเพื่อเปรียบเทียบเลขจานวนเต็ม 2 จานวน
และแสดงค่าที่มากที่สุดออกทางจอภาพ
Chapter1
Chapter1
Chapter1
Chapter1
Chapter1
Chapter1
Chapter1
Chapter1
Chapter1

More Related Content

What's hot (8)

Week01
Week01Week01
Week01
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
ความรู้เบื้องต้น3
ความรู้เบื้องต้น3ความรู้เบื้องต้น3
ความรู้เบื้องต้น3
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
computer
computercomputer
computer
 

Similar to Chapter1

คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาJenchoke Tachagomain
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์Sarocha Makranit
 
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศกำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศnottodesu
 
โปรแกรม
โปรแกรมโปรแกรม
โปรแกรมthanapon51105
 
3 software deverlop
3 software deverlop3 software deverlop
3 software deverlopPor Kung
 
รหัสข้อสอบ
รหัสข้อสอบรหัสข้อสอบ
รหัสข้อสอบArunee Chaipichit
 
Dc102 Understanding Digital Media-System Computer
Dc102 Understanding Digital Media-System ComputerDc102 Understanding Digital Media-System Computer
Dc102 Understanding Digital Media-System Computerajpeerawich
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร
โปรแกรมคอมพิวเตอรโปรแกรมคอมพิวเตอร
โปรแกรมคอมพิวเตอรTay Atcharawan
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นjintana2
 
แบบทดสอบ O-net
แบบทดสอบ O-net แบบทดสอบ O-net
แบบทดสอบ O-net Saharat Yimpakdee
 
การวิเคราะห์ปัญหา(080653)
การวิเคราะห์ปัญหา(080653)การวิเคราะห์ปัญหา(080653)
การวิเคราะห์ปัญหา(080653)ธงชัย พาศรี
 
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์iamaomkitt
 

Similar to Chapter1 (20)

คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
 
1
11
1
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศกำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Learnning02
Learnning02Learnning02
Learnning02
 
Answer unit1.1
Answer unit1.1Answer unit1.1
Answer unit1.1
 
โปรแกรม
โปรแกรมโปรแกรม
โปรแกรม
 
3 software deverlop
3 software deverlop3 software deverlop
3 software deverlop
 
รหัสข้อสอบ
รหัสข้อสอบรหัสข้อสอบ
รหัสข้อสอบ
 
Dc102 Understanding Digital Media-System Computer
Dc102 Understanding Digital Media-System ComputerDc102 Understanding Digital Media-System Computer
Dc102 Understanding Digital Media-System Computer
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร
โปรแกรมคอมพิวเตอรโปรแกรมคอมพิวเตอร
โปรแกรมคอมพิวเตอร
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
การเขียนผังงาน (280653)
การเขียนผังงาน (280653)การเขียนผังงาน (280653)
การเขียนผังงาน (280653)
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
แบบทดสอบ O-net
แบบทดสอบ O-net แบบทดสอบ O-net
แบบทดสอบ O-net
 
ใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ การเขียนโปรแกรมใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
 
Chapter2 part1
Chapter2 part1Chapter2 part1
Chapter2 part1
 
การวิเคราะห์ปัญหา(080653)
การวิเคราะห์ปัญหา(080653)การวิเคราะห์ปัญหา(080653)
การวิเคราะห์ปัญหา(080653)
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์
 

