SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
ระบบเลขฐาน
เลขฐาน หมายถึงกลุ่มข้อมูลที่มีจานวนหลัก (Digit) ตามชื่อของฐานนั้นๆเช่น เลขฐานสอง
ฐานแปด และฐานสิบ ประกอบด้วยข้อมูลตัวเลขจานวนสองหลัก (0-1) แปดหลัก (0-7) และสิบ
หลัก (0-9) ตามลาดับ ในระบบคอมพิวเตอร์มีการใช้ระบบเลขฐาน 4 แบบ ประกอบด้วย
1). เลขฐานสอง (BinaryNumber)
2). เลขฐานแปด (Octal Number)
3). เลขฐานสิบ (Decimal Number)
4). เลขฐานสิบหก (Hexadecimal Number)
1) เลขฐานสอง คือ ตัวเลขที่มีค่าไม่ซ้ากันสองหลัก ( 0 และ 1) เป็นเลขฐานเดียวที่เข้ากัน
ได้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ แต่ละหลักของเลขฐานสอง เรียกว่า Binary Digit (BIT)
2) เลขฐานแปด คือ เลขฐานสองจานวน 3 หลัก ดังนั้นเราจึงสามารถเขียนเลขฐานสอง
6 บิท แทนด้วยเลขฐานแปด 2 บิท การใช้เลขฐานแปดแทนเลขฐานสองทาให้จานวนบิทสั้นลง
3) เลขฐานสิบ คือ ตัวเลขที่มีค่าไม่ซ้ากันสิบหลัก (0,1,2,…,9) เป็นเลขฐานที่มนุษย์ใช้ใน
ชีวิตประจาวันมากที่สุด
4) เลขฐานสิบหก คือ เลขฐานสองจานวน 4 หลัก ดังนั้นเราจึงสามารถเขียนเลขฐานสอง
8 บิทแทนด้วยเลขฐานสิบหก 2 บิท การใช้เลขฐานสิบหกแทนเลขฐานสองทาให้จานวนบิทสั้นลง
การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง
จะต้องเข้าใจตรงกันในการดาเนินการต่างๆ ในระบบเลขฐานสองมีดังนี้
(ก) บิต (bit) คือหลักแต่ละหลักในระบบเลขฐานสอง เช่น 1102 ประกอบด้วย 3 บิต
(ข) บิตที่มีนัยสาคัญสูงสุด (most significant bit : MSB) คือบิตที่อยู่ซ้ายมือสุดเป็นบิต
ที่มีค่าประจาหลักมากที่สุด เช่น 1002 บิตที่มีนัยสาคัญสูงสุดคือ 1 มีค่าประจาหลักเป็น 22
(ค) บิตที่มีนัยสาคัญต่าสุด (least significant bit : LSB) คือบิตที่อยู่ขวามือสุดซึ่งเป็น
บิตที่มีค่าประจาหลักน้อยที่สุดเช่น 1102 บิตที่มีนัยสาคัญต่าสุดคือ 0 มีค่าประจาหลักเป็น 20
ให้
สังเกตว่าค่าประจาหลักของบิตที่มีนัยสาคัญต่าสุดจะมีค่าเป็น 20
เสมอ
การแปลงเลขฐานสิบให้เป็นฐานสองนั้นเราอาจใช้วิธีการหาร โดยให้ตัวเลขฐานสิบเป็นตัวตั้ง
แล้วหารด้วยเลข 2 ไปเรื่อยๆ จนกระทั่งผลหารเป็น 0 และในการหารแต่ละครั้งต้องเขียนเศษที่ได้
จากการหารไว้ หลังจากที่หารจนผลหารเป็น 0 เราจะได้เลขฐานสองที่มีค่าเท่ากับเลขฐานสิบที่เป็น
ตัวตั้งโดยการเขียนเศษที่ได้จากการหารแต่ละครั้งจากล่างขึ้นบน ดังตัวอย่างต่อไปนี้
ตัวอย่าง แสดงการแปลง 29 ซึ่งเป็นเลขฐานสิบให้อยู่ในรูปเลขฐานสอง
วิธีทา
2)29 1. เริ่มต้นโดยเอา 29 ตั้งแล้วหารด้วย 2
2)14 เศษ 1 2. จากข้อ 1 ได้ผลลัพธ์เป็น 14 เศษ 1
2)7_ เศษ 0 3. ผลลัพธ์จากข้อ 2 หารด้วย 2 ผลลัพธ์เป็น 7 เศษ 0
2)3_ เศษ 1 4. ผลลัพธ์จากข้อ 3 หารด้วย 2 ผลลัพธ์เป็น 3 เศษ 1
2)1_ เศษ 1 5. ผลลัพธ์จากข้อ 4 หารด้วย 2 ผลลัพธ์เป็น 1 เศษ 1
0 เศษ 1 6. ผลลัพธ์จากข้อ 5 หารด้วย 2 ผลลัพธ์เป็น 0 เศษ 1
111012
7. เมื่อหารจนกระทั่งผลหารเป็น 0 เขียนเศษทั้งหมดที่
ได้จากการหารทั้งหมดเรียงกันจากล่างขึ้นบน จะได้
รูปแบบของเลขฐานสองที่มีค่าเท่ากับ 2910
การแปลงเลขฐานสองเป็นฐานสิบ
การแปลงเลขฐานสองกลับเป็นเลขฐานสิบต้องอาศัยค่าประจาหลักของแต่ละบิตใน
เลขฐานสองที่ต้องการแปลง โดยเราจะแยกตัวเลขในแต่ละบิตมาคูณด้วยค่าประจาหลักแล้วนา
ผลลัพธ์จากการคูณดังกล่าวมารวมกัน จะได้เลขฐานสิบที่มีค่าตรงกับเลขฐานสอง
ตัวอย่างที่ 1 แสดงการแปลงเลข 100012 ให้อยู่ในรูปเลขฐานสิบ
100012 = (1 x 24
) + (0 x 23
) + (0 x 22
) + (0 x 21
) + (1 x 20
)
= 16 + 0 + 0 + 0 +1
= 17
ตัวอย่างที่ 2 แสดงการแปลงเลข 1001112 ให้อยู่ในรูปเลขฐานสิบ
1001112 = (1 x 25
) + (0 x 24
) + (0 x 23
) + (1 x 22
) + (1 x 21
) + (1 x 20
)
= 32 + 0 + 0 + 4 + 2 + 1
= 39

