SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
วันมาฆบูชา 
ตรงกับวันขึ้น ๑๕ ค่า เดือน ๓ 
วันมาฆบูชา ค่ำ ว่ำ “มาฆะ” ย่อมำจำกคำ ว่ำ “มาฆบูรณมี” หมำยถึง กำรบูชำพระในวัน 
เพ็ญกลำงเดือนมำฆะตำมปฏิทนิของอินเดีย หรือเดือน ๓ คือ การบูชาในวันขึ้น ๑๕ ค่า เดือน ๓ ถ้าปี 
ใดมีเดือน ๘ สองหนก็เลื่อนไปเป็นวันขึ้น ๑๕ ค่า เดือน ๔
ความสาคัญ 
วันมาฆบูชา เป็นวันที่มีควำมสำ คัญอีกวันหนึ่งของพระพุทธศำสนำ เพรำะเป็นวันที่ 
พระพุทธเจำ้ทรงประชุมสำวกครั้งใหญ่และครั้งแรกในพระพุทธศำสนำ ณ วัดเวฬุวันมหำวิหำร 
กรุงรำชคฤห์แควน้มคธ
เป็นวันที่มีการประชุมครัง้ใหญ่ (จาตุรงคสันนิบาต) อันมีความมหัศจรรย์ 4 ประการ ในครัง้พุทธกาล 
กล่าวคือ 
๑. พระสงฆ์ ๑,๒๕๐ รูป มาประชุมพร้อมกันโดยมิได้นัดหมาย มาจากที่ต่างๆกัน 
เพื่อสักการะ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่เวฬุวันวิหาร ในกรุงราชคฤห์เมืองมคธ 
๒. พระสงฆ์ ๑,๒๕๐ รูปท่านเหล่านั้นล้วนได้รับอุปสมบทจากพระพุทธเจ้า เป็น 
เอหิภิกขุอุปสัมปทา 
๓. พระสงฆ์ ๑,๒๕๐ รูปท่านเหล่านั้นล้วนเป็นพระอรหันต์ 
๔. วันที่ประชุมเป็นวันเพ็ญกลางเดือนมาฆะ หรือเดือน ๓ เป็นวันที่พระพุทธเจ้าได้ 
ทรงแสดงธรรมเทศนา อันเป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา คือ โอวาทปาติโมกข์ 
กลุ่มป่าไผ่ร่มรื่น ในกลุ่มโบราณสถานวัด 
เวฬุวันมหาวิหาร สถานที่พระพุทธองค์ 
ทรงแสดงโอวาทปาฏิโมกข์
ในวันนีพ้ระพุทธองค์ทรงวางหลักการที่สาคัญของพระพุทธศาสนาเพื่อให้พระสาวกถือ 
เป็นหลักในการสงั่สอน ดังนี้ 
๑. การไม่ทาความชวั่ทุกอย่าง 
๒. การทาความดีให้ถึงพร้อม 
๓. การทาจิตใจของคนให้บริสุทธิ์ผ่องใสนีเ้ป็นคาสอนของพระพุทธเจ้า 
ทัง้หลาย 
ทัง้นีวั้นมาฆบูชาถือว่าเป็นวันพระธรรม ขณะที่วันวิสาขบูชาถือว่าเป็นวันพระพุทธ ส่วน 
วันอาสาฬหบูชาถือว่าเป็นวันพระสงฆ์
การถือปฏิบัติวันมาฆบูชาในประเทศไทย 
พิธีวันมาฆบูชานี้ เดิมทีเดียวในประเทศไทยไม่เคยทา มาก่อน พระบาทสมเด็จพระ 
จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงอธิบายไว้ว่าเกิดขึ้นในสมัย พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาล 
ที่ ๔ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ โดยทรงถือตามแบบของโบราณบัณฑิตที่ได้นิยมกันว่า วันมาฆะบูรณมี 
พระจันทร์เสวยฤกษ์มาฆะเต็มบริบูรณ์เป็นวันที่พระอรหันต์สาวกของ พระพุทธเจ้า ๑,๒๕๐ รูป ได้ 
ประชุมกันพร้อมด้วยองค์ ๔ ประการ เรียกว่า จาตุรงคสันนิบาตพระพุทธเจ้าได้ตรัสเทศนา 
โอวาทปาติโมกข์ ในที่ประชุมสงฆ์เป็นการ ประชุมใหญ่ และเป็นการอัศจรรย์ในพระพุทธศาสนา 
นักปราชญ์ จึงถือเอาเหตุนั้นประกอบ การสักการบูชาพระพุทธเจ้าและพระอรหันต์สาวก ๑,๒๕๐ 
รูปนั้น ให้เป็นที่ตั้งแห่งความ เลื่อมใสการประกอบพิธีมาฆะบูชา ได้เริ่มในพระบรมมหาราชวังก่อน