Chapter1

  • 1. 1 หน่วยที่ 1 คอมพิวเตอร์ และการพัฒนาโปรแกรม สาระสำคัญ หน่วยที่ 1 คอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม กกกกกกก กกกกกกกปัจจุบันคอมพิวเตอร์นับว่ามีบทบาทสาคัญอย่างยิ่งต่อชีวิตประจาวันของมนุษย์เนื่องจาก คอมพิวเตอร์ได้ถูกนามาใช้ในการปฏิบัติงาน เพื่อผ่อนแรงของมนุษย์ในแทบทุกงาน ไม่ว่าจะเป็น การนาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการประมวลผลข้อมูลเชิงข้อความ ประมวลผลข้อมูลเชิงตัวเลข เป็นต้น โดยในการประมวลผลข้อมูลดังกล่าว จาเป็นจะต้องใช้โปรแกรม (Software) ในการสั่งงานให้ คอมพิวเตอร์ทาการประมวลผล เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามความต้องการของผู้ใช้ กกกกกกกโปรแกรมที่ใช้ในการสั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทาการประมวลผลนั้นมีหลายประเภท แต่ละ ประเภทจะทาหน้าที่แตกต่างกัน สาหรับโปรแกรมที่มีบทบาทสาคัญต่อคอมพิวเตอร์ มี 2 ประเภท คือ โปรแกรมที่ทาหน้าที่ควบคุมอุปกรณ์ต่างๆ เพื่อให้คอมพิวเตอร์มีความพร้อมในการปฏิบัติงาน เรียกว่า โปรแกรมระบบปฏิบัติการ (Operating System : OS) และโปรแกรมที่พัฒนาขึ้น เพื่อใช้งาน ด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะ เรียกว่า โปรแกรมประยุกต์ (Application Software) โดยโปรแกรม เหล่านี้นักเขียนโปรแกรม (Programmer) พัฒนาขึ้นเพื่อใช้ในงานเฉพาะอย่างใดอย่างหนึ่ง กกกกกกกหลักสาคัญประการหนึ่งในการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์คือ การเขียนหลักเกณฑ์ในการ พัฒนาโปรแกรม โดยอาจเขียนคาอธิบายเป็นขั้นตอน จากนั้นนามาเขียนเป็นรหัสเทียม (Pseudo Code) หรือเขียนเป็นผังงาน (Flowchart) เพื่อแสดงให้เห็นถึงกระบวนการทางานของโปรแกรม ก่อนที่จะนาไปเขียนเป็นโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ต่อไป ก1. อธิบายความหมายของคอมพิวเตอร์ได้ กกกกกกก2. อธิบายข้อแตกต่างระหว่างภาษาเครื่องและภาษาระดับสูงได้ กกกกกกก3. อธิบายความหมายของโปรแกรมแปลภาษาคอมพิวเตอร์ได้ 4. บอกข้อแตกต่างระหว่างโปรแกรมแปลภาษาแบบอินเทอร์พรีเตอร์และคอมไพเลอร์ได้ กกกกกกก5. บอกข้อแตกต่างระหว่างโปรแกรมระบบปฏิบัติการและโปรแกรมประยุกต์ได้ กกกกกกก6. เขียนสัญลักษณ์และบอกความหมายของสัญลักษณ์ที่ใช้เขียนผังงานได้ สาระสาคัญ จุดประสงค์การเรียนรู้จุดประสงค์การเรียนรู้
  • 2. 2 กกกกกกก7. อธิบายขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม ได้แก่ การกาหนดปัญหา การออกแบบโปรแกรม กกกกกกกก การเขียนโปรแกรม การทดสอบโปรแกรม การนาโปรแกรมไปใช้งานจริง และการ กกกกกกกก จัดทาเอกสารประกอบโปรแกรมได้ กกกกกกก8. เข้าใจขั้นตอนการออกแบบโปรแกรม ได้แก่ การกาหนดข้อมูลนาเข้า การกาหนด ข้อมูลนาออก การเขียนขั้นตอนการประมวลผลข้อมูล การเขียนรหัสเทียม การเขียน ผังงานได้ กกกกกกต9. เขียนขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม ได้แก่ การกาหนดปัญหา การออกแบบโปรแกรม กกกกกกกกก การเขียนโปรแกรม การทดสอบโปรแกรม การนาโปรแกรมไปใช้งานจริงและการ กกกกกกกกก จัดทาเอกสารประกอบโปรแกรมได้ก กกกกกกก1.1 คอมพิวเตอร์และภาษาคอมพิวเตอร์ กกกกกกก1.1 1.1.1 ความหมายของคอมพิวเตอร์ กกกกกกก1.1 1.1.2 ความหมายและระดับของภาษาคอมพิวเตอร์ กกกกกกก1.2 โปรแกรมแปลภาษาและชนิดของตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ กกกกกกก1.1 1.2.1 ความหมายของโปรแกรมแปลภาษาคอมพิวเตอร์ กกกกกกก1.1 1.2.2 ชนิดของตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ กกกกกกก1.3 โปรแกรมและประเภทของโปรแกรม กกกกกกก1.1 1.3.1 ความหมายของโปรแกรม กกกกกกก1.1 1.3.2 ประเภทของโปรแกรม กกกกกกก1.4 การพัฒนาโปรแกรม เนื้อหาที่เรียน เนื้อหาที่เรียน
  • 3. 3 3 แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยที่ 1 คอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม คาชี้แจง 1. แบบทดสอบเป็นชนิดเลือกตอบ แต่ละข้อมี 5 ตัวเลือก จานวนทั้งหมด 14 ข้อ คะแนนเต็ม 14 คะแนน 2. ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย  เพื่อเลือกคาตอบในช่องคาตอบ ก ข ค ง หรือ จ ที่เห็น ว่าถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว 1. ความหมายของคอมพิวเตอร์ ข้อใดถูกต้องที่สุด ก. อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ชนิดหนึ่ง ข. อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ประมวลผลข้อมูลด้วยความรวดเร็ว ถูกต้องและเชื่อถือได้ ค. อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ทาหน้าที่ประมวลผลประมวลผลข้อมูล ง. อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ประมวลผลข้อมูลด้วยความรวดเร็ว จ. อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถตัดสินใจแทนมนุษย์ได้ 2. โปรแกรมแปลภาษาคอมพิวเตอร์ มีความหมายตรงกับข้อใด ก. โปรแกรมที่ทาการแปลภาษาคอมพิวเตอร์ที่นักเขียนโปรแกรมเขียนขึ้น ให้เป็น ภาษาเครื่อง ข. โปรแกรมที่ทาการแปลภาษาเครื่องให้เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ ค. โปรแกรมที่ทาการแปลภาษาอังกฤษให้เป็นภาษาที่นักเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เข้าใจ ง. โปรแกรมที่ทาการแปลภาษาที่นักเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์เขียนขึ้นให้เป็น ภาษาอังกฤษ จ. โปรแกรมที่ทาการแปลภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาหนึ่ง ให้เป็นภาษาคอมพิวเตอร์อีกภาษา หนึ่ง 3. ภาษาเครื่องและภาษาระดับสูง มีข้อแตกต่างกันอย่างไร ก. ภาษาเครื่องคือภาษาที่นักเขียนโปรแกรมเข้าใจ ส่วนภาษาระดับสูงคือ ภาษาที่คอมพิวเตอร์เข้าใจ ข. ภาษาเครื่องคือภาษาที่คอมพิวเตอร์ไม่สามารถนาไปประมวลผลได้ทันที ส่วนภาษาระดับสูงคือภาษาที่คอมพิวเตอร์สามารถนาไปประมวลผลได้ทันที แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยที่ 1 คอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
