SlideShare a Scribd company logo
1 of 25
Download to read offline
1
สื่อห้องเรียนแห่งคุณภาพแบบพกพา (DLIT Portable Classroom) เป็นการรวบรวมวิดีโอการสอนของครูสอนเก่ง
จากโรงเรียนทั่วประเทศ ที่ได้บันทึกเป็นคลิปการสอนเพื่อขยายผลวิธีการสอนไปสู่โรงเรียนต่างๆ ซึ่งเป็น การสร้างโอกาสทาง
การศึกษาให้เท่าเทียมกัน เน้นกลุ่มสาระการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่มีปัญหาด้านผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา โดยมีวิดีโอ จานวนกว่า
1,200 ตอน ครอบคลุม 5 กลุ่มสาระหลัก ตั้งแต่ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ให้ครูสามารถเลือกใช้ตามระดับชั้น
และกลุ่มสาระการเรียนรู้ ที่ต้องการ
การทาสาเนาวิดีโอ จากระบบ Online เป็นระบบ Offline1 ลงใน Hard disk ครั้งนี้เพื่ออานวยความสะดวกให้คุณครู
สามารถนาไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนหรือเผยแพร่สู่นักเรียน เพื่อการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองโดยไม่ต้องเชื่อมต่อกับ
อินเตอร์เน็ต
ขอขอบคุณคณะกรรมการ คณะทางาน ตลอดจนผู้เกี่ยวข้องที่มีส่วนช่วยเหลือสนับสนุน ให้การดาเนินงานจัดทาสื่อ
ห้องเรียนแห่งคุณภาพแบบพกพา (DLIT Portable Classroom) ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตรงตาม
เป้าหมายที่วางไว้จนสาเร็จลุล่วงด้วยดี
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
คำนำ
2
คานา 1
สารบัญ 2
แนะนา ห้องเรียนแห่งคุณภาพแบบพกพา (DLIT Portable Classroom) 3
รายการในฮาร์ดดิสก์ 4
เริ่มต้นใช้งาน
ขั้นตอนและวิธีการใช้งานสื่อห้องเรียน DLIT 6
ใช้กับคอมพิวเตอร์ 7
ใช้กับโทรทัศน์ (TV) 8
ใช้กับระบบ Intranet 12
การใช้งานร่วมสื่อห้องเรียนแห่งคุณภาพแบบพกพา (DLIT Portable Classroom)
กับระบบ Intranet ของโรงเรียน 13
การใช้งานสื่อห้องเรียนแห่งคุณภาพ 18
คณะทางาน 22
สำรบัญ
3
ห้องเรียนแห่งคุณภาพแบบพกพา (DLIT Portable Classroom)
ประกอบด้วย วิดีโอการสอนในหัวข้อที่มีปัญหาด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ใช้เวลา
ตอนละ 50 นาที เหมาะสาหรับห้องเรียนที่ขาดครูตรงกลุ่มสาระการเรียนรู้ หรือ
นักเรียนที่ต้องการทบทวน ซึ่งมีวิดีโอรวมทั้งหมด 1,200 ตอน โดยมีเนื้อหาตั้งแต่
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 และชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 1-3 ประกอบด้วย 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คือ คณิตศาสตร์
ภาษาอังกฤษ ภาษาไทย วิทยาศาสตร์ และ สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ส่วนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 4-6 ประกอบด้วย คณิตศาสตร์เล่มที่ 1 2 และ 3 ภาษาอังกฤษ
ภาษาไทย วิทยาศาสตร์(โลกและดาราศาสตร์) วิทยาศาสตร์(ฟิสิกส์) วิทยาศาสตร์(เคมี)
วิทยาศาสตร์(ชีววิทยา) และ สังคมศึกษา
สื่อวิดีโอที่จัดทาไว้ใน ฮาร์ดดิสก์ (Hard disk) มี 2 รูปแบบ คือไฟล์ข้อมูล
แบบความละเอียด Full HD 1080p กับ ความละเอียด 720p ซึ่งการเลือกใช้งานตาม
ความต้องการของผู้ใช้ และความเหมาะสมของอุปกรณ์
DLIT Portable Classroom
ห้องเรียนแห่งคุณภาพแบบพกพา
แนะนา
4
รายการในฮาร์ดดิสก์
สื่อห้องเรียนแห่งคุณภาพแบบพกพา (DLIT Portable Classroom) เป็นอาร์ดิสก์ขนาด 4 TB ที่มีเนื้อหา วิดีโอเพื่อ
การจัดการเรียนรู้ ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยแบ่งส่วนของอาร์ดดิสก์ เป็น 2 Partition
คือ เนื้อหา DLIT Classroom และ Full_HD_Master โดยมีรายละเอียดดังนี้
Partition DLIT Classroom
DLIT Classroom โดยมีรายการเนื้อหาและขนาดไฟล์ ดังนี้
• DLIT Resource (เพิ่มเติม) 7.9 GB
• คู่มือ 59.3 MB
• ประถมศึกษาปีที่ 1 69.3 GB
• ประถมศึกษาปีที่ 2 57.8 GB
• ประถมศึกษาปีที่ 3 52.7 GB
• ประถมศึกษาปีที่ 4 49.7 GB
