SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
Download to read offline
คำนำ


	 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณต่อปวงชนชาวไทย
พระองค์ทรงมีพระวินิจฉัย ค้นคว้า สำรวจ รวบรวมข้อมูล และทดสอบเกี่ยวกับ


การจั ด การทรั พ ยากรน้ ำ ที่ ดิ น พั นธุ์ พื ช สำหรั บ การอุ ป โภคและบริ โภค เพื่ อ ให้
สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ในพื้นที่ของตนเอง โดยตั้งเป็น “ทฤษฎีใหม่” ซึ่งผ่านการสรุป
ผลจากการทดลองของมูลนิธิชัยพัฒนาในพระองค์ ที่วัดมงคลชัยพัฒนา อำเภอ
เฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสระบุรี ซึ่งเป็นแนวทางพัฒนาการเกษตรแบบพึ่งพาตนเอง
โดยการผสมผสานกิจกรรมพืช สัตว์ และประมง ให้มีความหลากหลายนานาพันธุ์
เกิดการพัฒนาแบบยั่งยืน

	 ศู น ย์ ศึ ก ษาการพั ฒ นาภู พ านอั น เนื่ อ งมาจากพระราชดำริ จั ง หวั ด สกลนคร 

ได้น้อมนำแนวพระราชดำริมาส่งเสริมการประกอบอาชีพให้แก่ราษฎรโดยใช้หลัก
เกษตรทฤษฎีใหม่ มีการจัดตั้งเกษตรกรต้นแบบของการทำเกษตรผสมผสานตามแนว

ทฤษฎีใหม่ ประจำไว้ทุกหมู่บ้านรอบศูนย์ เพื่อเป็นตัวอย่างให้แก่เกษตรกรเข้าไป


เรี ย นรู้ แ ละนำไปปฏิ บั ติ ง านขยายผล ศู น ย์ ศึ ก ษาการพั ฒ นาภู พ านฯ จึ ง ได้ จั ด ทำ

เอกสารคำแนะนำการทำเกษตรทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชดำริ และผลการดำเนินงาน


การทำเกษตรทฤษฎีใหม่ของเกษตรกรตัวอย่าง เพื่อเป็นคู่มือสำหรับเกษตรกรที่สนใจ
นำไปประยุกต์ใช้เพื่อยกระดับรายได้และคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้นต่อไป
สารบัญ


ความเป็นมา	
หลักการสำคัญของทฤษฎีใหม่	
การจัดการในทฤษฎีใหม่	
ทฤษฎีใหม่ขั้นต้น การจัดสรรที่อยู่อาศัยและทำกิน	
ทฤษฎีใหม่ขั้นก้าวหน้า	
ทฤษฎีใหม่ขั้นที่สอง	
ทฤษฎีใหม่ขั้นที่สาม	
ประโยชน์ทฤษฎีใหม่	
แปลงตัวอย่างการทำเกษตรทฤษฎีใหม่	
สรุปการทำเกษตรทฤษฎีใหม่ นายขวัญใจ แก้วหาวงศ์ 	

หน้า

๕
๖
๖	
๘
๙	
๙
๑๒	
๑๓	
๑๔
๑๘
เกษตรทฤษฎีใหม่
ความเป็นมา


	 ปั ญ หาหลั ก ของเกษตรกรในอดี ต จนถึ ง ปั จ จุ บั น ที่ ส ำคั ญ
ประการหนึ่ง คือ การขาดแคลนน้ำเพื่อเกษตรกรรม โดยเฉพาะ
อย่ า งยิ่ ง ในเขตพื้ น ที่ อ าศั ย น้ ำ ฝน ซึ่ ง เป็ น พื้ น ที่ ส่ ว นใหญ่ ข อง
ประเทศที่อยู่ในเขตที่มีฝนค่อนข้างน้อยและส่วนมากเป็นนาข้าว

และพืชไร่ เกษตรกรยังคงทำการเพาะปลูกได้ปีละครั้งในช่วง

ฤดูฝนเท่านั้น และมีความเสี่ยงกับความเสียหายอันเนื่องมาจาก
ความแปรปรวนของดิน ฟ้า อากาศ และฝนทิ้งช่วง แม้ว่าจะมี
การขุดบ่อหรือสระเก็บน้ำไว้ใช้บ้างแต่ก็ไม่มีขนาดแน่นอน หรือมี