  • 4. 4 ค. ภาษาเครื่องคือภาษาที่คอมพิวเตอร์สามารถนาไปประมวลผลได้ทันที ส่วนภาษาระดับสูงคือภาษาที่คอมพิวเตอร์ไม่สามารถนาไปประมวลผลได้ทันที ง. ภาษาเครื่องคือภาษาที่อยู่ในรูปแบบรหัสภาษาอังกฤษที่อ่านเข้าใจง่าย ส่วนภาษา ระดับสูงคือภาษาที่อยู่ในรูปแบบรหัสเลขฐานสอง ประกอบด้วยบิต 0 และบิต 1 จ. ภาษาเครื่องและภาษาระดับสูงไม่แตกต่างกัน 4. โปแกรมระบบปฏิบัติการและโปรแกรมประยุกต์ แตกต่างกันอย่างไร ก. โปรแกรมระบบปฏิบัติการ ทาหน้าที่เฉพาะด้านตามที่นักเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เขียนขึ้น ส่วนโปรแกรมประยุกต์ เป็นโปรแกรมที่ทาหน้าที่ควบคุมโปรแกรม ระบบปฏิบัติการ ข. โปรแกรมประยุกต์ ทาหน้าที่ควบคุมระบบคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่างๆ ส่วน โปรแกรมระบบปฏิบัติการ ทาหน้าที่เฉพาะด้านตามที่นักเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เขียนขึ้น ค. โปรแกรมระบบปฏิบัติการ ทาหน้าที่ควบคุมระบบคอมพิวเตอร์ ส่วนโปรแกรม ประยุกต์ทาหน้าที่เฉพาะด้านตามที่นักเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์เขียนขึ้น ง. โปรแกรมระบบปฏิบัติการ ทาหน้าที่ควบคุมระบบคอมพิวเตอร์ ส่วนโปรแกรม ประยุกต์ทาหน้าที่ควบคุมโปรแกรมระบบปฏิบัติการ จ. โปรแกรมระบบปฏิบัติการ ทาหน้าที่แปลภาษาคอมพิวเตอร์ ส่วนโปรแกรมประยุกต์ ทาหน้าที่เฉพาะด้านตามที่นักเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์เขียนขึ้น 5. โปรแกรมแปลภาษาประเภทอินเทอร์พรีเตอร์และคอมไพเลอร์ แตกต่างกันอย่างไร ก. อินเทอร์พรีเตอร์ แปลภาษาคอมพิวเตอร์ให้เป็นภาษาเครื่อง ส่วนคอมไพเลอร์ แปลภาษาเครื่อง ให้เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ ข. อินเทอร์พรีเตอร์ แปลภาษาเครื่องให้เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ ส่วนคอมไพเลอร์ แปลภาษาคอมพิวเตอร์ ให้เป็นภาษาเครื่อง ค. อินเทอร์พรีเตอร์ แปลภาษาคอมพิวเตอร์ทีละบรรทัด ส่วนคอมไพเลอร์ แปลภาษา คอมพิวเตอร์ทีละโปรแกรม ง. อินเทอร์พรีเตอร์ แปลภาษาคอมพิวเตอร์ทีละโปรแกรม ส่วนคอมไพเลอร์แปลภาษา คอมพิวเตอร์ทีละบรรทัด จ. อินเทอร์พรีเตอร์และคอมไพเลอร์ไม่แตกต่างกัน
  • 5. 5 6. สัญลักษณ์ มีความหมายตรงกับข้อใด ก. ประมวลผลข้อมูล ข. รับข้อมูลโดยไม่ระบุสื่อ ค. รับข้อมูลผ่านทางแป้ นพิมพ์ ง. แสดงผลข้อมูลออกทางจอภาพ จ. กาหนดค่าข้อมูล 7. สัญลักษณ์ มีความหมายตรงกับข้อใด ก. บอกจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดของผังงาน ข. ประมวลผลข้อมูล ค. แสดงผลข้อมูลออกทางจอภาพ ง. รับข้อมูลโดยไม่ระบุสื่อ จ. กาหนดค่าข้อมูล 8. ขั้นตอนการกาหนดปัญหา หมายถึงข้อใด ก. การพิจารณาถึงผลลัพธ์ที่ได้ของปัญหา ข. การกาหนดข้อมูลนาเข้า ค. การเขียนผังงาน ง. การเขียนโปรแกรม จ. การเขียนรหัสเทียม 9. ขั้นตอนแรกของการพัฒนาโปรแกรม คือขั้นตอนใด ก. การกาหนดปัญหา ข. การกาหนดข้อมูลนาเข้า ค. การกาหนดข้อมูลนาออก ง. การประมวลผลข้อมูล จ. การกาหนดผังงาน 10. นักเขียนโปรแกรม จะต้องทราบกระบวนการใด จึงสามารถกาหนดข้อมูลนาเข้าได้ ก. การกาหนดปัญหา ข. การประมวลผลข้อมูล ค. การเขียนผังงาน
  • 6. 6 ง. การกาหนดข้อมูลนาออก จ. การเขียนรหัสเทียม จากปัญหาต่อไปนี้ ให้ตอบคาถามข้อ 11-12 ให้หาค่าเฉลี่ยของเลขจานวนเต็ม 3 จานวน ที่รับผ่านทางแป้ นพิมพ์และแสดงค่าเฉลี่ยออก ทางจอภาพ 11. การกาหนดข้อมูลนาเข้าของปัญหานี้ คือข้อใด ก. ค่าผลรวมของเลขจานวนเต็ม 3 จานวน ข. ค่าของเลขจานวนเต็ม 3 จานวน ที่รับผ่านทางแป้ นพิมพ์ ค. ค่าเฉลี่ยของเลขจานวนเต็ม ที่แสดงออกทางจอภาพ ง. ค่าเฉลี่ยของเลขจานวนเต็ม 3 จานวน ที่แสดงออกทางจอภาพ จ. ค่าเฉลี่ย 12. ผลลัพธ์ที่ต้องการจากปัญหานี้ คือข้อใด ก. ค่าของตัวแปร 3 ตัว ข. ค่าของเลขจานวนเต็ม 3 จานวน ที่รับผ่านทางแป้ นพิมพ์ ค. ค่าเฉลี่ยของเลขจานวนเต็ม 3 จานวน ง. ค่าเฉลี่ยของเลขจานวนเต็ม 3 จานวน ที่แสดงออกทางจอภาพ จ. ค่าเฉลี่ย จากรหัสเทียมต่อไปนี้ จงตอบคาถามข้อ 13-14 1. begin 2. read base, high 3. area  0.5 * base * high 4. write area 5. end
  • 7. 7 13. จากขั้นตอนในบรรทัดที่ 2 ของรหัสเทียม 2. read base, high ขั้นตอนนี้ หมายความว่าอย่างไร ก. รับค่าของ base และ high เพื่อกาหนดเป็นข้อมูลนาเข้า ข. แสดงค่าของ base และ high เพื่อกาหนดเป็นข้อมูลนาออก ค. ประมวลผลค่าของ base และ high ง. กาหนดค่าเริ่มต้นให้กับ base และ high จ. แสดงค่าของ base และ high เพื่อกาหนดเป็นข้อมูลนาเข้า 14. รหัสเทียมข้างต้น ใช้หาค่าของอะไร ก. พื้นที่สี่เหลี่ยม ข. พื้นที่สามเหลี่ยม ค. พื้นที่วงกลม ง. พื้นที่สี่เหลี่ยมคางหมู จ. พื้นที่สี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน
  • 8. 8 กกกกกก ในการประมวลผลข้อมูลของคอมพิวเตอร์นั้น จาเป็นจะต้องอาศัยโปรแกรมเพื่อสั่งงาน ให้คอมพิวเตอร์ทาการประมวลผล โดยโปรแกรมดังกล่าว อาจจะเป็นโปรแกรมสาเร็จรูป หรือ โปรแกรมที่นักเขียนโปรแกรมพัฒนาขึ้น โดยใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่ง ที่นักเขียน โปรแกรมมีความถนัด ซึ่งในหน่วยการเรียนนี้ ได้กล่าวถึง คอมพิวเตอร์และภาษาคอมพิวเตอร์ โปรแกรมแปลภาษาและชนิดของตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ โปรแกรมและประเภทของโปรแกรม และการพัฒนาโปรแกรม ตามลาดับ 1.1 คอมพิวเตอร์และภาษาคอมพิวเตอร์ 1.1.1 ความหมายของคอมพิวเตอร์ กกกกกก คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่สาคัญในปัจจุบัน ที่ใช้ในการประมวลผลข้อมูล ของมนุษย์เพื่อให้สาเร็จด้วยความรวดเร็ว และถูกต้อง นักวิชาการหลายท่าน ได้ให้คาจากัดความ ของคอมพิวเตอร์ไว้ดังนี้ กกกกกก ภาสกร เรืองรอง (2550 : ออนไลน์) ให้คาจากัดความของคอมพิวเตอร์ไว้ดังนี้ คอมพิวเตอร์ หมายถึง เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ ทาหน้าที่เหมือนสมองกล ใช้สาหรับ แก้ปัญหาต่างๆ ที่ง่ายและซับซ้อนโดยวิธีทางคณิตศาสตร์ กกกกกกกธีรวัฒน์ ประกอบผล (2550 : 2) ให้คาจากัดความของคอมพิวเตอร์ไว้ดังนี้ เครื่อง คอมพิวเตอร์ เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อย่างหนึ่ง โดยการให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางาน จะต้อง ป้ อนคาสั่งให้กับมันและต้องเป็นคาสั่งที่เครื่องคอมพิวเตอร์เข้าใจ การนาคาสั่งมาเรียงต่อกันให้ ทางานอย่างใดอย่างหนึ่งเรียกว่า โปรแกรม กกกกกกกจากคาจากัดความของความหมายของคอมพิวเตอร์ ที่นักวิชาการได้ให้ไว้สรุปได้ว่า คอมพิวเตอร์ หมายถึง อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่มนุษย์ประดิษฐ์ขึ้น เพื่อสั่งให้ทางานตามคาสั่งของ มนุษย์ใช้สาหรับแก้ปัญหาต่างๆ ที่ง่ายและซับซ้อนให้สาเร็จด้วยความรวดเร็ว และถูกต้อง ในการ สั่งการให้คอมพิวเตอร์ทางาน จะต้องอาศัยคาสั่งเพื่อนาไปประมวลผล โดยคาสั่งเหล่านั้นเรียกว่า โปรแกรม 1.1.2 ความหมายและระดับของภาษาคอมพิวเตอร์ 1.1.2.1 ความหมายของภาษาคอมพิวเตอร์ กกกกกก ในการประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์นั้น คอมพิวเตอร์จะทาการประมวลผล ข้อมูลด้วยตัวมันเองไม่ได้หากปราศจากโปรแกรมเพื่อสั่งงานให้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติงาน โดย โปรแกรมเหล่านั้นอาจจะพัฒนาขึ้นเองหรือเป็นโปรแกรมสาเร็จรูปที่มีขายทั่วไป ขึ้นอยู่กับความ กกกกกก ในการประมวลผลข้อมูลของคอมพิวเตอร์นั้น จาเป็ป็ปนจะต้องอาศัยโปรแกรมเพื่อสั่งงาน หน่วยที่ 1 คอมพิวเตอร์ และการพัฒนาโปรแกรม