• ประถมศึกษาปีที่ 5 50.2 GB
• ประถมศึกษาปีที่ 6 43.6 GB
ศึกษา
• มัธยมศึกษาปีที่ 1 41.3 GB
• มัธยมศึกษาปีที่ 2 38.7 GB
• มัธยมศึกษาปีที่ 3 38.5 GB
ัธย ศึกษาต้น 118
• มัธยมศึกษาปีที่ 4 76.0 GB
• มัธยมศึกษาปีที่ 5 22.4 GB
• มัธยมศึกษาปีที่ 6 23.3 GB
ัธย ศึกษาตอน ลาย 1
• DLITMenu.exe
ีพื้นที่ทั้งห ด 6 เหลือ ่าง 97
5
Partition Full_HD_Master
Full_HD_Master โดยมีรายการเนื้อหาและขนาดไฟล์ ดังนี้
• มัธยมศึกษาตอนปลาย_Master 120 GB
• มัธยมศึกษาตอนต้น_Master 468 GB
• ประถมศึกษา 1-6_Master 985 GB
รวมพื้นที่ทั้งหมด 1.53 TB เหลือพื้นที่ว่าง 573 GB
6
ครูสามารถเลือกใช้ วิดีโอ จากหน้า เมนู ผ่านเครื่องมือต่างๆ ได้ เช่น ผ่านโทรทัศน์ที่รองรับการอ่านไฟล์วิดีโอ
จาก แฟลชไดร์ฟ External Harddisk ต่อคอมพิวเตอร์ เข้ากับโทรทัศน์ทางพอร์ต HDMI
เริ่มต้นใช้งำน
ขั้นตอนและวิธีการใช้งานสื่อห้องเรียนแห่งคุณภาพแบบพกพา
(DLIT Portable Classroom)
ใช้กับคอมพิวเตอร์
ใช้กับโทรทัศน์ (TV)
ใช้กับระบบ intranet
7
ใช้กับคอมพิวเตอร์
วิธีที่ 1 นาฮาร์ดดิสก์ หรือ แฟลชไดร์ฟ ต่อกับคอมพิวเตอร์ แล้วใช้งานผ่านหน้าเมนูของสื่อระบบห้องเรียนคุณภาพแบบพกพา
วิธีที่ 2 คัดลอกสื่อลงในเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วใช้งานผ่านหน้าเมนูของสื่อระบบห้องเรียนคุณภาพแบบพกพา
(นักเรียนสามารถศึกษารายบุคล หรือรายห้องเรียน)
8
ใช้กับโทรทัศน์ (TV)
วิธีที่ 1 คัดลอกสื่อลง แฟลชไดร์ฟ หรือ External Hard Disk แล้วต่อพ่วงกับโทรทัศน์ที่รองรับ แล้วเลือกเปิด วิดีโอ
ที่ต้องการ
วิธีที่ 2 ต่อพ่วงผ่านผ่านคอมพิวเตอร์ทางพอร์ตต่างๆ ที่ โทรทัศน์มี เช่น RGB HDMI AV เป็นต้น
R HDMI
9
วิธีที่ 1 ใช้ HD External Hard disk เชื่อมต่อโทรทัศน์ผ่านพอร์ต USB
เมนูรีโมทคอนโทรล ที่ใช้ควบคุมการใช้งาน
วิธีการต่อพ่วงและเชื่อมต่อกับโทรทัศน์
10
วิธีที่ 2 ใช้คอมพิวเตอร์ เชื่อมต่อผ่านพอร์ต HDMI
11
ใช้รีโมทคอนโทรล เลือก เมนู HDML
12
ใช้กับระบบ Intranet
สาหรับโรงเรียนที่มีความพร้อมระบบอินทราเน็ต โดยนาสื่อทั้งหมดไปวางบนเครื่องแม่ข่าย และใช้งานวิดีโอ ผ่านหน้าเมนู
ของสื่อระบบห้องเรียนคุณภาพแบบพกพา
13
Share Drive/Folder
ก่อนทาการแชร์ ควรตั้งค่าเครือข่ายเสียก่อน
1 คลิ๊กขวาที่ ได ์ฟ หรือ โฟลเดอ ์ ที่ต้องการแชร์ แล้วเลือกรายการสุดท้าย Properties
2. คลิ๊กที่แท๊บเมนู Sharing แล้วกดที่ปุ่ม Advanced Sharing...
การใช้งานร่วมสื่อห้องเรียนแห่งคุณภาพแบบพกพา (DLIT Portable Classroom)
กับระบบ Intranet ของโรงเรียน
การ Share Drive และ Map สาหรับ Windows 7
14
3. กาหนดค่าต่างๆ ในการแชร์
- ติ๊กเครื่องหมายถูกที่ Share this folder
- ระบุชื่อที่ต้องการแชร์
- กดที่ปุ่ม Permissions เพื่อกาหนดสิทธิการใช้งาน
- คลิกเลือก Everyone -> ติ๊กถูกออกจาก Full Control ->
Apply -> OK
15
- กดที่ปุ่ม Caching เพื่อตั้งค่ายกเลิกการทางาน Offline file
(ปัญหาที่เครื่องลูกคีย์ข้อมูลแล้วเครื่องแม่ไม่เห็นข้อมูล)
4 คลิก Apply -> OK -> Close
5 เมื่อแชร์เสร็จแล้ว ที่ไดรว์นั้นจะปรากฏรูป คนคู่
16
Map Drive
แบ่งออกเป็น 2 วิธี
ิธีที่ 1 แบบดั้งเดิม (Classic Style)
1. เข้าที่ Start -> Computer
2. คลิกที่ Network
3. ดับเบิลคลิกเข้าในเครื่องแม่ข่าย (Server)
17
วิธีที่ 2 แบบ ลัดขั้นตอน
1. เข้าที่ Start -> Search programs and files
2. พิมพ์ ชื่อเครื่องแม่ข่าย หรือ เรียกผ่าน IP Address เช่น serv2003 ในช่องนี้ แล้ว
กด Enter
หลังจากนั้นจะปรากฏหน้าต่างขึ้นมาดังรูป ให้คลิกขวาแล้วเลือก Map Network Drive
ได้เลย
3. เลือกชื่อ Drive ที่ต้องการให้แสดงบนเครื่องลูกข่าย และคลิกปุ่ม Finish
18
การใช้งานสื่อห้องเรียนแห่งคุณภาพ DLIT Portable Classroom
เมื่อต่อพ่วงอุปกรณ์ที่มีสื่อห้องเรียนแห่งคุณภาพ กับคอมพิวเตอร์ จะพบสื่อ 2 ส่วน คือ