More Related Content

What's hot

ระบบเลขฐานข้อมูล
ระบบเลขฐานข้อมูลระบบเลขฐานข้อมูล
ระบบเลขฐานข้อมูลjoetreerawut
 
ระบบเลขฐานข้อมูล
ระบบเลขฐานข้อมูลระบบเลขฐานข้อมูล
ระบบเลขฐานข้อมูลjoetreerawut
 
โครงสร้างข้อมูล
โครงสร้างข้อมูลโครงสร้างข้อมูล
โครงสร้างข้อมูลkorn27122540
 
การแปลงเลขฐาน
การแปลงเลขฐานการแปลงเลขฐาน
การแปลงเลขฐานพัน พัน
 
ระบบเลขฐานข้อมูล(2)
ระบบเลขฐานข้อมูล(2)ระบบเลขฐานข้อมูล(2)
ระบบเลขฐานข้อมูล(2)waralee63
 
ใบความรู้ที่ 8 2 เรื่อง รหัสแทนข้อมูล
ใบความรู้ที่ 8 2 เรื่อง รหัสแทนข้อมูลใบความรู้ที่ 8 2 เรื่อง รหัสแทนข้อมูล
ใบความรู้ที่ 8 2 เรื่อง รหัสแทนข้อมูลAngkan Mahawan
 