  • 9. ต้องการของผู้ใช้งาน โดยโปรแกรมที่ใช้สั่งการให้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติงานนั้น คือ ภาษาคอมพิวเตอร์ นั่นเอง นักวิชาการหลายท่าน ได้ให้คาจากัดความของภาษาคอมพิวเตอร์ไว้ดังนี้ กกกกกก เอกราช ธรรมษา (ม.ป.ป. : ออนไลน์) ได้ให้คาจากัดความของภาษาคอมพิวเตอร์ ไว้ดังนี้ ภาษาคอมพิวเตอร์ หมายถึง สัญลักษณ์ที่คิดค้นขึ้นมาเพื่อใช้แทนคาสั่ง ในการสั่งงาน ระหว่างมนุษย์กับตัวเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงอื่นๆ กกกกกก สมชาย ทยานยง และคณะ (ม.ป.ป. : ออนไลน์) ได้ให้คาจากัดความของภาษา คอมพิวเตอร์ไว้ดังนี้ ภาษาคอมพิวเตอร์ หมายถึง ภาษาที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์หรือใช้เพื่อสื่อสาร ให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ และสามารถปฏิบัติตามคาสั่งได้ กกกกกก จากคาจากัดความของความหมายของภาษาคอมพิวเตอร์ ที่นักวิชาการได้ให้ไว้ สรุปได้ว่าภาษาคอมพิวเตอร์ หมายถึง ภาษาที่คิดค้นขึ้นมาเพื่อใช้แทนคาสั่งของมนุษย์ในการ ติดต่อสื่อสาร และสั่งการให้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติงาน 1.1.2.2 ระดับของภาษาคอมพิวเตอร์ กกกกกก ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้สั่งการให้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติงานนั้น แบ่งได้ดังนี้ กกกกกก โครงการสารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน (2551 : ออนไลน์) ได้แบ่งภาษา คอมพิวเตอร์ ออกเป็น 2 ระดับ ดังนี้ กกกกกก 1) ภาษาระดับต่า (Low Level Language) คือ ภาษาที่เขียนตามลักษณะการทางาน ของเครื่อง ผู้ที่ใช้ภาษาเหล่านี้จาเป็นต้องเข้าใจการทางานของเครื่องเป็นอย่างดี ตัวอย่างของภาษา ระดับต่า ได้แก่ ภาษาเครื่อง ภาษาแอสเซมบลี และภาษามาโครแอสเซมบลี (Macro Assembler) กกกกกก 2) ภาษาระดับสูง (High Level Language) คือ ภาษาที่เข้าใกล้ลักษณะภาษาที่ มนุษย์ใช้ (Human Oriented Language) มีลักษณะเป็นคาพูด หรือเป็นสมการในการคานวณแบบ เดียวกับที่ใช้ในวิชาพีชคณิต หรือตรีโกณมิติ เช่น ภาษาซี ภาษาวีบี ภาษาเพิร์ล ภาษาอาร์พีจี เป็นต้น กกกกกก อัญชลี สุทธิสว่าง (ม.ป.ป. : ออนไลน์) ได้แบ่งภาษาคอมพิวเตอร์ออกเป็น 2 ระดับ ดังนี้ กกกกกก 1) ภาษาระดับต่า (Low Level Language) คือ ภาษาที่ใช้ในยุคแรกๆ จะมีความ ยุ่งยากในการเขียนโปรแกรม กกกกกก 2) ภาษาระดับสูง (High Level Language) คือ ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ได้รับการ พัฒนาให้สามารถใช้งานง่ายและมีความสะดวก การเขียนภาษาไม่ขึ้นกับฮาร์ดแวร์หรือลักษณะ การทางานภายในของเครื่อง ผู้เขียนโปรแกรมไม่จาเป็นต้องเข้าใจระบบการทางานภายในเครื่อง เพียงแต่เข้าใจกฎเกณฑ์ในการเขียนแต่ละภาษาให้ดี ซึ่งลักษณะคาสั่งจะคล้ายกับภาษาอังกฤษ ทาให้
  • 10. 10 ภาษาระดับสูงเป็นที่นิยมใช้กันแพร่หลายในปัจจุบัน กกกกกก จากคาจากัดความของระดับของภาษาคอมพิวเตอร์ ที่นักวิชาการได้ให้ไว้สรุปได้ ว่า ภาษาคอมพิวเตอร์ แบ่งได้เป็น 2 ระดับ คือ ภาษาระดับต่าและภาษาระดับสูง โดยภาษาระดับต่า คือ ภาษาที่มีลักษณะใกล้เคียงกับภาษาเครื่อง ผู้เขียนโปรแกรมต้องเข้าใจการทางานของเครื่อง คอมพิวเตอร์เป็นอย่างดี จึงจะสามารถเขียนคาสั่งได้ตัวอย่างของภาษาระดับต่า ได้แก่ ภาษาเครื่อง และภาษาแอสเซมบลี ส่วนภาษาระดับสูง คือ ภาษาที่มีลักษณะใกล้เคียงกับภาษามนุษย์การเขียน คาสั่งจะคล้ายกับภาษาอังกฤษ สามารถทาความเข้าใจได้ง่าย ตัวอย่างของภาษาระดับสูง ได้แก่ ภาษา เบสิก ภาษาพีเอชพี ภาษาจาวา ภาษาซี เป็นต้น กกกกกก ภาษาระดับสูง เป็นภาษาที่ได้รับความนิยมในการเขียนโปรแกรมอย่างแพร่หลาย ในปัจจุบัน เกิดจากการนารหัสคาสั่งหลายๆ คาสั่ง มาเขียนรวมเข้าด้วยกันเป็นชุดคาสั่ง ซึ่งเรียกว่า โปรแกรม โดยโปรแกรมที่ได้จะไม่สามารถสั่งให้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติงานได้ทันที คอมพิวเตอร์ จะต้องทาการแปลโปรแกรมเหล่านั้นให้เป็นภาษาเครื่องเสียก่อน จึงจะสามารถปฏิบัติงานตามคาสั่ง ได้นักวิชาการหลายท่าน ได้ให้ความหมายของภาษาเครื่องไว้ดังนี้ กกกกกก ธีรวัฒน์ ประกอบผล (2550 : 2) ได้ให้คาจากัดความของภาษาเครื่อง (Machine Language) ไว้ดังนี้ ภาษาเครื่องเป็นรหัสเลขฐานสอง เมื่อมีการป้อนภาษาคอมพิวเตอร์เข้าไปใน เครื่องคอมพิวเตอร์ รหัสเลขฐานสองจะถูกเปลี่ยนเป็นสัญญาณทางไฟฟ้าที่คอมพิวเตอร์เข้าใจ กกกกกก เอกราช ธรรมษา (ม.ป.ป. : ออนไลน์) ได้ให้คาจากัดความของภาษาเครื่อง (Machine Language) ไว้ดังนี้ ภาษาเครื่องเป็นภาษาที่เครื่องคอมพิวเตอร์สั่งงาน กาหนดเป็นชุดของ เลขฐานสอง คือมีเฉพาะเลข 0 และเลข 1 เท่านั้น เป็นภาษาที่ขึ้นอยู่กับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้งาน กกกกกก จากคาจากัดความของภาษาเครื่อง ที่นักวิชาการได้ให้ไว้สรุปได้ว่า ภาษาเครื่อง คือ ภาษาที่มีคาสั่งอยู่ในรูปรหัสเลขฐานสอง ซึ่งประกอบด้วยเลข 0 และเลข 1 ผู้เขียนโปรแกรม จะต้องเข้าใจการทางานของเครื่องเป็นอย่างดี จึงจะสามารถเขียนโปรแกรมสั่งงานด้วยภาษาเครื่อง ได้ กกกกกก ภาษาซีจัดเป็นภาษาระดับสูง ซึ่งเป็นภาษาที่ได้รับความนิยมในการนามาฝึกเขียน โปรแกรม เนื่องจากเป็นภาษาที่มีโครงสร้างการทางานที่ง่ายต่อการทาความเข้าใจ และภาษาซีมี ลักษณะการทางานคล้ายกับภาษาระดับต่า (Low Level Language) ซึ่งภาษาระดับต่า มีลักษณะ ใกล้เคียงกับภาษาเครื่อง ดังนั้น ภาษาซีจึงเป็นภาษาที่คอมพิวเตอร์เข้าใจง่ายและประมวลผลคาสั่งได้ อย่างรวดเร็ว
  • 11. 11 1.2 โปรแกรมแปลภาษาและชนิดของตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ 1.2.1 ความหมายของโปรแกรมแปลภาษาคอมพิวเตอร์ กกกกกก จรินทร์ ธงงาม และคณะ (ม.ป.ป. : ออนไลน์) ได้ให้คาจากัดความของโปรแกรมแปล ภาษาคอมพิวเตอร์ไว้ดังนี้ โปรแกรมแปลภาษาคอมพิวเตอร์ หมายถึง โปรแกรมที่ทาหน้าที่แปล ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาต่างๆ ให้เป็นภาษาเครื่อง กกกกกก คมกริช บุตรอุดม และคณะ (ม.ป.ป. : ออนไลน์) ได้ให้คาจากัดความของโปรแกรมแปล ภาษาคอมพิวเตอร์ไว้ดังนี้ โปรแกรมแปลภาษาคอมพิวเตอร์ หมายถึง โปรแกรมที่ทาหน้าที่แปล ภาษาระดับสูงที่เป็นโปรแกรมต้นฉบับ ให้อยู่ในรูปของโปรแกรมเรียกใช้งานที่เครื่องคอมพิวเตอร์ เข้าใจและสามารถทางานได้ กกกกกก จากคาจากัดความของโปรแกรมแปลภาษาคอมพิวเตอร์ ที่นักวิชาการได้ให้ไว้สรุปได้ว่า โปรแกรมแปลภาษาคอมพิวเตอร์ คือ โปรแกรมที่ทาหน้าที่แปลภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูง ที่มนุษย์ เขียนขึ้น ให้เป็นภาษาเครื่องที่คอมพิวเตอร์สามารถนาไปประมวลผลได้ กกกกกก การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ด้วยภาษาระดับสูงนั้น จะไม่สามารถสั่งให้คอมพิวเตอร์ ทางานได้ตราบใดที่ยังไม่มีการแปลภาษาระดับสูงเหล่านั้นให้เป็นภาษาเครื่อง ในการแปลภาษา ระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่องนั้น จาเป็นต้องใช้ตัวแปลภาษา ซึ่งตัวแปลภาษาแต่ละตัว จะมีลักษณะ แตกต่างกันไป 1.2.2 ชนิดของตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ กกกกกก ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ ทาหน้าที่แปลภาษาระดับสูง ให้เป็นภาษาเครื่อง มีอยู่ 2 ชนิด คือ อินเทอร์พรีเตอร์ (Interpreter) และคอมไพเลอร์ (Compiler) โดยนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ได้ให้ ความหมายของตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์แต่ละชนิดไว้ดังนี้ กกกกกก สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ม.