1. ไฟล์ต้นฉบับความละเอียด Full HD 1080p สื่อห้องเรียนแห่งคุณภาพแบบพกพา
2. สื่อห้องเรียนแห่งคุณภาพแบบพกพา สาหรับใช้งาน (ความละเอียด 720p )
• สื่อระดับประถมศึกษาปีที่ 1 -6
• สื่อระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1-3
• สื่อระดับมัธยมศึกษาปีที่ 4-6
19
ให้ดับเบิลคลิกที่ไฟล์ DLITMenu.exe ก็จะเข้าสู่หน้าเมนูของ
สื่อห้องเรียนแห่งคุณภาพ
เมื่อเลือกเมนูระดับชั้น ป.1-ม.3 จะปรากฏสื่อ 5 กลุ่มสาระ ได้แก่
คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ ภาษาไทย วิทยาศาสตร์ และสังคมศึกษาฯ
การเข้าใช้งาน
20
เมื่อเลือกกลุ่มสาระการเรียนรู้ จะมีเมนู แฟ้มวิดีโอ และ
เอกสารประกอบ
เมื่อเลือกแฟ้มวิดีโอจะมีสื่อ วิดีโอให้เลือกใช้
21
ในวิดีโอจะมีชื่อกลุ่มสาระการเรียนรู้ ระดับชั้น สาระ ตัวชี้วัด เรื่อง
ครูผู้สอนและโรงเรียน และวิดีโอการสอนของครู
22
สาหรับเมนู เอกสารประกอบ จะมีใบความรู้ ใบงาน ให้เลือกใช้
23
สาหรับสื่อห้องเรียนแห่งคุณภาพระดับชั้น ม.4-6 ประกอบด้วยสื่อ
คณิตศาสตร์ เล่ม1 – 3 ภาษาอังกฤษ ภาษาไทย วิทยาศาสตร์(โลกและ
ดาราศาสตร์) วิทยาศาสตร์(ฟิสิกส์) วิทยาศาสตร์(เคมี) วิทยาศาสตร์
(ชีววิทยา) และสังคมศึกษาฯ
เมนูวิดีโอเพิ่มเติม จะประกอบด้วย วิดีโอเพิ่มเติมให้เลือกใช้งาน
24
นายสมเกียรติ สรรคพงษ์ ผู้อานวยการศูนย์พัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล
นายสุวิทย์ บึงบัว ผู้อานวยการกลุ่มส่งเสริมการจัดการศึกษาผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ
ว่าที่ ร.อ.ศศวรรธน์ ขรรค์ทัพไทย ผู้อานวยการกลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา
นางเบญจมาศ อภิชาติประคัลภ์ ผู้อานวยการกลุ่มวิจัยและพัฒนาการจัดการศึกษาทางไกล
นายไตรรงค์ สาดแว ศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ สพม. เขต ๑๒
นายอัครวิทย์ อังเรขพาณิชย์ ศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ สพม. เขต ๒๗
นายพิษณุ มูลสาร ศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ สพป.ยโสธร เขต ๒
นายธีรวัฒน์ สังข์สาลี ศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ สพป.อานาจเจริญ
นายไพบูรณ์ คาภูมี ศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ สพป.สกลนคร เขต ๑
นายปรีชา ภูสีฤทธิ์ ศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ สพป.มหาสารคาม เขต ๑
นายสุรพล ศรีศิลป์ ศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ สพป.แม่ฮ่องสอน เขต 2
นายณรงค์ศักดิ์ โพธิ์อ่อง ศึกษานิเทศก์ชานาญการ สพป.นครสวรรค์เขต ๓
นายนุห์กานต์ เอสเอ ศึกษานิเทศก์ชานาญการ สพป.สงขลา เขต ๑
นายคมกริช ทัพกิฬา ผอ.รร.วัดไผ่งาม สพป.ปราจีนบุรี เขต ๑
นายสุขวิทย์ ปู้ทอง ผอ.รร.วัดท่ากุ่ม สพป.สุพรรณบุรี เขต ๒
นายศุภชัย ภาสกานนท์ ผอ.รร.บ้านกระโดนค้อ (กระโดนค้อผดุงวิทยา) สพป.สุรินทร์ เขต ๑
นายแทนนง ธิมาชัย ผอ.รร.บ้านนาคา สพป.ยโสธร เขต ๑
นายประยุทธิ์ งามสกุล ผอ.รร.บ้านโนนคูณ สพป.ชัยภูมิ เขต 2
นายทองคา มากมี ครูโรงเรียนนารีนุกูล สพม. เขต ๒๙
นายทูน ภาษีธรรม ครูโรงเรียนพิบูลย์อุปถัมภ์ สพป.กทม.
นายอนุศร หงษ์ขุนทด ครูโรงเรียนด่านขุนทด สพป.นครราชสีมา เขต ๕
นายอดิศร ก้อนคา ครูช่วยราชการ สพป.มุกดาหาร
นายณวัฒน์ จันทเขต นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการพิเศษ สพป.มหาสารคาม เขต ๒
นางศิริลักษณ์ สายสินธุ์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ สพป.ลพบุรี เขต ๑
นางสาวกาญจนา ขุนทอง นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ สพป.สระแก้ว เขต ๑
นายจีระวัฒน์ ปัสสากุล นักวิชาการคอมพิวเตอร์ชานาญการ สพป.สระแก้ว เขต ๑
ออกแบบคู่มือ
นายณรงค์ศักดิ์ โพธิ์อ่อง ศึกษานิเทศก์ชานาญการ สพป.นครสวรรค์เขต ๓
รำยชื่อผู้จัดทำเนื้อหำ DLIT ระบบ Offline