ปั จ จั ย อื่ น ๆ ที่ เป็ น ปั ญ หาให้ มี น้ ำ ใช้ ไม่ เพี ย งพอรวมทั้ ง ระบบ

การปลูกพืชไม่มีหลักเกณฑ์ใด ๆ และส่วนใหญ่ปลูกพืชนิดเดียว

	 ด้วยเหตุนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจึงได้พระราชทาน
พระราชดำริเพื่อเป็นการช่วยเหลือเกษตรกรที่ประสบความยาก

ลำบากดังกล่าวให้สามารถผ่านพ้นช่วงเวลาวิกฤต โดยเฉพาะ


การขาดแคลนน้ ำ ได้ โ ดยไม่ เ ดื อ ดร้ อ นและยากลำบากนั ก 

พระราชดำรินี้ ทรงเรียกว่า “ทฤษฎีใหม่” อันเป็นแนวทางหรือ
หลักการในการบริหารจัดการที่ดินและน้ำเพื่อการเกษตรในที่ดิน
ขนาดเล็กให้เกิดประโยชน์สูงสุด

คู่มือเกษตรทฤษฎีใหม่

๕
หลักการสำคัญของทฤษฎีใหม่


	 การบริหารจัดการทรัพยากรโดยเฉพาะดินและน้ำที่มีอยู่จำกัดให้เกิดประโยชน์
สูงสุด เพื่อให้เกษตรกรสามารถดำเนินชีวิตอยู่ได้อย่างพอเพียง โดยเน้นการพึ่งพา
ตนเองให้มากที่สุด
	 เหตุที่เรียก “ทฤษฎีใหม่”
	 ๑.	 มี ก ารบริ ห ารและจั ด แบ่ ง ที่ ดิ น ขนาดเล็ ก ออกเป็ น สั ด ส่ ว นที่ ชั ด เจน 


เพื่อประโยชน์สูงสุดของเกษตรกร
	 ๒.	มีการคำนวณโดยหลักวิชาการ เกี่ยวกับปริมาณน้ำที่จะเก็บกักให้พอเพียงต่อ
การเพาะปลูกได้อย่างเหมาะสมตลอดปี
	 ๓.	มีการวางแผนที่สมบูรณ์แบบ ประกอบด้วย ๓ ขั้นตอน

	 ขั้นตอนของทฤษฎีใหม่ การทำเกษตรทฤษฎีใหม่ มี ๓ ขั้นตอน
	 ขั้นที่ ๑ เป็นการผลิตแบบพึ่งตนเองด้วยวิธีง่ายๆ ค่อยเป็นค่อยไปตามกำลัง 


พอมีพอกินไม่อดอยาก
	 ขั้นที่ ๒ เกษตรกรรวมพลังกันในรูปกลุ่มหรือสหกรณ์ ร่วมแรงในเรื่องของ


การผลิต การตลาด การเป็นอยู่ สวัสดิการ การศึกษา สังคม และศาสนา
	 ขั้นที่ ๓ ร่วมมือกับแหล่งเงินและพลังงาน ตั้งและบริการโรงสี ตั้งและบริการ
ร้านสหกรณ์ ช่วยกันลงทุน ช่วยกันพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในชนบท ซึ่ง
มิใช่ทำอาชีพเกษตรเพียงอย่างเดียว
	 	 ขั้นที่ ๑ เป็นการสร้างความพอเพียงในระดับครอบครัว
	 	 ขั้นที่ ๒ และ ๓ เป็นการสร้างความพอเพียงในระดับชุมชน 


การจัดการในทฤษฎีใหม่


	 การจัดสรรพื้นที่ในการทำเกษตรทฤษฎีใหม่ขั้นที่ ๑ ซึ่งเป็นขั้นพื้นฐานสำคัญ
แบ่ ง ออกเป็ น เกษตรทฤษฎี ใ หม่ อ าศั ย น้ ำ ฝน และเกษตรทฤษฎี ใ หม่ อ าศั ย น้ ำ
ชลประทาน (เติมน้ำได้)


๖

๑๙ ผลสำเร็จที่โดดเด่นของศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพานอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
เกษตรทฤษฎีใหม่อาศัยน้ำฝน	 การจัดสรรพื้นที่อยู่อาศัยและที่ทำกิน	 แบ่งออก