ป.ป. : ออนไลน์) ได้ให้คาจากัด ความของอินเทอร์พรีเตอร์ (Interpreter) ไว้ดังนี้ อินเทอร์พรีเตอร์ คือ ตัวแปลภาษา ที่จะทาการแปล ภาษาระดับสูงทีละคาสั่ง แล้วให้คอมพิวเตอร์ทาตามคาสั่งนั้น เมื่อทาคาสั่งนั้นเรียบร้อยแล้ว จึงจะ ทาการแปลคาสั่งลาดับต่อไป ส่วนคอมไพเลอร์ (Compiler) คือ ตัวแปลภาษา ที่จะทาการแปลภาษา ระดับสูงทั้งโปรแกรมให้เป็นภาษาเครื่อง แล้วจึงให้คอมพิวเตอร์ทางานตามภาษาเครื่องนั้น กกกกกก จรินทร์ ธงงาม (ม.ป.ป. : ออนไลน์) ได้ให้คาจากัดความของอินเทอร์พรีเตอร์ (Interpreter) ไว้ดังนี้ อินเทอร์พรีเตอร์ คือ ตัวแปลภาษาระดับสูงซึ่งเป็นภาษาที่ใกล้เคียงกับภาษา มนุษย์ให้เป็นภาษาเครื่อง โดยใช้หลักการแปลพร้อมกับงานตามคาสั่งทีละบรรทัดตลอดทั้ง โปรแกรม ทาให้การแก้ไขโปรแกรมทาได้ง่ายและรวดเร็ว รหัสภาษาเครื่อง (Object Code) ที่ได้จาก
  • 12. 12 การแปลโดยใช้อินเทอร์พรีเตอร์ ไม่สามารถนามาใช้งานได้จะต้องทาการแปลโปรแกรมใหม่ ทุกครั้งที่ต้องการใช้งาน ส่วนคอมไพเลอร์ (Compiler) นั้น จะเป็นตัวแปลภาษาระดับสูง เช่นเดียวกับอินเทอร์พรีเตอร์ แต่จะใช้วิธีแปลโปรแกรมทั้งโปรแกรม รหัสภาษาเครื่องที่ได้จากการ แปลนั้นสามารถจัดเก็บไว้เป็นแฟ้มข้อมูลได้ซึ่งเป็นข้อดีของคอมไพเลอร์ ที่จะนาผลที่ได้จากการ แปลนั้นไปใช้งานในครั้งต่อไป โดยไม่ต้องทาการแปลใหม่ ทาให้การแปลด้วยคอมไพเลอร์ เป็น รูปแบบการแปลที่ได้รับความนิยมมาก กกกกกก จากคาจากัดความของชนิดของตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ ที่นักวิชาการได้ให้ไว้สรุปได้ว่า อินเทอร์พรีเตอร์ เป็นตัวแปลภาษาระดับสูงที่แปลทีละคาสั่ง ตัวแปลภาษาระดับสูงชนิดนี้ หากแปล แล้วพบข้อผิดพลาดของคาสั่ง จะหยุดการทางานทันที จนกว่านักเขียนโปรแกรมจะแก้ไข ข้อผิดพลาด จึงจะทาการแปลคาสั่งต่อไป ส่วนคอมไพเลอร์ เป็นตัวแปลภาษาระดับสูงที่แปลทีละ โปรแกรม และแปลให้เป็นรหัสภาษาเครื่อง หากพบข้อผิดพลาดก็จะแสดงข้อผิดพลาดออกมา ทาให้โปรแกรมทางานได้เร็ว รหัสภาษาเครื่องที่ได้สามารถนาไปใช้งานในครั้งต่อไป โดยไม่ต้อง ทาการแปลโปรแกรมใหม่ ทาให้การแปลด้วยคอมไพเลอร์ มีความรวดเร็วกว่าการแปลด้วย อินเทอร์พรีเตอร์ 1.3 โปรแกรมและประเภทของโปรแกรม 1.3.1 ความหมายของโปรแกรม กกกกกก ธีรวัฒน์ ประกอบผล (2550 : 2) ได้ให้คาจากัดความของโปรแกรมไว้ดังนี้ โปรแกรม หมายถึง การนาคาสั่งมาเรียงต่อกันให้ทางานอย่างใดอย่างหนึ่ง เมื่อโปรแกรมถูกป้อนเข้าไปใน เครื่องคอมพิวเตอร์ ตัวเครื่องจะทางานทีละคาสั่ง สาหรับการใช้คาสั่งเพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทางาน นั้น จะต้องใช้ภาษาที่คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ภาษาที่คอมพิวเตอร์เข้าใจเรียกว่า ภาษาเครื่อง (Machine Language) กกกกกก ลักษณา วาทิน (2555 : ออนไลน์) ได้ให้คาจากัดความของโปรแกรมไว้ดังนี้ โปรแกรม หมายถึง คาสั่งหรือชุดคาสั่ง ที่เขียนขึ้นมาเพื่อสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางานตามต้องการ ซึ่งต้อง สั่งเป็นขั้นตอน และแต่ละขั้นตอนต้องทาอย่างละเอียดและครบถ้วน กกกกกก จากคาจากัดความของความหมายของโปรแกรม ที่นักวิชาการได้ให้ไว้สรุปได้ว่า โปรแกรม หมายถึง การนาคาสั่งในภาษาคอมพิวเตอร์ มาเรียงต่อกันเป็นชุดคาสั่ง เพื่อสั่งให้ คอมพิวเตอร์ทางานอย่างใดอย่างหนึ่ง โดยคาสั่งจะต้องเขียนเป็นลาดับขั้นตอนอย่างละเอียดและ ถูกต้อง เมื่อนาชุดคาสั่งไปสั่งให้คอมพิวเตอร์ทางาน จะทาให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ผู้เขียนโปรแกรม ต้องการ
  • 13. 13 1.3.2 ประเภทของโปรแกรม กกกกกกกมธุรส จงชัยกิจ (ม.ป.ป. : ออนไลน์) ได้จาแนกประเภทของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ได้ 2 ประเภท ดังนี้ กกกกกกก1. โปรแกรมระบบ (System Software) โดยโปรแกรมระบบ หมายถึง โปรแกรมสั่งงาน ระบบหรือยูทิลิตีซอฟต์แวร์ (System Utilities) เป็นโปรแกรมซึ่งเขียนขึ้นเพื่อช่วยทาให้การสั่งงาน เครื่องคอมพิวเตอร์ ทาได้รวดเร็ว ง่ายและมีประสิทธิภาพ ชนิดของโปรแกรมสั่งงานระบบที่ใช้กับ เครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง จะแตกต่างกันไปตามขนาด และชนิดของคอมพิวเตอร์ กกกกกกก2. โปรแกรมประยุกต์(Application Software) หมายถึง โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ผู้เขียน โปรแกรมเขียนขึ้นด้วยภาษาโปรแกรมต่างๆ หรือเขียนขึ้นโดยอาศัยโปรแกรมระบบที่เป็นพื้นฐาน เพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางานตามต้องการ เช่น โปรแกรมสาหรับจัดการฐานข้อมูล (Database Management) โปรแกรมควบคุมสินค้าคงคลัง (Inventory Control) โปรแกรมจัดทาบัญชีเงินเดือน (Payroll) โปรแกรมจัดพิมพ์รายงาน หรือจดหมาย (Word Processing) หรือแม้แต่โปรแกรมสาหรับ เล่นเกมคอมพิวเตอร์ต่างๆ (Computer Games) เป็นต้น ซอฟต์แวร์ประยุกต์อาจเขียนขึ้นโดยผู้ใช้ เครื่องคอมพิวเตอร์เอง หรือผู้ใช้เครื่องอาจจะหาซื้อจากบริษัทผู้ผลิตซอฟต์แวร์ก็ได้ กกกกกกกคมกริช บุตรอุดม และคณะ (ม.ป.ป. : ออนไลน์) ได้จาแนกประเภทของโปรแกรมได้ 2 ประเภทใหญ่ๆ ดังนี้ กกกกกกก1. โปรแกรมระบบ (System Software) หมายถึง โปรแกรมที่มีหน้าที่ควบคุมการทางาน ของฮาร์ดแวร์ทุกอย่างและอานวยความสะดวกให้กับผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ กกกกกกก2. โปรแกรมประยุกต์(Application Software) หมายถึง โปรแกรมที่ผู้ใช้คอมพิวเตอร์เป็น ผู้เขียนขึ้นมาใช้งานเอง เพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทางานอย่างใดอย่างหนึ่งตามที่ต้องการ กกกกกกกจากคาจากัดความของประเภทของโปรแกรม ที่นักวิชาการได้ให้ไว้สรุปได้ว่า โปรแกรม แบ่งเป็น 2 ประเภท คือโปรแกรมระบบปฏิบัติการ หมายถึง โปรแกรมที่ใช้ในการควบคุมการ ทางานของอุปกรณ์ต่างๆ ในระบบคอมพิวเตอร์ ทาให้ผู้ใช้สามารถใช้งานคอมพิวเตอร์ได้หากไม่มี โปรแกรมชนิดนี้ จะไม่สามารถติดต่อกับอุปกรณ์ต่างๆ ของคอมพิวเตอร์ได้ ตัวอย่างของโปรแกรม ระบบปฏิบัติการ ได้แก่ Unix, Linux, Microsoft Windows เป็นต้น และโปรแกรมประยุกต์ หมายถึง โปรแกรมที่นักเขียนโปรแกรมพัฒนาขึ้น เพื่อใช้งานด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง หรือพัฒนาขึ้นเพื่อใช้งาน ในด้านนั้นโดยเฉพาะ กกกกกกกโปรแกรมประยุกต์ส่วนใหญ่จะพัฒนาด้วยภาษาระดับสูง ทาให้ง่ายต่อการทาความเข้าใจ ตัวอย่างของโปรแกรมประยุกต์ ได้แก่ โปรแกรมระบบบัญชี โปรแกรมระบบงานโรงพยาบาล โปรแกรมระบบสินค้าคงคลัง โปรแกรมระบบงานคลินิก โปรแกรมระบบงานสารบรรณ โปรแกรม
