SlideShare a Scribd company logo
1 of 35
Download to read offline
หน่วยที่
1
คำนำ
เอกสารประกอบการเรียน รหัสวิชา ง30203 รายวิชา การใช้โปรแกรมตัดต่อวิดีโอ
หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมีเดียและโปรแกรม Corel VideoStudio Pro x6
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชุดนี้ ได้จัดทาขึ้นเพื่อใช้
เป็นสื่อประกอบกิจกรรมการเรียนการสอนสาหรับครูผู้สอน และเป็นคู่มือสาหรับนักเรียนใช้ใน
การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ทั้งในและนอกเวลาเรียน เน้นให้นักเรียนได้พัฒนาตนเองให้มี
ความรู้ ความเข้าใจ เนื่องจากเอกสารประกอบการเรียนชุดนี้เป็นการสรุปเนื้อหาและเป็นวิธีการ
เรียนรู้โดยเริ่มจากง่ายไปยาก เน้นให้นักเรียนได้ปฏิบัติจริง ส่งผลให้เกิดความเข้าใจอย่างถ่องแท้
นั่นคือ นักเรียนสามารถใช้ทักษะการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
เอกสารประกอบการเรียนชุดนี้ จัดทาขึ้นจากแรงจูงใจเมื่อประสบปัญหาในขณะทาการสอน
เนื่องจากเนื้อหาของแต่ละเรื่อง นักเรียนจะเรียนได้เพียงเล็กน้อย และไม่ต่อเนื่องทาให้ลืมเลือน
ได้ง่าย ข้าพเจ้าจึงได้รวบรวมความรู้ต่างๆ มาสรุปแล้วนาเสนอในรูปเอกสารประกอบการเรียน
เพื่อสะดวกในการใช้ทั้งครูและนักเรียน
ผู้จัดทาต้องขอขอบคุณ ผู้เชี่ยวชาญที่ได้ให้คาชี้แนะในการจัดทาเอกสารประกอบการเรียนนี้
และขอขอบคุณ เพื่อนครูงานไอซีทีทุกท่าน ที่เป็นกาลังใจตลอดเวลา ท้ายที่สุด ขอขอบคุณ ท่านผู้อานวยการ
จงกล เดชปั้น ผู้อานวยการโรงเรียนพยุหะพิทยาคม ที่สนับสนุนการจัดทาเอกสารประกอบการเรียน
ชุดนี้ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะมีประโยชน์ต่อการเรียนการสอน ช่วยลดภาระครูผู้สอนและสามารถ
ใช้เป็นเครื่องนาทางให้นักเรียนได้ประสบผลสาเร็จ ช่วยให้มีการเพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจ รวมไปถึง
การพัฒนาทักษะได้อย่างถูกต้อง
บุญญรัตน์ ตั้งประเสริฐ
ก
หน่วยที่
1
สำรบัญ
หน้า
คานา ก
สารบัญ ข
คาชี้แจง 1
คาแนะนาสาหรับครู 2
คาแนะนาสาหรับนักเรียน 3
จุดประสงค์การเรียนรู้ 4
แบบทดสอบก่อนเรียน 5
ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสื่อมัลติมีเดีย 7
ใบงานที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสื่อมัลติมีเดีย 14
ตอนที่ 2 การใช้งานโปรแกรม Corel VideoStudio Pro x6 15
ใบงานที่ 2 การใช้งานโปรแกรม Corel VideoStudio Pro x6 17
ตอนที่ 3 ระบบการส่งสัญญาณโทรทัศน์ 18
ใบงานที่ 3 ระบบการส่งสัญญาณโทรทัศน์ 21
ตอนที่ 4 ประเภทของไฟล์ที่ใช้ในการตัดต่อวิดีโอ 22
ใบงานที่ 4 ประเภทของไฟล์ที่ใช้ในการตัดต่อวิดีโอ 24
แบบทดสอบหลังเรียน 25
บรรณานุกรม 27
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน 28
เฉลยใบงานที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสื่อมัลติมีเดีย 29
เฉลยใบงานที่ 2 การใช้งานโปรแกรม Corel VideoStudio Pro x6 30
เฉลยใบงานที่ 3 ระบบการส่งสัญญาณโทรทัศน์ 31
เฉลยใบงานที่ 4 ประเภทของไฟล์ที่ใช้ในการตัดต่อวิดีโอ 32
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน 33
ข
หน่วยที่
1
คำชี้แจง
เอกสารประกอบการเรียน รหัสวิชา ง30203 รายวิชา การใช้โปรแกรมตัดต่อวิดีโอ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ประกอบด้วยเอกสาร
จานวน 5 เล่ม ดังนี้
หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมีเดียและโปรแกรม Corel VideoStudio Pro x6
หน่วยที่ 2 การติดตั้งโปรแกรม Corel VideoStudio Pro x6
หน่วยที่ 3 เทคนิคการตัดต่อวิดีโอ
หน่วยที่ 4 การตกแต่งวิดีโอและการจัดการเสียง
หน่วยที่ 5 การเรนเดอร์และการนาไปใช้งาน
เอกสารประกอบการเรียน รหัสวิชา ง30203 รายวิชา การใช้โปรแกรมตัดต่อวิดีโอ แต่ละเล่ม
ใช้ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ รหัสวิชา ง30203 รายวิชา การใช้โปรแกรมตัดต่อวิดีโอ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี จานวน 2 แผน เวลา 4 ชั่วโมง
มีส่วนประกอบของเอกสารประกอบการเรียนดังต่อไปนี้
1. คานา
2. สารบัญ
3. คาชี้แจง
4. คาแนะนาสาหรับครู
5. คาแนะนาสาหรับนักเรียน
6. จุดประสงค์การเรียนรู้
7. แบบทดสอบก่อนเรียน
8. เนื้อหา
9. ใบงาน
10. แบบทดสอบหลังเรียน
11. บรรณานุกรม
12. เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน
13. เฉลยใบงาน
14. เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
1
หน่วยที่
1
คำแนะนำสำหรับครู
เอกสารประกอบการเรียน รหัสวิชา ง30203 รายวิชา การใช้โปรแกรมตัดต่อวิดีโอ
ชุดนี้ เป็นสื่อที่ช่วยในการจัดการเรียนการสอน กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มีแนวปฏิบัติสาหรับการจัดการเรียนรู้ ดังนี้
1. เอกสารประกอบการเรียนชุดนี้ ไม่ใช่การทดสอบเพื่อมุ่งหวังคะแนนสาหรับ
การประเมินผล แต่เป็นการเพิ่มความรู้และส่งเสริมให้นักเรียนศึกษา ค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเอง
ตามความสามารถ และศักยภาพของแต่ละบุคคล
2. ครูควรศึกษาเอกสารประกอบการเรียน หัวข้อเรื่อง คาชี้แจง คาแนะนาสาหรับครู
จุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให้ทราบว่า เมื่อจบบทเรียน นักเรียนสามารถเรียนรู้อะไรได้บ้าง
3. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียนจานวน 10 ข้อ แล้วตรวจคาตอบจากเฉลย
4. ให้นักเรียนศึกษาเนื้อหา สาระ รายละเอียด และฝึกปฏิบัติตามกิจกรรม
5. ขณะนักเรียนทากิจกรรม ครูต้องดูแล ให้คาปรึกษาหากมีข้อสงสัย และสอดแทรก
คุณธรรมให้กับนักเรียนระหว่างจัดกิจกรรมการเรียนรู้
6. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียนจานวน 10 ข้อ แล้วตรวจคาตอบจากเฉลย
2
หน่วยที่
1
คำแนะนำสำหรับนักเรียน
เอกสารประกอบการเรียน รหัสวิชา ง30203 รายวิชา การใช้โปรแกรมตัดต่อวิดีโอ ชุดนี้
นักเรียนสามารถศึกษา และเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง ก่อนที่จะศึกษาและเรียนรู้ให้นักเรียนอ่านคาแนะนา
ดังนี้
1. เอกสารประกอบการเรียนชุดนี้ ไม่ใช่การทดสอบเพื่อมุ่งหวังคะแนนสาหรับ
การประเมินผล แต่เป็นการเพิ่มความรู้ และส่งเสริมให้นักเรียนศึกษา ค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเอง
ตามความสามารถ และศักยภาพของแต่ละบุคคล
2. ศึกษาเอกสารประกอบการเรียน หัวข้อเรื่อง คาชี้แจง คาแนะนาสาหรับนักเรียน
จุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให้ทราบว่า เมื่อจบบทเรียน นักเรียนสามารถเรียนรู้อะไรได้บ้าง
3. ทาแบบทดสอบก่อนเรียนจานวน 10 ข้อ แล้วตรวจคาตอบจากเฉลย
4. ศึกษาเนื้อหา สาระ รายละเอียด และฝึกปฏิบัติตามกิจกรรม
5. ทาแบบทดสอบหลังเรียนจานวน 10 ข้อ แล้วตรวจคาตอบจากเฉลย
3
หน่วยที่
1
หลังจำกศึกษำเนื้อหำและทำกิจกรรมในเล่มนี้แล้ว
นักเรียนสำมำรถทำสิ่งต่อไปนี้ได้
1. นักเรียนสามารถอธิบายความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสื่อมัลติมีเดียได้
2. นักเรียนสามารถอธิบายการใช้งานโปรแกรม Corel VideoStudio Pro x6 ได้
3. นักเรียนสามารถอธิบายระบบส่งสัญญาณโทรทัศน์ได้
4. นักเรียนสามารถจาแนกประเภทของไฟล์ที่ใช้ในการตัดต่อวิดีโอได้
4
จุดประสงค์การเรียนรู้
หน่วยที่
1
แบบทดสอบก่อนเรียน
5
คำชี้แจง แบบทดสอบเป็นแบบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ
คำสั่ง จงเขียนเครื่องหมายกากบาท  ทับตัวอักษร ก, ข, ค, หรือ ง ในกระดาษคาตอบ
สาหรับตัวเลือกที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
1. ข้อใดที่โปรแกรม Corel VideoStudio Pro x6 ไม่สามารถทาได้
ก. บันทึกเสียง
ข. ตกแต่งภาพนิ่ง
ค. ตัดต่อภาพวิดีโอ
ง. จับภาพวิดีโอจากกล้องมาเก็บไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์
2. ความหมายของมัลติมีเดียข้อใดถูกต้องที่สุด
ก. การนาข้อความ ภาพ มาผ่านกระบวนการทางระบบคอมพิวเตอร์
ข. การนาข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง วิดีโอ มาผ่านกระบวนการทางระบบ
คอมพิวเตอร์
ค. การนาข้อความ ภาพ เสียง มาทาให้เป็นวิดีโอเพื่อการนาเสนอข้อมูลตามความต้องการ
ต้องผู้ชม
ง. การนาภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง มาทาให้เป็นวิดีโอเพื่อการนาเสนอข้อมูลตาม
ความต้องการต้องผู้ใช้
3. ประเทศไทยใช้ระบบโทรทัศน์แบบเดียวกับประเทศสิงคโปร์ มาเลเซีย คือข้อใด
ก. NTSC ข. SECAM
ค. MBT ง. PAL
4. ข้อใดกล่าวถึงโปรแกรม Corel Video Studio Pro x6 ได้อย่างถูกต้อง
ก. ไม่ควรใส่วิดีโอลงในการตัดต่อเพราะจะทาให้ไฟล์ใหญ่เกินไป
ข. ต้องใช้โปรแกรมอื่นบันทึกวิดีโอที่ตัดต่อแล้วลงแผ่น VCD, DVD
ค. สามารถบันทึกวิดีโอที่ตัดต่อแล้วกลับลงในแผ่น VCD, DVD
ง. สามารถพิมพ์ข้อความในโปรแกรม Ms-word แล้วนามาใส่ในโปรแกรม Corel Video
Studio x6 ได้
หน่วยที่
1
5. การนาสื่อมัลติมีเดียมาสร้างสื่อการเรียนรู้ในรูปแบบ E-learning เป็นการนามัลติมีเดียมา
ประยุกต์ใช้ด้านใด
ก. ด้านความบันเทิง ข. ด้านการบริการข้อมูล
ค. ด้านการนาเสนอข้อมูล ง. ด้านการศึกษา
6. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการนาเสนอมัลติมีเดีย
ก. ประสิทธิภาพในการประมวลผล ข. มาตรฐาน
ค. คุณภาพ ง. การบีบอัดข้อมูล
7. ไฟล์วิดีโอทั่วไป มีความคมชัดสูงแต่มีจุดด้อยคือเป็นไฟล์ขนาดใหญ่คือข้อใด
ก. Mpeg-4 ข. AVI
ค. WMA ง. MOV
8. ในปัจจุบันเรานิยมใช้ไฟล์เสียงใดที่คุณภาพเสียงที่ดีและมีความจุน้อยมาก
ก. AIFF ข. MP3
ค. QuickTime ง. Real Audio
9. ข้อใดไม่ใช่ ระบบส่งสัญญาณโทรทัศน์ที่มีอยู่ทั่วไปในโลก
ก. MBT ข. PAL
ค. NTSC ง. SECAM
10. ขั้นใดควรทาเป็นขั้นตอนแรกของการตัดต่อวิดีโอ
ก. การตัดต่อ ข. เตรียมกล้อง และอุปกรณ์
ค. การเขียน Storyboard ง. การเตรียมองค์ประกอบต่างๆ
6
หน่วยที่
1
มัลติมีเดีย (Multimedia) มาจากคาว่า “Multus” ซึ่งเป็นภาษาลาติน หมายถึง มาก
หลากหลาย และมีเดีย (Media) มีความหมายเดียวกับ “Middle” หรือ “Center” หมายถึง
การสื่อสารข้อมูลผ่านตัวกลาง ดังนั้น คาว่า “มัลติมีเดีย” (Multimedia) จึงหมายถึง การนา
องค์ประกอบของสื่อชนิดต่างๆ มารวมเข้าด้วยกัน (Multiple Intermediary) หรือ เรียกว่า
“สื่อประสม” (Multiple media)
ควำมหมำยมัลติมีเดีย (Multimedia)
การนาองค์ประกอบของสื่อชนิดต่าง ๆ มาผสมผสานรวมเข้าด้วยกันซึ่งประกอบด้วย
ข้อความ (text), ภาพนิ่ง (Still Image), ภาพเคลื่อนไหว (Animation), เสียง (Sound), และ
วิดีโอ (Video) โดยผ่านกระบวนการทางระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อสื่อความหมายกับผู้ใช้อย่างมี
ปฏิสัมพันธ์ (Interactive Multimedia) และได้บรรลุตามวัตถุประสงค์การใช้งาน
องค์ประกอบของมัลติมีเดีย
1. ตัวอักษร (Text) เช่น ตัวอักษรที่อยู่ในหนังสือ จดหมาย และหนังสือพิมพ์ เป็นต้น
ถือเป็นองค์ประกอบสาคัญของมัลติมีเดีย ระบบมัลติมีเดียที่นาเสนอผ่อนจอภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์
นอกจากจะมีรูปแบบและสีของตัวอักษรให้เลือกมากมายตามความต้องการแล้ว ยังสามารถ
กาหนดคุณลักษณะขอองการปฏิสัมพันธ์ (โต้ตอบ) ในระหว่างการนาเสนอได้อีกด้วย
2. รูปภำพ (Images) และ กรำฟฟิก (Graphic) เช่น ภาพถ่าย (Photograph)
แผนภูมิ (Chart) แผนที่ (Map) โลโก้ (Logo) และภาพร่าง (Sketch) เป็นต้น ถือเป็น
ส่วนประกอบที่มีบทบาทต่อระบบงานมัลติมีเดียมากกว่าข้อความหรือตัวอักษร ทั้งนี้ เนื่องจาก
ภาพจะให้ผลในเชิงการเรียนรู้หรือรับรู้ด้วยการมองเห็นได้ดีกว่า นอกจากนี้ ยังสามารถถ่ายทอด
ความหมายได้ลึกซึ้งมากกว่าข้อความหรือตัวอักษร ซึ่งข้อความหรือตัวอักษรจะมีข้อจากัด
ทางด้านความแตกต่างของแต่ละภาษา แต่ภาพนั้น สามารถสื่อความหมายได้กับทุกชนชาติ
รูปภาพจะแสดงอยู่บนสื่อชนิดต่างๆ เช่น โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ หรือวารสารวิชาการ เป็นต้น
7
ตอนที่ 1
ควำมรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสื่อมัลติมีเดีย
หน่วยที่
1
3. แอนิเมชั่น (Animation) หมายถึง ภาพกราฟฟิกที่มีการเคลื่อนไหวเพื่อแสดงขั้นตอน
หรือปรากฏการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง เช่น การเคลื่อนที่ของอะตอมภายในโมเลกุล
หรือการเคลื่อนที่ของลูกสูบของเครื่องยนต์ เป็นต้น ทั้งนี้เพื่อสร้างสรรค์ จินตนาการให้เกิด
แรงจูงใจของผู้ชม การผลิตภาพเคลื่อนไหวจะต้องใช้โปรแกรมที่มีคุณสมบัติเฉพาะทาง
ซึ่งอาจเกิดปัญหา เกี่ยวกับขนาดไฟล์ ที่ต้องใช้พื้นที่ในการจัดเก็บมากกว่าภาพนิ่งหลายเท่า
4. เสียง (Sound) เป็นองค์ประกอบหนึ่งที่สาคัญของมัลติมีเดีย โดยจะถูกจัดเก็บอยู่ใน
รูปของสัญญาณดิจิตอล ซึ่งสามารถเล่นซ้ากลับไปมาได้ โดยใช้โปรแกรมที่ออกแบบมาเฉพาะ
สาหรับทางานด้านเสียง หากในงานมัลติมีเดียมีการใช้เสียงที่เร้าใจและสอดคล้องกับเนื้อหาใน
การนาเสนอ จะช่วยให้งานระบบมัลติมีเดียเกิดความสมบูรณ์แบบมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ยังช่วย
สร้างความน่าสนใจและน่าติดตามในเรื่องราวต่างๆ ได้เป็นอย่างดี ทั้งนี้ เนื่องจากเสียงจะมี
อิทธิพลต่อผู้ใช้มากกว่าข้อความหรือภาพนิ่ง ดังนั้น เสียงจึงเป็นองค์ประกอบที่จาเป็นสาหรับ
มัลติมีเดีย ซึ่งเสียงที่นามาใช้มีหลายรูปแบบ เช่น เสียงจากวิทยุ (Radio) เครื่องเล่นแผ่นเสียง
(Gramophoe) เสียงที่เกิดจากการบันทึก (Record) และเสียงที่มาจากเทป (Audio Cassette)
เป็นต้น
5. วิดีโอ (Video) เช่น โทรทัศน์ (Television) และวิดีโอเทป (Video Cass) เป็นต้น
เป็นองค์ประกอบของมัลติมีเดียที่มี ความสาคัญเป็นอย่างมาก เนื่องจากวิดีโอในระบบดิจิตอล
สามารถนาเสนอข้อความ หรือรูปภาพ(ภาพนิ่งหรือภาพเคลื่อนไหว) ประกอบกับเสียงได้สมบูรณ์
มากกว่าองค์ประกอบชนิดอื่นๆ อย่างไรก็ตาม ปัญหาหลักของการใช้วิดีโอในระบบมัลติมีเดีย
ก็คือ การสิ้นเปลืองทรัพยากรของพื้นที่บนหน่วยความจาเป็นจานวนมาก เนื่องจากการนาเสนอ
วิดีโอด้วยเวลาที่เกิดขึ้นจริง (Real Time) จะต้องประกอบด้วยจานวนภาพไม่ต่ากว่า 30 ภาพ
ต่อวินาที (Fram/Second) ถ้าหากการประมวลผลภาพดังกล่าว ไม่ได้ผ่านกระบวนการบีบอัด
ขนาดของสัญญาณมาก่อน การนาเสนอวิดีโอเพียง 1 นาที อาจต้องใช้หน่วยความจามากกว่า
100 MB ส่งผลให้ไฟล์มีขนาดใหญ่เกินไป ทาให้ประสิทธิภาพของงการทางานลดลงตามไปด้วย
จนกระทั้งเทคโนโลยีการบีบอัด ขนาดของภาพได้มีการพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง ทาให้ภาพวิดีโอ
สามารถทางานได้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น และกลายเป็นสื่อที่ มีบทบาทสาคัญต่อระบบ
มัลติมีเดีย (Multimedia System)
ประโยชน์ของมัลติมีเดีย
1. มัลติมีเดียสามารถนามาประยุกต์ใช้งานในด้านต่างๆ ได้หลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับ
วัตถุประสงค์ในการนาไปใช้งาน เช่น การนามัลติมีเดียมาใช้ผลิตสื่อการเรียนการสอน
การออกแบบสื่อโฆษณา สื่อสิ่งพิมพ์ และผลิตภาพยนตร์เป็นต้น โดยมัลติมีเดียจะช่วยให้งานมี
ความหลากหลาย และน่าสนใจมากขึ้น
8
หน่วยที่
1
9
2. ง่ายต่อการใช้งาน องค์ประกอบของมัลติมีเดียส่วนใหญ่มีพื้นฐานมาจาก ตัวอักษร
รูปภาพ เสียง และสื่อชนิดอื่นๆ ซึ่ง เป็นสื่อที่ใช้กันอยู่ทั่วไปในชีวิตประจาวัน ทาให้สามารถนา