ข้อมูลดิจิทัลและเลขฐาน
ข้อมูลดิจิทัลและเลขฐานข้อมูลดิจิทัลและเลขฐาน
ข้อมูลดิจิทัลและเลขฐานพัน พัน
 
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์จูน นะค่ะ
 
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์จูน นะค่ะ
 
ระบบเลขฐานสิบ ฐานสอง ฐานแปด และฐานสิบหก
ระบบเลขฐานสิบ  ฐานสอง ฐานแปด และฐานสิบหกระบบเลขฐานสิบ  ฐานสอง ฐานแปด และฐานสิบหก
ระบบเลขฐานสิบ ฐานสอง ฐานแปด และฐานสิบหกวชรพล สาระศาลิน
 
ระบบเลขฐานสิบ ฐานสอง ฐานแปด และฐานสิบหก
ระบบเลขฐานสิบ  ฐานสอง ฐานแปด และฐานสิบหกระบบเลขฐานสิบ  ฐานสอง ฐานแปด และฐานสิบหก
ระบบเลขฐานสิบ ฐานสอง ฐานแปด และฐานสิบหกเจษฎา วงค์ปัน
 

What's hot (14)

ระบบเลขฐานข้อมูล
ระบบเลขฐานข้อมูลระบบเลขฐานข้อมูล
ระบบเลขฐานข้อมูล
 
ระบบเลขฐานข้อมูล
ระบบเลขฐานข้อมูลระบบเลขฐานข้อมูล
ระบบเลขฐานข้อมูล
 
โครงสร้างข้อมูล
โครงสร้างข้อมูลโครงสร้างข้อมูล
โครงสร้างข้อมูล
 
การแปลงเลขฐาน
การแปลงเลขฐานการแปลงเลขฐาน
การแปลงเลขฐาน
 
2 evaluation
2 evaluation2 evaluation
2 evaluation
 
บทนำ
บทนำบทนำ
บทนำ
 
ระบบเลขฐานข้อมูล(2)
ระบบเลขฐานข้อมูล(2)ระบบเลขฐานข้อมูล(2)
ระบบเลขฐานข้อมูล(2)
 
ใบความรู้ที่ 8 2 เรื่อง รหัสแทนข้อมูล
ใบความรู้ที่ 8 2 เรื่อง รหัสแทนข้อมูลใบความรู้ที่ 8 2 เรื่อง รหัสแทนข้อมูล
ใบความรู้ที่ 8 2 เรื่อง รหัสแทนข้อมูล
 
ข้อมูลดิจิทัลและเลขฐาน
ข้อมูลดิจิทัลและเลขฐานข้อมูลดิจิทัลและเลขฐาน
ข้อมูลดิจิทัลและเลขฐาน
 
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
 
ระบบเลขฐานสิบ ฐานสอง ฐานแปด และฐานสิบหก
ระบบเลขฐานสิบ  ฐานสอง ฐานแปด และฐานสิบหกระบบเลขฐานสิบ  ฐานสอง ฐานแปด และฐานสิบหก
ระบบเลขฐานสิบ ฐานสอง ฐานแปด และฐานสิบหก
 
ระบบเลขฐานสิบ ฐานสอง ฐานแปด และฐานสิบหก
ระบบเลขฐานสิบ  ฐานสอง ฐานแปด และฐานสิบหกระบบเลขฐานสิบ  ฐานสอง ฐานแปด และฐานสิบหก
ระบบเลขฐานสิบ ฐานสอง ฐานแปด และฐานสิบหก
 

Viewers also liked (6)

ข้อสอบ O-net ปี 52
ข้อสอบ O-net  ปี 52ข้อสอบ O-net  ปี 52
ข้อสอบ O-net ปี 52
 
ข้อสอบ O-net ปี 51
ข้อสอบ O-net ปี 51ข้อสอบ O-net ปี 51
ข้อสอบ O-net ปี 51
 
แนวข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 56 ม.6 (พื้นฐาน)
แนวข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 56  ม.6 (พื้นฐาน)แนวข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 56  ม.6 (พื้นฐาน)
แนวข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 56 ม.6 (พื้นฐาน)
 