  • 14. 14 ระบบงานพัสดุ โปรแกรมระบบการจองห้องพักโรงแรม และโปรแกรมระบบจองตั๋วภาพยนตร์ เป็นต้น 1.4 การพัฒนาโปรแกรม กกกกกกกในการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์มีกระบวนการที่สาคัญเพื่อให้ได้โปรแกรมที่มีคุณภาพ มีความถูกต้องและเหมาะสมกับระบบงาน ซึ่งกระบวนการพัฒนาโปรแกรมดังกล่าวมี 6 ขั้นตอน ดังนี้ กกกกกกก1. การกาหนดปัญหา กกกกกกก2. การออกแบบโปรแกรม กกกกกกก3. การเขียนโปรแกรม กกกกกกก4. การทดสอบโปรแกรม กกกกกกก5. การนาโปรแกรมไปใช้งานจริง กกก 6. การจัดทาเอกสารประกอบโปรแกรม ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ทั้ง 6 ขั้นตอน เขียนเป็นผังงานได้ดังนี้ การกาหนดปัญหา การออกแบบโปรแกรม การเขียนโปรแกรม เริ่มต้น A
  • 15. 15 ภาพที่ 1.1 ผังงานแสดงขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ กกกกกกก1. การกาหนดปัญหา กกกกกกก เป็นขั้นตอนในการวิเคราะห์หาผลลัพธ์ของปัญหา ได้แก่ ปัญหาที่ให้มาต้องการอะไร มีรูปแบบการแสดงผลอย่างไร จะต้องใช้ข้อมูลอะไรบ้าง มีขั้นตอนในการประมวลผลอย่างไร จึงจะ ทาให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ ซึ่งจะส่งผลให้การวิเคราะห์ปัญหานั้นมีความถูกต้อง กกกกกกก2. การออกแบบโปรแกรม กกกกกกก เป็นขั้นตอนในการกาหนดวิธีการแก้ไขปัญหาในแต่ละขั้นตอน ซึ่งได้แก่ การกาหนด ข้อมูลนาเข้า การกาหนดข้อมูลนาออก การออกแบบขั้นตอนการประมวลผลข้อมูล การออกแบบ รหัสเทียม และการออกแบบผังงาน ทั้งนี้เพื่อให้ง่ายต่อการนาไปเขียนโปรแกรมในแต่ละภาษา โดย รหัสเทียมนิยมเขียนในรูปภาษาอังกฤษ ซึ่งสามารถนารหัสเทียมที่ได้มาเขียนเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาใดก็ได้ในขั้นตอนการออกแบบโปรแกรม ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน ได้แก่ การกาหนดข้อมูล นาเข้า การกาหนดข้อมูลนาออก การเขียนขั้นตอนการประมวลผลข้อมูล การเขียนรหัสเทียม และ การเขียนผังงาน กกกกกกก 2.1 การกาหนดข้อมูลนาเข้า เป็นกระบวนการในการพิจารณาว่าปัญหานั้น จะต้องนา ข้อมูลอะไรเข้าสู่คอมพิวเตอร์ จึงจะได้ผลลัพธ์ตามต้องการ และข้อมูลนาเข้ามีชนิดเป็นแบบใด ซึ่ง จะต้องให้มีชนิดของข้อมูลสอดคล้องกับผลลัพธ์ที่ได้ การนาโปรแกรมไปใช้งานจริง การจัดทาเอกสารประกอบโปรแกรม จบการทางาน A การทดสอบโปรแกรม
  • 16. 16 2.2 การกาหนดข้อมูลนาออก เป็นกระบวนการในการพิจารณาถึงผลลัพธ์ที่ได้ของ ปัญหา เช่น ปัญหานั้นต้องการอะไร มีรูปแบบการแสดงผลอย่างไร โดยหากทราบข้อมูลนาออก จะทาให้สามารถทราบข้อมูลที่จะนาเข้าสู่คอมพิวเตอร์ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ 2.3 การเขียนขั้นตอนการประมวลผลข้อมูลหรือขั้นตอนวิธี เป็นกระบวนการในการ เขียนขั้นตอนการประมวลผลข้อมูลทีละขั้นตอนของโปรแกรม โดยเรียงลาดับการประมวลผล ข้อมูลตั้งแต่ขั้นตอนแรกจนถึงขั้นตอนสุดท้าย การเขียนกระบวนการดังกล่าวมักจะเขียนด้วยภาษา ที่เข้าใจง่าย 2.4 การเขียนรหัสเทียม เป็นกระบวนการในการปรับเปลี่ยนขั้นตอนการประมวลผล ข้อมูลในรูปความเรียง ให้เป็นภาษาอังกฤษ ที่มีรูปแบบกะทัดรัด และเข้าใจง่าย เรียกว่า รหัสเทียม ซึ่งรหัสเทียมดังกล่าว พร้อมที่จะนามาแปลงเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดก็ได้ขึ้นอยู่กับความถนัด ของนักเขียนโปรแกรม 2.5 การเขียนผังงาน เป็นกระบวนการในการปรับเปลี่ยนขั้นตอนการประมวลผล ข้อมูล หรือรหัสเทียมให้เป็นรูปภาพสัญลักษณ์ที่สื่อความหมาย โดยปกติมนุษย์มักจะทาความเข้าใจ รูปภาพได้ดีกว่าข้อความ ด้วยหลักการนี้ จึงมีการนาสัญลักษณ์ที่เป็นรูปภาพ มาแทนกระบวนการ หรือคาสั่งต่างๆ เพื่อให้ง่ายต่อการทาความเข้าใจ วัชราภรณ์ สุริยาภิวัฒน์ (2553 : 246-249) ได้แสดงสัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงาน ประกอบด้วยสัญลักษณ์ที่สาคัญๆ ดังต่อไปนี้ การกาหนดจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดของผังงาน การรับและแสดงค่าข้อมูล โดยไม่ระบุสื่อ การประมวลผลข้อมูล การรับข้อมูลผ่านทางแป้นพิมพ์ การแสดงผลข้อมูลออกทางจอภาพ การแสดงผลข้อมูลออกทางเครื่องพิมพ์
  • 17. 17 การเรียกใช้โปรแกรมย่อย การทดสอบเงื่อนไข จุดเชื่อมต่อผังงานภายในหน้ากระดาษเดียวกัน แสดงทิศทางเดินของข้อมูล จุดเชื่อมต่อผังงานคนละหน้ากระดาษ สื่อบันทึกข้อมูล กกกกกกก3. การเขียนโปรแกรม กกกกกกก หลังจากทาการออกแบบการแก้ไขปัญหาแล้ว ขั้นตอนต่อไปคือ การเขียนโปรแกรม ซึ่งมักจะเขียนโปรแกรมด้วยภาษาระดับสูงภาษาใดภาษาหนึ่ง ขึ้นอยู่กับความถนัดของนักเขียน โปรแกรม ในการเขียนโปรแกรมมักจะนารหัสเทียมหรือผังงานมาเป็นต้นแบบในการเขียน และ แบ่งระบบงานทั้งระบบออกเป็นระบบงานย่อย ทั้งนี้เพื่อให้ง่ายต่อการเขียน การทดสอบ และการ แก้ไขโปรแกรม หากเกิดข้อผิดพลาดขึ้น กกกกกกก4. การทดสอบโปรแกรม กกกกกกก เมื่อทาการเขียนโปรแกรมเรียบร้อยแล้ว จะต้องทาการทดสอบโปรแกรม โดยจะทา การทดสอบจากโปรแกรมย่อย ที่ทาการเขียนโปรแกรมเรียบร้อยแล้ว จนครบทุกโปรแกรมย่อย เมื่อทาการทดสอบโปรแกรมย่อยเรียบร้อยแล้ว ขั้นตอนต่อไปจะต้องนาโปรแกรมย่อยที่ผ่านการ ทดสอบเรียบร้อยแล้ว มาทาการเชื่อมต่อให้เป็นระบบงานรวม และทาการทดสอบระบบงานรวม อีกครั้ง เพื่อแก้ไขข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้น ก่อนนาโปรแกรมไปใช้กับระบบงานจริง ในขั้นตอนนี้มักจะ นาโปรแกรมที่เขียนขึ้น มาทาการทดสอบคู่ขนานไปพร้อมกับระบบงานจริงที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน กกกกกกก5. การนาโปรแกรมไปใช้งานจริง กกกกกกก เมื่อทาการทดสอบโปรแกรมและแก้ไขข้อผิดพลาดเรียบร้อยแล้ว ขั้นตอนต่อไปคือ การนาโปรแกรมไปใช้กับระบบงานจริง ซึ่งผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของโปรแกรมจะต้อง
  • 18. 18 มีความถูกต้องสมบูรณ์ที่สุด แต่ถ้าหากโปรแกรมยังเกิดข้อผิดพลาด จะทาให้ผลลัพธ์ที่ได้จากการ ประมวลผลมีความผิดพลาดด้วย และจะส่งผลให้ระบบงานเกิดความเสียหายได้ กกกกกกก6. การจัดทาเอกสารประกอบโปรแกรม กกกกกกก เป็นขั้นตอนที่นักเขียนโปรแกรมจะทาการรวบรวมโปรแกรม และจัดทาเอกสาร ประกอบการใช้โปรแกรม ตลอดจนทาการบารุงรักษาโปรแกรมให้มีความทันสมัยอยู่ตลอดเวลา ในการจัดทาเอกสารประกอบโปรแกรมนั้น ก็เพื่อเป็นการแสดงขั้นตอนการทางานของโปรแกรม และจัดทาเป็นคู่มือการใช้โปรแกรมให้กับผู้ปฏิบัติงาน ทาให้สามารถศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองได้ ตลอดเวลา กกกกกกก ต่อไปนี้เป็นตัวอย่างกระบวนการในการพัฒนาโปรแกรม เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตาม ต้องการ จงรับชื่อของนักเรียนผ่านทางแป้นพิมพ์และแสดงชื่อของนักเรียนออกทาง จอภาพ 1. การกาหนดปัญหา กกกกกกกสิ่งที่ต้องการแก้ปัญหา คือ แสดงชื่อนักเรียนออกทางจอภาพ 2. การออกแบบโปรแกรม ประกอบด้วย กกกกกกก2.1 การกาหนดข้อมูลนาเข้า ข้อมูลที่ต้องนาเข้าเพื่อให้ได้สิ่งที่ต้องการแก้ปัญหา หรือ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการคือ ชื่อนักเรียนที่รับผ่านทางแป้นพิมพ์ กกกกกกก2.2 การกาหนดข้อมูลนาออก ข้อมูลที่ต้องการนาออกคือ ชื่อนักเรียนที่แสดงออกทาง จอภาพ กกกกกกก2.3 การเขียนขั้นตอนการประมวลผลข้อมูล หรือขั้นตอนวิธี จากปัญหาที่พบในขั้นตอน การกาหนดปัญหา สามารถเขียนเป็นขั้นตอนการประมวลผลข้อมูลได้ดังนี้ 1. เริ่มต้น 2. รับชื่อนักเรียนเก็บไว้ในตัวแปร name 3. แสดงชื่อนักเรียนทางจอภาพ 4. จบการทางาน ตัวอย่างที่ 1.1