เป็น	๔	ส่วน	ตามสัดส่วน	๓๐	:	๓๐	:	๓๐	:	๑๐	

ส่วนที่
๑	สระน้ำ	๓๐	%	
ส่วนที่
๒	นาข้าว	๓๐	%	 	
ส่วนที่
๓	พืชสวนพืชไร่	๓๐	%	 	
ส่วนที่
๔	ที่อยู่อาศัย	๑๐	%	


 เงื่ อ นไข	 คื อ มี พื้ น ที่ น้ อ ย	 (ประมาณ		
๑๕	 ไร่)	 อยู่ในเขตเกษตรน้ำฝน	 ฝนตกไม่ชุก	
ปลูกข้าวเป็นพืชหลัก	 สภาพดินสามารถขุด
สระเก็ บ กั ก น้ ำ ได้	 ฐานะค่ อ นข้ า งยากจน		
มีสมาชิกในครอบครัวปานกลางประมาณ		
๕	-	๖	คน	และไม่มีอาชีพหรือรายได้อื่นที่ดี
กว่าในบริเวณใกล้เคียง	


 เกษตรทฤษฎีใหม่อาศัยน้ำชลประทาน	 (เติมน้ำได้)	 การทำทฤษฎีใหม่สามารถ	
ยืดหยุ่นปรับสัดส่วนการใช้พื้นที่ให้มีความเหมาะสมตามสภาพพื้นที่	 เช่น	 พื้นที่ภาคใต้
ที่มีฝนตกชุกกว่าภาคอื่น	 หรือพื้นที่ที่มีแหล่งน้ำมาเติมได้หรือมีระบบชลประทานเข้าถึง
สัดส่วนของสระน้ำอาจเล็กลง	 แล้วเพิ่มเติมพื้นที่ปลูกไม้ผล	 พืชไร่	 พืชผักแทน	 โดย
อาจแบ่งพื้นที่ออกเป็น	๔	ส่วน	ตามอัตราส่วน	๑๖	:	๒๔	:	๕๐	:	๑๐	


 

อ่างเก็บน้ำ











สระน้ำ
 


แปลงเกษตรกรรม


 ส่วนที่
๑	สระน้ำ	๑๖	%	
	

 ส่วนที่
๒	นาข้าว	๒๔	%	
	

 ส่วนที่
๓	ไม้ผล	พืชหลัก	และพืชไร่	๕๐	%	

 ส่วนที่
๔	ที่อยู่อาศัย	๑๐	%	


 ที่ดอน	จัดเป็นพื้นที่สำหรับปลูกไม้ผล	เลี้ยงสัตว์	และที่อยู่อาศัย			

 ที่ลุ่ม	จัดเป็นพื้นที่ทำนาข้าว	แปลงผัก	และสระน้ำ	

คู่มือเกษตรทฤษฎีใหม่

๗
ทฤษฎีใหม่ขั้นต้น
การจัดสรรที่อยู่อาศัยและทำกิน


ตเป
	กินไม่“	การผลิ”	นการผลิตให้พึ่งตนเองได้ด้วยวิธีง่ายๆ ค่อยเปนค่อยไปตามกำลังให้พอ
มี อดอยาก

(พระราชดำรัส เมื่อวันที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๓๗)


	 โดยให้ แบ่ ง พื้ นที่ ซึ่ ง เฉลี่ ย แล้ ว เกษตรกรไทยมี เนื้ อ ที่ ถื อ ครอง	 ๑๐	 -	 ๑๕	 ไร่ /
ครอบครัว	 โดยแบ่งออกเป็น	 ๔	 ส่วน	 คือ	 แหล่งน้ำ	 :	 นาข้าว	 :	 พืชผสมผสาน	 :	
โครงสร้างพื้นฐานในอัตราส่วน	๓๐	:	๓๐	:	๓๐	:	๑๐	ดังนี้	



 ส่ ว นแรก	 ร้ อ ยละ	 ๓๐	 ให้ ขุ ด สระกั ก เก็ บ น้ ำ ใน	
ฤดูฝน	 เพาะปลูกและเสริมการปลูกพืชในฤดูแล้งได้	
ตลอดปี	 ทั้งยังใช้เลี้ยงปลา	 ปลูกพืชน้ำ	 และพืชริมสระ
เพื่อการบริโภคและเพิ่มรายได้ให้กับครอบครัวอีกทาง	
หนึ่ง	 โดยพระราชทานแนวทางการคำนวณว่าต้องการ
น้ำ	 ๑,๐๐๐	 ลูกบาศก์เมตรต่อการเพาะปลูก	 ๑	 ไร่	 โดย
ประมาณ	 และบนสระน้ำสามารถสร้างเล้าไก่	 เล้าเป็ด	
และเล้าสุกรเพิ่มด้วยก็ได้		