ข้อเสนอแนะการจัดกิจกรรมทางวัฒนธรรมในวันมาฆบูชา 
กิจกรรมเกี่ยวกับครอบครัว 
กิจกรรมที่ครอบครัวควรทำ ในวันมำฆบูชำ อย่ำงเช่น กำรทำ ควำมสะอำดบ้ำน จัดแต่งที่บูชำ 
ประจำ บ้ำน ชักชวนครอบครัวไปทำ บุญตักบำตร ฟังศีล ฟังธรรม บำ เพ็ญกุศล ปฏิบัติธรรม รวมทงั้ควร 
ศึกษำหลักธรรม คำ สั่งสอน และควำมสำ คัญของวันมำฆบูชำดว้ย
กิจกรรมเกี่ยวกับสถานศึกษา 
ในสถำนศึกษำเป็นแหล่งเรียนรู้ที่สำ คัญอีกแห่ง โดยภำยในสถำนศึกษำควรมีกำรร่วมรำลึกถึง 
รำลึกถึงควำมสำ คัญของวันมำฆบูชำ เช่น จัดนิทรรศกำรให้ควำมรู้ ประกวดเรียงควำม ตอบปัญหำธรรมะ 
ธรรมะ บรรยำยธรรม หรือร่วมกันทำ บุญ ตักบำตร เวียนเทียน บำ เพ็ญกุศล อีกทงั้ประกำศเกียรติคุณ 
นักเรียนผูท้ำ ประโยชน์ ประพฤตตินเป็นแบบอย่ำงที่ดี 
กิจกรรมเกี่ยวกับสถานที่ทางาน 
ควรประชำสัมพันธ์ในที่ทำ งำนและจัดให้มีกำรบรรยำยธรรม หรือร่วมบำ เพ็ญประโยชน์ร่วมกัน 
ร่วมกัน ร่วมทำ บุญ บำ เพ็ญกุศลร่วมกัน
กิจกรรมเกี่ยวกับสังคม 
ภำคส่วนต่ำงๆในสังคม ไม่ว่ำจะเป็น วัด มูลนิธิ สมำคม สื่อมวลชน สนำมบิน สถำนีรถไฟ ฯลฯ 
ฯลฯ ควรช่วยกันประชำสัมพันธ์ควำมสำ คัญของวันมำฆบูชำ อำจเป็นกำรพิมพ์เอกสำรให้ควำมรู้ จัดให้มี 
ให้มีกำรเขำ้ร่วมกิจกรรมทำงศำสนำร่วมกัน เช่น ทำ บุญตักบำตร ฟังธรรม ช่วยกันรณรงค์ให้เลิกอบำยมุข 
อบำยมุข แต่รณรงค์ให้ช่วยกันทำ ประโยชน์ต่อสังคมแทน อำจช่วยกันปลูกต้นไม้ ทำ ควำมสะอำดที่ 
สำธำรณะ ฯลฯ
การบาเพ็ญพระราชกุศลในวันมาฆบูชา 
กำรทรงบำ เพ็ญพระรำชกุศลของพระมหำกษัตริย์นั้น พระบำทสมเด็จพระเจำ้อยู่หัวภูมิพลอดุลย 
เดช จะเสด็จพระรำชดำ เนินไปยังพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศำสดำรำม พระสงฆ์ ๓๐ รูป เจริญพระพุทธ 
พุทธมนต์แล้ว พระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัวทรงโปรยดอกมะลิ ๑,๒๕๐ ดอก เท่ำจำ นวนพระอรหันต์ที่มำ 
ที่มำประชุมกันในครั้งพุทธกำล พระรำชำคณะถวำยศีล และถวำยพระธรรมเทศนำ ๑ กัณฑ์ พระบำทสมเด็จ 
พระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัวทรงประเคนจตุปัจจัยไทยธรรม พระสงฆ์ถวำยอนุโมทนำ ถวำยอดิเรก เป็น 
เป็นเสร็จพิธี
กิจกรรมที่ควรปฏิบัติในวันมาฆบูชา 
ช่วงเช้า : เริ่มตงั้แต่เชำ้ตรู่ ควรไหวพ้ระ นั่งสมำธิ ทำ จิตให้สงบหลังจำกตื่นนอน และเตรียมถวำยอำหำร 
บิณฑบำตแด่พระภิกษุสำมเณรตำมควำมเหมำะสม 
ช่วงสาย : เดินทำงไปวัดที่อยู่ใกลบ้ำ้น หรือวัดที่ท่ำนให้ควำมคุน้เคย สะดวก เพื่อจะทำ บุญ และสมำทำน 
รักษำศีล ๕ หรือ ศีล ๘ บำ้ง แลว้แต่ศรัทธำ ฟังพระธรรมเทศนำ หรือถวำยอำหำรเพลแด่พระภิกษุสำมเณร 
สำมเณรในวัดต่ำง ๆ 
ช่วงบ่าย : ฟังพระธรรมเทศนำในวัดที่จัดให้มีพิธีเทศน์ในตอนกลำงวัน หรือไปนั่งสมำธิตำมควำมสะดวก 
เหมำะสม 