  • 19. 19 กกกกกกก2.4 การเขียนรหัสเทียม จากขั้นตอนการประมวลผลข้อมูล สามารถเขียนเป็นรหัสเทียม ได้ดังนี้ กกกกกกก 1. begin กกกกกกก 2. read name กกกกกกก 3. write name กกกกกกก 4. end กกกกกกก2.5 การเขียนผังงาน จากขั้นตอนการเขียนรหัสเทียม สามารถเขียนเป็นผังงานได้ดังนี้ กกกกกกก กกกกกกก ภาพที่ 1.2 ผังงานการรับชื่อของนักเรียนผ่านทางแป้ นพิมพ์และแสดงชื่อของนักเรียนออกทาง จอภาพ 3. การเขียนโปรแกรม กกกกกกกจากขั้นตอนการเขียนผังงาน หรือการเขียนรหัสเทียม สามารถเขียนเป็นโปรแกรมภาษาซี ได้ดังนี้ begin read name write name end 1 #includestdio.h 2 main(){ 3 char name[30]; 4 printf(”Enter your name : ”); 5 scanf(”%s”,name); 6 printf(”your name is %sn”,name); 7 }
  • 20. 20 4. การทดสอบโปรแกรม กกกกกกกจากโปรแกรมที่เขียนขึ้น ได้นามาประมวลผล และทดสอบการทางานของโปรแกรม จะได้ผลการทางานโปรแกรม ดังภาพ ภาพที่ 1.3 ผลการทางานโปรแกรม เพื่อทดสอบการรับชื่อของนักเรียนผ่านทางแป้นพิมพ์ และแสดงชื่อของนักเรียนออกทางจอภาพ กกกกกกกจากภาพที่ 1.3 แสดงผลการทางานโปรแกรม จะเห็นว่าโปรแกรมรับชื่อของนักเรียนผ่าน ทางแป้นพิมพ์และแสดงชื่อของนักเรียนออกทางจอภาพที่เขียนขึ้น มีผลลัพธ์ถูกต้อง และตรงตาม ความต้องการของผู้ใช้ 5. การนาโปรแกรมไปใช้งานจริง กกกกกกกจากการทดสอบโปรแกรม จะเห็นว่าโปรแกรมรับชื่อของนักเรียนผ่านทางแป้นพิมพ์และ แสดงชื่อของนักเรียนออกทางจอภาพ มีความถูกต้อง ในขั้นตอนต่อไปคือนาโปรแกรมที่ผ่านการ ทดสอบเรียบร้อยแล้ว ไปใช้กับระบบงานจริง ซึ่งจากตัวอย่างที่ 1.1 จะเห็นว่าโปรแกรมรับชื่อของ นักเรียนผ่านทางแป้นพิมพ์และแสดงชื่อของนักเรียนออกทางจอภาพ สามารถนาไปใช้งานได้จริง 6. การจัดทาเอกสารประกอบโปรแกรม กกกกกกกเป็นการนาโปรแกรมที่ได้จากการทดสอบการใช้งานจริง มาทาเอกสารประกอบการ ใช้งาน ทั้งนี้เพื่อเป็นการอธิบายการทางานของโปรแกรมในแต่ละขั้นตอน และเพื่อให้ผู้ใช้ โปรแกรม สามารถใช้โปรแกรมได้ง่ายขึ้น จากตัวอย่างที่ 1.1 จะเห็นว่าโปรแกรมมีขนาดเล็ก ทาให้ การจัดทาเอกสารประกอบโปรแกรมอาจไม่จาเป็น แต่ถ้าหากโปรแกรมมีขนาดใหญ่ การจัดทา เอกสารประกอบโปรแกรม ถือว่าเป็นสิ่งที่สาคัญมากสาหรับผู้ใช้โปรแกรม เพื่อเป็นการจัดทา เอกสารประกอบการใช้งานโปรแกรม ในที่นี้จึงขออธิบายการทางานของโปรแกรม ดังนี้
  • 21. 21 กกกกกกกขั้นตอนที่ 1 ทาการสั่งโปรแกรมให้ทางานโดยคลิกคาสั่ง Run หรือกด Ctrl+F9 จะ ปรากฏผลการทางานโปรแกรม ดังภาพ ภาพที่ 1.4 ผลการทางานโปรแกรม เพื่อรอการรับชื่อนักเรียนผ่านทางแป้นพิมพ์ กกกกกกกจากภาพที่ 1.4 เมื่อโปรแกรมทางาน โปรแกรมจะปรากฏคาว่า enter your name : จากนั้น โปรแกรมจะให้รับชื่อนักเรียนผ่านทางแป้นพิมพ์ กกกกกกกขั้นตอนที่ 2 ทาการรับชื่อนักเรียนผ่านทางแป้นพิมพ์จะปรากฏผลการทางานโปรแกรม ดังภาพ ภาพที่ 1.5 ผลการทางานโปรแกรม เมื่อทาการรับชื่อนักเรียนผ่านทางแป้นพิมพ์
  • 22. 22 กกกกกกกจากภาพที่ 1.5 เมื่อทาการรับชื่อนักเรียนผ่านทางแป้นพิมพ์ในที่นี้รับชื่อว่า thanawan โปรแกรมจะปรากฏคาว่า your name is thanawan ปรากฏทางจอภาพ ตามภาพที่ 1.5 จากนั้น โปรแกรมจะรอรับการกดปุ่มบนแป้นพิมพ์ปุ่มใดก็ได้ 1 ครั้ง ซึ่งเกิดจากการใช้ฟังก์ชัน getch() นั่นเอง ทั้งนี้เพราะเมื่อแสดงผลการทางานโปรแกรมเรียบร้อยแล้ว ต้องการให้ผลการทางาน โปรแกรมปรากฏบนจอภาพ ก่อนที่จะกลับไปยังหน้าจอการเขียนโปรแกรมนั่นเอง จงรับเลขจานวนเต็ม 2 จานวน ผ่านทางแป้นพิมพ์ จากนั้นทาการหาผลรวม ของเลขทั้ง 2 จานวน และแสดงผลรวมของเลขทั้ง 2 จานวน ออกทางจอภาพ 1. การกาหนดปัญหา กกกกกกกสิ่งที่ต้องการแก้ปัญหา คือ ผลรวมของเลขจานวนเต็ม 2 จานวน 2. การออกแบบโปรแกรม ประกอบด้วย กกกกกกก2.1 การกาหนดข้อมูลนาเข้า ข้อมูลที่ต้องนาเข้าเพื่อให้สามารถแก้ปัญหานี้ได้ คือ เลขจานวนเต็ม 2 จานวน ได้แก่เลขจานวนเต็มจานวนที่ 1 และเลขจานวนเต็มจานวนที่ 2 กกกกกกก2.2 การกาหนดข้อมูลนาออก ข้อมูลนาออกของปัญหานี้ คือ ผลรวมของเลขจานวนเต็ม 2 จานวนที่แสดงออกทางจอภาพ กกกกกกก2.3 การเขียนขั้นตอนการประมวลผลข้อมูล หรือขั้นตอนวิธี จากปัญหาที่พบในขั้นตอน การกาหนดปัญหา สามารถเขียนเป็นขั้นตอนการประมวลผลข้อมูลได้ดังนี้ กกกกกกก 1. เริ่มต้น กกกกกกก 2. กาหนดให้ตัวแปร sum เก็บผลรวมของเลขจานวนเต็ม 2 จานวน และกาหนดค่า เริ่มต้นของตัวแปร sum ให้มีค่าเท่ากับ 0 กกกกกกก 3. รับเลขจานวนเต็ม 2 จานวน ผ่านทางแป้ นพิมพ์เก็บไว้ในตัวแปร number1 และ number2 กกกกกกก 4. คานวณหาผลรวมของค่าตัวแปร number1 และ number2 นาผลลัพธ์ที่ได้เก็บไว้ใน ตัวแปร sum กกกกกกก 5. แสดงค่าของตัวแปร sum กกกกกกก 6. จบการทางาน ตัวอย่างที่ 1.2
  • 23. 23 กกกกกกก2.4 การเขียนรหัสเทียม จากขั้นตอนการประมวลผลข้อมูล สามารถเขียนเป็นรหัสเทียม ได้ดังนี้ กกกกกกก 1. begin กกกกกกก 2. sum  0 กกกกกกก 3. read number1, number2 กกกกกกก 4. sum  number1 + number2 กกกกกกก 5. write sum กกกกกกก 6. end กกกกกกก2.5 การเขียนผังงาน จากขั้นตอนการเขียนรหัสเทียม สามารถเขียนเป็นผังงานได้ดังนี้ กกกกกกก ภาพที่ 1.6 ผังงานการคานวณหาผลรวม และแสดงผลรวมของเลขจานวนเต็ม 2 จานวน ออกทางจอภาพ begin read number1, number2 write sum end sum  0 sum  number1 + number2
  • 24. 24 3. การเขียนโปรแกรม กกกกกกกจากขั้นตอนการเขียนผังงาน หรือการเขียนรหัสเทียม สามารถเขียนเป็นโปรแกรมภาษาซี ได้ดังนี้ 4. การทดสอบโปรแกรม กกกกกกกจากโปรแกรมที่เขียนขึ้น นาโปรแกรมที่ได้มาทาการประมวลผล และทดสอบการทางาน ของโปรแกรม จะได้ผลการทางานโปรแกรมดังภาพ ภาพที่ 1.7 ผลการทางานโปรแกรมรับเลขจานวนเต็ม 2 จานวน ผ่านทางแป้นพิมพ์หาผลรวม และแสดงผลรวมของเลขทั้ง 2 จานวน ออกทางจอภาพ 1 #includestdio.h 2 #includeconio.h 3 main(){ 5 clrscr(); 6 int number1, number2, sum = 0; 7 printf(”Enter number1 : ”); 8 scanf(”%d”,number1); 9 printf(”Enter number2 : ”); 10 scanf(”%d”,number2); 11 sum = number1 + number2; 12 printf(”number1 + number2 = %dn”,sum); 13 getch(); 14 }