More Related Content

What's hot

โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอนโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน
ยิ่งใหญ่ไอที อ.รัตนวาปี
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Thep-in123456
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8
aomsin33834
 
LearnSquare Administrator
LearnSquare AdministratorLearnSquare Administrator
LearnSquare Administrator
NECTEC, NSTDA
 
คู่มือการใช้งานชุดโปรแกรมจัดการเรียนการสอนสำหรับโรงเรียนที่ใช้สื่อการศึกษาทาง...
คู่มือการใช้งานชุดโปรแกรมจัดการเรียนการสอนสำหรับโรงเรียนที่ใช้สื่อการศึกษาทาง...คู่มือการใช้งานชุดโปรแกรมจัดการเรียนการสอนสำหรับโรงเรียนที่ใช้สื่อการศึกษาทาง...
คู่มือการใช้งานชุดโปรแกรมจัดการเรียนการสอนสำหรับโรงเรียนที่ใช้สื่อการศึกษาทาง...
sathaporn9
 
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
Nattapon
 
การใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอน
การใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอนการใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอน
การใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอน
ชิตชัย โพธิ์ประภา
 

What's hot (20)

02.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการสึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม dltv
02.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการสึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม dltv02.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการสึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม dltv
02.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการสึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม dltv
 
มาตรฐานการจัดการศึกษาทางไกล
มาตรฐานการจัดการศึกษาทางไกลมาตรฐานการจัดการศึกษาทางไกล
มาตรฐานการจัดการศึกษาทางไกล
 
แบบนิเทศDlitนักเรียน
แบบนิเทศDlitนักเรียนแบบนิเทศDlitนักเรียน
แบบนิเทศDlitนักเรียน
 
Innovation chapter 10
Innovation chapter 10Innovation chapter 10
Innovation chapter 10
 
Learnsquare manual
Learnsquare manualLearnsquare manual
Learnsquare manual
 
Media&tech2learn 004 - Part 4
Media&tech2learn 004 - Part 4Media&tech2learn 004 - Part 4
Media&tech2learn 004 - Part 4
 
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอนโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
06.การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
06.การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม06.การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
06.การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
 
Media&tech2learn 001-Part 1
Media&tech2learn 001-Part 1Media&tech2learn 001-Part 1
Media&tech2learn 001-Part 1
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8
 
Media&tech2learn 002 - Part 2
Media&tech2learn 002 - Part 2Media&tech2learn 002 - Part 2
Media&tech2learn 002 - Part 2
 
LearnSquare Administrator
LearnSquare AdministratorLearnSquare Administrator
LearnSquare Administrator
 
Media&tech2learn 003 - Part 3
Media&tech2learn 003 - Part 3Media&tech2learn 003 - Part 3
Media&tech2learn 003 - Part 3
 
คู่มือการใช้งานชุดโปรแกรมจัดการเรียนการสอนสำหรับโรงเรียนที่ใช้สื่อการศึกษาทาง...
คู่มือการใช้งานชุดโปรแกรมจัดการเรียนการสอนสำหรับโรงเรียนที่ใช้สื่อการศึกษาทาง...คู่มือการใช้งานชุดโปรแกรมจัดการเรียนการสอนสำหรับโรงเรียนที่ใช้สื่อการศึกษาทาง...
คู่มือการใช้งานชุดโปรแกรมจัดการเรียนการสอนสำหรับโรงเรียนที่ใช้สื่อการศึกษาทาง...
 