 

 ส่ ว นที่ ส อง	 ร้ อ ยละ	 ๓๐	 ให้ ท ำนาข้ า ว	
เนื่องจากคนไทยบริโภคข้าวเป็นอาหารหลัก	
โดยมี ห ลั ก เกณฑ์ เฉลี่ ย เกษตรกรบริ โภคข้ า ว	
คนละ	 ๒๐๐	 กิโลกรัมข้าวเปลือก/ปี	 ซึ่งเพียง
พอต่ อ การบริ โ ภคตลอดปี	 เพื่ อ ยึ ด หลั ก พึ่ ง
ตนเองได้อย่างมีอิสรภาพ	



๘

๑๙ ผลสำเร็จที่โดดเด่นของศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพานอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
ส่ ว นที่ ส าม	 ร้ อ ยละ	 ๓๐	 ให้ ป ลู ก ไม้ ผ ล	 ไม้
ยืนต้น	ไม้ใช้สอย	ไม้ทำเชื้อเพลิง	ไม้สร้างบ้าน	พืช
ผัก	 พืชไร่	 พืชสมุนไพร	 ฯลฯ	 เพื่อการบริโภคและ
ใช้ ส อยอย่ า งพอเพี ย ง	 หากเหลื อ บริ โภคก็ น ำไป
จำหน่ายเป็นรายได้ต่อไป	


 

 ส่วนที่สี่
 ร้อยละ	 ๑๐	 (โครงสร้างพื้นฐาน)	
เป็นที่อยู่อาศัยและอื่นๆ	 เช่น	 ถนน	 ลานตาก	
ฉางข้าว	กองปุ๋ยหมัก	โรงเพาะเห็ด	พืชผักสวน
ครัว	เป็นต้น	

ทฤษฎีใหม่ขั้นก้าวหน้า
	 หลักการดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้น	 เป็นทฤษฎีใหม่ขั้นที่หนึ่ง	 เมื่อเกษตรกรเข้าใจ
หลักการและได้ลงมือปฏิบัติตามขั้นที่หนึ่งในที่ดินของตนจนได้ผลแล้ว	 เกษตรกรก็
สามารถพัฒนาตนเองไปสู่ขั้นพออยู่พอกิน	 และตัดค่าใช้จ่ายลงเกือบทั้งหมด	 มีอิสระ
จากสภาพปัจจัยภายนอกแล้วและเพื่อให้มีผลสมบูรณ์ยิ่งขึ้น	จึงควรที่จะต้องดำเนินการ
ตามขั้นที่สอง	

ทฤษฎีใหม่ขั้นที่สอง
ิน
ผลแล้วก็ต้องเริ
“	เมื่คือเกษตรกรเข้าใจในหลักการและได้ปปฏิกลุับต่มิที่ดหรืของตนเองจนได้มแรงในการผลิ่มต
ขั้ นที่ ส อง อ ให้ เ กษตรกรรวมพลั ง กั น ในรู
อ สหกรณ์ ร่ ว
การตลาด การเปนอยู่ สวัสดิการ การศึกษา สังคม และศรัทธาเพื่อให้พอมีกินมีใช้ ช่วยให้
สังคมดีขึ้นพร้อมๆ กันไม่รวยคนเดียว”	
(พระราชดำรัสเมื่อวันที่ ๑๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๓๘)

คู่มือเกษตรทฤษฎีใหม่

๙
ดำเนินการดังนี้


	 ๑. การผลิต (พันธุ์พืช เตรียมดิน ชลประทาน ฯลฯ) 
	 เกษตรกรจะต้องร่วมมือในการผลิต โดยเริ่มตั้งแต่ขั้นเตรียมดิน การหาพันธุ์พืช
ปุ๋ย การจัดการน้ำ และอื่นๆ เพื่อการเพาะปลูก