ช่วงเย็น : เตรียมตัวเพื่อเวียนเทียนเป็นพุทธบูชำ โดยเตรียมดอกไม้ธูปเทียน หรือบำงวัดมีกำรจัดเตรียม 
และบริกำรไว้ซึ่งจะเวียนรอบพระอุโบสถ หรือพระเจดีย์ซึ่งเป็นที่ประดิษฐำนพระปฏิมำของพระสัมมำสัม 
สัมมำสัมพุทธเจำ้
น์ที่จะได้รับจากการจัดกิจกรรมในวันมาฆบูชา 
พุทธศำสนิกชนจะมีควำมรู้ ควำมเข้ำใจอย่ำงถูกต้องเกี่ยวกับควำมสำคัญของวันมำฆบูชำ 
รวมทงั้หลักธรรมต่ำงๆ ซึ่งจะทำ ให้เกิดควำมตระหนักต่อควำมสำ คัญของพระพุทธศำสนำ อีกทงั้ยังเป็นกำร 
ปฏิบัติหน้ำที่ในฐำนะชำวพุทธ และยังเป็นกำรช่วยธำ รงพระพุทธศำสนำให้สืบต่อไป 
หลักธรรมสาคัญที่ควรนาไปปฏิบัติคือ 
หลักธรรมสำ คัญที่ควรนำไปปฏิบัติคือ “โอวำทปำติโมกข์” ซึ่งเป็นหลักคำ สอนสำ คัญอันเป็น 
หัวใจของพระพุทธศำสนำ เพื่อไปสู่ควำมหลุดพน้ หลักธรรมประกอบดว้ย หลักกำร ๓ อุดมกำรณ์๔ และ 
วิธีกำร ๖ ดังนี้
หลักการ ๓ คือหลักคาสอนที่ควรปฏิบัติ ได้แก่ 
การไม่ทาบาปทงั้ปวง คือ กำรลด ละ เลิก ทำ บำปทงั้ปวง อันไดแ้ก่ อกุศลกรรมบถ ๑๐ ซึ่ง 
เป็นทำงแห่งควำมชั่ว ๑๐ ประกำรที่เป็นควำมชั่วทำงกำย (กำรฆ่ำสัตว์ กำรลักทรัพย์ กำรประพฤติผิดใน 
ผิดในกำม) ทำงวำจำ (กำรพูดเท็จ กำรพูดส่อเสียด กำรพูดเพอ้เจอ้) และทำงใจ (กำรอยำกไดส้มบัติของ 
ของผูอ้ื่น กำรผูกพยำบำท และควำมเห็นผิดจำกทำ นองคลองธรรม) 
การทากุศลให้ถึงพร้อม คือ กำรทำ ควำมดีทุกอย่ำงตำม กุศลกรรมบถ ๑๐ ทงั้ควำมดีทำงกำย 
(ไม่ฆ่ำสัตว์ ไม่เบียดเบียนผูอ้ื่น ไม่เอำสิ่งของที่เจำ้ของไม่ไดใ้ห้มำเป็นของตน มีควำมเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ไม่ 
ไม่ประพฤติผิดในกำม) ควำมดีทำงวำจำ (ไม่พูดเท็จ ไม่พูดส่อเสียด ไม่พูดหยำบคำย ไม่พูด เพอ้เจอ้) และ
อุดมการณ์ ๔ ได้แก่ 
ความอดทน อดกลนั้ คือ ไม่ทำ บำปทงั้กำย วำจำ ใจ 
ความไม่เบียดเบียน คือ งดเวน้จำกกำรทำ ร้ำย หรือ เบียดเบียนผูอ้ื่น 
ความสงบ ไดแ้ก่ กำรปฏิบัติตนให้สงบทงั้ทำงกำย ทำงวำจำและทำงใจ 
นิพพาน ไดแ้ก่ กำรดับทุกข์ ซึ่งเป็นเป้ำหมำยสูงสุดในพระพุทธศำสนำ 
วิธีการ ๖ ได้แก่ 
๑. ไม่ว่ำร้ำย ไดแ้ก่ ไม่กล่ำวให้ร้ำยหรือ กล่ำวโจมตีใคร 
๒. ไม่ทำ ร้ำย ไดแ้ก่ ไม่เบียดเบียนผูอ้ื่น 
๓. สำ รวมในปำติโมกข์ ไดแ้ก่ ควำมเคำรพระเบียบวินัย กฎกติกำ กฎหมำย รวมทงั้ 
ขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีของสังคม 
๔. รู้จักประมำณ ไดแ้ก่ รู้จักควำมพอดีในกำรบริโภคอำหำรหรือกำรใชส้อยสิ่งต่ำง ๆ 
๕. อยู่ในสถำนที่ที่สงัด ไดแ้ก่ อยู่ในสถำนที่สงบมีสิ่งแวดลอ้มที่เหมำะสม 
๖. ฝึกหัดจิตใจให้สงบ ไดแ้ก่ฝึกหัดชำ ระจิตให้สงบมีสุขภำพคุณภำพและประสิทธิภำพที่ดี 
ดี
อ้างอิง 
 http://campus.sanook.com/910849/วันมาฆบูชา/ 
 http://202.143.128.66/~kruya/50webm6/unit4/portlio/623 
1/page11.htm 
 http://dday.exteen.com/20080221/entry-2