มัลติมีเดียมาประยุกต์ใช้กับสิ่งพิมพ์ โทรทัศน์ และระบบ คอมพิวเตอร์ได้ง่าย
3. สร้างความรู้สึก สื่อมัลติมีเดียสามารถสร้างความรู้สึกให้กับผู้ชมได้ เช่น การใช้
เสียงเพลงเพื่อสร้างความรู้สึก เป็นต้น
4. สร้างเสริมประสบการณ์การออกแบบและพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ด้านมัลติมีเดีย แม้จะมีคุณลักษณะที่แตกต่างกัน ตามแต่ละวิธีการ แต่สิ่งหนึ่งที่ผู้ใช้จะได้รับ คือ
การสั่งสมประสบการณ์จากการใช้สื่อเหล่านี้ในแง่มุมที่แตกต่างกัน ทาให้ ทราบหรือคาดเดาถึง
การใช้งานโปรแกรมมัลติมีเดียอื่นๆ ได้
5. เพิ่มความสามารถในการเรียนรู้ ผู้ใช้แต่ละคนอาจมีความสามารถในการเรียนรู้ และ
ประสบการณ์ที่แตกต่างกัน การนาสื่อ มัลติมีเดียมาประยุกต์ใช้เพื่อนาเสนอเนื้อหาต่างๆ จะช่วย
เพิ่มทักษะในการเรียนรู้ด้วยตัวเองได้ดีขึ้น
6. คุ้มค่าต่อการลงทุนการใช้โปรแกรมด้านมัลติมีเดียจะช่วยลดระยะเวลาและประหยัด
ค่าใช้จ่ายต่างๆ ในการจ้างผู้เชี่ยวชาญมาเผยแพร่ความรู้ เช่น การจัดหาวิทยากร การเดินทาง
การจัดหาสถานที่ และการจัดหาช่องทางการนาเสนอผ่านสื่อ เป็นต้น
กำรประยุกต์ใช้งำนมัลติมีเดียในด้ำนต่ำงๆ
มัลติมีเดียได้ถูกพัฒนามาเพื่อให้สามารถประยุกต์ใช้งานร่วมกับแอปพลิเคชั่นในด้านต่างๆ
ตามความต้องการของผู้ใช้ได้ หลากหลาย ดังนี้
ด้ำนควำมบันเทิง (Entertainment) เทคโนโลยีมัลติมีเดียได้เข้ามามีบทบาทต่อ
ความบันเทิงภายในบ้านในรูปแบบต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นเกมส์คอมพิวเตอร์ เพลง ภาพยนตร์
สารานุกรมสาหรับการสื่อสาร และการ์ตูน โดยผู้ใช้สามารถโต้ตอบกับ แอปพลิเคชั่นของ
มัลติมีเดียเพื่อควบคุมการทางานต่างๆ ได้ เช่น สั่งให้เล่นหรือหยุดเพลง เป็นต้น
ด้ำนกำรศึกษำ (Education) สามารถนามัลติมีเดียมาประยุกต์ใช้ในด้านการศึกษา
เพื่อสร้างสื่อการเรียนรู้ในรูปแบบ อิเล็กทรอนิกส์ ที่เรียกว่า “E-Learning” (Electronic
Learning) เช่น สื่อมัลติมีเดียที่จาลองการทดลองในห้องปฏิบัติการทางเคมี เป็นต้น โดยสามารถ
นาสื่อมัลติมีเดียนี้มาเผยแพร่ผ่านทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อถ่ายทอดความรู้ นอกจากนี้ยัง
สามารถนาเสนอมัลติมีเดียในรูปแบบวิดีโอ (Video) แอนิเมชั่น (Animation) และเสียง (Audio)
เพื่อเพิ่มความเข้าใจและ การจดจาได้ดียิ่งขึ้น
ด้ำนกำรฝึกอบรม (Training) Computer Based Training (CBT) เป็นการฝึกอบรม
และพัฒนาพนักงานในองค์กร ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถใน
การปฏิบัติงาน เช่น การฝึกอบรมพนักงานเพื่อควบคุม เครื่องจักร การฝึกอบรมด้านการเงินและ
หน่วยที่
1
การบัญชี และการฝึกอบรมด้านคอมพิวเตอร์ เป็นต้น การอบรมด้วยวิธีนี้สามารถเรียนในเวลา
ที่ว่างได้ ไม่เสียเวลาในการทางานและสามารถเรียนรู้ได้เองโดยไม่จาเป็นต้องเรียนรู้จากอาจารย์
ผู้สอนโดยตรง ทาให้พนักงานแต่ละหน่วยงานมีความรู้ที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน
ด้ำนกำรนำเสนอข้อมูล (Presentation)สามารถนามัลติมีเดียมาประยุกต์ใช้เพื่อ
นาเสนอข้อมูลในรูปแบบข้อความ (Text) แผนภูมิ (Chart) โลโก้ (Logo) หรือ วิดีโอ (Video)
เพื่อช่วยในการอธิบายและสื่อสารข้อมูลให้ผู้เข้าชมเข้าใจยิ่งขึ้น ตัวอย่างเช่น การนาเสนอข้อมูล
ภายในองค์กรจะแสดงให้เห็นถึงลักษณะเด่น กิจกรรมของบริษัท ผลิตภัณฑ์ และหน่วยงาน
ทางธุรกิจ ซึ่งเป็นวิธีที่ช่วยเพิ่มความน่าเชื่อถือและเพิ่มศักยภาพให้กับองค์กร เป็นต้น
ด้ำนกำรบริกำรข้อมูล (Information) การให้บริการข้อมูลจะนาแอปพลิเคชั่น
มัลติมีเดียมาประยุกต์ใช้กับ Information Kiosk ซึ่งเป็นระบบให้บริการข้อมูลแบบอัตโนมัติ
ประกอบด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์แบบหน้าจอสัมผัส (Touch Screen) ที่มีการเชื่อมต่อกับ
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อดึงข้อมูลต่างๆ เช่น การนาเสนอข้อมูลสินค้า ข้อมูลทางการเงิน หรือ
บริการของเว็บไซต์ เป็นต้น โดยผู้ใช้สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ด้วยตนเองผ่านทางสานักงานหรือ
ศูนย์การค้าที่ให้บริการ
ด้ำนธุรกิจ (Business) มัลติมีเดียช่วยอานวยความสะดวกในด้านธุรกิจได้เป็นอย่างมาก
ใช้สาหรับแสดงรายละเอียดสินค้า หรือการบริการต่างๆ เป็นต้น การนาเสนอด้วยมัลติมีเดีย
สามารถอธิบายข้อมูลได้อย่างชัดเจนและเช้าใจง่าย นอกจากนี้ยังการ พัฒนาเทคโนโลยีการติดต่อ
สื่อสารที่เป็นไปอย่างรวดเร็ว และเชื่อมโยงกันอย่างทั่วถึง ทาให้สามารถใช้มัลติมีเดียเพื่อ
การติดต่อสื่อสารกันในระยะไกลได้ด้วย เช่น การประชุมทางไกล (Video Conference) โดยจะ
สื่อสารกันผ่านกล้อง และไมโครโฟน ทาให้ประหยัดค่าใช้จ่ายด้านสถานที่ การเดินทาง และเวลา
ด้ำนกำรท่องเที่ยว (Travel) บริษัทท่องเที่ยวสามารถนามัลติมีเดียมาประยุกต์ใช้เพื่อ
นาเสนอแพ็กเกจการท่องเที่ยวผ่านทาง เว็บไซต์ หรือสื่อโฆษณาอื่นๆ ได้ โดยนาเสนอข้อมูล
ต่างๆ เช่น สถานที่ ห้องพัก อาหาร ราคา และกิจกรรมต่างๆ เป็นต้น เพื่อ ดึงดูดความสนใจจาก
ลูกค้า นอกจากนี้ระบบมัลติมีเดียที่ใช้ควรจะมีเครื่องมือในการค้นหาและสืบค้นข้อมูลที่ลูกค้า
ต้องการได้
ด้ำนกำรซื้อขำยสินค้ำ (Electronic Shopping) ปัจจุบันการซื้อขายสินค้าผ่านทาง
เครือข่ายอินเทอร์เน็ต จะนาสื่อมัลติมีเดีย มาประยุกต์ใช้ในการนาเสนอสินค้าและบริการแก่ลูกค้า
เช่น ราคา ขนาด สีสัน และคุณสมบัติพิเศษของสินค้าหรือบริการ เป็นต้น เพื่อสร้างความน่าสนใจ
ให้กับสินค้าหรือบริการ เมื่อลูกค้าต้องการก็สามารถสั่งซื้อผ่านเว็บไซต์ได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว
โดยระบบควรจะแสดงขั้นตอนการสั่งซื้อและวิธีการใช้งานให้กับลูกค้าทราบด้วย
10
หน่วยที่
1
ด้ำนกำรสื่อสำร (Communication) แอปพลิเคชั่นสาหรับเทคโนโลยีมัลติมีเดีย
สามารถรองรับการสื่อสารแบบ Real Time ระหว่างผู้ใช้งานกับแอปพลิเคชั่นด้วย Real
Transport Protocol (RTTP) และใช้เทคโนโลยีแบบสตรีมมิ่ง (Streaming) เพื่อให้บริการใน
รูปแบบต่างๆ ผ่านทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้ เช่น บริการ Voice Mail และ Tele Conference
โดย Voice Mail เป็นบริการบันทึกข้อมูลเสียงไว้บน Voice Mail Server เพื่อให้ผู้ใช้สามารถ
เปิดฟังได้ใน ภายหลัง ส่วน Tele Conference จะเป็นการสื่อสารภาพ และ เสียงแบบ Real
Time โดยจาเป็นต้องเชื่อมต่อเข้า เซิร์ฟเวอร์ส่วนกลางเพื่อติดต่อสื่อสารกับหน่วยงานต่างๆ ที่
เกี่ยวข้องได้รวมถึงบริการ Audio Conference สาหรับสื่อสาร ด้วยเสียง และ Video
Conference ที่สามารถสื่อสารได้ทั้งภาพและเสียงผ่านทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ตแบบ Real
Time ที่ช่วยลดค่าใช้จ่ายและสามารถรองรับผู้ใช้งานได้เป็นจานวนมาก
ด้ำนกำรแพทย์ (Medicine) เทคโนโลยีมัลติมีเดียสามารถนามาประยุกต์ใช้ในด้าน
การแพทย์ได้ เช่น ภาพเอ็กซ์เรย์ที่ได้ จาก CT Scan ซึ่งจะใช้คลื่นแม่เหล็กตรวจสอบร่างกาย
มนุษย์และแสดงผลลัพธ์การสแกนในรูปแบบ 3 มิติ เป็นต้น นอกจากนี้ยังสามารถใช้เทคโนโลยี
Tele Medicine หรือระบบแพทย์ทางไกลผ่านดาวเทียมช่วยในการวินิจฉัยเพื่อหาสาเหตุ ของ
โรคและวิธีการรักษาได้โดยสามารถทาการรักษาหรือผ่าตัดผ่านระบบทางไกลได้อย่างแม่นยา
ด้ำนกำรออกแบบทำงด้ำนวิศวกรรม (Engineering Application) เทคโนโลยี
มัลติมีเดียช่วยในการออกแบบเครื่องจักร ไฟฟ้า วงจรอิเล็กทรอนิกส์ และอาคาร โดยใช้
คอมพิวเตอร์ Computer Aided Design (CAD) และ Computer Aided Manufacturing
(CAM) วิศวกรจะใช้ซอฟต์แวร์สาหรับการออกแบบในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ที่แสดง
ส่วนประกอบ ต่างๆ ได้อย่างละเอียด เหมือนจริง และเคลื่อนไหวได้ ก่อนที่จะทาการผลิต
ด้ำนกำรจัดเก็บและสืบค้นข้อมูล (Content Base Storage and Retrieval :
CBSR) ในปัจจุบันระบบการค้นหาและ สืบค้นข้อมูล (Content Base Storage And Retrieval
: CBSR) นิยมนาไปใช้ในทางการค้าบนเครือข่ายทางอินเทอร์เน็ต ที่มีการจัดเก็บข้อมูลใน
ฐานข้อมูล เช่น รูปภาพ เสียง และวิดีโอ เป็นต้น โดยจะนาข้อมูลที่ผู้ใช้ต้องการสืบค้นมาแม็ตชิ่ง
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อกำรนำเสนอมัลติมีเดีย
การนาเสนอมัลติมีเดียจะมีประสิทธิภาพและได้รับความนิยมหรือไม่ ขึ้นอยู่กับปัจจัย
ต่างๆ ดังนี้
ควำมต้องกำรของผู้ใช้งำน (Demand from Customer) การนาเสนอมัลติมีเดีย
ควรคานึงถึงความต้องการและวัตถุประสงค์ ของผู้ใช้งานเป็นหลัก เนื่องจากผู้ใช้แต่ละคนมีความ
ต้องการที่แตกต่างกัน เช่น เมื่อผู้ใช้ต้องการชมภาพยนตร์ตัวอย่างผ่านทาง เว็บไซต์ นอกจากจะ
11
หน่วยที่
1
นาเสนอภาพและเสียงแล้วยังต้องสามารถตอบสนองการใช้งานต่างๆ ได้ เช่น สามารถสั่งให้เล่น
หรือหยุดเล่นภาพยนตร์ได้
กำรบีบอัดข้อมูล (Compression) การบีบอัดข้อมูล คือ วิธีการจัดเก็บข้อมูลให้มี
ขนาดเล็กลง โดยทั่วไปการบันทึก มัลติมีเดียจาเป็นต้องใช้การบีบอัดข้อมูลเนื่องจากไฟล์มัลติมีเดีย
เป็นไฟล์ที่มีขนาดใหญ่ใช้พื้นที่ในการจัดเก็บมาก ทาให้การส่ง และแสดงผลข้อมูลช้า ดังนั้น
การบีบอัดให้ข้อมูลมีขนาดเล็กลงจะทาให้สามารถแสดงผลและส่งข้อมูลมัลติมีเดียได้รวดเร็ว
ยิ่งขึ้น
ประสิทธิภำพในกำรประมวลผล (Processing Power) โดยทั่วไปการนาเสนอมัลติมีเดีย
จะอยู่ในรูปแบบของรูปภาพ เสียง วิดีโอ และแอนิเมชั่น ซึ่งจาเป็นต้องใช้หน่วยประมวลผล
ที่มีประสิทธิภาพ เพื่อประมวลผลข้อมูลที่มีขนาดใหญ่ด้วยเวลา ที่เหมาะสม ส่วนการประมวล
แอนิเมชั่นแบบ 3 มิติ (3D Animation) จาเป็นต้องใช้หน่วยประมวลผลและหน่วยความจาที่มี
ประสิทธิภาพมากกว่าการประมวลผลมัลติมีเดียในรูปแบบ 2 มิติ นอกจากนี้ยังต้องมีระบบ
การแสดงผลที่มีประสิทธิภาพสูง ด้วย
มำตรฐำน (Standard) มาตรฐานสาหรับนาเสนอมัลติมีเดียไม่มีการระบุไว้อย่าง
ชัดเจน แต่โดยทั่วไปจะประกอบด้วย องค์ประกอบทางด้านฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์
องค์ประกอบด้านฮาร์ดแวร์ เช่น สาย และพอร์ตสาหรับเชื่อมต่อ เป็นต้น ส่วนองค์ประกอบ
ด้านซอฟต์แวร์ เช่น รูปแบบไฟล์ โปรโตคอลสาหรับรับส่งข้อมูล และมาตรฐานการบีบอัดข้อมูล
เป็นต้น โดยองค์ประกอบเหล่านี้ต้องสามารถรองรับการนาเสนอมัลติมีเดียได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
แบนด์วิธ (Bandwidth) ประสิทธิภาพในการนาเสนอมัลติมีเดียบนอินเทอร์เน็ตจะขึ้นอยู่
กับขนาดของแบนด์วิธและความเร็ว ในการส่งข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์
ไปยังเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เช่น การรับส่งข้อมูลภาพระหว่างจอภาพ (Monitor) การ์ดวิดีโอ
(Video Adepter) และหน่วยประมวลผล (Processor) หรือการรับส่งข้อมูลเสียง (Audio)
ระหว่างลาโพง (Speaker) การ์ดเสียง (Sound Card) และหน่วยประมวลผล (Processor)
เป็นต้น รวมถึงความเร็ว บัสของ Interface ที่ใช้เชื่อมต่อกับอุปกรณ์ เช่น AGP , USB และ
FireWire เป็นต้น โดยข้อมูลมัลติมีเดียจะใช้ โปรโตคอลเพื่อกาหนดกฎเกณฑ์ในการรับส่งข้อมูล
บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เช่น โปรโตคอล Real Time Transport Protocol (RTTP) เป็นต้น
โดยอาจใช้การรับส่งข้อมูลแบบสตรีมมิ่ง (Streaming) ที่สามารถรับส่งข้อมูลมัลติมีเดียได้ อย่าง
มีประสิทธิภาพ
กำรเผยแพร่ (Distribute Mechanism) นอกจากการนาเสนอมัลติมีเดียผ่านทาง
เครือข่ายอินเทอร์เน็ต วิธีที่นิยมใช้ในการ นาเสนอมัลติมีเดียอีกวิธีหนึ่ง คือ การนาเสนอผ่าน
อุปกรณ์สาหรับจัดเก็บข้อมูลแบบพกพาชนิดต่างๆ เช่น ซีดี (CD) ดีวีดี (DVD) และการ์ดบันทึก
12
หน่วยที่
1
ข้อมูลประเภทต่างๆ (Memory Card) เป็นต้น ซึ่งสามารถนาไปใช้งานและเผยแพร่มัลติมีเดียได้
อย่างสะดวกรวดเร็ว
สรุป
ในบทนี้อธิบายถึงความหมาย คุณสมบัติ การประยุกต์ใช้งาน และขั้นตอนการสร้าง
มัลติมีเดีย โดยใช้สื่อชนิดต่างๆ เช่น ตัวอักษร (Text) ภาพนิ่ง (Image) กราฟิก (Graphic) เสียง
(Audio) วิดีโอ (Video) และแอนิเมชั่น (Animation) เป็นต้น โดยผู้ใช้สามารถควบคุมและ
โต้ตอบกับมัลติมีเดียผ่านแอปพลิเคชั่นได้ มัลติมีเดียสามารถนามาใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ เช่น
การศึกษา การฝึกอบรม การท่องเที่ยว การซื้อขายสินค้าและบริการ ธุรกิจ การแพทย์ และด้าน
ความบันเทิง เป็นต้น นอกจากนี้ มัลติมีเดียยังมีประโยชน์กับผู้ใช้หลายประการ เช่น ง่ายต่อการ
ใช้งาน สร้างความรู้สึก สร้างเสริมประสบการณ์ เพิ่มความสามารถในการเรียนรู้ และคุ้มค่าต่อ
การลงทุน เป็นต้น
การสร้างมัลติมีเดียจาเป็นต้องคานึงถึงวัตถุประสงค์ในการนาไปใช้ และกลุ่มเป้าหมายเป็น
หลัก โดยจะต้องอาศัยฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ที่ทางานร่วมกับมัลติมีเดียได้อย่างมีประสิทธิภาพ
แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1) แบบ Multimedia Playback สาหรับการแสดงผลมัลติมีเดีย
และ 2) Multimedia Production สาหรับผลิตมัลติมีเดีย
13
หน่วยที่
1
ใบงำนที่ 1
เรื่อง ควำมรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสื่อมัลติมีเดีย
คำสั่ง ให้นักเรียนตอบคาถามจากโจทย์ที่กาหนดให้ต่อไปนี้
1. อธิบายความหมายของคาว่ามัลติมีเดีย
......................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
2. องคประกอบของสื่อมัลติมีเดียประกอบดวย
......................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
3. มัลติมีเดียสามารถนามาประยุกต์ใช้ในด้านใดบ้าง
......................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
14
หน่วยที่
1
โปรแกรม Corel VideoStudio Pro X6
เปนโปรแกรมตัดตอวิดีโอที่มีการใชงานไมยาก
จนเกินไป แมผูที่เริ่มใชงานก็สามารถที่จะสรางวิดีโอได
เหมือนกับผูที่มีประสบการณตัดตอวิดีโอมานาน
โปรแกรมนี้มีเครื่องมือสาหรับตัดตอวิดีโออยางครบถวน
เริ่มตั้งแตจับภาพจากกลองเข้าคอมพิวเตอร ตัดตอวิดีโอ
ใสเอ็ฟเฟกตตาง ๆ แทรกดนตรีประกอบ แทรก
คาบรรยาย ไปจนถึงบันทึกวิดีโอที่ตัดตอกลับลงเทป
VCD, DVD หรือแมกระทั่งเผยแพรผลงานทางเว็บ
โปรแกรม Corel VideoStudio มีการทางานเปนขั้นตอนที่งาย ตั้งแตจับภาพตัดต่อ
ไปจนถึงเขียนลงแผน นอกจากนี้แลว โปรแกรมยังมีเอ็ฟเฟกตตาง ๆ อีกมากมาย ไตเติ้ลสาเร็จรูป
แบบมืออาชีพรวมทั้งยังมีเครื่องมือที่ใชสาหรับสรางซาวนดแทร็คอยางงาย ๆ อีกดวย
15
ตอนที่ 2
กำรใช้งำนโปรแกรม Corel VideoStudio Pro x6
หน่วยที่
1
ในการสรางวิดีโอนั้น เริ่มแรกจับภาพ
วิดีโอจากกลองหรือวาดึงไฟลวิดีโอจากแผน
VCD / DVD เขามาจากนั้นก็ตัดแตงวิดีโอที่จับ
ภาพ มาเรียงลาดับเหตุการณ ใสทรานสิชั่น
Transition เอ็ฟเฟกตที่ใสระหวางคลิปวิดีโอ
ทาใหการเปลี่ยนคลิปวิดีโอจากคลิปหนึ่งไปยัง
อีกคลิปหนึ่ง นาดูยิ่งขึ้น ทาภาพซอนภาพ
ใสไตเติ้ล ใสคาบรรยาย แทรกดนตรีประกอบ ซึ่งสวนตาง ๆ เหลานี้จะแยกแทร็คกัน การทางาน
ในแตละแทร็คจะไมมีผลกระทบกับแทร็คอื่นๆ เมื่อทาเสร็จแลวขั้นตอนสุดทายก็คือ การเขียน
วิดีโอลงแผน และนาไปใช้งาน
การตัดตอใน Corel VideoStudio นั้น จะสรางเปนไฟลขึ้นมาซึ่งไฟลนี้จะเก็บขอมูล