	 ๒. การตลาด (ลานตากข้าว ยุ้ง เครื่องสีข้าว การจำหน่ายผลผลิต)
	 เมื่อมีผลผลิตแล้วจะต้องเตรียมการต่าง ๆ เพื่อการขายผลผลิตให้ได้ประโยชน์
สูงสุด เช่น การเตรียมลานตากข้าวร่วมกัน การจัดหายุ้งรวบรวมข้าว เตรียมหา
เครื่องสีข้าว ตลอดจนการร่วมกันขายผลผลิตให้ได้ราคาดี และลดค่าใช้จ่ายลง

	 ๓. การเป็นอยู่ (กะปิ น้ำปลา อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ฯลฯ)
	 ในขณะเดียวกันเกษตรกรต้องมีความเป็นอยู่ที่ดีพอสมควร โดยมีปัจจัยพื้นฐาน
ในการดำรงชีวิต เช่น อาหารการกินต่างๆ กะปิ น้ำปลา เสื้อผ้าที่พอเพียง


๑๐

๑๙ ผลสำเร็จที่โดดเด่นของศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพานอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
๔. สวัสดิการ (สาธารณสุข เงินกู้)

	 แต่ ล ะชุ ม ชนมี ส วั ส ดิ ภ าพและบริ ก ารที่ จ ำเป็ น เช่ น มี ส ถานี อ นามั ย เมื่ อ ยาม

ป่วยไข้ หรือมีกองทุนไว้กู้ยืมเพื่อประโยชน์ในกิจกรรมต่าง ๆ ของชุมชน

	 ๕. การศึกษา (โรงเรียน ทุนการศึกษา)
	 ชุมชนควรมีบทบาทในการส่งเสริม เช่น มีกองทุนเพื่อการศึกษาเล่าเรียนให้แก่
เยาวชนของชุมชน

	 ๖. สังคมและศาสนา (ชุมชน วัด)
	 ชุมชนควรเป็นที่รวมในการพัฒนาสังคมและจิตใจ โดยมีศาสนาเป็นที่ยึดเหนี่ยว

กิจกรรมทั้งหมดดังกล่าวข้างต้น จะต้องได้รับความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง 

ไม่ว่าส่วนราชการ องค์กรเอกชน ตลอดจนสมาชิกชุมชนเป็นสำคัญ


คู่มือเกษตรทฤษฎีใหม่

๑๑
ทฤษฎีใหม่ขั้นที่สาม


เมื
นการขั
องแล้
เกษตรกรก็ ค ฒ นา
	าวหน้“าไปสู่อ่ขดำเนิ่ทีสามต่อไป้นคืตอนทีร่ว่สมมือกับวแหล่เกษตรกรหรืองกลุ่มงงาน ตั้งและบริวรพัารโรงสี
ก้
ั้น
อ
งเงินและแหล่ พลั
ก
ตั้งและบริการร้านสหกรณ์ ช่วยกันลงทุน ช่วยกันพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนชนบท
ซึ่งไม่ได้ทำอาชีพเกษตรอย่างเดียว”

(พระราชดำรัส เมื่อวันที่ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๘)



	 ทั้ ง นี้ ฝ่ า ยเกษตรกรและฝ่ า ยธนาคาร หรื อ บริ ษั ท เอกชนจะได้ รั บ ประโยชน์

ร่วมกัน กล่าวคือ
	 	 เกษตรกรขายข้าวได้ราคาสูง (ไม่ถูกกดราคา)
	 	 ธนาคารหรือบริษัทเอกชนสามารถซื้อข้าวบริโภคในราคาต่ำ (ซื้อข้าวเปลือก
ตรงจากเกษตรกรและมาสีเอง)

	 	 เกษตรกรซื้ อ เครื่ อ งอุ ป โภคบริ โ ภคในราคาต่ ำ เนื่ อ งจากรวมกั นซื้ อ เป็ น 

จำนวนมาก (เป็นร้านสหกรณ์ราคาขายส่ง)
	 	 ธนาคาร หรือบริษัทเอกชนจะสามารถกระจายบุคลากร เพื่อไปดำเนินการใน
กิจกรรมต่างๆ ให้เกิดผลดียิ่งขึ้น


๑๒

๑๙ ผลสำเร็จที่โดดเด่นของศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพานอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
ประโยชน์ทฤษฎีใหม่