More Related Content

What's hot

แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอนชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอนssuser66968f
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตsripayom
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชsukanya petin
 
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติแบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติKantiya Dornkanha
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2Wichai Likitponrak
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามพัน พัน
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]Kull Ch.
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลกใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลกwebsite22556
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานkrunueng1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)Miss.Yupawan Triratwitcha
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดPinutchaya Nakchumroon
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่website22556
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศSupaluk Juntap
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐาน
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐานใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐาน
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐานPrincess Chulabhon's College Chonburi
 

What's hot (20)

แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอนชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน
 
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคนเล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติแบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลกใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงาน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
 
หน่วย 2
หน่วย 2หน่วย 2
หน่วย 2
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐาน
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐานใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐาน
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐาน
 

Viewers also liked

ใบความรู้ วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ป.4+468+dltvsocp4+54soc p04 f27-1page
ใบความรู้  วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ป.4+468+dltvsocp4+54soc p04 f27-1pageใบความรู้  วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ป.4+468+dltvsocp4+54soc p04 f27-1page
ใบความรู้ วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ป.4+468+dltvsocp4+54soc p04 f27-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาKrusangworn
 
เรื่อง ค่านิยม 12 ประการ
เรื่อง ค่านิยม 12 ประการเรื่อง ค่านิยม 12 ประการ
เรื่อง ค่านิยม 12 ประการnooknnik
 
The 12 Thai values ค่านิยม 12 ประการ
The 12 Thai values ค่านิยม  12  ประการThe 12 Thai values ค่านิยม  12  ประการ
The 12 Thai values ค่านิยม 12 ประการNooknic Parichart
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาlinda471129101
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์Penny Lighter
 
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเจื๋อง เมืองลื้อ
 
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์nasomyon13
 
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์Kruorawan Kongpila
 
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงPreeyaporn Wannamanee
 
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่ครูอ้อ วิรยา
 
โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัส
โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัสโครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัส
โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัสPreeyaporn Wannamanee
 

Viewers also liked (14)

ใบความรู้ วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ป.4+468+dltvsocp4+54soc p04 f27-1page
ใบความรู้  วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ป.4+468+dltvsocp4+54soc p04 f27-1pageใบความรู้  วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ป.4+468+dltvsocp4+54soc p04 f27-1page
ใบความรู้ วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ป.4+468+dltvsocp4+54soc p04 f27-1page
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
เรื่อง ค่านิยม 12 ประการ
เรื่อง ค่านิยม 12 ประการเรื่อง ค่านิยม 12 ประการ
เรื่อง ค่านิยม 12 ประการ
 
The 12 Thai values ค่านิยม 12 ประการ
The 12 Thai values ค่านิยม  12  ประการThe 12 Thai values ค่านิยม  12  ประการ
The 12 Thai values ค่านิยม 12 ประการ
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
ค่านิยมไทย 12 ประการ
ค่านิยมไทย 12 ประการค่านิยมไทย 12 ประการ
ค่านิยมไทย 12 ประการ
 