หากทางานยังไมเสร็จก็สามารถเปดเพื่อทางานตอในภายหลังได ไฟลนี้จะมีขนาดเล็ก
การตัดตอวิดีโอแมจะตัดตออยางไรในวิดีโอ ก็จะไมมีผลกระทบตอไฟลตนฉบับ ขอมูลการตัดตอ
จะบันทึกอยูในไฟลทั้งหมด แตเมื่อมีการสรางวิดีโอที่ไดจากการตัดตอโปรแกรมอานขอมูลจาก
ตนฉบับตามขอมูลที่อางอิงจากไฟล์นี้
16
หน่วยที่
1
ใบงำนที่ 2
เรื่อง กำรใช้งำนโปรแกรม Corel VideoStudio Pro x6
คำสั่ง ให้นักเรียนอธิบายเกี่ยวกับโปรแกรม Corel VideoStudio Pro x6 พอสังเขป
......................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
17
หน่วยที่
1
ในปจจุบันนี้มีระบบการสงสัญญาณโทรทัศนที่นิยมใชในแถบภูมิภาคตาง ๆ คือ
1. ระบบ NTSC (National Television Standards Committee) เปนระบบโทรทัศน
สีระบบแรกที่ใชงานในประเทศสหรัฐอเมริกา ตั้งแต่ปค.ศ. 1953 ประเทศที่ใชระบบนี้ ตอ ๆ มา
ไดแก ญี่ปุน แคนาดา เปอเตอริโก และเม็กซิโก เปนตน
2. ระบบ PAL (Phase Alternation Line) เปนระบบโทรทัศนที่พัฒนามาจากระบบ
NTSC ทาใหมีการเพี้ยนของสีนอยลง เริ่มใชงานมาตั้งแต่ปค.ศ. 1967 ในประเทศทางแถบยุโรป
คือ เยอรมันตะวันตก อังกฤษ ออสเตรเลีย เบลเยี่ยม บราซิล เดนมารก นอรเวย สวีเดน
สวิตเซอรแลนด และมีหลายประเทศในแถบเอเซียที่ใชกันคือ สิงคโปร มาเลเซีย รวมไปถึง
ประเทศไทยก็ใชระบบนี้
3.ระบบSECAM(SEQuentielAMemoire("memorysequential"))เปนระบบโทรทัศน
อีกระบบหนึ่ง คิดคนขึ้นโดย Dr.Henry D.France เริ่มใชมาตั้งแต่ปค.ศ.1967 นิยมใชกันอยู
หลายประเทศแถบยุโรปตะวันออกไดแก ฝรั่งเศส อัลจีเรีย เยอรมันตะวันออก ฮังการี ตูนีเซีย
โรมาเนีย และรัสเซีย เปนตน
18
ตอนที่ 3
ระบบกำรส่งสัญญำณโทรทัศน์
หน่วยที่
1
คุณภำพของระบบโทรทัศนสีในระบบตำงๆ
1. ระบบ NTSC ขอดี คือ สามารถมองเห็นภาพได 30 ภาพ/วินาที (ระบบอื่นมองเห็น
ได 25 ภาพ/วินาที) ทาใหการสั่นไหวของภาพ
ลดนอยลงและเนื่องจากสัญญาณภาพใช้ความกวาง
ของคลื่นสัญญาณนอย ทาใหภาพถูกรบกวนนอย
ภาพที่ไดรับจึงมีความคมชัดมากขึ้น ขอเสียนั้นเกิดจาก
การที่เสนสแกนภาพมีจานวนนอย หากใชจอภาพ
เครื่องรับโทรทัศนที่มีขนาดใหญรับภาพ จะทาให้
รายละเอียดภาพมีนอย ดังนั้นภาพจึงขาดความคมชัด
และถาใชเครื่องรับโทรทัศนขาว-ดา สัญญาณสีที่ความถี่ 3.58 MHz จะเกิดการรบกวนสัญญาณ
ขาว-ดา ทาใหเกิดความผิดเพี้ยนของสี วิธีแกไข ตองปรับแก ที่เครื่องรับโทรทัศน เพื่อใหไดภาพ
เปนธรรมชาติซึ่งตองใชความสามารถเฉพาะตัวของผูรับชมปรับแตง
2. ระบบ PAL ข้อดี เปนระบบที่ใหรายละเอียดของภาพสูง ไมมีความผิดเพี้ยนของสี
ภาพที่ไดเปน ธรรมชาติ ความเขมของภาพสูง (High
Contrast) ดีกวาระบบ NTSC ขอเสียคือ ภาพที่
มองเห็นมีความสั่นไหวมากกวาระบบ NTSC เนื่องจาก
ภาพที่มองเห็น 25 ภาพ/วินาที ถูกรบกวนสัญญาณ
ภาพสูง สาเหตุเพราะมีความกวางของสัญญาณภาพ
มากกวา (Higher Bandwidth) ระบบ NTSC
จุดอิ่มตัว ความสวางของสีนอย (reduce the color
saturation) ทาใหเห็นความสวางของสีนอยลง
3. ระบบ SECAM เปนระบบที่ไมมีความผิดเพี้ยนของสี รายละเอียดของภาพมีคุณภาพสูง
เทียบเทา กับระบบPAL ขอเสียภาพจะมีการสั่นไหว
เหมือนระบบ PAL สวนการตัดตอภาพในระบบนี้
ไมสามารถทาได้ ซึ่งในการผลิตรายการโทรทัศน
สวนมากใชระบบ PAL และเมื่อผลิตเสร็จแลว
จึงเปลี่ยนกลับไปเปนระบบ SECAM แลวจึงสงออก
อากาศ และเนื่องจากความกวางของคลื่นสัญญาณ
มีนอย จึงทาใหเกิดคลื่นความถี่สัญญาณสีรบกวน
ภาพ (Patterning Effects) จึงทาใหภาพเกิดมีสีรบกวนในขณะรับชมรายการได
19
หน่วยที่
1
20
ระบบโทรทัศนสีที่ใชงำนทั่วโลก
ในระบบอะนาล็อกยังมีการแบงยอยจากระบบใหญ ๆ ทั้ง3ระบบ ดังกลาว ทั้งนี้เพื่อ
ความเหมาะสมของกระแสไฟฟาที่แตละประเทศใชงานและความเหมาะสม กับประเทศที่ใชงาน
กาหนดโดยสหภาพวิทยุโทรคมนาคม (ITU) เชน กระแสไฟฟา 60 Hz จะใชระบบสัญญาณ
โทรทัศนสี Field frequency 60 Hz และกระแสไฟฟา 50 Hz จะใชระบบสัญญาณโทรทัศนสี
Field frequency 50 Hz ทั้งนี้ก็เพื่อปองกันความถี่ของกระแสไฟฟาที่ใชรบกวนสัญญาณภาพ
ระบบสัญญาณโทรทัศนสีที่ใชงานอยูในปจจุบันมีคุณภาพสัญญาณที่ดีไมพบขอเสีย
ดังนั้นในการพิจารณาใชงานระบบใดระบบหนึ่งก็อาจมีสาเหตุมาจากเหตุผลอื่น ๆ เชน
เหตุผลทางดานเศรษฐกิจการลงทุนในการผลิต และการใชเครื่องรับโทรทัศนเปนจานวนมาก
แลวถาหากจะเปลี่ยนระบบอาจตองลงทุนสูง เหตุผลทางดานการเมือง อาจไดรับการสนับสนุน
จากประเทศมหาอานาจใหใชระบบใดระบบหนึ่ง
บทสรุป สัญญาณโทรทัศนสีในระบบตาง ๆ ที่ใชกันอยูทุกวันนี้ มีหลักการออกแบบ
คลายกันคือ การสงโทรทัศนสีจะตองทาใหเครื่องรับโทรทัศนขาว-ดาและเครื่องรับโทรทัศนสีรับ
สัญญาณได โดยสัญญาณที่สงออกอากาศจะตองเปนสัญญาณเดียวกัน สวนคุณภาพของภาพ
โทรทัศนนั้นขึ้นอยูกับขอจากัดทางเทคนิค การกาหนดภาพที่เหมาะสมมี 2 ระบบหลักคือ 25
ภาพ/วินาที และ 30 ภาพ/วินาที สัญญาณโทรทัศนสีในระบบอะนาล็อกนี้จะถูกเปลี่ยน
เขารหัสเปนระบบดิจิทัลกอนที่จะสงเปนสัญญาณโทรทัศนระบบดิจิทัล
หน่วยที่
1
ใบงำนที่ 3
เรื่อง ระบบกำรส่งสัญญำณโทรทัศน์
คำสั่ง ให้นักเรียนอธิบายระบบการส่งสัญญาณโทรทัศน์
1. ระบบ NTSC
......................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
2. ระบบ PAL
......................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
3. ระบบ SECAM
......................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
21
หน่วยที่
1
คุณสมบัติของไฟลวิดีโอ และภำพยนตร
Frame Rate คือความเร็วในการแสดงภาพเคลื่อนไหวตอหนึ่งหนวยเวลามีหนวยเปน
เฟรมตอวินาที โดยอัตราการเคลื่อนไหวที่จะเปนภาพยนตรไดนั้นควรมีคาขั้นต่าตั้งแต 7-10 fps
คาเฟรมเรทขึ้นอยูกับระบบของภาพยนตร์ และระบบวิดีโอตาง ๆ ดังนี้
ระบบต่ำงๆ Frame rate(fps)
ฟลมภำพยนตร์ทั่วไป 24
วิดีโอ ระบบ NTSC 29.79
วิดีโอ ระบบ PAL และSECAM 25
CD-ROM และ เว็บไซต์ 15
งำน 3D animation 30 (non-Drop frame)
รูปแบบของไฟล์วิดีโอประเภทต่ำงๆ
ประเภท คุณสมบัติ
AVI เปนไฟลมำตรฐำนของไฟล วิดีโอ ทั่วไป มีควำมคมชัดสูง
แตจุดดอยคือไฟลมีขนำดใหญ(ควำมจุสูง)
Mpeg ไฟล วิดีโอ ที่ถูกบีบอัด แบบหนึ่ง ไดรับควำมนิยมมำก
ขอดีคือไฟลมีขนำดเล็ก เลือกควำมคมชัดไดหลำยแบบ
Mpeg-1 เปนไฟลที่นิยมทำใน วีซีดี เปนไฟลที่มีขนำดเล็กที่สุด
Mpeg-2 เปนไฟลที่นิยมทำ ดีวีดี เปนไฟลขนำดใหญมีควำมคมชัดสูง
เมื่อเทียบกับตระกูล เอ็มเพ็ก ดวยกัน
22
ตอนที่ 4
ประเภทของไฟล์ที่ใช้ในกำรตัดต่อวิดีโอ
หน่วยที่
1
23
ประเภท คุณสมบัติ
Mpeg-4 เปนไฟลที่กำลังไดรับควำมนิยม มีคุณภำพเทียบเคียง ดีวีดี
แตมีขนำดเล็ก เหมำะกับ กำรเผยแพรทำงอินเทอรเน็ต
WMA เปนรูปแบบไฟลมำตรฐำน บนระบบ Windows
นิยมเผยแพรทำงอินเทอรเน็ต
RW เปนรูปแบบของไฟลโปรแกรม RealOne Player
นิยมเผยแพรกันบนอินเทอรเน็ต
MOV เปนรูปแบบของไฟล โปรแกรม QuickTime ผลิตเพื่อใชกับ
เครื่องApple แตเปดบน ระบบ Windows ไดเชนกัน
หน่วยที่
1
ใบงำนที่ 4
เรื่อง ประเภทของไฟล์ที่ใช้ในกำรตัดต่อวิดีโอ
คำสั่ง ให้นักเรียนอธิบายคุณสมบัติของไฟล์ที่ใช้ในการตัดต่อวิดีโอ
ประเภท คุณสมบัติ
AVI
Mpeg
Mpeg-1
Mpeg-2
Mpeg-4
WMA
RW
MOV
24
หน่วยที่
1
แบบทดสอบหลังเรียน
25
คำชี้แจง แบบทดสอบเป็นแบบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ
คำสั่ง จงเขียนเครื่องหมายกากบาท  ทับตัวอักษร ก, ข, ค, หรือ ง ในกระดาษคาตอบ
สาหรับตัวเลือกที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
1. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการนาเสนอมัลติมีเดีย
ก. ประสิทธิภาพในการประมวลผล ข. มาตรฐาน
ค. คุณภาพ ง. การบีบอัดข้อมูล
2. ไฟล์วิดีโอทั่วไป มีความคมชัดสูงแต่มีจุดด้อยคือเป็นไฟล์ขนาดใหญ่คือข้อใด
ก. Mpeg-4 ข. AVI
ค. WMA ง. MOV
3. ในปัจจุบันเรานิยมใช้ไฟล์เสียงใดที่คุณภาพเสียงที่ดีและมีความจุน้อยมาก
ก. AIFF ข. MP3
ค. QuickTime ง. Real Audio
4. ข้อใดไม่ใช่ ระบบส่งสัญญาณโทรทัศน์ที่มีอยู่ทั่วไปในโลก
ก. MBT ข. PAL
ค. NTSC ง. SECAM
5. ขั้นใดควรทาเป็นขั้นตอนแรกของการตัดต่อวิดีโอ
ก. การตัดต่อ ข. เตรียมกล้อง และอุปกรณ์
ค. การเขียน Storyboard ง. การเตรียมองค์ประกอบต่างๆ
หน่วยที่
1
6. ข้อใดที่โปรแกรม Corel VideoStudio Pro x6 ไม่สามารถทาได้
ก. บันทึกเสียง
ข. ตกแต่งภาพนิ่ง
ค. ตัดต่อภาพวิดีโอ
ง. จับภาพวิดีโอจากกล้องมาเก็บไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์
7. ความหมายของมัลติมีเดียข้อใดถูกต้องที่สุด
ก. การนาข้อความ ภาพ มาผ่านกระบวนการทางระบบคอมพิวเตอร์
ข. การนาข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง วิดีโอ มาผ่านกระบวนการทางระบบ
คอมพิวเตอร์
ค. การนาข้อความ ภาพ เสียง มาทาให้เป็นวิดีโอเพื่อการนาเสนอข้อมูลตามความต้องการ
ต้องผู้ใช้
ง. การนาภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง มาทาให้เป็นวิดีโอเพื่อการนาเสนอข้อมูลตาม
ความต้องการต้องผู้ใช้
8. ประเทศไทยใช้ระบบโทรทัศน์แบบเดียวกับประเทศสิงคโปร์ มาเลเซีย คือข้อใด
ก. NTSC ข. SECAM
ค. MBT ง. PAL
9. ข้อใดกล่าวถึงโปรแกรม Corel VideoStudio Pro x6 ได้อย่างถูกต้อง
ก. ไม่ควรใส่วิดีโอลงในการตัดต่อเพราะจะทาให้ไฟล์ใหญ่เกินไป
ข. ต้องใช้โปรแกรมอื่นบันทึกวิดีโอที่ตัดต่อแล้วลงแผ่น VCD, DVD
ค. สามารถบันทึกวิดีโอที่ตัดต่อแล้วกลับลงในแผ่น VCD, DVD
ง. สามารถพิมพ์ข้อความในโปรแกรม Ms-word แล้วนามาใส่ในโปรแกรม Corel Video
Studio x6 ได้
10. การนาสื่อมัลติมีเดียมาสร้างสื่อการเรียนรู้ในรูปแบบ E-learning เป็นการนามัลติมีเดียมา
ประยุกต์ใช้ด้านใด
ก. ด้านความบันเทิง ข. ด้านการบริการข้อมูล
ค. ด้านการนาเสนอข้อมูล ง. ด้านการศึกษา
26
หน่วยที่
1
บรรณำนุกรม
กระทรวงศึกษาธิการ. คู่มือกำรใช้โปรแกรมตัดต่อวิดีโอ. กรุงเทพฯ : สานักเทคโนโลยีเพื่อ
การเรียนการสอน สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, มปป.
ทวีศักดิ์ กาญจนสุวรรณ. เทคโนโลยีมัลติมีเดีย (Multimedia Technology). กรุงเทพฯ :
หจก. ไทยเจริญการพิมพ์, 2552.
ฝ่ายเทคโนโลยีทางการศึกษา สานักวิทยบริการ ม.อ. ปัตตานี. คู่มือโปรแกรม Corel
VideoStudio Pro X6. สืบค้นจาก http://techno.oas.psu.ac.th/sites/
default/files/file_attach/_corel_videostudio_pro_x6.pdf เมื่อวันที่
30 เมษายน 2555.
พิษณุ ปุระศิริ. คู่มือตัดต่อวิดีโอด้วย Ulead VideoStudio 10 Plus. กรุงเทพฯ : โปรวิชั่น
จากัด, 2550.
สกุลรัตน์ นารี. เอกสำรประกอบกำรเรียน เรื่อง กำรใช้โปรแกรม Ulead Video Studio
11. โรงเรียนภูมิชรอลวิทยา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28,
มปป.
27
หน่วยที่
1
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน
หน่วยที่ 1 ควำมรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมีเดีย
และโปรแกรม Corel VideoStudio Pro x6
1. ข
2. ข
3. ง
4. ค
5. ง
6. ค
7. ข
8. ข
9. ก
10. ค
28
หน่วยที่
1
29
เฉลยใบงำนที่ 1
เรื่อง ควำมรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสื่อมัลติมีเดีย
คำสั่ง ให้นักเรียนตอบคาถามจากโจทย์ที่กาหนดให้ต่อไปนี้
1. อธิบายความหมายของคาว่ามัลติมีเดีย
การนาองค์ประกอบของสื่อผสมผสานรวมเข้า ประกอบด้วย ข้อความ ภาพนิ่ง
ภาพเคลื่อนไหว เสียง และวิดีโอ โดยผ่านกระบวนการทางระบบคอมพิวเตอร์
2. องคประกอบของสื่อมัลติมีเดียประกอบดวย
ข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง และวิดีโอ
3. มัลติมีเดียสามารถนามาประยุกต์ใช้ในด้านใดบ้าง
ด้านความบันเทิง ด้านการศึกษา ด้านการฝึกอบรม ด้านการนาเสนอข้อมูล
ด้านการบริการข้อมูล ด้านธุรกิจ ด้านการท่องเที่ยว ด้านการซื้อขายสินค้า ด้านการสื่อสาร
ด้านการแพทย์ ด้านการออกแบบทางด้านวิศวกรรม ด้านการจัดเก็บและสืบค้นข้อมูล
หน่วยที่
1
เฉลยใบงำนที่ 2
เรื่อง กำรใช้งำนโปรแกรม Corel VideoStudio Pro x6
คำสั่ง ให้นักเรียนอธิบายเกี่ยวกับโปรแกรม Corel VideoStudio Pro x6 พอสังเขป
การตัดตอใน Corel VideoStudio เริ่มแรกจับภาพวิดีโอจากกลองหรือวาดึงไฟลวิดีโอ
จากแผน VCD / DVD เขามา จากนั้นก็ตัดแตงวิดีโอที่จับภาพ มาเรียงลาดับเหตุการณ ใส่
Transition เอ็ฟเฟกตที่ใสระหวางคลิปวิดีโอ ทาใหการเปลี่ยนคลิปวิดีโอจากคลิปหนึ่งไปยังอีก
คลิปหนึ่ง นาดูยิ่งขึ้น ทาภาพซอนภาพ ใส Title ใสคาบรรยาย แทรก sound ซึ่งสวนตาง ๆ
เหลานี้จะแยกแทร็คกัน การทางานในแตละแทร็คจะไมมีผลกระทบกับแทร็คอื่นๆ เมื่อทาเสร็จ
แลวขั้นตอนสุดทายก็คือ การเขียนวิดีโอลงแผน ขณะตัดต่อจะสรางเปนไฟลขึ้นมาซึ่งไฟลนี้
จะเก็บขอมูล หากทางานยังไมเสร็จก็สามารถเปดเพื่อทางานตอในภายหลังได ไฟลนี้จะมี
ขนาดเล็ก การตัดตอวิดีโอแมจะตัดตออยางไรในวิดีโอ ก็จะไมมีผลกระทบตอไฟลตนฉบับ
ขอมูลการตัดตอจะบันทึกอยูในไฟลทั้งหมด แตเมื่อมีการสรางวิดีโอที่ไดจากการตัดตอ
โปรแกรมอานขอมูลจากตนฉบับตามขอมูลที่อางอิงจากไฟล์นี้
30
หน่วยที่
1
เฉลยใบงำนที่ 3
เรื่อง ระบบกำรส่งสัญญำณโทรทัศน์
คำสั่ง ให้นักเรียนอธิบายระบบการส่งสัญญาณโทรทัศน์
1. ระบบ NTSC
NTSC (National Television Standards Committee) เปนระบบโทรทัศนสี
ระบบแรกที่ใชงานในประเทศสหรัฐอเมริกา ตั้งแต่ ปค.ศ. 1953 ประเทศที่ใชระบบนี้
ไดแก ญี่ปุน แคนาดา เปอเตอริโก และเม็กซิโก เปนตน
2. ระบบ PAL
PAL (Phase Alternation Line) เปนระบบโทรทัศนที่พัฒนามาจากระบบ NTSC
ทาใหมีการเพี้ยนของสีนอยลง เริ่มใชงานมาตั้งแต่ ปค.ศ. 1967 ในประเทศทางแถบยุโรป คือ
เยอรมันตะวันตก อังกฤษ ออสเตรเลีย เบลเยี่ยม บราซิล เดนมารก นอรเวย สวีเดน
สวิตเซอรแลนด และมีหลายประเทศในแถบเอเซียที่ใชกันคือ สิงคโปร มาเลเซีย รวมไปถึง
ประเทศไทย
3. ระบบ SECAM
SECAM(SEQuentielAMemoire("memorysequential"))เปนระบบโทรทัศนอีกระบบ
หนึ่ง คิดคนขึ้นโดย Dr.Henry D.France เริ่มใชมาตั้งแต่ ปค.ศ.1967 นิยมใชกันอยูหลาย
ประเทศแถบยุโรปตะวันออก ไดแก ฝรั่งเศส อัลจีเรีย เยอรมันตะวันออก ฮังการี ตูนีเซีย
โรมาเนีย และรัสเซีย
31
หน่วยที่
1
เฉลยใบงำนที่ 4
เรื่อง ประเภทของไฟล์ที่ใช้ในกำรตัดต่อวิดีโอ
คำสั่ง ให้นักเรียนอธิบายคุณสมบัติของไฟล์ที่ใช้ในการตัดต่อวิดีโอ
ประเภท คุณสมบัติ
AVI
เปนไฟลมาตรฐานของไฟล วิดีโอ ทั่วไป มีความคมชัดสูง
แตจุดดอยคือไฟลมีขนาดใหญ(ความจุสูง)
Mpeg
ไฟล วิดีโอ ที่ถูกบีบอัด แบบหนึ่ง ไดรับความนิยมมาก
ขอดีคือไฟลมีขนาดเล็ก เลือกความคมชัดไดหลายแบบ
Mpeg-1 เปนไฟลที่นิยมทาใน วีซีดี เปนไฟลที่มีขนาดเล็กที่สุด
Mpeg-2
เปนไฟลที่นิยมทา ดีวีดี เปนไฟลขนาดใหญมีความคมชัดสูง
เมื่อเทียบกับตระกูล เอ็มเพ็ก ดวยกัน
Mpeg-4
เปนไฟลที่กาลังไดรับความนิยม มีคุณภาพเทียบเคียง ดีวีดี
แตมีขนาดเล็ก เหมาะกับ การเผยแพรทางอินเทอรเน็ต
WMA
เปนรูปแบบไฟลมาตรฐาน บนระบบ Windows
นิยมเผยแพรทางอินเทอรเน็ต
RW
เปนรูปแบบของไฟลโปรแกรม RealOne Player
นิยมเผยแพรกันบนอินเทอรเน็ต
MOV
เปนรูปแบบของไฟล โปรแกรม QuickTime ผลิตเพื่อใชกับ
เครื่องApple แตเปดบน ระบบ Windows ไดเชนกัน
32
หน่วยที่
1
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
หน่วยที่ 1 ควำมรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมีเดีย
และโปรแกรม Corel VideoStudio Pro x6
1. ค
2. ข
3. ข
4. ก
5. ค
6. ข
7. ข
8. ง
9. ค
10. ง
33