	 จากพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ที่ได้พระราชทานใน
โอกาสต่าง ๆ นั้น พอสรุปถึงประโยชน์ของทฤษฎีใหม่ได้ดังนี้
	 ๑.	 ให้ประชาชนพออยู่พอกินสมควรแก่อัตภาพในระดับที่ประหยัดไม่อดอยาก
และเลี้ยงตนเองได้ตามหลักปรัชญา “เศรษฐกิจพอเพียง”

	 ๒.	ในหน้ า แล้ ง มี น้ ำ น้ อ ย ก็ ส ามารถเอาน้ ำ ที่ เ ก็ บ ไว้ ใ นสระมาปลู ก พื ช ผั ก 

เลี้ยงปลา หรือทำอะไรอื่นๆ ก็ได้แม้แต่ข้าวก็ยังปลูกได้ ไม่ต้องเบียดเบียนชลประทาน
ระบบใหญ่เพราะมีของตนเอง

	 ๓.	ในปี ที่ ฝ นตกตามฤดู ก าลโดยตลอดปี ทฤษฎี ใหม่ นี้ ก็ ส ามารถสร้ า งรายได้


ให้ ร่ ำ รวยขึ้ น ได้ ในกรณี ที่ เ กิ ด อุ ท กภั ย ก็ ส ามารถที่ จ ะฟื้ นตั ว และช่ ว ยตั ว เองได้ ใน

ระดั บ หนึ่ ง โดยทางราชการไม่ ต้ อ งช่ ว ยเหลื อ มากเกิ น ไป อั น เป็ นการประหยั ด


งบประมาณด้วย

คู่มือเกษตรทฤษฎีใหม่

๑๓
แปลงตัวอย่างการทำเกษตรทฤษฎีใหม่ ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงตามแนว

พระราชดำริ อ่างเก็บน้ำห้วยปุ๊ นายขวัญใจ แก้วหาวงศ์

	 พื้นที่ของศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริ อ่างเก็บน้ำห้วยปุ๊
อยู่บริเวณท้ายอ่างเก็บน้ำห้วยปุ๊ตามแนวพระราชดำริ บ้านเหล่านกยูง หมู่ที่ ๖ ตำบล

ดงมะไฟ อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร มีพื้นที่ดำเนินการ ๒๐ ไร่ มีนายขวัญใจ 

แก้วหาวงศ์ อายุ ๖๐ ปี จบการศึกษาชั้นประถมปีที่ ๔ เป็นหัวหน้าศูนย์เรียนรู้ โดยมี
แรงงานในครัวเรือน รวม ๔ คน เดิมใช้พื้นที่ในการเพาะปลูกข้าวและใช้น้ำจากบ่อ
ขนาดเล็กในไร่นาเพาะปลูกพืชอายุสั้นในฤดูแล้งในนาหลังจากเก็บเกี่ยวข้าวแล้ว ต่อ
มาในปี ๒๕๕๐ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพานอันเนื่องมาจากพระราชดำริ จังหวัด
สกลนคร ได้สนับสนุนขุดสระทฤษฎีใหม่ในไร่นาให้ ๑ แห่ง จึงทำการเพาะปลูกพืช
เลี้ยงสัตว์ และประมง ตามแนวทฤษฎีใหม่
	 กิจกรรมที่ดำเนินการ
	
ปลูกข้าวนาปี ๑๖ ไร่	
เลี้ยงปลาในนาข้าว ๒ ไร่
	
ปลูกไม้ผลชนิดต่างๆ ๑ ไร่ ๒ งาน	
เลี้ยงปลาในกระชัง ๔ กระชัง
	
ปลูกพืชไร่ ๑ ไร่	
เลี้ยงกบในกระชัง ๓ กระชัง
	
ปลูกพืชผัก ๒ งาน 	
เลี้ยงไก่ดำภูพาน ๔๐ ตัว
	
เพาะเห็ดในโรงเรือน ๑ โรง 	
เลี้ยงสุกรภูพาน ๒ ตัว
	
เลี้ยงโค ๖ ตัว	
เลี้ยงเป็ดเทศ ๓๐ ตัว
	
เลี้ยงปลา ๑ บ่อ/๑ ไร่/๖,๐๐๐ ตัว	
ปลูกอ้อย ๓ ไร่ 

๑๔

๑๙ ผลสำเร็จที่โดดเด่นของศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพานอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
แผนผังแปลงเกษตรทฤษฎีใหม่ นายขวัญใจ แก้วหาวงศ์