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
 
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
 
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
 
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
 
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่
 
โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัส
โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัสโครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัส
โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัส
 

Similar to วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา

คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทยคู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทยSarod Paichayonrittha
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ม.21
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ม.21วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ม.21
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ม.21Krusangworn
 
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์ไนซ์ ไนซ์
 
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์ไนซ์ ไนซ์
 
(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdf
(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdf(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdf
(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdfmaruay songtanin
 
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช   พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช   พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...Tongsamut vorasan
 
พระธรรมเทศนาสมณกถา
พระธรรมเทศนาสมณกถาพระธรรมเทศนาสมณกถา
พระธรรมเทศนาสมณกถาSamthor Dee
 
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์ไนซ์ ไนซ์
 
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณาราม
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณารามรายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณาราม
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณารามหนุ่มน้อย ดาร์จีลิ่ง
 
วันสำคัญทางศาสนาพุทธ
วันสำคัญทางศาสนาพุทธวันสำคัญทางศาสนาพุทธ
วันสำคัญทางศาสนาพุทธleemeanshun minzstar
 
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์ไนซ์ ไนซ์
 
วันสำคัญทางศาสนาพุทธ.docx
วันสำคัญทางศาสนาพุทธ.docxวันสำคัญทางศาสนาพุทธ.docx
วันสำคัญทางศาสนาพุทธ.docxPingladaPingladaz
 
วันสำคัญทางศาสนาพุทธ.docx
วันสำคัญทางศาสนาพุทธ.docxวันสำคัญทางศาสนาพุทธ.docx
วันสำคัญทางศาสนาพุทธ.docxpinglada1
 

Similar to วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา (20)

200789830 katin
200789830 katin200789830 katin
200789830 katin
 
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทยคู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ม.21
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ม.21วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ม.21
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ม.21
 
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
 
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
 
วันมาฆบูชา
วันมาฆบูชาวันมาฆบูชา
วันมาฆบูชา
 
(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdf
(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdf(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdf
(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdf
 
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช   พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช   พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...
 
พระธรรมเทศนาสมณกถา
พระธรรมเทศนาสมณกถาพระธรรมเทศนาสมณกถา
พระธรรมเทศนาสมณกถา
 
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
 
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐
 
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณาราม
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณารามรายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณาราม
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณาราม
 
Seangdhamma Vol. 37 No. 438 October, 2011
Seangdhamma Vol. 37 No. 438 October, 2011Seangdhamma Vol. 37 No. 438 October, 2011
Seangdhamma Vol. 37 No. 438 October, 2011
 
วันสำคัญทางศาสนาพุทธ
วันสำคัญทางศาสนาพุทธวันสำคัญทางศาสนาพุทธ
วันสำคัญทางศาสนาพุทธ
 
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011 Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
 
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
 
วันสำคัญทางศาสนาพุทธ.docx
วันสำคัญทางศาสนาพุทธ.docxวันสำคัญทางศาสนาพุทธ.docx
วันสำคัญทางศาสนาพุทธ.docx
 
วันสำคัญทางศาสนาพุทธ.docx
วันสำคัญทางศาสนาพุทธ.docxวันสำคัญทางศาสนาพุทธ.docx
วันสำคัญทางศาสนาพุทธ.docx
 