More Related Content

What's hot

บทเรียน โปรแกรม Paint
บทเรียน โปรแกรม Paintบทเรียน โปรแกรม Paint
บทเรียน โปรแกรม Paintkungkunk
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โครงงานคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โครงงานคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โครงงานคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โครงงานคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 1มาณวิกา นาคนอก
 
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้นสื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้นNoppakhun Suebloei
 
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์peter dontoom
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2Thanawut Rattanadon
 
ใบงาน เรื่อง อุปกรณ์ที่ใช้ในการประกอบคอมพิวเตอร์
ใบงาน  เรื่อง อุปกรณ์ที่ใช้ในการประกอบคอมพิวเตอร์ใบงาน  เรื่อง อุปกรณ์ที่ใช้ในการประกอบคอมพิวเตอร์
ใบงาน เรื่อง อุปกรณ์ที่ใช้ในการประกอบคอมพิวเตอร์Krusine soyo
 
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีแผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีเทวัญ ภูพานทอง
 
แผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning เรื่อง กราฟิกเพื่อการสื่อสาร
แผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning เรื่อง  กราฟิกเพื่อการสื่อสารแผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning เรื่อง  กราฟิกเพื่อการสื่อสาร
แผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning เรื่อง กราฟิกเพื่อการสื่อสารวัชรพล เที่ยงปา
 
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่Surapong Jakang
 
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
บทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
บทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยบทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
บทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยrussana
 
4แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วย
4แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วย4แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วย
4แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วยkaimmikar123
 
ราชาศัพท์
ราชาศัพท์ราชาศัพท์
ราชาศัพท์kruthai40
 
หน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยี
หน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยีหน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยี
หน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยีJanchai Pokmoonphon
 

What's hot (20)

บทเรียน โปรแกรม Paint
บทเรียน โปรแกรม Paintบทเรียน โปรแกรม Paint
บทเรียน โปรแกรม Paint
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โครงงานคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โครงงานคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โครงงานคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โครงงานคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 1
 
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้นสื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2
 
การใช้โปรแกรมเพนท์ป4
การใช้โปรแกรมเพนท์ป4การใช้โปรแกรมเพนท์ป4
การใช้โปรแกรมเพนท์ป4
 
ใบงาน เรื่อง อุปกรณ์ที่ใช้ในการประกอบคอมพิวเตอร์
ใบงาน  เรื่อง อุปกรณ์ที่ใช้ในการประกอบคอมพิวเตอร์ใบงาน  เรื่อง อุปกรณ์ที่ใช้ในการประกอบคอมพิวเตอร์
ใบงาน เรื่อง อุปกรณ์ที่ใช้ในการประกอบคอมพิวเตอร์
 
ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวก
 
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีแผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
แผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning เรื่อง กราฟิกเพื่อการสื่อสาร
แผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning เรื่อง  กราฟิกเพื่อการสื่อสารแผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning เรื่อง  กราฟิกเพื่อการสื่อสาร
แผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning เรื่อง กราฟิกเพื่อการสื่อสาร
 
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
 
เฉลยแบบทดสอบปลายภาค ม.5
เฉลยแบบทดสอบปลายภาค ม.5เฉลยแบบทดสอบปลายภาค ม.5
เฉลยแบบทดสอบปลายภาค ม.5
 
ข้อสอบSketch up
ข้อสอบSketch upข้อสอบSketch up
ข้อสอบSketch up
 
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
 
บทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
บทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยบทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
บทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
 
แบบฝึกหัดที่ 3 Microsoft PowerPoint
แบบฝึกหัดที่ 3 Microsoft PowerPointแบบฝึกหัดที่ 3 Microsoft PowerPoint
แบบฝึกหัดที่ 3 Microsoft PowerPoint
 
4แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วย
4แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วย4แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วย
4แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วย
 