ข้อสอบ o-net ปี 53
ข้อสอบ o-net  ปี 53ข้อสอบ o-net  ปี 53
ข้อสอบ o-net ปี 53
 
แนวข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 55 ชั้นม. ม.6 (เขียนโปรแกรม)
แนวข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 55  ชั้นม.  ม.6 (เขียนโปรแกรม)แนวข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 55  ชั้นม.  ม.6 (เขียนโปรแกรม)
แนวข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 55 ชั้นม. ม.6 (เขียนโปรแกรม)
 
Portfolio (แฟ้มผลงาน) ที่ดี
Portfolio (แฟ้มผลงาน) ที่ดีPortfolio (แฟ้มผลงาน) ที่ดี
Portfolio (แฟ้มผลงาน) ที่ดี
 

Similar to ระบบเลขฐาน

Similar to ระบบเลขฐาน (7)

Work3-43
Work3-43Work3-43
Work3-43
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
 
01
0101
01
 
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
 
เลขฐาน
เลขฐานเลขฐาน
เลขฐาน
 
การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต
การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตการติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต
การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต
 

More from พรทิพย์ ทองไพบูลย์

ขอแสดงความยินดีกับนักเรียน ปีการศึกษา 2560
ขอแสดงความยินดีกับนักเรียน ปีการศึกษา 2560ขอแสดงความยินดีกับนักเรียน ปีการศึกษา 2560
ขอแสดงความยินดีกับนักเรียน ปีการศึกษา 2560พรทิพย์ ทองไพบูลย์
 

More from พรทิพย์ ทองไพบูลย์ (15)

สายงานข้าราชการพลเรือน (ข้าราชการ)
สายงานข้าราชการพลเรือน (ข้าราชการ)สายงานข้าราชการพลเรือน (ข้าราชการ)
สายงานข้าราชการพลเรือน (ข้าราชการ)
 
ขอแสดงความยินดีกับนักเรียน ปีการศึกษา 2560
ขอแสดงความยินดีกับนักเรียน ปีการศึกษา 2560ขอแสดงความยินดีกับนักเรียน ปีการศึกษา 2560
ขอแสดงความยินดีกับนักเรียน ปีการศึกษา 2560
 
แผนที่ 4 ค่าประมาณใกล้เคียง
แผนที่ 4 ค่าประมาณใกล้เคียงแผนที่ 4 ค่าประมาณใกล้เคียง
แผนที่ 4 ค่าประมาณใกล้เคียง
 
แบบทดสอบคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4
แบบทดสอบคอมพิวเตอร์  ชุดที่  4แบบทดสอบคอมพิวเตอร์  ชุดที่  4
แบบทดสอบคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4
 
แบบทดสอบคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 3
แบบทดสอบคอมพิวเตอร์  ชุดที่  3แบบทดสอบคอมพิวเตอร์  ชุดที่  3
แบบทดสอบคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 3
 
แบบทดสอบคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 2
แบบทดสอบคอมพิวเตอร์  ชุดที่  2แบบทดสอบคอมพิวเตอร์  ชุดที่  2
แบบทดสอบคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 2
 
แบบทดสอบคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 1
แบบทดสอบคอมพิวเตอร์  ชุดที่  1แบบทดสอบคอมพิวเตอร์  ชุดที่  1
แบบทดสอบคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 1
 
ข้อสอบคอมพิวเตอร์
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ข้อสอบคอมพิวเตอร์
ข้อสอบคอมพิวเตอร์
 
แผ่นพับ คณิตฯ เรื่องตัวประกอบ
แผ่นพับ คณิตฯ เรื่องตัวประกอบแผ่นพับ คณิตฯ เรื่องตัวประกอบ
แผ่นพับ คณิตฯ เรื่องตัวประกอบ
 