วันเข้าพรรษา
วันเข้าพรรษาวันเข้าพรรษา
วันเข้าพรรษา
 
Buddha1
Buddha1Buddha1
Buddha1
 

วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา

  • 1.
  • 2. วันมาฆบูชา ตรงกับวันขึ้น ๑๕ ค่า เดือน ๓ วันมาฆบูชา ค่ำ ว่ำ “มาฆะ” ย่อมำจำกคำ ว่ำ “มาฆบูรณมี” หมำยถึง กำรบูชำพระในวัน เพ็ญกลำงเดือนมำฆะตำมปฏิทนิของอินเดีย หรือเดือน ๓ คือ การบูชาในวันขึ้น ๑๕ ค่า เดือน ๓ ถ้าปี ใดมีเดือน ๘ สองหนก็เลื่อนไปเป็นวันขึ้น ๑๕ ค่า เดือน ๔
  • 3. ความสาคัญ วันมาฆบูชา เป็นวันที่มีควำมสำ คัญอีกวันหนึ่งของพระพุทธศำสนำ เพรำะเป็นวันที่ พระพุทธเจำ้ทรงประชุมสำวกครั้งใหญ่และครั้งแรกในพระพุทธศำสนำ ณ วัดเวฬุวันมหำวิหำร กรุงรำชคฤห์แควน้มคธ
  • 4. เป็นวันที่มีการประชุมครัง้ใหญ่ (จาตุรงคสันนิบาต) อันมีความมหัศจรรย์ 4 ประการ ในครัง้พุทธกาล กล่าวคือ ๑. พระสงฆ์ ๑,๒๕๐ รูป มาประชุมพร้อมกันโดยมิได้นัดหมาย มาจากที่ต่างๆกัน เพื่อสักการะ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่เวฬุวันวิหาร ในกรุงราชคฤห์เมืองมคธ ๒. พระสงฆ์ ๑,๒๕๐ รูปท่านเหล่านั้นล้วนได้รับอุปสมบทจากพระพุทธเจ้า เป็น เอหิภิกขุอุปสัมปทา ๓. พระสงฆ์ ๑,๒๕๐ รูปท่านเหล่านั้นล้วนเป็นพระอรหันต์ ๔. วันที่ประชุมเป็นวันเพ็ญกลางเดือนมาฆะ หรือเดือน ๓ เป็นวันที่พระพุทธเจ้าได้ ทรงแสดงธรรมเทศนา อันเป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา คือ โอวาทปาติโมกข์ กลุ่มป่าไผ่ร่มรื่น ในกลุ่มโบราณสถานวัด เวฬุวันมหาวิหาร สถานที่พระพุทธองค์ ทรงแสดงโอวาทปาฏิโมกข์
  • 5. ในวันนีพ้ระพุทธองค์ทรงวางหลักการที่สาคัญของพระพุทธศาสนาเพื่อให้พระสาวกถือ เป็นหลักในการสงั่สอน ดังนี้ ๑. การไม่ทาความชวั่ทุกอย่าง ๒. การทาความดีให้ถึงพร้อม ๓. การทาจิตใจของคนให้บริสุทธิ์ผ่องใสนีเ้ป็นคาสอนของพระพุทธเจ้า ทัง้หลาย ทัง้นีวั้นมาฆบูชาถือว่าเป็นวันพระธรรม ขณะที่วันวิสาขบูชาถือว่าเป็นวันพระพุทธ ส่วน วันอาสาฬหบูชาถือว่าเป็นวันพระสงฆ์
  • 6. การถือปฏิบัติวันมาฆบูชาในประเทศไทย พิธีวันมาฆบูชานี้ เดิมทีเดียวในประเทศไทยไม่เคยทา มาก่อน พระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงอธิบายไว้ว่าเกิดขึ้นในสมัย พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาล ที่ ๔ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ โดยทรงถือตามแบบของโบราณบัณฑิตที่ได้นิยมกันว่า วันมาฆะบูรณมี พระจันทร์เสวยฤกษ์มาฆะเต็มบริบูรณ์เป็นวันที่พระอรหันต์สาวกของ พระพุทธเจ้า ๑,๒๕๐ รูป ได้ ประชุมกันพร้อมด้วยองค์ ๔ ประการ เรียกว่า จาตุรงคสันนิบาตพระพุทธเจ้าได้ตรัสเทศนา โอวาทปาติโมกข์ ในที่ประชุมสงฆ์เป็นการ ประชุมใหญ่ และเป็นการอัศจรรย์ในพระพุทธศาสนา นักปราชญ์ จึงถือเอาเหตุนั้นประกอบ การสักการบูชาพระพุทธเจ้าและพระอรหันต์สาวก ๑,๒๕๐ รูปนั้น ให้เป็นที่ตั้งแห่งความ เลื่อมใสการประกอบพิธีมาฆะบูชา ได้เริ่มในพระบรมมหาราชวังก่อน