การติดตั้งโปรแกรม Corel Video Studio Pro x6
การติดตั้งโปรแกรม Corel Video Studio Pro x6การติดตั้งโปรแกรม Corel Video Studio Pro x6
การติดตั้งโปรแกรม Corel Video Studio Pro x6
 
ราชาศัพท์
ราชาศัพท์ราชาศัพท์
ราชาศัพท์
 
หน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยี
หน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยีหน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยี
หน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยี
 

Similar to ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมีเดียและโปรแกรม Corel Video Studio Pro x6

เล่ม2 การติดตั้งโปรแกรม
เล่ม2 การติดตั้งโปรแกรมเล่ม2 การติดตั้งโปรแกรม
เล่ม2 การติดตั้งโปรแกรมboonyarat thungprasert
 
ใบความรู้ที่่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวีดีโอ
ใบความรู้ที่่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวีดีโอใบความรู้ที่่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวีดีโอ
ใบความรู้ที่่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวีดีโอSamorn Tara
 
Course Syllabus มัลติมีเดีย
Course Syllabus มัลติมีเดียCourse Syllabus มัลติมีเดีย
Course Syllabus มัลติมีเดียNalin K
 
คู่มือการใช้งานโปรแกรม AcuStudiov.6
คู่มือการใช้งานโปรแกรม AcuStudiov.6คู่มือการใช้งานโปรแกรม AcuStudiov.6
คู่มือการใช้งานโปรแกรม AcuStudiov.6mansuang1978
 
การสร้างวิดีโอสอนออนไลน์ด้วย Camtasia และการสร้างช่อง YouTube
การสร้างวิดีโอสอนออนไลน์ด้วย Camtasia และการสร้างช่อง YouTubeการสร้างวิดีโอสอนออนไลน์ด้วย Camtasia และการสร้างช่อง YouTube
การสร้างวิดีโอสอนออนไลน์ด้วย Camtasia และการสร้างช่อง YouTubeDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์xavi2536
 
โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์xavi2536
 
ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2Rattana Wongphu-nga
 
Ict300_4_edit
Ict300_4_editIct300_4_edit
Ict300_4_editNicemooon
 
ขอบข่ายและประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายและประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์ขอบข่ายและประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายและประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์miiztake
 

Similar to ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมีเดียและโปรแกรม Corel Video Studio Pro x6 (20)

เล่ม2 การติดตั้งโปรแกรม
เล่ม2 การติดตั้งโปรแกรมเล่ม2 การติดตั้งโปรแกรม
เล่ม2 การติดตั้งโปรแกรม
 
การเรนเดอร์และการนำไปใช้งาน
การเรนเดอร์และการนำไปใช้งานการเรนเดอร์และการนำไปใช้งาน
การเรนเดอร์และการนำไปใช้งาน
 
Proshow gold by wutjung
Proshow gold  by wutjungProshow gold  by wutjung
Proshow gold by wutjung
 
ใบความรู้ที่่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวีดีโอ
ใบความรู้ที่่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวีดีโอใบความรู้ที่่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวีดีโอ
ใบความรู้ที่่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวีดีโอ
 
การตกแต่งวิดีโอและการจัดการเสียง
การตกแต่งวิดีโอและการจัดการเสียงการตกแต่งวิดีโอและการจัดการเสียง
การตกแต่งวิดีโอและการจัดการเสียง
 
Ebook31
Ebook31Ebook31
Ebook31
 
1247g3hg1238 2011
1247g3hg1238 20111247g3hg1238 2011
1247g3hg1238 2011
 
Course Syllabus มัลติมีเดีย
Course Syllabus มัลติมีเดียCourse Syllabus มัลติมีเดีย
Course Syllabus มัลติมีเดีย
 
คู่มือการใช้งานโปรแกรม AcuStudiov.6
คู่มือการใช้งานโปรแกรม AcuStudiov.6คู่มือการใช้งานโปรแกรม AcuStudiov.6
คู่มือการใช้งานโปรแกรม AcuStudiov.6
 
captivate-flash-courseware
captivate-flash-coursewarecaptivate-flash-courseware
captivate-flash-courseware
 
การสร้างวิดีโอสอนออนไลน์ด้วย Camtasia และการสร้างช่อง YouTube
การสร้างวิดีโอสอนออนไลน์ด้วย Camtasia และการสร้างช่อง YouTubeการสร้างวิดีโอสอนออนไลน์ด้วย Camtasia และการสร้างช่อง YouTube
การสร้างวิดีโอสอนออนไลน์ด้วย Camtasia และการสร้างช่อง YouTube
 
N
NN
N
 
โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์
 
โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์
 
Corel video studio pro
Corel video studio proCorel video studio pro
Corel video studio pro
 
ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2
 
Cai Design
Cai DesignCai Design
Cai Design
 
Ict300_4_edit
Ict300_4_editIct300_4_edit
Ict300_4_edit
 
ขอบข่ายและประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายและประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์ขอบข่ายและประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายและประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์
 
K3
K3K3
K3
 

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมีเดียและโปรแกรม Corel Video Studio Pro x6