  • 25. 25 กกกกกกกจากภาพที่ 1.7 ผลการทางานโปรแกรม จะเห็นว่าโปรแกรมรับเลขจานวนเต็ม 2 จานวน ผ่านทางแป้นพิมพ์หาผลรวม และแสดงผลรวมของเลขทั้ง 2 จานวน ออกทางจอภาพ ที่เขียนขึ้น มี ความถูกต้องและสามารถใช้งานได้ 5. การนาโปรแกรมไปใช้งานจริง กกกกกกกจากการทดสอบโปรแกรม จะเห็นว่าโปรแกรมรับเลขจานวนเต็ม 2 จานวน ผ่านทาง แป้นพิมพ์หาผลรวม และแสดงผลรวมของเลขทั้ง 2 จานวน ออกทางจอภาพ มีความถูกต้อง สามารถนาไปใช้งานได้จริง ในขั้นตอนต่อไปคือ นาโปรแกรมที่ผ่านการทดสอบเรียบร้อยแล้ว ไปใช้กับระบบงานจริง ซึ่งจากตัวอย่างที่ 1.2 จะเห็นว่าโปรแกรมรับเลขจานวนเต็ม 2 จานวน ผ่าน ทางแป้นพิมพ์หาผลรวม และแสดงผลรวมของเลขทั้ง 2 จานวน ออกทางจอภาพ สามารถนาไป ใช้งานได้จริง 6. การจัดทาเอกสารประกอบโปรแกรม กกกกกกก จากตัวอย่างที่ 1.2 สามารถจัดทาเอกสารประกอบการอธิบายการทางานของโปรแกรม ได้ดังนี้ กกกกกกก ขั้นตอนที่ 1 ทาการสั่งโปรแกรมให้ทางานโดยคลิกคาสั่ง Run หรือกด Ctrl+F9 จะ ปรากฏผลการทางานโปรแกรม ดังภาพ ภาพที่ 1.8 ผลการทางานโปรแกรม เพื่อรอการรับเลขจานวนเต็ม จานวนที่ 1 ผ่านทางแป้นพิมพ์ กกกกกกก จากภาพที่ 1.8 เมื่อทาการสั่งโปรแกรมให้ทางาน จะปรากฏคาว่า Enter number1 : จากนั้นโปรแกรมจะรอรับเลขจานวนเต็ม จานวนที่ 1 ผ่านทางแป้นพิมพ์
  • 26. 26 กกกกกกก ขั้นตอนที่ 2 ทาการรับเลขจานวนเต็ม จานวนที่ 1 ผ่านทางแป้นพิมพ์จะปรากฏผล การทางานโปรแกรม ดังภาพ ภาพที่ 1.9 ผลการทางานโปรแกรม เมื่อทาการรับเลขจานวนเต็ม จานวนที่ 1 ผ่านทางแป้ นพิมพ์ กกกกกกกจากภาพที่ 1.9 เมื่อทาการรับเลขจานวนเต็ม จานวนที่ 1 ผ่านทางแป้นพิมพ์ ในที่นี้รับเลข 5 โปรแกรมจะปรากฏคาว่า Enter number2 : ปรากฏทางจอภาพ จากนั้นโปรแกรมจะรอรับเลข จานวนเต็ม จานวนที่ 2 กกกกกกกขั้นตอนที่ 3 ทาการรับเลขจานวนเต็ม จานวนที่ 2 ผ่านทางแป้นพิมพ์โปรแกรมจะทาการ หาผลรวมของเลขจานวนเต็ม จานวนที่ 1 และเลขจานวนเต็ม จานวนที่ 2 โดยปรากฏผลการทางาน โปรแกรม ดังภาพ ภาพที่ 1.10 ผลการทางานโปรแกรม เมื่อทาการรับเลขจานวนเต็ม จานวนที่ 2 ผ่านทางแป้นพิมพ์
  • 27. 27 กกกกกกกจากภาพที่ 1.10 เมื่อทาการรับเลขจานวนเต็ม จานวนที่ 2 ผ่านทางแป้ นพิมพ์ ในที่นี้รับเลข 9 โปรแกรมจะปรากฏคาว่า number1 + number2 = 14 ปรากฏทางจอภาพ จากนั้นโปรแกรมจะรอ รับการกดปุ่มบนแป้นพิมพ์ 1 ครั้ง จงรับเลขจานวนเต็ม 2 จานวน ผ่านทางแป้นพิมพ์ จากนั้นทาการทดสอบค่า เลขจานวนเต็มทั้งสองจานวน หากจานวนใดมากที่สุด ให้แสดงค่าเลข จานวนเต็มที่มากที่สุดออกทางจอภาพ 1. การกาหนดปัญหา ประกอบด้วย กกกกกกกสิ่งที่ต้องการแก้ปัญหา คือ หาค่าที่มากที่สุดของเลขจานวนเต็ม 2 จานวน 2. การออกแบบโปรแกรม กกกกกกก2.1 การกาหนดข้อมูลนาเข้า ข้อมูลที่ต้องนาเข้าเพื่อให้ได้สิ่งที่ต้องการแก้ปัญหา คือ เลข จานวนเต็ม 2 จานวน ได้แก่เลขจานวนเต็ม จานวนที่ 1 และเลขจานวนเต็ม จานวนที่ 2 กกกกกกก2.2 การกาหนดข้อมูลนาออก ผลลัพธ์ที่ต้องการคือ หาค่าที่มากที่สุดของเลขจานวนเต็ม 2 จานวน ที่แสดงออกทางจอภาพ กกกกกกก2.3 การเขียนขั้นตอนการประมวลผลข้อมูล หรือขั้นตอนวิธี จากปัญหาที่พบในขั้นตอน การกาหนดปัญหา สามารถเขียนเป็นขั้นตอนการประมวลผลข้อมูลได้ดังนี้ กกกกกกก 1. เริ่มต้น กกกกกกก 2. รับเลขจานวนเต็ม 2 จานวน เก็บไว้ในตัวแปร number1 และ number2 กกกกกกก 3. ทดสอบค่าของตัวแปร number1 ว่ามากกว่าค่าของตัวแปร number2 หรือไม่ 3.1 ถ้าใช่ ให้ตัวแปร max เก็บค่าของตัวแปร number1 3.2 มิฉะนั้นแล้ว ให้ตัวแปร max เก็บค่าของตัวแปร number2 กกกกกกก 4. แสดงค่าของตัวแปร max ออกทางจอภาพ กกกกกกก 5. จบการทางาน กกกกกกก2.4 การเขียนรหัสเทียม จากขั้นตอนการประมวลผลข้อมูล สามารถเขียนเป็นรหัสเทียม ได้ดังนี้ กกกกกกก 1. begin กกกกกกก 2. read number1, number2 กกกกกกก 3. if number1 number2 3.1 max  number1 ตัวอย่างที่ 1.3
  • 28. 28 3.2 else max  number2 กกกกกกก 4. write max กกกกกกก 5. end กกกกกกก2.5 การเขียนผังงาน จากขั้นตอนการเขียนรหัสเทียม สามารถเขียนเป็นผังงานได้ดังนี้ กกกกกกก ภาพที่ 1.11 ผังงานการหาค่าที่มากที่สุดของเลขจานวนเต็ม 2 จานวน ผ่านทางแป้นพิมพ์ และแสดงค่าที่มากที่สุดออกทางจอภาพ begin read number1, number2 write max end number1 number2 max  number2 max  number1 ไม่ใช่ ใช่
  • 29. 29 3. การเขียนโปรแกรม จากขั้นตอนการเขียนผังงาน หรือการเขียนรหัสเทียม สามารถเขียนเป็น โปรแกรมภาษาซีได้ดังนี้ 1 #includestdio.h 2 #includeconio.h 3 main() 4 { 5 clrscr(); 6 int number1, number2, max; 7 printf(”Enter number1 : ”); 8 scanf(”%d”,number1); 9 printf(”Enter number2 : ”); 10 scanf(”%d”,number2); 11 if(number1 number2) 12 max = number1; 13 else 14 max = number2; 15 printf(”maximum number is %dn”,max); 16 getch(); 17 }
  • 30. 30 4. การทดสอบโปรแกรม กกกกกกกจากโปรแกรมที่เขียนขึ้น นาโปรแกรมที่ได้มาประมวลผล และทดสอบการทางานของ โปรแกรม จะได้ผลการทางานโปรแกรม ดังภาพ ภาพที่ 1.12 ผลการทางานโปรแกรมการหาค่าที่มากที่สุด ของเลขจานวนเต็ม 2 จานวน ผ่านทางแป้นพิมพ์และแสดงค่าที่มากที่สุดออกทางจอภาพ กกกกกกกจากภาพที่ 1.12 ผลการทางานโปรแกรม จะเห็นว่าโปรแกรมรับเลขจานวนเต็ม 2 จานวน ผ่านทางแป้นพิมพ์หาค่าที่มากที่สุด และแสดงค่าที่มากที่สุดของเลขทั้ง 2 จานวน ออกทางจอภาพ ที่เขียนขึ้น มีความถูกต้องและสามารถใช้งานได้ 5. การนาโปรแกรมไปใช้งานจริง กกกกกกกจากการทดสอบโปรแกรม จะเห็นว่า โปรแกรมรับเลขจานวนเต็ม 2 จานวน ผ่านทาง แป้นพิมพ์จากนั้นหาค่าที่มากที่สุด และแสดงค่าที่มากที่สุดของเลขทั้ง 2 จานวน ออกทางจอภาพ มีความถูกต้อง สามารถนาไปใช้งานได้จริง ในขั้นตอนต่อไปคือ นาโปรแกรมที่ผ่านการทดสอบ เรียบร้อยแล้ว ไปใช้กับระบบงานจริง ซึ่งจากตัวอย่างที่ 1.3 จะเห็นว่าโปรแกรมรับเลขจานวนเต็ม 2 จานวน ผ่านทางแป้นพิมพ์หาค่าที่มากที่สุด และแสดงค่าที่มากที่สุดของเลขทั้ง 2 จานวนออกทาง จอภาพ สามารถนาไปใช้งานได้จริง 6. การจัดทาเอกสารประกอบโปรแกรม กกกกกกก จากตัวอย่างที่ 1.3 สามารถจัดทาเอกสารประกอบการอธิบายการทางานของโปรแกรม ได้ดังนี้
  • 31. 31 กกกกกกกขั้นตอนที่ 1 ทาการสั่งโปรแกรมให้ทางานโดยคลิกคาสั่ง Run หรือกด Ctrl+F9 จะ ปรากฏผลการทางานโปรแกรม ดังภาพ ภาพที่ 1.13 ผลการทางานโปรแกรม เพื่อรอรับเลขจานวนเต็ม จานวนที่ 1 ผ่านทางแป้นพิมพ์ กกกกกกกจากภาพที่ 1.13 เมื่อทาการสั่งโปรแกรมให้ทางาน จะปรากฏคาว่า Enter number1 : จากนั้นโปรแกรมจะให้รับเลขจานวนเต็ม จานวนที่ 1 ผ่านทางแป้นพิมพ์ กกกกกกกขั้นตอนที่ 2 ทาการรับเลขจานวนเต็ม จานวนที่ 1 ผ่านทางแป้นพิมพ์จะปรากฏผล การทางานโปรแกรม ดังภาพ ภาพที่ 1.14 ผลการทางานโปรแกรม เมื่อทาการรับเลขจานวนเต็ม จานวนที่ 1 ผ่านทางแป้นพิมพ์
  • 32. 32 กกกกกกกจากภาพที่ 1.14 เมื่อทาการรับเลขจานวนเต็ม จานวนที่ 1 ผ่านทางแป้นพิมพ์ ในที่นี้รับเลข 9 โปรแกรมจะปรากฏคาว่า Enter number2 : ปรากฏทางจอภาพ จากนั้นโปรแกรมจะรอรับเลข จานวนเต็ม จานวนที่ 2 กกกกกกกขั้นตอนที่ 3 ทาการรับเลขจานวนเต็ม จานวนที่ 2 ผ่านทางแป้นพิมพ์ในที่นี้รับเลข -5 โปรแกรมจะทาการทดสอบค่าของเลขจานวนเต็ม จานวนที่ 1 คือ 9 และเลขจานวนเต็ม จานวนที่ 2 คือ -5 หากค่าของเลขจานวนใดมากที่สุด จะแสดงค่าของเลขจานวนนั้นออกทางจอภาพ โดยปรากฏ ผลการทางานโปรแกรม ดังภาพ ภาพที่ 1.15 ผลการทางานโปรแกรมเพื่อเปรียบเทียบเลขจานวนเต็ม 2 จานวน และแสดงค่าที่มากที่สุดออกทางจอภาพ