Ch7 cai
Ch7 caiCh7 cai
Ch7 cai
 
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
 
การใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอน
การใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอนการใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอน
การใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอน
 
Flipped 2014
Flipped 2014Flipped 2014
Flipped 2014
 

Similar to คู่มือการใช้งาน Dlit portable classroom

การสร้างวิดีโอสอนออนไลน์ด้วย Camtasia และการสร้างช่อง YouTube
การสร้างวิดีโอสอนออนไลน์ด้วย Camtasia และการสร้างช่อง YouTubeการสร้างวิดีโอสอนออนไลน์ด้วย Camtasia และการสร้างช่อง YouTube
การสร้างวิดีโอสอนออนไลน์ด้วย Camtasia และการสร้างช่อง YouTube
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
Innovation for education.ppsm
Innovation for education.ppsmInnovation for education.ppsm
Innovation for education.ppsm
Spok Rocco
 

Similar to คู่มือการใช้งาน Dlit portable classroom (20)

การเรนเดอร์และการนำไปใช้งาน
การเรนเดอร์และการนำไปใช้งานการเรนเดอร์และการนำไปใช้งาน
การเรนเดอร์และการนำไปใช้งาน
 
N
NN
N
 
Pbl1
Pbl1Pbl1
Pbl1
 
P bl1
P bl1P bl1
P bl1
 
คู่มือครู
คู่มือครูคู่มือครู
คู่มือครู
 
เล่ม1 สื่อมัลติมีเดีย
เล่ม1 สื่อมัลติมีเดียเล่ม1 สื่อมัลติมีเดีย
เล่ม1 สื่อมัลติมีเดีย
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมีเดียและโปรแกรม Corel Video Studio Pro x6
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมีเดียและโปรแกรม Corel Video Studio Pro x6ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมีเดียและโปรแกรม Corel Video Studio Pro x6
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมีเดียและโปรแกรม Corel Video Studio Pro x6
 
คู่มือการใช้บทเรียนออนไลน์
คู่มือการใช้บทเรียนออนไลน์คู่มือการใช้บทเรียนออนไลน์
คู่มือการใช้บทเรียนออนไลน์
 
Course Syllabus มัลติมีเดีย
Course Syllabus มัลติมีเดียCourse Syllabus มัลติมีเดีย
Course Syllabus มัลติมีเดีย
 
คำซ้อน
คำซ้อนคำซ้อน
คำซ้อน
 
โปรแกรมภาษาไพธอน
โปรแกรมภาษาไพธอนโปรแกรมภาษาไพธอน
โปรแกรมภาษาไพธอน
 
Proshow gold by wutjung
Proshow gold  by wutjungProshow gold  by wutjung
Proshow gold by wutjung
 
Window mm
Window mmWindow mm
Window mm
 
เอกสารประกอบการอบรม
เอกสารประกอบการอบรมเอกสารประกอบการอบรม
เอกสารประกอบการอบรม
 
Window mm
Window mmWindow mm
Window mm
 
เล่ม2 การติดตั้งโปรแกรม
เล่ม2 การติดตั้งโปรแกรมเล่ม2 การติดตั้งโปรแกรม
เล่ม2 การติดตั้งโปรแกรม
 
Plan3
Plan3Plan3
Plan3
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
การสร้างวิดีโอสอนออนไลน์ด้วย Camtasia และการสร้างช่อง YouTube
การสร้างวิดีโอสอนออนไลน์ด้วย Camtasia และการสร้างช่อง YouTubeการสร้างวิดีโอสอนออนไลน์ด้วย Camtasia และการสร้างช่อง YouTube
การสร้างวิดีโอสอนออนไลน์ด้วย Camtasia และการสร้างช่อง YouTube
 
Innovation for education.ppsm
Innovation for education.ppsmInnovation for education.ppsm
Innovation for education.ppsm
 