  • 1. หน่วยที่ 1 คำนำ เอกสารประกอบการเรียน รหัสวิชา ง30203 รายวิชา การใช้โปรแกรมตัดต่อวิดีโอ หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมีเดียและโปรแกรม Corel VideoStudio Pro x6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชุดนี้ ได้จัดทาขึ้นเพื่อใช้ เป็นสื่อประกอบกิจกรรมการเรียนการสอนสาหรับครูผู้สอน และเป็นคู่มือสาหรับนักเรียนใช้ใน การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ทั้งในและนอกเวลาเรียน เน้นให้นักเรียนได้พัฒนาตนเองให้มี ความรู้ ความเข้าใจ เนื่องจากเอกสารประกอบการเรียนชุดนี้เป็นการสรุปเนื้อหาและเป็นวิธีการ เรียนรู้โดยเริ่มจากง่ายไปยาก เน้นให้นักเรียนได้ปฏิบัติจริง ส่งผลให้เกิดความเข้าใจอย่างถ่องแท้ นั่นคือ นักเรียนสามารถใช้ทักษะการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เอกสารประกอบการเรียนชุดนี้ จัดทาขึ้นจากแรงจูงใจเมื่อประสบปัญหาในขณะทาการสอน เนื่องจากเนื้อหาของแต่ละเรื่อง นักเรียนจะเรียนได้เพียงเล็กน้อย และไม่ต่อเนื่องทาให้ลืมเลือน ได้ง่าย ข้าพเจ้าจึงได้รวบรวมความรู้ต่างๆ มาสรุปแล้วนาเสนอในรูปเอกสารประกอบการเรียน เพื่อสะดวกในการใช้ทั้งครูและนักเรียน ผู้จัดทาต้องขอขอบคุณ ผู้เชี่ยวชาญที่ได้ให้คาชี้แนะในการจัดทาเอกสารประกอบการเรียนนี้ และขอขอบคุณ เพื่อนครูงานไอซีทีทุกท่าน ที่เป็นกาลังใจตลอดเวลา ท้ายที่สุด ขอขอบคุณ ท่านผู้อานวยการ จงกล เดชปั้น ผู้อานวยการโรงเรียนพยุหะพิทยาคม ที่สนับสนุนการจัดทาเอกสารประกอบการเรียน ชุดนี้ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะมีประโยชน์ต่อการเรียนการสอน ช่วยลดภาระครูผู้สอนและสามารถ ใช้เป็นเครื่องนาทางให้นักเรียนได้ประสบผลสาเร็จ ช่วยให้มีการเพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจ รวมไปถึง การพัฒนาทักษะได้อย่างถูกต้อง บุญญรัตน์ ตั้งประเสริฐ ก
  • 2. หน่วยที่ 1 สำรบัญ หน้า คานา ก สารบัญ ข คาชี้แจง 1 คาแนะนาสาหรับครู 2 คาแนะนาสาหรับนักเรียน 3 จุดประสงค์การเรียนรู้ 4 แบบทดสอบก่อนเรียน 5 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสื่อมัลติมีเดีย 7 ใบงานที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสื่อมัลติมีเดีย 14 ตอนที่ 2 การใช้งานโปรแกรม Corel VideoStudio Pro x6 15 ใบงานที่ 2 การใช้งานโปรแกรม Corel VideoStudio Pro x6 17 ตอนที่ 3 ระบบการส่งสัญญาณโทรทัศน์ 18 ใบงานที่ 3 ระบบการส่งสัญญาณโทรทัศน์ 21 ตอนที่ 4 ประเภทของไฟล์ที่ใช้ในการตัดต่อวิดีโอ 22 ใบงานที่ 4 ประเภทของไฟล์ที่ใช้ในการตัดต่อวิดีโอ 24 แบบทดสอบหลังเรียน 25 บรรณานุกรม 27 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน 28 เฉลยใบงานที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสื่อมัลติมีเดีย 29 เฉลยใบงานที่ 2 การใช้งานโปรแกรม Corel VideoStudio Pro x6 30 เฉลยใบงานที่ 3 ระบบการส่งสัญญาณโทรทัศน์ 31 เฉลยใบงานที่ 4 ประเภทของไฟล์ที่ใช้ในการตัดต่อวิดีโอ 32 เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน 33 ข
  • 3. หน่วยที่ 1 คำชี้แจง เอกสารประกอบการเรียน รหัสวิชา ง30203 รายวิชา การใช้โปรแกรมตัดต่อวิดีโอ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ประกอบด้วยเอกสาร จานวน 5 เล่ม ดังนี้ หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมีเดียและโปรแกรม Corel VideoStudio Pro x6 หน่วยที่ 2 การติดตั้งโปรแกรม Corel VideoStudio Pro x6 หน่วยที่ 3 เทคนิคการตัดต่อวิดีโอ หน่วยที่ 4 การตกแต่งวิดีโอและการจัดการเสียง หน่วยที่ 5 การเรนเดอร์และการนาไปใช้งาน เอกสารประกอบการเรียน รหัสวิชา ง30203 รายวิชา การใช้โปรแกรมตัดต่อวิดีโอ แต่ละเล่ม ใช้ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ รหัสวิชา ง30203 รายวิชา การใช้โปรแกรมตัดต่อวิดีโอ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี จานวน 2 แผน เวลา 4 ชั่วโมง มีส่วนประกอบของเอกสารประกอบการเรียนดังต่อไปนี้ 1. คานา 2. สารบัญ 3. คาชี้แจง 4. คาแนะนาสาหรับครู 5. คาแนะนาสาหรับนักเรียน 6. จุดประสงค์การเรียนรู้ 7. แบบทดสอบก่อนเรียน 8. เนื้อหา 9. ใบงาน 10. แบบทดสอบหลังเรียน 11. บรรณานุกรม 12. เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน 13. เฉลยใบงาน 14. เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน 1
  • 4. หน่วยที่ 1 คำแนะนำสำหรับครู เอกสารประกอบการเรียน รหัสวิชา ง30203 รายวิชา การใช้โปรแกรมตัดต่อวิดีโอ ชุดนี้ เป็นสื่อที่ช่วยในการจัดการเรียนการสอน กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มีแนวปฏิบัติสาหรับการจัดการเรียนรู้ ดังนี้ 1. เอกสารประกอบการเรียนชุดนี้ ไม่ใช่การทดสอบเพื่อมุ่งหวังคะแนนสาหรับ การประเมินผล แต่เป็นการเพิ่มความรู้และส่งเสริมให้นักเรียนศึกษา ค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเอง ตามความสามารถ และศักยภาพของแต่ละบุคคล 2. ครูควรศึกษาเอกสารประกอบการเรียน หัวข้อเรื่อง คาชี้แจง คาแนะนาสาหรับครู จุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให้ทราบว่า เมื่อจบบทเรียน นักเรียนสามารถเรียนรู้อะไรได้บ้าง 3. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียนจานวน 10 ข้อ แล้วตรวจคาตอบจากเฉลย 4. ให้นักเรียนศึกษาเนื้อหา สาระ รายละเอียด และฝึกปฏิบัติตามกิจกรรม 5. ขณะนักเรียนทากิจกรรม ครูต้องดูแล ให้คาปรึกษาหากมีข้อสงสัย และสอดแทรก คุณธรรมให้กับนักเรียนระหว่างจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 6. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียนจานวน 10 ข้อ แล้วตรวจคาตอบจากเฉลย 2
  • 5. หน่วยที่ 1 คำแนะนำสำหรับนักเรียน เอกสารประกอบการเรียน รหัสวิชา ง30203 รายวิชา การใช้โปรแกรมตัดต่อวิดีโอ ชุดนี้ นักเรียนสามารถศึกษา และเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง ก่อนที่จะศึกษาและเรียนรู้ให้นักเรียนอ่านคาแนะนา ดังนี้ 1. เอกสารประกอบการเรียนชุดนี้ ไม่ใช่การทดสอบเพื่อมุ่งหวังคะแนนสาหรับ การประเมินผล แต่เป็นการเพิ่มความรู้ และส่งเสริมให้นักเรียนศึกษา ค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเอง ตามความสามารถ และศักยภาพของแต่ละบุคคล 2. ศึกษาเอกสารประกอบการเรียน หัวข้อเรื่อง คาชี้แจง คาแนะนาสาหรับนักเรียน จุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให้ทราบว่า เมื่อจบบทเรียน นักเรียนสามารถเรียนรู้อะไรได้บ้าง 3. ทาแบบทดสอบก่อนเรียนจานวน 10 ข้อ แล้วตรวจคาตอบจากเฉลย 4. ศึกษาเนื้อหา สาระ รายละเอียด และฝึกปฏิบัติตามกิจกรรม 5. ทาแบบทดสอบหลังเรียนจานวน 10 ข้อ แล้วตรวจคาตอบจากเฉลย 3
  • 6. หน่วยที่ 1 หลังจำกศึกษำเนื้อหำและทำกิจกรรมในเล่มนี้แล้ว นักเรียนสำมำรถทำสิ่งต่อไปนี้ได้ 1. นักเรียนสามารถอธิบายความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสื่อมัลติมีเดียได้ 2. นักเรียนสามารถอธิบายการใช้งานโปรแกรม Corel VideoStudio Pro x6 ได้ 3. นักเรียนสามารถอธิบายระบบส่งสัญญาณโทรทัศน์ได้ 4. นักเรียนสามารถจาแนกประเภทของไฟล์ที่ใช้ในการตัดต่อวิดีโอได้ 4 จุดประสงค์การเรียนรู้
  • 7. หน่วยที่ 1 แบบทดสอบก่อนเรียน 5 คำชี้แจง แบบทดสอบเป็นแบบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ คำสั่ง จงเขียนเครื่องหมายกากบาท  ทับตัวอักษร ก, ข, ค, หรือ ง ในกระดาษคาตอบ สาหรับตัวเลือกที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 1. ข้อใดที่โปรแกรม Corel VideoStudio Pro x6 ไม่สามารถทาได้ ก. บันทึกเสียง ข. ตกแต่งภาพนิ่ง ค. ตัดต่อภาพวิดีโอ ง. จับภาพวิดีโอจากกล้องมาเก็บไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ 2. ความหมายของมัลติมีเดียข้อใดถูกต้องที่สุด ก. การนาข้อความ ภาพ มาผ่านกระบวนการทางระบบคอมพิวเตอร์ ข. การนาข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง วิดีโอ มาผ่านกระบวนการทางระบบ คอมพิวเตอร์ ค. การนาข้อความ ภาพ เสียง มาทาให้เป็นวิดีโอเพื่อการนาเสนอข้อมูลตามความต้องการ ต้องผู้ชม ง. การนาภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง มาทาให้เป็นวิดีโอเพื่อการนาเสนอข้อมูลตาม ความต้องการต้องผู้ใช้ 3. ประเทศไทยใช้ระบบโทรทัศน์แบบเดียวกับประเทศสิงคโปร์ มาเลเซีย คือข้อใด ก. NTSC ข. SECAM ค. MBT ง. PAL 4. ข้อใดกล่าวถึงโปรแกรม Corel Video Studio Pro x6 ได้อย่างถูกต้อง ก. ไม่ควรใส่วิดีโอลงในการตัดต่อเพราะจะทาให้ไฟล์ใหญ่เกินไป ข. ต้องใช้โปรแกรมอื่นบันทึกวิดีโอที่ตัดต่อแล้วลงแผ่น VCD, DVD ค. สามารถบันทึกวิดีโอที่ตัดต่อแล้วกลับลงในแผ่น VCD, DVD ง. สามารถพิมพ์ข้อความในโปรแกรม Ms-word แล้วนามาใส่ในโปรแกรม Corel Video Studio x6 ได้
  • 8. หน่วยที่ 1 5. การนาสื่อมัลติมีเดียมาสร้างสื่อการเรียนรู้ในรูปแบบ E-learning เป็นการนามัลติมีเดียมา ประยุกต์ใช้ด้านใด ก. ด้านความบันเทิง ข. ด้านการบริการข้อมูล ค. ด้านการนาเสนอข้อมูล ง. ด้านการศึกษา 6. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการนาเสนอมัลติมีเดีย ก. ประสิทธิภาพในการประมวลผล ข. มาตรฐาน ค. คุณภาพ ง. การบีบอัดข้อมูล 7. ไฟล์วิดีโอทั่วไป มีความคมชัดสูงแต่มีจุดด้อยคือเป็นไฟล์ขนาดใหญ่คือข้อใด ก. Mpeg-4 ข. AVI ค. WMA ง. MOV 8. ในปัจจุบันเรานิยมใช้ไฟล์เสียงใดที่คุณภาพเสียงที่ดีและมีความจุน้อยมาก ก. AIFF ข. MP3 ค. QuickTime ง. Real Audio 9. ข้อใดไม่ใช่ ระบบส่งสัญญาณโทรทัศน์ที่มีอยู่ทั่วไปในโลก ก. MBT ข. PAL ค. NTSC ง. SECAM 10. ขั้นใดควรทาเป็นขั้นตอนแรกของการตัดต่อวิดีโอ ก. การตัดต่อ ข. เตรียมกล้อง และอุปกรณ์ ค. การเขียน Storyboard ง. การเตรียมองค์ประกอบต่างๆ 6
  • 9. หน่วยที่ 1 มัลติมีเดีย (Multimedia) มาจากคาว่า “Multus” ซึ่งเป็นภาษาลาติน หมายถึง มาก หลากหลาย และมีเดีย (Media) มีความหมายเดียวกับ “Middle” หรือ “Center” หมายถึง การสื่อสารข้อมูลผ่านตัวกลาง ดังนั้น คาว่า “มัลติมีเดีย” (Multimedia) จึงหมายถึง การนา องค์ประกอบของสื่อชนิดต่างๆ มารวมเข้าด้วยกัน (Multiple Intermediary) หรือ เรียกว่า “สื่อประสม” (Multiple media) ควำมหมำยมัลติมีเดีย (Multimedia) การนาองค์ประกอบของสื่อชนิดต่าง ๆ มาผสมผสานรวมเข้าด้วยกันซึ่งประกอบด้วย ข้อความ (text), ภาพนิ่ง (Still Image), ภาพเคลื่อนไหว (Animation), เสียง (Sound), และ วิดีโอ (Video) โดยผ่านกระบวนการทางระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อสื่อความหมายกับผู้ใช้อย่างมี ปฏิสัมพันธ์ (Interactive Multimedia) และได้บรรลุตามวัตถุประสงค์การใช้งาน องค์ประกอบของมัลติมีเดีย 1. ตัวอักษร (Text) เช่น ตัวอักษรที่อยู่ในหนังสือ จดหมาย และหนังสือพิมพ์ เป็นต้น ถือเป็นองค์ประกอบสาคัญของมัลติมีเดีย ระบบมัลติมีเดียที่นาเสนอผ่อนจอภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ นอกจากจะมีรูปแบบและสีของตัวอักษรให้เลือกมากมายตามความต้องการแล้ว ยังสามารถ กาหนดคุณลักษณะขอองการปฏิสัมพันธ์ (โต้ตอบ) ในระหว่างการนาเสนอได้อีกด้วย 2. รูปภำพ (Images) และ กรำฟฟิก (Graphic) เช่น ภาพถ่าย (Photograph) แผนภูมิ (Chart) แผนที่ (Map) โลโก้ (Logo) และภาพร่าง (Sketch) เป็นต้น ถือเป็น ส่วนประกอบที่มีบทบาทต่อระบบงานมัลติมีเดียมากกว่าข้อความหรือตัวอักษร ทั้งนี้ เนื่องจาก ภาพจะให้ผลในเชิงการเรียนรู้หรือรับรู้ด้วยการมองเห็นได้ดีกว่า นอกจากนี้ ยังสามารถถ่ายทอด ความหมายได้ลึกซึ้งมากกว่าข้อความหรือตัวอักษร ซึ่งข้อความหรือตัวอักษรจะมีข้อจากัด ทางด้านความแตกต่างของแต่ละภาษา แต่ภาพนั้น สามารถสื่อความหมายได้กับทุกชนชาติ รูปภาพจะแสดงอยู่บนสื่อชนิดต่างๆ เช่น โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ หรือวารสารวิชาการ เป็นต้น 7 ตอนที่ 1 ควำมรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสื่อมัลติมีเดีย
  • 10. หน่วยที่ 1 3. แอนิเมชั่น (Animation) หมายถึง ภาพกราฟฟิกที่มีการเคลื่อนไหวเพื่อแสดงขั้นตอน หรือปรากฏการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง เช่น การเคลื่อนที่ของอะตอมภายในโมเลกุล หรือการเคลื่อนที่ของลูกสูบของเครื่องยนต์ เป็นต้น ทั้งนี้เพื่อสร้างสรรค์ จินตนาการให้เกิด แรงจูงใจของผู้ชม การผลิตภาพเคลื่อนไหวจะต้องใช้โปรแกรมที่มีคุณสมบัติเฉพาะทาง ซึ่งอาจเกิดปัญหา เกี่ยวกับขนาดไฟล์ ที่ต้องใช้พื้นที่ในการจัดเก็บมากกว่าภาพนิ่งหลายเท่า 4. เสียง (Sound) เป็นองค์ประกอบหนึ่งที่สาคัญของมัลติมีเดีย โดยจะถูกจัดเก็บอยู่ใน รูปของสัญญาณดิจิตอล ซึ่งสามารถเล่นซ้ากลับไปมาได้ โดยใช้โปรแกรมที่ออกแบบมาเฉพาะ สาหรับทางานด้านเสียง หากในงานมัลติมีเดียมีการใช้เสียงที่เร้าใจและสอดคล้องกับเนื้อหาใน การนาเสนอ จะช่วยให้งานระบบมัลติมีเดียเกิดความสมบูรณ์แบบมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ยังช่วย สร้างความน่าสนใจและน่าติดตามในเรื่องราวต่างๆ ได้เป็นอย่างดี ทั้งนี้ เนื่องจากเสียงจะมี อิทธิพลต่อผู้ใช้มากกว่าข้อความหรือภาพนิ่ง ดังนั้น เสียงจึงเป็นองค์ประกอบที่จาเป็นสาหรับ มัลติมีเดีย ซึ่งเสียงที่นามาใช้มีหลายรูปแบบ เช่น เสียงจากวิทยุ (Radio) เครื่องเล่นแผ่นเสียง (Gramophoe) เสียงที่เกิดจากการบันทึก (Record) และเสียงที่มาจากเทป (Audio Cassette) เป็นต้น 5. วิดีโอ (Video) เช่น โทรทัศน์ (Television) และวิดีโอเทป (Video Cass) เป็นต้น เป็นองค์ประกอบของมัลติมีเดียที่มี ความสาคัญเป็นอย่างมาก เนื่องจากวิดีโอในระบบดิจิตอล สามารถนาเสนอข้อความ หรือรูปภาพ(ภาพนิ่งหรือภาพเคลื่อนไหว) ประกอบกับเสียงได้สมบูรณ์ มากกว่าองค์ประกอบชนิดอื่นๆ อย่างไรก็ตาม ปัญหาหลักของการใช้วิดีโอในระบบมัลติมีเดีย ก็คือ การสิ้นเปลืองทรัพยากรของพื้นที่บนหน่วยความจาเป็นจานวนมาก เนื่องจากการนาเสนอ วิดีโอด้วยเวลาที่เกิดขึ้นจริง (Real Time) จะต้องประกอบด้วยจานวนภาพไม่ต่ากว่า 30 ภาพ ต่อวินาที (Fram/Second) ถ้าหากการประมวลผลภาพดังกล่าว ไม่ได้ผ่านกระบวนการบีบอัด ขนาดของสัญญาณมาก่อน การนาเสนอวิดีโอเพียง 1 นาที อาจต้องใช้หน่วยความจามากกว่า 100 MB ส่งผลให้ไฟล์มีขนาดใหญ่เกินไป ทาให้ประสิทธิภาพของงการทางานลดลงตามไปด้วย จนกระทั้งเทคโนโลยีการบีบอัด ขนาดของภาพได้มีการพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง ทาให้ภาพวิดีโอ สามารถทางานได้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น และกลายเป็นสื่อที่ มีบทบาทสาคัญต่อระบบ มัลติมีเดีย (Multimedia System) ประโยชน์ของมัลติมีเดีย 1. มัลติมีเดียสามารถนามาประยุกต์ใช้งานในด้านต่างๆ ได้หลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับ วัตถุประสงค์ในการนาไปใช้งาน เช่น การนามัลติมีเดียมาใช้ผลิตสื่อการเรียนการสอน การออกแบบสื่อโฆษณา สื่อสิ่งพิมพ์ และผลิตภาพยนตร์เป็นต้น โดยมัลติมีเดียจะช่วยให้งานมี ความหลากหลาย และน่าสนใจมากขึ้น 8