  • 7. ข้อเสนอแนะการจัดกิจกรรมทางวัฒนธรรมในวันมาฆบูชา กิจกรรมเกี่ยวกับครอบครัว กิจกรรมที่ครอบครัวควรทำ ในวันมำฆบูชำ อย่ำงเช่น กำรทำ ควำมสะอำดบ้ำน จัดแต่งที่บูชำ ประจำ บ้ำน ชักชวนครอบครัวไปทำ บุญตักบำตร ฟังศีล ฟังธรรม บำ เพ็ญกุศล ปฏิบัติธรรม รวมทงั้ควร ศึกษำหลักธรรม คำ สั่งสอน และควำมสำ คัญของวันมำฆบูชำดว้ย
  • 8. กิจกรรมเกี่ยวกับสถานศึกษา ในสถำนศึกษำเป็นแหล่งเรียนรู้ที่สำ คัญอีกแห่ง โดยภำยในสถำนศึกษำควรมีกำรร่วมรำลึกถึง รำลึกถึงควำมสำ คัญของวันมำฆบูชำ เช่น จัดนิทรรศกำรให้ควำมรู้ ประกวดเรียงควำม ตอบปัญหำธรรมะ ธรรมะ บรรยำยธรรม หรือร่วมกันทำ บุญ ตักบำตร เวียนเทียน บำ เพ็ญกุศล อีกทงั้ประกำศเกียรติคุณ นักเรียนผูท้ำ ประโยชน์ ประพฤตตินเป็นแบบอย่ำงที่ดี กิจกรรมเกี่ยวกับสถานที่ทางาน ควรประชำสัมพันธ์ในที่ทำ งำนและจัดให้มีกำรบรรยำยธรรม หรือร่วมบำ เพ็ญประโยชน์ร่วมกัน ร่วมกัน ร่วมทำ บุญ บำ เพ็ญกุศลร่วมกัน
  • 9. กิจกรรมเกี่ยวกับสังคม ภำคส่วนต่ำงๆในสังคม ไม่ว่ำจะเป็น วัด มูลนิธิ สมำคม สื่อมวลชน สนำมบิน สถำนีรถไฟ ฯลฯ ฯลฯ ควรช่วยกันประชำสัมพันธ์ควำมสำ คัญของวันมำฆบูชำ อำจเป็นกำรพิมพ์เอกสำรให้ควำมรู้ จัดให้มี ให้มีกำรเขำ้ร่วมกิจกรรมทำงศำสนำร่วมกัน เช่น ทำ บุญตักบำตร ฟังธรรม ช่วยกันรณรงค์ให้เลิกอบำยมุข อบำยมุข แต่รณรงค์ให้ช่วยกันทำ ประโยชน์ต่อสังคมแทน อำจช่วยกันปลูกต้นไม้ ทำ ควำมสะอำดที่ สำธำรณะ ฯลฯ
  • 10. การบาเพ็ญพระราชกุศลในวันมาฆบูชา กำรทรงบำ เพ็ญพระรำชกุศลของพระมหำกษัตริย์นั้น พระบำทสมเด็จพระเจำ้อยู่หัวภูมิพลอดุลย เดช จะเสด็จพระรำชดำ เนินไปยังพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศำสดำรำม พระสงฆ์ ๓๐ รูป เจริญพระพุทธ พุทธมนต์แล้ว พระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัวทรงโปรยดอกมะลิ ๑,๒๕๐ ดอก เท่ำจำ นวนพระอรหันต์ที่มำ ที่มำประชุมกันในครั้งพุทธกำล พระรำชำคณะถวำยศีล และถวำยพระธรรมเทศนำ ๑ กัณฑ์ พระบำทสมเด็จ พระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัวทรงประเคนจตุปัจจัยไทยธรรม พระสงฆ์ถวำยอนุโมทนำ ถวำยอดิเรก เป็น เป็นเสร็จพิธี
  • 11. กิจกรรมที่ควรปฏิบัติในวันมาฆบูชา ช่วงเช้า : เริ่มตงั้แต่เชำ้ตรู่ ควรไหวพ้ระ นั่งสมำธิ ทำ จิตให้สงบหลังจำกตื่นนอน และเตรียมถวำยอำหำร บิณฑบำตแด่พระภิกษุสำมเณรตำมควำมเหมำะสม ช่วงสาย : เดินทำงไปวัดที่อยู่ใกลบ้ำ้น หรือวัดที่ท่ำนให้ควำมคุน้เคย สะดวก เพื่อจะทำ บุญ และสมำทำน รักษำศีล ๕ หรือ ศีล ๘ บำ้ง แลว้แต่ศรัทธำ ฟังพระธรรมเทศนำ หรือถวำยอำหำรเพลแด่พระภิกษุสำมเณร สำมเณรในวัดต่ำง ๆ ช่วงบ่าย : ฟังพระธรรมเทศนำในวัดที่จัดให้มีพิธีเทศน์ในตอนกลำงวัน หรือไปนั่งสมำธิตำมควำมสะดวก เหมำะสม ช่วงเย็น : เตรียมตัวเพื่อเวียนเทียนเป็นพุทธบูชำ โดยเตรียมดอกไม้ธูปเทียน หรือบำงวัดมีกำรจัดเตรียม และบริกำรไว้ซึ่งจะเวียนรอบพระอุโบสถ หรือพระเจดีย์ซึ่งเป็นที่ประดิษฐำนพระปฏิมำของพระสัมมำสัม สัมมำสัมพุทธเจำ้