คู่มือการใช้งาน Dlit portable classroom

  • 1.
  • 2. 1 สื่อห้องเรียนแห่งคุณภาพแบบพกพา (DLIT Portable Classroom) เป็นการรวบรวมวิดีโอการสอนของครูสอนเก่ง จากโรงเรียนทั่วประเทศ ที่ได้บันทึกเป็นคลิปการสอนเพื่อขยายผลวิธีการสอนไปสู่โรงเรียนต่างๆ ซึ่งเป็น การสร้างโอกาสทาง การศึกษาให้เท่าเทียมกัน เน้นกลุ่มสาระการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่มีปัญหาด้านผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา โดยมีวิดีโอ จานวนกว่า 1,200 ตอน ครอบคลุม 5 กลุ่มสาระหลัก ตั้งแต่ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ให้ครูสามารถเลือกใช้ตามระดับชั้น และกลุ่มสาระการเรียนรู้ ที่ต้องการ การทาสาเนาวิดีโอ จากระบบ Online เป็นระบบ Offline1 ลงใน Hard disk ครั้งนี้เพื่ออานวยความสะดวกให้คุณครู สามารถนาไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนหรือเผยแพร่สู่นักเรียน เพื่อการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองโดยไม่ต้องเชื่อมต่อกับ อินเตอร์เน็ต ขอขอบคุณคณะกรรมการ คณะทางาน ตลอดจนผู้เกี่ยวข้องที่มีส่วนช่วยเหลือสนับสนุน ให้การดาเนินงานจัดทาสื่อ ห้องเรียนแห่งคุณภาพแบบพกพา (DLIT Portable Classroom) ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตรงตาม เป้าหมายที่วางไว้จนสาเร็จลุล่วงด้วยดี สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน คำนำ
  • 3. 2 คานา 1 สารบัญ 2 แนะนา ห้องเรียนแห่งคุณภาพแบบพกพา (DLIT Portable Classroom) 3 รายการในฮาร์ดดิสก์ 4 เริ่มต้นใช้งาน ขั้นตอนและวิธีการใช้งานสื่อห้องเรียน DLIT 6 ใช้กับคอมพิวเตอร์ 7 ใช้กับโทรทัศน์ (TV) 8 ใช้กับระบบ Intranet 12 การใช้งานร่วมสื่อห้องเรียนแห่งคุณภาพแบบพกพา (DLIT Portable Classroom) กับระบบ Intranet ของโรงเรียน 13 การใช้งานสื่อห้องเรียนแห่งคุณภาพ 18 คณะทางาน 22 สำรบัญ
  • 4. 3 ห้องเรียนแห่งคุณภาพแบบพกพา (DLIT Portable Classroom) ประกอบด้วย วิดีโอการสอนในหัวข้อที่มีปัญหาด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ใช้เวลา ตอนละ 50 นาที เหมาะสาหรับห้องเรียนที่ขาดครูตรงกลุ่มสาระการเรียนรู้ หรือ นักเรียนที่ต้องการทบทวน ซึ่งมีวิดีโอรวมทั้งหมด 1,200 ตอน โดยมีเนื้อหาตั้งแต่ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 และชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1-3 ประกอบด้วย 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คือ คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ ภาษาไทย วิทยาศาสตร์ และ สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ส่วนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4-6 ประกอบด้วย คณิตศาสตร์เล่มที่ 1 2 และ 3 ภาษาอังกฤษ ภาษาไทย วิทยาศาสตร์(โลกและดาราศาสตร์) วิทยาศาสตร์(ฟิสิกส์) วิทยาศาสตร์(เคมี) วิทยาศาสตร์(ชีววิทยา) และ สังคมศึกษา สื่อวิดีโอที่จัดทาไว้ใน ฮาร์ดดิสก์ (Hard disk) มี 2 รูปแบบ คือไฟล์ข้อมูล แบบความละเอียด Full HD 1080p กับ ความละเอียด 720p ซึ่งการเลือกใช้งานตาม ความต้องการของผู้ใช้ และความเหมาะสมของอุปกรณ์ DLIT Portable Classroom ห้องเรียนแห่งคุณภาพแบบพกพา แนะนา
  • 5. 4 รายการในฮาร์ดดิสก์ สื่อห้องเรียนแห่งคุณภาพแบบพกพา (DLIT Portable Classroom) เป็นอาร์ดิสก์ขนาด 4 TB ที่มีเนื้อหา วิดีโอเพื่อ การจัดการเรียนรู้ ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยแบ่งส่วนของอาร์ดดิสก์ เป็น 2 Partition คือ เนื้อหา DLIT Classroom และ Full_HD_Master โดยมีรายละเอียดดังนี้ Partition DLIT Classroom DLIT Classroom โดยมีรายการเนื้อหาและขนาดไฟล์ ดังนี้ • DLIT Resource (เพิ่มเติม) 7.9 GB • คู่มือ 59.3 MB • ประถมศึกษาปีที่ 1 69.3 GB • ประถมศึกษาปีที่ 2 57.8 GB • ประถมศึกษาปีที่ 3 52.7 GB • ประถมศึกษาปีที่ 4 49.7 GB • ประถมศึกษาปีที่ 5 50.2 GB • ประถมศึกษาปีที่ 6 43.6 GB ศึกษา • มัธยมศึกษาปีที่ 1 41.3 GB • มัธยมศึกษาปีที่ 2 38.7 GB • มัธยมศึกษาปีที่ 3 38.5 GB ัธย ศึกษาต้น 118 • มัธยมศึกษาปีที่ 4 76.0 GB • มัธยมศึกษาปีที่ 5 22.4 GB • มัธยมศึกษาปีที่ 6 23.3 GB ัธย ศึกษาตอน ลาย 1 • DLITMenu.exe ีพื้นที่ทั้งห ด 6 เหลือ ่าง 97