  • 11. หน่วยที่ 1 9 2. ง่ายต่อการใช้งาน องค์ประกอบของมัลติมีเดียส่วนใหญ่มีพื้นฐานมาจาก ตัวอักษร รูปภาพ เสียง และสื่อชนิดอื่นๆ ซึ่ง เป็นสื่อที่ใช้กันอยู่ทั่วไปในชีวิตประจาวัน ทาให้สามารถนา มัลติมีเดียมาประยุกต์ใช้กับสิ่งพิมพ์ โทรทัศน์ และระบบ คอมพิวเตอร์ได้ง่าย 3. สร้างความรู้สึก สื่อมัลติมีเดียสามารถสร้างความรู้สึกให้กับผู้ชมได้ เช่น การใช้ เสียงเพลงเพื่อสร้างความรู้สึก เป็นต้น 4. สร้างเสริมประสบการณ์การออกแบบและพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ด้านมัลติมีเดีย แม้จะมีคุณลักษณะที่แตกต่างกัน ตามแต่ละวิธีการ แต่สิ่งหนึ่งที่ผู้ใช้จะได้รับ คือ การสั่งสมประสบการณ์จากการใช้สื่อเหล่านี้ในแง่มุมที่แตกต่างกัน ทาให้ ทราบหรือคาดเดาถึง การใช้งานโปรแกรมมัลติมีเดียอื่นๆ ได้ 5. เพิ่มความสามารถในการเรียนรู้ ผู้ใช้แต่ละคนอาจมีความสามารถในการเรียนรู้ และ ประสบการณ์ที่แตกต่างกัน การนาสื่อ มัลติมีเดียมาประยุกต์ใช้เพื่อนาเสนอเนื้อหาต่างๆ จะช่วย เพิ่มทักษะในการเรียนรู้ด้วยตัวเองได้ดีขึ้น 6. คุ้มค่าต่อการลงทุนการใช้โปรแกรมด้านมัลติมีเดียจะช่วยลดระยะเวลาและประหยัด ค่าใช้จ่ายต่างๆ ในการจ้างผู้เชี่ยวชาญมาเผยแพร่ความรู้ เช่น การจัดหาวิทยากร การเดินทาง การจัดหาสถานที่ และการจัดหาช่องทางการนาเสนอผ่านสื่อ เป็นต้น กำรประยุกต์ใช้งำนมัลติมีเดียในด้ำนต่ำงๆ มัลติมีเดียได้ถูกพัฒนามาเพื่อให้สามารถประยุกต์ใช้งานร่วมกับแอปพลิเคชั่นในด้านต่างๆ ตามความต้องการของผู้ใช้ได้ หลากหลาย ดังนี้ ด้ำนควำมบันเทิง (Entertainment) เทคโนโลยีมัลติมีเดียได้เข้ามามีบทบาทต่อ ความบันเทิงภายในบ้านในรูปแบบต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นเกมส์คอมพิวเตอร์ เพลง ภาพยนตร์ สารานุกรมสาหรับการสื่อสาร และการ์ตูน โดยผู้ใช้สามารถโต้ตอบกับ แอปพลิเคชั่นของ มัลติมีเดียเพื่อควบคุมการทางานต่างๆ ได้ เช่น สั่งให้เล่นหรือหยุดเพลง เป็นต้น ด้ำนกำรศึกษำ (Education) สามารถนามัลติมีเดียมาประยุกต์ใช้ในด้านการศึกษา เพื่อสร้างสื่อการเรียนรู้ในรูปแบบ อิเล็กทรอนิกส์ ที่เรียกว่า “E-Learning” (Electronic Learning) เช่น สื่อมัลติมีเดียที่จาลองการทดลองในห้องปฏิบัติการทางเคมี เป็นต้น โดยสามารถ นาสื่อมัลติมีเดียนี้มาเผยแพร่ผ่านทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อถ่ายทอดความรู้ นอกจากนี้ยัง สามารถนาเสนอมัลติมีเดียในรูปแบบวิดีโอ (Video) แอนิเมชั่น (Animation) และเสียง (Audio) เพื่อเพิ่มความเข้าใจและ การจดจาได้ดียิ่งขึ้น ด้ำนกำรฝึกอบรม (Training) Computer Based Training (CBT) เป็นการฝึกอบรม และพัฒนาพนักงานในองค์กร ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถใน การปฏิบัติงาน เช่น การฝึกอบรมพนักงานเพื่อควบคุม เครื่องจักร การฝึกอบรมด้านการเงินและ
  • 12. หน่วยที่ 1 การบัญชี และการฝึกอบรมด้านคอมพิวเตอร์ เป็นต้น การอบรมด้วยวิธีนี้สามารถเรียนในเวลา ที่ว่างได้ ไม่เสียเวลาในการทางานและสามารถเรียนรู้ได้เองโดยไม่จาเป็นต้องเรียนรู้จากอาจารย์ ผู้สอนโดยตรง ทาให้พนักงานแต่ละหน่วยงานมีความรู้ที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน ด้ำนกำรนำเสนอข้อมูล (Presentation)สามารถนามัลติมีเดียมาประยุกต์ใช้เพื่อ นาเสนอข้อมูลในรูปแบบข้อความ (Text) แผนภูมิ (Chart) โลโก้ (Logo) หรือ วิดีโอ (Video) เพื่อช่วยในการอธิบายและสื่อสารข้อมูลให้ผู้เข้าชมเข้าใจยิ่งขึ้น ตัวอย่างเช่น การนาเสนอข้อมูล ภายในองค์กรจะแสดงให้เห็นถึงลักษณะเด่น กิจกรรมของบริษัท ผลิตภัณฑ์ และหน่วยงาน ทางธุรกิจ ซึ่งเป็นวิธีที่ช่วยเพิ่มความน่าเชื่อถือและเพิ่มศักยภาพให้กับองค์กร เป็นต้น ด้ำนกำรบริกำรข้อมูล (Information) การให้บริการข้อมูลจะนาแอปพลิเคชั่น มัลติมีเดียมาประยุกต์ใช้กับ Information Kiosk ซึ่งเป็นระบบให้บริการข้อมูลแบบอัตโนมัติ ประกอบด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์แบบหน้าจอสัมผัส (Touch Screen) ที่มีการเชื่อมต่อกับ เครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อดึงข้อมูลต่างๆ เช่น การนาเสนอข้อมูลสินค้า ข้อมูลทางการเงิน หรือ บริการของเว็บไซต์ เป็นต้น โดยผู้ใช้สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ด้วยตนเองผ่านทางสานักงานหรือ ศูนย์การค้าที่ให้บริการ ด้ำนธุรกิจ (Business) มัลติมีเดียช่วยอานวยความสะดวกในด้านธุรกิจได้เป็นอย่างมาก ใช้สาหรับแสดงรายละเอียดสินค้า หรือการบริการต่างๆ เป็นต้น การนาเสนอด้วยมัลติมีเดีย สามารถอธิบายข้อมูลได้อย่างชัดเจนและเช้าใจง่าย นอกจากนี้ยังการ พัฒนาเทคโนโลยีการติดต่อ สื่อสารที่เป็นไปอย่างรวดเร็ว และเชื่อมโยงกันอย่างทั่วถึง ทาให้สามารถใช้มัลติมีเดียเพื่อ การติดต่อสื่อสารกันในระยะไกลได้ด้วย เช่น การประชุมทางไกล (Video Conference) โดยจะ สื่อสารกันผ่านกล้อง และไมโครโฟน ทาให้ประหยัดค่าใช้จ่ายด้านสถานที่ การเดินทาง และเวลา ด้ำนกำรท่องเที่ยว (Travel) บริษัทท่องเที่ยวสามารถนามัลติมีเดียมาประยุกต์ใช้เพื่อ นาเสนอแพ็กเกจการท่องเที่ยวผ่านทาง เว็บไซต์ หรือสื่อโฆษณาอื่นๆ ได้ โดยนาเสนอข้อมูล ต่างๆ เช่น สถานที่ ห้องพัก อาหาร ราคา และกิจกรรมต่างๆ เป็นต้น เพื่อ ดึงดูดความสนใจจาก ลูกค้า นอกจากนี้ระบบมัลติมีเดียที่ใช้ควรจะมีเครื่องมือในการค้นหาและสืบค้นข้อมูลที่ลูกค้า ต้องการได้ ด้ำนกำรซื้อขำยสินค้ำ (Electronic Shopping) ปัจจุบันการซื้อขายสินค้าผ่านทาง เครือข่ายอินเทอร์เน็ต จะนาสื่อมัลติมีเดีย มาประยุกต์ใช้ในการนาเสนอสินค้าและบริการแก่ลูกค้า เช่น ราคา ขนาด สีสัน และคุณสมบัติพิเศษของสินค้าหรือบริการ เป็นต้น เพื่อสร้างความน่าสนใจ ให้กับสินค้าหรือบริการ เมื่อลูกค้าต้องการก็สามารถสั่งซื้อผ่านเว็บไซต์ได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว โดยระบบควรจะแสดงขั้นตอนการสั่งซื้อและวิธีการใช้งานให้กับลูกค้าทราบด้วย 10
  • 13. หน่วยที่ 1 ด้ำนกำรสื่อสำร (Communication) แอปพลิเคชั่นสาหรับเทคโนโลยีมัลติมีเดีย สามารถรองรับการสื่อสารแบบ Real Time ระหว่างผู้ใช้งานกับแอปพลิเคชั่นด้วย Real Transport Protocol (RTTP) และใช้เทคโนโลยีแบบสตรีมมิ่ง (Streaming) เพื่อให้บริการใน รูปแบบต่างๆ ผ่านทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้ เช่น บริการ Voice Mail และ Tele Conference โดย Voice Mail เป็นบริการบันทึกข้อมูลเสียงไว้บน Voice Mail Server เพื่อให้ผู้ใช้สามารถ เปิดฟังได้ใน ภายหลัง ส่วน Tele Conference จะเป็นการสื่อสารภาพ และ เสียงแบบ Real Time โดยจาเป็นต้องเชื่อมต่อเข้า เซิร์ฟเวอร์ส่วนกลางเพื่อติดต่อสื่อสารกับหน่วยงานต่างๆ ที่ เกี่ยวข้องได้รวมถึงบริการ Audio Conference สาหรับสื่อสาร ด้วยเสียง และ Video Conference ที่สามารถสื่อสารได้ทั้งภาพและเสียงผ่านทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ตแบบ Real Time ที่ช่วยลดค่าใช้จ่ายและสามารถรองรับผู้ใช้งานได้เป็นจานวนมาก ด้ำนกำรแพทย์ (Medicine) เทคโนโลยีมัลติมีเดียสามารถนามาประยุกต์ใช้ในด้าน การแพทย์ได้ เช่น ภาพเอ็กซ์เรย์ที่ได้ จาก CT Scan ซึ่งจะใช้คลื่นแม่เหล็กตรวจสอบร่างกาย มนุษย์และแสดงผลลัพธ์การสแกนในรูปแบบ 3 มิติ เป็นต้น นอกจากนี้ยังสามารถใช้เทคโนโลยี Tele Medicine หรือระบบแพทย์ทางไกลผ่านดาวเทียมช่วยในการวินิจฉัยเพื่อหาสาเหตุ ของ โรคและวิธีการรักษาได้โดยสามารถทาการรักษาหรือผ่าตัดผ่านระบบทางไกลได้อย่างแม่นยา ด้ำนกำรออกแบบทำงด้ำนวิศวกรรม (Engineering Application) เทคโนโลยี มัลติมีเดียช่วยในการออกแบบเครื่องจักร ไฟฟ้า วงจรอิเล็กทรอนิกส์ และอาคาร โดยใช้ คอมพิวเตอร์ Computer Aided Design (CAD) และ Computer Aided Manufacturing (CAM) วิศวกรจะใช้ซอฟต์แวร์สาหรับการออกแบบในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ที่แสดง ส่วนประกอบ ต่างๆ ได้อย่างละเอียด เหมือนจริง และเคลื่อนไหวได้ ก่อนที่จะทาการผลิต ด้ำนกำรจัดเก็บและสืบค้นข้อมูล (Content Base Storage and Retrieval : CBSR) ในปัจจุบันระบบการค้นหาและ สืบค้นข้อมูล (Content Base Storage And Retrieval : CBSR) นิยมนาไปใช้ในทางการค้าบนเครือข่ายทางอินเทอร์เน็ต ที่มีการจัดเก็บข้อมูลใน ฐานข้อมูล เช่น รูปภาพ เสียง และวิดีโอ เป็นต้น โดยจะนาข้อมูลที่ผู้ใช้ต้องการสืบค้นมาแม็ตชิ่ง ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อกำรนำเสนอมัลติมีเดีย การนาเสนอมัลติมีเดียจะมีประสิทธิภาพและได้รับความนิยมหรือไม่ ขึ้นอยู่กับปัจจัย ต่างๆ ดังนี้ ควำมต้องกำรของผู้ใช้งำน (Demand from Customer) การนาเสนอมัลติมีเดีย ควรคานึงถึงความต้องการและวัตถุประสงค์ ของผู้ใช้งานเป็นหลัก เนื่องจากผู้ใช้แต่ละคนมีความ ต้องการที่แตกต่างกัน เช่น เมื่อผู้ใช้ต้องการชมภาพยนตร์ตัวอย่างผ่านทาง เว็บไซต์ นอกจากจะ 11
  • 14. หน่วยที่ 1 นาเสนอภาพและเสียงแล้วยังต้องสามารถตอบสนองการใช้งานต่างๆ ได้ เช่น สามารถสั่งให้เล่น หรือหยุดเล่นภาพยนตร์ได้ กำรบีบอัดข้อมูล (Compression) การบีบอัดข้อมูล คือ วิธีการจัดเก็บข้อมูลให้มี ขนาดเล็กลง โดยทั่วไปการบันทึก มัลติมีเดียจาเป็นต้องใช้การบีบอัดข้อมูลเนื่องจากไฟล์มัลติมีเดีย เป็นไฟล์ที่มีขนาดใหญ่ใช้พื้นที่ในการจัดเก็บมาก ทาให้การส่ง และแสดงผลข้อมูลช้า ดังนั้น การบีบอัดให้ข้อมูลมีขนาดเล็กลงจะทาให้สามารถแสดงผลและส่งข้อมูลมัลติมีเดียได้รวดเร็ว ยิ่งขึ้น ประสิทธิภำพในกำรประมวลผล (Processing Power) โดยทั่วไปการนาเสนอมัลติมีเดีย จะอยู่ในรูปแบบของรูปภาพ เสียง วิดีโอ และแอนิเมชั่น ซึ่งจาเป็นต้องใช้หน่วยประมวลผล ที่มีประสิทธิภาพ เพื่อประมวลผลข้อมูลที่มีขนาดใหญ่ด้วยเวลา ที่เหมาะสม ส่วนการประมวล แอนิเมชั่นแบบ 3 มิติ (3D Animation) จาเป็นต้องใช้หน่วยประมวลผลและหน่วยความจาที่มี ประสิทธิภาพมากกว่าการประมวลผลมัลติมีเดียในรูปแบบ 2 มิติ นอกจากนี้ยังต้องมีระบบ การแสดงผลที่มีประสิทธิภาพสูง ด้วย มำตรฐำน (Standard) มาตรฐานสาหรับนาเสนอมัลติมีเดียไม่มีการระบุไว้อย่าง ชัดเจน แต่โดยทั่วไปจะประกอบด้วย องค์ประกอบทางด้านฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ องค์ประกอบด้านฮาร์ดแวร์ เช่น สาย และพอร์ตสาหรับเชื่อมต่อ เป็นต้น ส่วนองค์ประกอบ ด้านซอฟต์แวร์ เช่น รูปแบบไฟล์ โปรโตคอลสาหรับรับส่งข้อมูล และมาตรฐานการบีบอัดข้อมูล เป็นต้น โดยองค์ประกอบเหล่านี้ต้องสามารถรองรับการนาเสนอมัลติมีเดียได้อย่างมี ประสิทธิภาพ แบนด์วิธ (Bandwidth) ประสิทธิภาพในการนาเสนอมัลติมีเดียบนอินเทอร์เน็ตจะขึ้นอยู่ กับขนาดของแบนด์วิธและความเร็ว ในการส่งข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ ไปยังเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เช่น การรับส่งข้อมูลภาพระหว่างจอภาพ (Monitor) การ์ดวิดีโอ (Video Adepter) และหน่วยประมวลผล (Processor) หรือการรับส่งข้อมูลเสียง (Audio) ระหว่างลาโพง (Speaker) การ์ดเสียง (Sound Card) และหน่วยประมวลผล (Processor) เป็นต้น รวมถึงความเร็ว บัสของ Interface ที่ใช้เชื่อมต่อกับอุปกรณ์ เช่น AGP , USB และ FireWire เป็นต้น โดยข้อมูลมัลติมีเดียจะใช้ โปรโตคอลเพื่อกาหนดกฎเกณฑ์ในการรับส่งข้อมูล บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เช่น โปรโตคอล Real Time Transport Protocol (RTTP) เป็นต้น โดยอาจใช้การรับส่งข้อมูลแบบสตรีมมิ่ง (Streaming) ที่สามารถรับส่งข้อมูลมัลติมีเดียได้ อย่าง มีประสิทธิภาพ กำรเผยแพร่ (Distribute Mechanism) นอกจากการนาเสนอมัลติมีเดียผ่านทาง เครือข่ายอินเทอร์เน็ต วิธีที่นิยมใช้ในการ นาเสนอมัลติมีเดียอีกวิธีหนึ่ง คือ การนาเสนอผ่าน อุปกรณ์สาหรับจัดเก็บข้อมูลแบบพกพาชนิดต่างๆ เช่น ซีดี (CD) ดีวีดี (DVD) และการ์ดบันทึก 12
  • 15. หน่วยที่ 1 ข้อมูลประเภทต่างๆ (Memory Card) เป็นต้น ซึ่งสามารถนาไปใช้งานและเผยแพร่มัลติมีเดียได้ อย่างสะดวกรวดเร็ว สรุป ในบทนี้อธิบายถึงความหมาย คุณสมบัติ การประยุกต์ใช้งาน และขั้นตอนการสร้าง มัลติมีเดีย โดยใช้สื่อชนิดต่างๆ เช่น ตัวอักษร (Text) ภาพนิ่ง (Image) กราฟิก (Graphic) เสียง (Audio) วิดีโอ (Video) และแอนิเมชั่น (Animation) เป็นต้น โดยผู้ใช้สามารถควบคุมและ โต้ตอบกับมัลติมีเดียผ่านแอปพลิเคชั่นได้ มัลติมีเดียสามารถนามาใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ เช่น การศึกษา การฝึกอบรม การท่องเที่ยว การซื้อขายสินค้าและบริการ ธุรกิจ การแพทย์ และด้าน ความบันเทิง เป็นต้น นอกจากนี้ มัลติมีเดียยังมีประโยชน์กับผู้ใช้หลายประการ เช่น ง่ายต่อการ ใช้งาน สร้างความรู้สึก สร้างเสริมประสบการณ์ เพิ่มความสามารถในการเรียนรู้ และคุ้มค่าต่อ การลงทุน เป็นต้น การสร้างมัลติมีเดียจาเป็นต้องคานึงถึงวัตถุประสงค์ในการนาไปใช้ และกลุ่มเป้าหมายเป็น หลัก โดยจะต้องอาศัยฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ที่ทางานร่วมกับมัลติมีเดียได้อย่างมีประสิทธิภาพ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1) แบบ Multimedia Playback สาหรับการแสดงผลมัลติมีเดีย และ 2) Multimedia Production สาหรับผลิตมัลติมีเดีย 13
  • 16. หน่วยที่ 1 ใบงำนที่ 1 เรื่อง ควำมรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสื่อมัลติมีเดีย คำสั่ง ให้นักเรียนตอบคาถามจากโจทย์ที่กาหนดให้ต่อไปนี้ 1. อธิบายความหมายของคาว่ามัลติมีเดีย ...................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... 2. องคประกอบของสื่อมัลติมีเดียประกอบดวย ...................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... 3. มัลติมีเดียสามารถนามาประยุกต์ใช้ในด้านใดบ้าง ...................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... 14
  • 17. หน่วยที่ 1 โปรแกรม Corel VideoStudio Pro X6 เปนโปรแกรมตัดตอวิดีโอที่มีการใชงานไมยาก จนเกินไป แมผูที่เริ่มใชงานก็สามารถที่จะสรางวิดีโอได เหมือนกับผูที่มีประสบการณตัดตอวิดีโอมานาน โปรแกรมนี้มีเครื่องมือสาหรับตัดตอวิดีโออยางครบถวน เริ่มตั้งแตจับภาพจากกลองเข้าคอมพิวเตอร ตัดตอวิดีโอ ใสเอ็ฟเฟกตตาง ๆ แทรกดนตรีประกอบ แทรก คาบรรยาย ไปจนถึงบันทึกวิดีโอที่ตัดตอกลับลงเทป VCD, DVD หรือแมกระทั่งเผยแพรผลงานทางเว็บ โปรแกรม Corel VideoStudio มีการทางานเปนขั้นตอนที่งาย ตั้งแตจับภาพตัดต่อ ไปจนถึงเขียนลงแผน นอกจากนี้แลว โปรแกรมยังมีเอ็ฟเฟกตตาง ๆ อีกมากมาย ไตเติ้ลสาเร็จรูป แบบมืออาชีพรวมทั้งยังมีเครื่องมือที่ใชสาหรับสรางซาวนดแทร็คอยางงาย ๆ อีกดวย 15 ตอนที่ 2 กำรใช้งำนโปรแกรม Corel VideoStudio Pro x6