แบบทดสอบที่ 1 ชนิดของข้อมูล
แบบทดสอบที่ 1 ชนิดของข้อมูลแบบทดสอบที่ 1 ชนิดของข้อมูล
แบบทดสอบที่ 1 ชนิดของข้อมูล
 
แบบฝึกหัดที่ 1 การแปลงเลขฐาน
แบบฝึกหัดที่ 1 การแปลงเลขฐานแบบฝึกหัดที่ 1 การแปลงเลขฐาน
แบบฝึกหัดที่ 1 การแปลงเลขฐาน
 
ระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐานระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐาน
 
แบบฝึกหัดที่ 3 Microsoft PowerPoint
แบบฝึกหัดที่ 3 Microsoft PowerPointแบบฝึกหัดที่ 3 Microsoft PowerPoint
แบบฝึกหัดที่ 3 Microsoft PowerPoint
 
Test onet 50
Test onet 50Test onet 50
Test onet 50
 
ข้อสอบระหว่างภาคเรียนที่ 2 ม.5 mv
ข้อสอบระหว่างภาคเรียนที่ 2 ม.5 mvข้อสอบระหว่างภาคเรียนที่ 2 ม.5 mv
ข้อสอบระหว่างภาคเรียนที่ 2 ม.5 mv
 