  • 6. 5 Partition Full_HD_Master Full_HD_Master โดยมีรายการเนื้อหาและขนาดไฟล์ ดังนี้ • มัธยมศึกษาตอนปลาย_Master 120 GB • มัธยมศึกษาตอนต้น_Master 468 GB • ประถมศึกษา 1-6_Master 985 GB รวมพื้นที่ทั้งหมด 1.53 TB เหลือพื้นที่ว่าง 573 GB
  • 7. 6 ครูสามารถเลือกใช้ วิดีโอ จากหน้า เมนู ผ่านเครื่องมือต่างๆ ได้ เช่น ผ่านโทรทัศน์ที่รองรับการอ่านไฟล์วิดีโอ จาก แฟลชไดร์ฟ External Harddisk ต่อคอมพิวเตอร์ เข้ากับโทรทัศน์ทางพอร์ต HDMI เริ่มต้นใช้งำน ขั้นตอนและวิธีการใช้งานสื่อห้องเรียนแห่งคุณภาพแบบพกพา (DLIT Portable Classroom) ใช้กับคอมพิวเตอร์ ใช้กับโทรทัศน์ (TV) ใช้กับระบบ intranet
  • 8. 7 ใช้กับคอมพิวเตอร์ วิธีที่ 1 นาฮาร์ดดิสก์ หรือ แฟลชไดร์ฟ ต่อกับคอมพิวเตอร์ แล้วใช้งานผ่านหน้าเมนูของสื่อระบบห้องเรียนคุณภาพแบบพกพา วิธีที่ 2 คัดลอกสื่อลงในเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วใช้งานผ่านหน้าเมนูของสื่อระบบห้องเรียนคุณภาพแบบพกพา (นักเรียนสามารถศึกษารายบุคล หรือรายห้องเรียน)
  • 9. 8 ใช้กับโทรทัศน์ (TV) วิธีที่ 1 คัดลอกสื่อลง แฟลชไดร์ฟ หรือ External Hard Disk แล้วต่อพ่วงกับโทรทัศน์ที่รองรับ แล้วเลือกเปิด วิดีโอ ที่ต้องการ วิธีที่ 2 ต่อพ่วงผ่านผ่านคอมพิวเตอร์ทางพอร์ตต่างๆ ที่ โทรทัศน์มี เช่น RGB HDMI AV เป็นต้น R HDMI
  • 10. 9 วิธีที่ 1 ใช้ HD External Hard disk เชื่อมต่อโทรทัศน์ผ่านพอร์ต USB เมนูรีโมทคอนโทรล ที่ใช้ควบคุมการใช้งาน วิธีการต่อพ่วงและเชื่อมต่อกับโทรทัศน์
  • 11. 10 วิธีที่ 2 ใช้คอมพิวเตอร์ เชื่อมต่อผ่านพอร์ต HDMI
  • 14. 13 Share Drive/Folder ก่อนทาการแชร์ ควรตั้งค่าเครือข่ายเสียก่อน 1 คลิ๊กขวาที่ ได ์ฟ หรือ โฟลเดอ ์ ที่ต้องการแชร์ แล้วเลือกรายการสุดท้าย Properties 2. คลิ๊กที่แท๊บเมนู Sharing แล้วกดที่ปุ่ม Advanced Sharing... การใช้งานร่วมสื่อห้องเรียนแห่งคุณภาพแบบพกพา (DLIT Portable Classroom) กับระบบ Intranet ของโรงเรียน การ Share Drive และ Map สาหรับ Windows 7
  • 15. 14 3. กาหนดค่าต่างๆ ในการแชร์ - ติ๊กเครื่องหมายถูกที่ Share this folder - ระบุชื่อที่ต้องการแชร์ - กดที่ปุ่ม Permissions เพื่อกาหนดสิทธิการใช้งาน - คลิกเลือก Everyone -> ติ๊กถูกออกจาก Full Control -> Apply -> OK
  • 16. 15 - กดที่ปุ่ม Caching เพื่อตั้งค่ายกเลิกการทางาน Offline file (ปัญหาที่เครื่องลูกคีย์ข้อมูลแล้วเครื่องแม่ไม่เห็นข้อมูล) 4 คลิก Apply -> OK -> Close 5 เมื่อแชร์เสร็จแล้ว ที่ไดรว์นั้นจะปรากฏรูป คนคู่
  • 17. 16 Map Drive แบ่งออกเป็น 2 วิธี ิธีที่ 1 แบบดั้งเดิม (Classic Style) 1. เข้าที่ Start -> Computer 2. คลิกที่ Network 3. ดับเบิลคลิกเข้าในเครื่องแม่ข่าย (Server)
  • 18. 17 วิธีที่ 2 แบบ ลัดขั้นตอน 1. เข้าที่ Start -> Search programs and files 2. พิมพ์ ชื่อเครื่องแม่ข่าย หรือ เรียกผ่าน IP Address เช่น serv2003 ในช่องนี้ แล้ว กด Enter หลังจากนั้นจะปรากฏหน้าต่างขึ้นมาดังรูป ให้คลิกขวาแล้วเลือก Map Network Drive ได้เลย 3. เลือกชื่อ Drive ที่ต้องการให้แสดงบนเครื่องลูกข่าย และคลิกปุ่ม Finish