  • 18. หน่วยที่ 1 ในการสรางวิดีโอนั้น เริ่มแรกจับภาพ วิดีโอจากกลองหรือวาดึงไฟลวิดีโอจากแผน VCD / DVD เขามาจากนั้นก็ตัดแตงวิดีโอที่จับ ภาพ มาเรียงลาดับเหตุการณ ใสทรานสิชั่น Transition เอ็ฟเฟกตที่ใสระหวางคลิปวิดีโอ ทาใหการเปลี่ยนคลิปวิดีโอจากคลิปหนึ่งไปยัง อีกคลิปหนึ่ง นาดูยิ่งขึ้น ทาภาพซอนภาพ ใสไตเติ้ล ใสคาบรรยาย แทรกดนตรีประกอบ ซึ่งสวนตาง ๆ เหลานี้จะแยกแทร็คกัน การทางาน ในแตละแทร็คจะไมมีผลกระทบกับแทร็คอื่นๆ เมื่อทาเสร็จแลวขั้นตอนสุดทายก็คือ การเขียน วิดีโอลงแผน และนาไปใช้งาน การตัดตอใน Corel VideoStudio นั้น จะสรางเปนไฟลขึ้นมาซึ่งไฟลนี้จะเก็บขอมูล หากทางานยังไมเสร็จก็สามารถเปดเพื่อทางานตอในภายหลังได ไฟลนี้จะมีขนาดเล็ก การตัดตอวิดีโอแมจะตัดตออยางไรในวิดีโอ ก็จะไมมีผลกระทบตอไฟลตนฉบับ ขอมูลการตัดตอ จะบันทึกอยูในไฟลทั้งหมด แตเมื่อมีการสรางวิดีโอที่ไดจากการตัดตอโปรแกรมอานขอมูลจาก ตนฉบับตามขอมูลที่อางอิงจากไฟล์นี้ 16
  • 19. หน่วยที่ 1 ใบงำนที่ 2 เรื่อง กำรใช้งำนโปรแกรม Corel VideoStudio Pro x6 คำสั่ง ให้นักเรียนอธิบายเกี่ยวกับโปรแกรม Corel VideoStudio Pro x6 พอสังเขป ...................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... 17
  • 20. หน่วยที่ 1 ในปจจุบันนี้มีระบบการสงสัญญาณโทรทัศนที่นิยมใชในแถบภูมิภาคตาง ๆ คือ 1. ระบบ NTSC (National Television Standards Committee) เปนระบบโทรทัศน สีระบบแรกที่ใชงานในประเทศสหรัฐอเมริกา ตั้งแต่ปค.ศ. 1953 ประเทศที่ใชระบบนี้ ตอ ๆ มา ไดแก ญี่ปุน แคนาดา เปอเตอริโก และเม็กซิโก เปนตน 2. ระบบ PAL (Phase Alternation Line) เปนระบบโทรทัศนที่พัฒนามาจากระบบ NTSC ทาใหมีการเพี้ยนของสีนอยลง เริ่มใชงานมาตั้งแต่ปค.ศ. 1967 ในประเทศทางแถบยุโรป คือ เยอรมันตะวันตก อังกฤษ ออสเตรเลีย เบลเยี่ยม บราซิล เดนมารก นอรเวย สวีเดน สวิตเซอรแลนด และมีหลายประเทศในแถบเอเซียที่ใชกันคือ สิงคโปร มาเลเซีย รวมไปถึง ประเทศไทยก็ใชระบบนี้ 3.ระบบSECAM(SEQuentielAMemoire("memorysequential"))เปนระบบโทรทัศน อีกระบบหนึ่ง คิดคนขึ้นโดย Dr.Henry D.France เริ่มใชมาตั้งแต่ปค.ศ.1967 นิยมใชกันอยู หลายประเทศแถบยุโรปตะวันออกไดแก ฝรั่งเศส อัลจีเรีย เยอรมันตะวันออก ฮังการี ตูนีเซีย โรมาเนีย และรัสเซีย เปนตน 18 ตอนที่ 3 ระบบกำรส่งสัญญำณโทรทัศน์
  • 21. หน่วยที่ 1 คุณภำพของระบบโทรทัศนสีในระบบตำงๆ 1. ระบบ NTSC ขอดี คือ สามารถมองเห็นภาพได 30 ภาพ/วินาที (ระบบอื่นมองเห็น ได 25 ภาพ/วินาที) ทาใหการสั่นไหวของภาพ ลดนอยลงและเนื่องจากสัญญาณภาพใช้ความกวาง ของคลื่นสัญญาณนอย ทาใหภาพถูกรบกวนนอย ภาพที่ไดรับจึงมีความคมชัดมากขึ้น ขอเสียนั้นเกิดจาก การที่เสนสแกนภาพมีจานวนนอย หากใชจอภาพ เครื่องรับโทรทัศนที่มีขนาดใหญรับภาพ จะทาให้ รายละเอียดภาพมีนอย ดังนั้นภาพจึงขาดความคมชัด และถาใชเครื่องรับโทรทัศนขาว-ดา สัญญาณสีที่ความถี่ 3.58 MHz จะเกิดการรบกวนสัญญาณ ขาว-ดา ทาใหเกิดความผิดเพี้ยนของสี วิธีแกไข ตองปรับแก ที่เครื่องรับโทรทัศน เพื่อใหไดภาพ เปนธรรมชาติซึ่งตองใชความสามารถเฉพาะตัวของผูรับชมปรับแตง 2. ระบบ PAL ข้อดี เปนระบบที่ใหรายละเอียดของภาพสูง ไมมีความผิดเพี้ยนของสี ภาพที่ไดเปน ธรรมชาติ ความเขมของภาพสูง (High Contrast) ดีกวาระบบ NTSC ขอเสียคือ ภาพที่ มองเห็นมีความสั่นไหวมากกวาระบบ NTSC เนื่องจาก ภาพที่มองเห็น 25 ภาพ/วินาที ถูกรบกวนสัญญาณ ภาพสูง สาเหตุเพราะมีความกวางของสัญญาณภาพ มากกวา (Higher Bandwidth) ระบบ NTSC จุดอิ่มตัว ความสวางของสีนอย (reduce the color saturation) ทาใหเห็นความสวางของสีนอยลง 3. ระบบ SECAM เปนระบบที่ไมมีความผิดเพี้ยนของสี รายละเอียดของภาพมีคุณภาพสูง เทียบเทา กับระบบPAL ขอเสียภาพจะมีการสั่นไหว เหมือนระบบ PAL สวนการตัดตอภาพในระบบนี้ ไมสามารถทาได้ ซึ่งในการผลิตรายการโทรทัศน สวนมากใชระบบ PAL และเมื่อผลิตเสร็จแลว จึงเปลี่ยนกลับไปเปนระบบ SECAM แลวจึงสงออก อากาศ และเนื่องจากความกวางของคลื่นสัญญาณ มีนอย จึงทาใหเกิดคลื่นความถี่สัญญาณสีรบกวน ภาพ (Patterning Effects) จึงทาใหภาพเกิดมีสีรบกวนในขณะรับชมรายการได 19
  • 22. หน่วยที่ 1 20 ระบบโทรทัศนสีที่ใชงำนทั่วโลก ในระบบอะนาล็อกยังมีการแบงยอยจากระบบใหญ ๆ ทั้ง3ระบบ ดังกลาว ทั้งนี้เพื่อ ความเหมาะสมของกระแสไฟฟาที่แตละประเทศใชงานและความเหมาะสม กับประเทศที่ใชงาน กาหนดโดยสหภาพวิทยุโทรคมนาคม (ITU) เชน กระแสไฟฟา 60 Hz จะใชระบบสัญญาณ โทรทัศนสี Field frequency 60 Hz และกระแสไฟฟา 50 Hz จะใชระบบสัญญาณโทรทัศนสี Field frequency 50 Hz ทั้งนี้ก็เพื่อปองกันความถี่ของกระแสไฟฟาที่ใชรบกวนสัญญาณภาพ ระบบสัญญาณโทรทัศนสีที่ใชงานอยูในปจจุบันมีคุณภาพสัญญาณที่ดีไมพบขอเสีย ดังนั้นในการพิจารณาใชงานระบบใดระบบหนึ่งก็อาจมีสาเหตุมาจากเหตุผลอื่น ๆ เชน เหตุผลทางดานเศรษฐกิจการลงทุนในการผลิต และการใชเครื่องรับโทรทัศนเปนจานวนมาก แลวถาหากจะเปลี่ยนระบบอาจตองลงทุนสูง เหตุผลทางดานการเมือง อาจไดรับการสนับสนุน จากประเทศมหาอานาจใหใชระบบใดระบบหนึ่ง บทสรุป สัญญาณโทรทัศนสีในระบบตาง ๆ ที่ใชกันอยูทุกวันนี้ มีหลักการออกแบบ คลายกันคือ การสงโทรทัศนสีจะตองทาใหเครื่องรับโทรทัศนขาว-ดาและเครื่องรับโทรทัศนสีรับ สัญญาณได โดยสัญญาณที่สงออกอากาศจะตองเปนสัญญาณเดียวกัน สวนคุณภาพของภาพ โทรทัศนนั้นขึ้นอยูกับขอจากัดทางเทคนิค การกาหนดภาพที่เหมาะสมมี 2 ระบบหลักคือ 25 ภาพ/วินาที และ 30 ภาพ/วินาที สัญญาณโทรทัศนสีในระบบอะนาล็อกนี้จะถูกเปลี่ยน เขารหัสเปนระบบดิจิทัลกอนที่จะสงเปนสัญญาณโทรทัศนระบบดิจิทัล
  • 23. หน่วยที่ 1 ใบงำนที่ 3 เรื่อง ระบบกำรส่งสัญญำณโทรทัศน์ คำสั่ง ให้นักเรียนอธิบายระบบการส่งสัญญาณโทรทัศน์ 1. ระบบ NTSC ...................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... 2. ระบบ PAL ...................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... 3. ระบบ SECAM ...................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... 21
  • 24. หน่วยที่ 1 คุณสมบัติของไฟลวิดีโอ และภำพยนตร Frame Rate คือความเร็วในการแสดงภาพเคลื่อนไหวตอหนึ่งหนวยเวลามีหนวยเปน เฟรมตอวินาที โดยอัตราการเคลื่อนไหวที่จะเปนภาพยนตรไดนั้นควรมีคาขั้นต่าตั้งแต 7-10 fps คาเฟรมเรทขึ้นอยูกับระบบของภาพยนตร์ และระบบวิดีโอตาง ๆ ดังนี้ ระบบต่ำงๆ Frame rate(fps) ฟลมภำพยนตร์ทั่วไป 24 วิดีโอ ระบบ NTSC 29.79 วิดีโอ ระบบ PAL และSECAM 25 CD-ROM และ เว็บไซต์ 15 งำน 3D animation 30 (non-Drop frame) รูปแบบของไฟล์วิดีโอประเภทต่ำงๆ ประเภท คุณสมบัติ AVI เปนไฟลมำตรฐำนของไฟล วิดีโอ ทั่วไป มีควำมคมชัดสูง แตจุดดอยคือไฟลมีขนำดใหญ(ควำมจุสูง) Mpeg ไฟล วิดีโอ ที่ถูกบีบอัด แบบหนึ่ง ไดรับควำมนิยมมำก ขอดีคือไฟลมีขนำดเล็ก เลือกควำมคมชัดไดหลำยแบบ Mpeg-1 เปนไฟลที่นิยมทำใน วีซีดี เปนไฟลที่มีขนำดเล็กที่สุด Mpeg-2 เปนไฟลที่นิยมทำ ดีวีดี เปนไฟลขนำดใหญมีควำมคมชัดสูง เมื่อเทียบกับตระกูล เอ็มเพ็ก ดวยกัน 22 ตอนที่ 4 ประเภทของไฟล์ที่ใช้ในกำรตัดต่อวิดีโอ
  • 25. หน่วยที่ 1 23 ประเภท คุณสมบัติ Mpeg-4 เปนไฟลที่กำลังไดรับควำมนิยม มีคุณภำพเทียบเคียง ดีวีดี แตมีขนำดเล็ก เหมำะกับ กำรเผยแพรทำงอินเทอรเน็ต WMA เปนรูปแบบไฟลมำตรฐำน บนระบบ Windows นิยมเผยแพรทำงอินเทอรเน็ต RW เปนรูปแบบของไฟลโปรแกรม RealOne Player นิยมเผยแพรกันบนอินเทอรเน็ต MOV เปนรูปแบบของไฟล โปรแกรม QuickTime ผลิตเพื่อใชกับ เครื่องApple แตเปดบน ระบบ Windows ไดเชนกัน
  • 26. หน่วยที่ 1 ใบงำนที่ 4 เรื่อง ประเภทของไฟล์ที่ใช้ในกำรตัดต่อวิดีโอ คำสั่ง ให้นักเรียนอธิบายคุณสมบัติของไฟล์ที่ใช้ในการตัดต่อวิดีโอ ประเภท คุณสมบัติ AVI Mpeg Mpeg-1 Mpeg-2 Mpeg-4 WMA RW MOV 24
  • 27. หน่วยที่ 1 แบบทดสอบหลังเรียน 25 คำชี้แจง แบบทดสอบเป็นแบบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ คำสั่ง จงเขียนเครื่องหมายกากบาท  ทับตัวอักษร ก, ข, ค, หรือ ง ในกระดาษคาตอบ สาหรับตัวเลือกที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 1. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการนาเสนอมัลติมีเดีย ก. ประสิทธิภาพในการประมวลผล ข. มาตรฐาน ค. คุณภาพ ง. การบีบอัดข้อมูล 2. ไฟล์วิดีโอทั่วไป มีความคมชัดสูงแต่มีจุดด้อยคือเป็นไฟล์ขนาดใหญ่คือข้อใด ก. Mpeg-4 ข. AVI ค. WMA ง. MOV 3. ในปัจจุบันเรานิยมใช้ไฟล์เสียงใดที่คุณภาพเสียงที่ดีและมีความจุน้อยมาก ก. AIFF ข. MP3 ค. QuickTime ง. Real Audio 4. ข้อใดไม่ใช่ ระบบส่งสัญญาณโทรทัศน์ที่มีอยู่ทั่วไปในโลก ก. MBT ข. PAL ค. NTSC ง. SECAM 5. ขั้นใดควรทาเป็นขั้นตอนแรกของการตัดต่อวิดีโอ ก. การตัดต่อ ข. เตรียมกล้อง และอุปกรณ์ ค. การเขียน Storyboard ง. การเตรียมองค์ประกอบต่างๆ
  • 28. หน่วยที่ 1 6. ข้อใดที่โปรแกรม Corel VideoStudio Pro x6 ไม่สามารถทาได้ ก. บันทึกเสียง ข. ตกแต่งภาพนิ่ง ค. ตัดต่อภาพวิดีโอ ง. จับภาพวิดีโอจากกล้องมาเก็บไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ 7. ความหมายของมัลติมีเดียข้อใดถูกต้องที่สุด ก. การนาข้อความ ภาพ มาผ่านกระบวนการทางระบบคอมพิวเตอร์ ข. การนาข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง วิดีโอ มาผ่านกระบวนการทางระบบ คอมพิวเตอร์ ค. การนาข้อความ ภาพ เสียง มาทาให้เป็นวิดีโอเพื่อการนาเสนอข้อมูลตามความต้องการ ต้องผู้ใช้ ง. การนาภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง มาทาให้เป็นวิดีโอเพื่อการนาเสนอข้อมูลตาม ความต้องการต้องผู้ใช้ 8. ประเทศไทยใช้ระบบโทรทัศน์แบบเดียวกับประเทศสิงคโปร์ มาเลเซีย คือข้อใด ก. NTSC ข. SECAM ค. MBT ง. PAL 9. ข้อใดกล่าวถึงโปรแกรม Corel VideoStudio Pro x6 ได้อย่างถูกต้อง ก. ไม่ควรใส่วิดีโอลงในการตัดต่อเพราะจะทาให้ไฟล์ใหญ่เกินไป ข. ต้องใช้โปรแกรมอื่นบันทึกวิดีโอที่ตัดต่อแล้วลงแผ่น VCD, DVD ค. สามารถบันทึกวิดีโอที่ตัดต่อแล้วกลับลงในแผ่น VCD, DVD ง. สามารถพิมพ์ข้อความในโปรแกรม Ms-word แล้วนามาใส่ในโปรแกรม Corel Video Studio x6 ได้ 10. การนาสื่อมัลติมีเดียมาสร้างสื่อการเรียนรู้ในรูปแบบ E-learning เป็นการนามัลติมีเดียมา ประยุกต์ใช้ด้านใด ก. ด้านความบันเทิง ข. ด้านการบริการข้อมูล ค. ด้านการนาเสนอข้อมูล ง. ด้านการศึกษา 26
  • 29. หน่วยที่ 1 บรรณำนุกรม กระทรวงศึกษาธิการ. คู่มือกำรใช้โปรแกรมตัดต่อวิดีโอ. กรุงเทพฯ : สานักเทคโนโลยีเพื่อ การเรียนการสอน สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, มปป. ทวีศักดิ์ กาญจนสุวรรณ. เทคโนโลยีมัลติมีเดีย (Multimedia Technology). กรุงเทพฯ : หจก. ไทยเจริญการพิมพ์, 2552. ฝ่ายเทคโนโลยีทางการศึกษา สานักวิทยบริการ ม.อ. ปัตตานี. คู่มือโปรแกรม Corel VideoStudio Pro X6. สืบค้นจาก http://techno.oas.psu.ac.th/sites/ default/files/file_attach/_corel_videostudio_pro_x6.pdf เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2555. พิษณุ ปุระศิริ. คู่มือตัดต่อวิดีโอด้วย Ulead VideoStudio 10 Plus. กรุงเทพฯ : โปรวิชั่น จากัด, 2550. สกุลรัตน์ นารี. เอกสำรประกอบกำรเรียน เรื่อง กำรใช้โปรแกรม Ulead Video Studio 11. โรงเรียนภูมิชรอลวิทยา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28, มปป. 27
  • 31. หน่วยที่ 1 29 เฉลยใบงำนที่ 1 เรื่อง ควำมรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสื่อมัลติมีเดีย คำสั่ง ให้นักเรียนตอบคาถามจากโจทย์ที่กาหนดให้ต่อไปนี้ 1. อธิบายความหมายของคาว่ามัลติมีเดีย การนาองค์ประกอบของสื่อผสมผสานรวมเข้า ประกอบด้วย ข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง และวิดีโอ โดยผ่านกระบวนการทางระบบคอมพิวเตอร์ 2. องคประกอบของสื่อมัลติมีเดียประกอบดวย ข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง และวิดีโอ 3. มัลติมีเดียสามารถนามาประยุกต์ใช้ในด้านใดบ้าง ด้านความบันเทิง ด้านการศึกษา ด้านการฝึกอบรม ด้านการนาเสนอข้อมูล ด้านการบริการข้อมูล ด้านธุรกิจ ด้านการท่องเที่ยว ด้านการซื้อขายสินค้า ด้านการสื่อสาร ด้านการแพทย์ ด้านการออกแบบทางด้านวิศวกรรม ด้านการจัดเก็บและสืบค้นข้อมูล
  • 32. หน่วยที่ 1 เฉลยใบงำนที่ 2 เรื่อง กำรใช้งำนโปรแกรม Corel VideoStudio Pro x6 คำสั่ง ให้นักเรียนอธิบายเกี่ยวกับโปรแกรม Corel VideoStudio Pro x6 พอสังเขป การตัดตอใน Corel VideoStudio เริ่มแรกจับภาพวิดีโอจากกลองหรือวาดึงไฟลวิดีโอ จากแผน VCD / DVD เขามา จากนั้นก็ตัดแตงวิดีโอที่จับภาพ มาเรียงลาดับเหตุการณ ใส่ Transition เอ็ฟเฟกตที่ใสระหวางคลิปวิดีโอ ทาใหการเปลี่ยนคลิปวิดีโอจากคลิปหนึ่งไปยังอีก คลิปหนึ่ง นาดูยิ่งขึ้น ทาภาพซอนภาพ ใส Title ใสคาบรรยาย แทรก sound ซึ่งสวนตาง ๆ เหลานี้จะแยกแทร็คกัน การทางานในแตละแทร็คจะไมมีผลกระทบกับแทร็คอื่นๆ เมื่อทาเสร็จ แลวขั้นตอนสุดทายก็คือ การเขียนวิดีโอลงแผน ขณะตัดต่อจะสรางเปนไฟลขึ้นมาซึ่งไฟลนี้ จะเก็บขอมูล หากทางานยังไมเสร็จก็สามารถเปดเพื่อทางานตอในภายหลังได ไฟลนี้จะมี ขนาดเล็ก การตัดตอวิดีโอแมจะตัดตออยางไรในวิดีโอ ก็จะไมมีผลกระทบตอไฟลตนฉบับ ขอมูลการตัดตอจะบันทึกอยูในไฟลทั้งหมด แตเมื่อมีการสรางวิดีโอที่ไดจากการตัดตอ โปรแกรมอานขอมูลจากตนฉบับตามขอมูลที่อางอิงจากไฟล์นี้ 30
  • 33. หน่วยที่ 1 เฉลยใบงำนที่ 3 เรื่อง ระบบกำรส่งสัญญำณโทรทัศน์ คำสั่ง ให้นักเรียนอธิบายระบบการส่งสัญญาณโทรทัศน์ 1. ระบบ NTSC NTSC (National Television Standards Committee) เปนระบบโทรทัศนสี ระบบแรกที่ใชงานในประเทศสหรัฐอเมริกา ตั้งแต่ ปค.ศ. 1953 ประเทศที่ใชระบบนี้ ไดแก ญี่ปุน แคนาดา เปอเตอริโก และเม็กซิโก เปนตน 2. ระบบ PAL PAL (Phase Alternation Line) เปนระบบโทรทัศนที่พัฒนามาจากระบบ NTSC ทาใหมีการเพี้ยนของสีนอยลง เริ่มใชงานมาตั้งแต่ ปค.ศ. 1967 ในประเทศทางแถบยุโรป คือ เยอรมันตะวันตก อังกฤษ ออสเตรเลีย เบลเยี่ยม บราซิล เดนมารก นอรเวย สวีเดน สวิตเซอรแลนด และมีหลายประเทศในแถบเอเซียที่ใชกันคือ สิงคโปร มาเลเซีย รวมไปถึง ประเทศไทย 3. ระบบ SECAM SECAM(SEQuentielAMemoire("memorysequential"))เปนระบบโทรทัศนอีกระบบ หนึ่ง คิดคนขึ้นโดย Dr.Henry D.France เริ่มใชมาตั้งแต่ ปค.ศ.1967 นิยมใชกันอยูหลาย ประเทศแถบยุโรปตะวันออก ไดแก ฝรั่งเศส อัลจีเรีย เยอรมันตะวันออก ฮังการี ตูนีเซีย โรมาเนีย และรัสเซีย 31
  • 34. หน่วยที่ 1 เฉลยใบงำนที่ 4 เรื่อง ประเภทของไฟล์ที่ใช้ในกำรตัดต่อวิดีโอ คำสั่ง ให้นักเรียนอธิบายคุณสมบัติของไฟล์ที่ใช้ในการตัดต่อวิดีโอ ประเภท คุณสมบัติ AVI เปนไฟลมาตรฐานของไฟล วิดีโอ ทั่วไป มีความคมชัดสูง แตจุดดอยคือไฟลมีขนาดใหญ(ความจุสูง) Mpeg ไฟล วิดีโอ ที่ถูกบีบอัด แบบหนึ่ง ไดรับความนิยมมาก ขอดีคือไฟลมีขนาดเล็ก เลือกความคมชัดไดหลายแบบ Mpeg-1 เปนไฟลที่นิยมทาใน วีซีดี เปนไฟลที่มีขนาดเล็กที่สุด Mpeg-2 เปนไฟลที่นิยมทา ดีวีดี เปนไฟลขนาดใหญมีความคมชัดสูง เมื่อเทียบกับตระกูล เอ็มเพ็ก ดวยกัน Mpeg-4 เปนไฟลที่กาลังไดรับความนิยม มีคุณภาพเทียบเคียง ดีวีดี แตมีขนาดเล็ก เหมาะกับ การเผยแพรทางอินเทอรเน็ต WMA เปนรูปแบบไฟลมาตรฐาน บนระบบ Windows นิยมเผยแพรทางอินเทอรเน็ต RW เปนรูปแบบของไฟลโปรแกรม RealOne Player นิยมเผยแพรกันบนอินเทอรเน็ต MOV เปนรูปแบบของไฟล โปรแกรม QuickTime ผลิตเพื่อใชกับ เครื่องApple แตเปดบน ระบบ Windows ไดเชนกัน 32