  • 12. น์ที่จะได้รับจากการจัดกิจกรรมในวันมาฆบูชา พุทธศำสนิกชนจะมีควำมรู้ ควำมเข้ำใจอย่ำงถูกต้องเกี่ยวกับควำมสำคัญของวันมำฆบูชำ รวมทงั้หลักธรรมต่ำงๆ ซึ่งจะทำ ให้เกิดควำมตระหนักต่อควำมสำ คัญของพระพุทธศำสนำ อีกทงั้ยังเป็นกำร ปฏิบัติหน้ำที่ในฐำนะชำวพุทธ และยังเป็นกำรช่วยธำ รงพระพุทธศำสนำให้สืบต่อไป หลักธรรมสาคัญที่ควรนาไปปฏิบัติคือ หลักธรรมสำ คัญที่ควรนำไปปฏิบัติคือ “โอวำทปำติโมกข์” ซึ่งเป็นหลักคำ สอนสำ คัญอันเป็น หัวใจของพระพุทธศำสนำ เพื่อไปสู่ควำมหลุดพน้ หลักธรรมประกอบดว้ย หลักกำร ๓ อุดมกำรณ์๔ และ วิธีกำร ๖ ดังนี้
  • 13. หลักการ ๓ คือหลักคาสอนที่ควรปฏิบัติ ได้แก่ การไม่ทาบาปทงั้ปวง คือ กำรลด ละ เลิก ทำ บำปทงั้ปวง อันไดแ้ก่ อกุศลกรรมบถ ๑๐ ซึ่ง เป็นทำงแห่งควำมชั่ว ๑๐ ประกำรที่เป็นควำมชั่วทำงกำย (กำรฆ่ำสัตว์ กำรลักทรัพย์ กำรประพฤติผิดใน ผิดในกำม) ทำงวำจำ (กำรพูดเท็จ กำรพูดส่อเสียด กำรพูดเพอ้เจอ้) และทำงใจ (กำรอยำกไดส้มบัติของ ของผูอ้ื่น กำรผูกพยำบำท และควำมเห็นผิดจำกทำ นองคลองธรรม) การทากุศลให้ถึงพร้อม คือ กำรทำ ควำมดีทุกอย่ำงตำม กุศลกรรมบถ ๑๐ ทงั้ควำมดีทำงกำย (ไม่ฆ่ำสัตว์ ไม่เบียดเบียนผูอ้ื่น ไม่เอำสิ่งของที่เจำ้ของไม่ไดใ้ห้มำเป็นของตน มีควำมเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ไม่ ไม่ประพฤติผิดในกำม) ควำมดีทำงวำจำ (ไม่พูดเท็จ ไม่พูดส่อเสียด ไม่พูดหยำบคำย ไม่พูด เพอ้เจอ้) และ
  • 14. อุดมการณ์ ๔ ได้แก่ ความอดทน อดกลนั้ คือ ไม่ทำ บำปทงั้กำย วำจำ ใจ ความไม่เบียดเบียน คือ งดเวน้จำกกำรทำ ร้ำย หรือ เบียดเบียนผูอ้ื่น ความสงบ ไดแ้ก่ กำรปฏิบัติตนให้สงบทงั้ทำงกำย ทำงวำจำและทำงใจ นิพพาน ไดแ้ก่ กำรดับทุกข์ ซึ่งเป็นเป้ำหมำยสูงสุดในพระพุทธศำสนำ วิธีการ ๖ ได้แก่ ๑. ไม่ว่ำร้ำย ไดแ้ก่ ไม่กล่ำวให้ร้ำยหรือ กล่ำวโจมตีใคร ๒. ไม่ทำ ร้ำย ไดแ้ก่ ไม่เบียดเบียนผูอ้ื่น ๓. สำ รวมในปำติโมกข์ ไดแ้ก่ ควำมเคำรพระเบียบวินัย กฎกติกำ กฎหมำย รวมทงั้ ขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีของสังคม ๔. รู้จักประมำณ ไดแ้ก่ รู้จักควำมพอดีในกำรบริโภคอำหำรหรือกำรใชส้อยสิ่งต่ำง ๆ ๕. อยู่ในสถำนที่ที่สงัด ไดแ้ก่ อยู่ในสถำนที่สงบมีสิ่งแวดลอ้มที่เหมำะสม ๖. ฝึกหัดจิตใจให้สงบ ไดแ้ก่ฝึกหัดชำ ระจิตให้สงบมีสุขภำพคุณภำพและประสิทธิภำพที่ดี ดี
  • 15. อ้างอิง  http://campus.sanook.com/910849/วันมาฆบูชา/  http://202.143.128.66/~kruya/50webm6/unit4/portlio/623 1/page11.htm  http://dday.exteen.com/20080221/entry-2