ระบบเลขฐาน

  • 1. ระบบเลขฐาน เลขฐาน หมายถึงกลุ่มข้อมูลที่มีจานวนหลัก (Digit) ตามชื่อของฐานนั้นๆเช่น เลขฐานสอง ฐานแปด และฐานสิบ ประกอบด้วยข้อมูลตัวเลขจานวนสองหลัก (0-1) แปดหลัก (0-7) และสิบ หลัก (0-9) ตามลาดับ ในระบบคอมพิวเตอร์มีการใช้ระบบเลขฐาน 4 แบบ ประกอบด้วย 1). เลขฐานสอง (BinaryNumber) 2). เลขฐานแปด (Octal Number) 3). เลขฐานสิบ (Decimal Number) 4). เลขฐานสิบหก (Hexadecimal Number) 1) เลขฐานสอง คือ ตัวเลขที่มีค่าไม่ซ้ากันสองหลัก ( 0 และ 1) เป็นเลขฐานเดียวที่เข้ากัน ได้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ แต่ละหลักของเลขฐานสอง เรียกว่า Binary Digit (BIT) 2) เลขฐานแปด คือ เลขฐานสองจานวน 3 หลัก ดังนั้นเราจึงสามารถเขียนเลขฐานสอง 6 บิท แทนด้วยเลขฐานแปด 2 บิท การใช้เลขฐานแปดแทนเลขฐานสองทาให้จานวนบิทสั้นลง 3) เลขฐานสิบ คือ ตัวเลขที่มีค่าไม่ซ้ากันสิบหลัก (0,1,2,…,9) เป็นเลขฐานที่มนุษย์ใช้ใน ชีวิตประจาวันมากที่สุด 4) เลขฐานสิบหก คือ เลขฐานสองจานวน 4 หลัก ดังนั้นเราจึงสามารถเขียนเลขฐานสอง 8 บิทแทนด้วยเลขฐานสิบหก 2 บิท การใช้เลขฐานสิบหกแทนเลขฐานสองทาให้จานวนบิทสั้นลง การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง จะต้องเข้าใจตรงกันในการดาเนินการต่างๆ ในระบบเลขฐานสองมีดังนี้ (ก) บิต (bit) คือหลักแต่ละหลักในระบบเลขฐานสอง เช่น 1102 ประกอบด้วย 3 บิต (ข) บิตที่มีนัยสาคัญสูงสุด (most significant bit : MSB) คือบิตที่อยู่ซ้ายมือสุดเป็นบิต ที่มีค่าประจาหลักมากที่สุด เช่น 1002 บิตที่มีนัยสาคัญสูงสุดคือ 1 มีค่าประจาหลักเป็น 22 (ค) บิตที่มีนัยสาคัญต่าสุด (least significant bit : LSB) คือบิตที่อยู่ขวามือสุดซึ่งเป็น บิตที่มีค่าประจาหลักน้อยที่สุดเช่น 1102 บิตที่มีนัยสาคัญต่าสุดคือ 0 มีค่าประจาหลักเป็น 20 ให้ สังเกตว่าค่าประจาหลักของบิตที่มีนัยสาคัญต่าสุดจะมีค่าเป็น 20 เสมอ การแปลงเลขฐานสิบให้เป็นฐานสองนั้นเราอาจใช้วิธีการหาร โดยให้ตัวเลขฐานสิบเป็นตัวตั้ง แล้วหารด้วยเลข 2 ไปเรื่อยๆ จนกระทั่งผลหารเป็น 0 และในการหารแต่ละครั้งต้องเขียนเศษที่ได้ จากการหารไว้ หลังจากที่หารจนผลหารเป็น 0 เราจะได้เลขฐานสองที่มีค่าเท่ากับเลขฐานสิบที่เป็น ตัวตั้งโดยการเขียนเศษที่ได้จากการหารแต่ละครั้งจากล่างขึ้นบน ดังตัวอย่างต่อไปนี้
  • 2. ตัวอย่าง แสดงการแปลง 29 ซึ่งเป็นเลขฐานสิบให้อยู่ในรูปเลขฐานสอง วิธีทา 2)29 1. เริ่มต้นโดยเอา 29 ตั้งแล้วหารด้วย 2 2)14 เศษ 1 2. จากข้อ 1 ได้ผลลัพธ์เป็น 14 เศษ 1 2)7_ เศษ 0 3. ผลลัพธ์จากข้อ 2 หารด้วย 2 ผลลัพธ์เป็น 7 เศษ 0 2)3_ เศษ 1 4. ผลลัพธ์จากข้อ 3 หารด้วย 2 ผลลัพธ์เป็น 3 เศษ 1 2)1_ เศษ 1 5. ผลลัพธ์จากข้อ 4 หารด้วย 2 ผลลัพธ์เป็น 1 เศษ 1 0 เศษ 1 6. ผลลัพธ์จากข้อ 5 หารด้วย 2 ผลลัพธ์เป็น 0 เศษ 1 111012 7. เมื่อหารจนกระทั่งผลหารเป็น 0 เขียนเศษทั้งหมดที่ ได้จากการหารทั้งหมดเรียงกันจากล่างขึ้นบน จะได้ รูปแบบของเลขฐานสองที่มีค่าเท่ากับ 2910 การแปลงเลขฐานสองเป็นฐานสิบ การแปลงเลขฐานสองกลับเป็นเลขฐานสิบต้องอาศัยค่าประจาหลักของแต่ละบิตใน เลขฐานสองที่ต้องการแปลง โดยเราจะแยกตัวเลขในแต่ละบิตมาคูณด้วยค่าประจาหลักแล้วนา ผลลัพธ์จากการคูณดังกล่าวมารวมกัน จะได้เลขฐานสิบที่มีค่าตรงกับเลขฐานสอง ตัวอย่างที่ 1 แสดงการแปลงเลข 100012 ให้อยู่ในรูปเลขฐานสิบ 100012 = (1 x 24 ) + (0 x 23 ) + (0 x 22 ) + (0 x 21 ) + (1 x 20 ) = 16 + 0 + 0 + 0 +1 = 17 ตัวอย่างที่ 2 แสดงการแปลงเลข 1001112 ให้อยู่ในรูปเลขฐานสิบ 1001112 = (1 x 25 ) + (0 x 24 ) + (0 x 23 ) + (1 x 22 ) + (1 x 21 ) + (1 x 20 ) = 32 + 0 + 0 + 4 + 2 + 1 = 39