  • 19. 18 การใช้งานสื่อห้องเรียนแห่งคุณภาพ DLIT Portable Classroom เมื่อต่อพ่วงอุปกรณ์ที่มีสื่อห้องเรียนแห่งคุณภาพ กับคอมพิวเตอร์ จะพบสื่อ 2 ส่วน คือ 1. ไฟล์ต้นฉบับความละเอียด Full HD 1080p สื่อห้องเรียนแห่งคุณภาพแบบพกพา 2. สื่อห้องเรียนแห่งคุณภาพแบบพกพา สาหรับใช้งาน (ความละเอียด 720p ) • สื่อระดับประถมศึกษาปีที่ 1 -6 • สื่อระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 • สื่อระดับมัธยมศึกษาปีที่ 4-6
  • 20. 19 ให้ดับเบิลคลิกที่ไฟล์ DLITMenu.exe ก็จะเข้าสู่หน้าเมนูของ สื่อห้องเรียนแห่งคุณภาพ เมื่อเลือกเมนูระดับชั้น ป.1-ม.3 จะปรากฏสื่อ 5 กลุ่มสาระ ได้แก่ คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ ภาษาไทย วิทยาศาสตร์ และสังคมศึกษาฯ การเข้าใช้งาน
  • 21. 20 เมื่อเลือกกลุ่มสาระการเรียนรู้ จะมีเมนู แฟ้มวิดีโอ และ เอกสารประกอบ เมื่อเลือกแฟ้มวิดีโอจะมีสื่อ วิดีโอให้เลือกใช้
  • 22. 21 ในวิดีโอจะมีชื่อกลุ่มสาระการเรียนรู้ ระดับชั้น สาระ ตัวชี้วัด เรื่อง ครูผู้สอนและโรงเรียน และวิดีโอการสอนของครู
  • 24. 23 สาหรับสื่อห้องเรียนแห่งคุณภาพระดับชั้น ม.4-6 ประกอบด้วยสื่อ คณิตศาสตร์ เล่ม1 – 3 ภาษาอังกฤษ ภาษาไทย วิทยาศาสตร์(โลกและ ดาราศาสตร์) วิทยาศาสตร์(ฟิสิกส์) วิทยาศาสตร์(เคมี) วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) และสังคมศึกษาฯ เมนูวิดีโอเพิ่มเติม จะประกอบด้วย วิดีโอเพิ่มเติมให้เลือกใช้งาน
  • 25. 24 นายสมเกียรติ สรรคพงษ์ ผู้อานวยการศูนย์พัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล นายสุวิทย์ บึงบัว ผู้อานวยการกลุ่มส่งเสริมการจัดการศึกษาผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ ว่าที่ ร.อ.ศศวรรธน์ ขรรค์ทัพไทย ผู้อานวยการกลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา นางเบญจมาศ อภิชาติประคัลภ์ ผู้อานวยการกลุ่มวิจัยและพัฒนาการจัดการศึกษาทางไกล นายไตรรงค์ สาดแว ศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ สพม. เขต ๑๒ นายอัครวิทย์ อังเรขพาณิชย์ ศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ สพม. เขต ๒๗ นายพิษณุ มูลสาร ศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ สพป.ยโสธร เขต ๒ นายธีรวัฒน์ สังข์สาลี ศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ สพป.อานาจเจริญ นายไพบูรณ์ คาภูมี ศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ สพป.สกลนคร เขต ๑ นายปรีชา ภูสีฤทธิ์ ศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ สพป.มหาสารคาม เขต ๑ นายสุรพล ศรีศิลป์ ศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ สพป.แม่ฮ่องสอน เขต 2 นายณรงค์ศักดิ์ โพธิ์อ่อง ศึกษานิเทศก์ชานาญการ สพป.นครสวรรค์เขต ๓ นายนุห์กานต์ เอสเอ ศึกษานิเทศก์ชานาญการ สพป.สงขลา เขต ๑ นายคมกริช ทัพกิฬา ผอ.รร.วัดไผ่งาม สพป.ปราจีนบุรี เขต ๑ นายสุขวิทย์ ปู้ทอง ผอ.รร.วัดท่ากุ่ม สพป.สุพรรณบุรี เขต ๒ นายศุภชัย ภาสกานนท์ ผอ.รร.บ้านกระโดนค้อ (กระโดนค้อผดุงวิทยา) สพป.สุรินทร์ เขต ๑ นายแทนนง ธิมาชัย ผอ.รร.บ้านนาคา สพป.ยโสธร เขต ๑ นายประยุทธิ์ งามสกุล ผอ.รร.บ้านโนนคูณ สพป.ชัยภูมิ เขต 2 นายทองคา มากมี ครูโรงเรียนนารีนุกูล สพม. เขต ๒๙ นายทูน ภาษีธรรม ครูโรงเรียนพิบูลย์อุปถัมภ์ สพป.กทม. นายอนุศร หงษ์ขุนทด ครูโรงเรียนด่านขุนทด สพป.นครราชสีมา เขต ๕ นายอดิศร ก้อนคา ครูช่วยราชการ สพป.มุกดาหาร นายณวัฒน์ จันทเขต นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการพิเศษ สพป.มหาสารคาม เขต ๒ นางศิริลักษณ์ สายสินธุ์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ สพป.ลพบุรี เขต ๑ นางสาวกาญจนา ขุนทอง นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ สพป.สระแก้ว เขต ๑ นายจีระวัฒน์ ปัสสากุล นักวิชาการคอมพิวเตอร์ชานาญการ สพป.สระแก้ว เขต ๑ ออกแบบคู่มือ นายณรงค์ศักดิ์ โพธิ์อ่อง ศึกษานิเทศก์ชานาญการ สพป.นครสวรรค์เขต ๓ รำยชื่อผู้จัดทำเนื้อหำ DLIT ระบบ Offline