พื้นที่ทั้งหมด	
๒๐	 ไร่
ที่อยู่อาศัย	
๑	 ไร่ ๑๕๐ ตารางวา
สระน้ำ	
๑	 ไร่
นาข้าว	
๑๖	 ไร่
พืชผักผลไม้	
๑	 ไร่ ๓ งาน ๓๐๐ ตารางวา
หมายเหตุ 	 นคันนาปลูกไม้ผล
บ

	 วิธีดำเนินการ

	 จัดแบ่งพื้นที่ดำเนินการเป็น ๔ ส่วน ตามองค์ประกอบของทฤษฎีใหม่ตามแนว
พระราชดำริ แต่ปรับเปลี่ยนสัดส่วนของพื้นที่ต่างๆ ตามความเหมาะสมของพื้นที่และ
แรงงานดังนี้

	 ส่วนแรก พื้นที่ ๑ ไร่ (๕ %) เป็นแหล่งน้ำและเลี้ยงปลา
	 ใช้พื้นที่บ่อน้ำขนาดเล็กบ่อเดิม ซึ่งอยู่ใกล้ประตูระบายน้ำจากคลองส่งน้ำของ
อ่างเก็บน้ำห้วยปุ๊ ขุดเป็นบ่อทฤษฎีใหม่ ขนาดกว้าง ๔๐ เมตร ยาว ๔๐ เมตร ลึก ๓.๕
เมตร มีความจุน้ำประมาณ ๕,๐๐๐ ลูกบาศก์เมตร ใช้เก็บกักน้ำไว้สำหรับการเพาะ
ปลูกพืชและทำการประมง สามารถรับการเติมน้ำจากอ่างเก็บน้ำแล้วระบายลงสู่
แปลงเกษตรในพื้นที่ลุ่มได้ด้วย บริเวณคันคูรอบสระน้ำใช้เป็นพื้นที่ปลูกพืชผสมผสาน
ได้แก่ มะพร้าว ลำไย ลิ้นจี่ ส้มโอ มะม่วง มะละกอ กล้วย ฯลฯ และพืชผักต่าง ๆ
แซมระหว่างแถวของไม้ผล ส่วนขอบสระมีการปลูกหญ้าแฝกและข่า ตะไคร้ ป้องกัน
คู่มือเกษตรทฤษฎีใหม่

๑๕
การชะล้างพังทลายของดิน มีการเก็บเกี่ยวผลผลิต ข่า ตะไคร้ ไปจำหน่ายและตัดใบ
คลุมโคนไม้ผล สำหรับน้ำที่อยู่ในสระ มีการปล่อยปลาเลี้ยงเพื่อการบริโภคและ
จำหน่ายจำพวกปลากินพืช ได้แก่ ปลานิล ปลาไน ปลาตะเพียน ฯลฯ ปีละประมาณ
๖,๐๐๐ ตัว มีรายได้จากการจำหน่ายปลาปีละ ๓,๐๐๐ บาท และยังมีการทำกระชัง
เลี้ยงปลาดุกและกบอีก รวม ๗ กระชัง พื้นที่มุมสระน้ำด้านหนึ่งได้จัดทำคอกสัตว์ปีก

สำหรับเลี้ยงเป็ดบาบาหลี ๓๐ ตัว และไก่ดำภูพาน ๔๐ ตัว มีรายได้จากการเลี้ยง


สัตว์ปีกปีละ ๒,๕๐๐ - ๓,๐๐๐ บาท นอกจากนี้บนขอบสระมีคอกเลี้ยงสุกรดำพันธุ์

ภูพาน จำนวน ๓ ตัว

	 ส่วนที่ ๒ พื้นที่ ๑๖ ไร่ (๘๐ %) เป็นพื้นที่ปลูกข้าว
	 ใช้ปลูกข้าวนาปีโดยอาศัยน้ำฝน ถ้าประสบภาวะฝนแล้งหรือฝนทิ้งช่วงสามารถ
ทดน้ำจากสระทฤษฎีใหม่ลงสู่แปลงนาได้ พันธุ์ข้าวที่ปลูกใช้ข้าวพันธุ์ส่งเสริม ได้แก่
พั นธุ์ กข ๖ และหอมมะลิ ๑๐๕ มี ก ารเพาะปลู ก ข้ า วตามหลั ก วิ ช าการที่ ได้ รั บ


การถ่ายทอดมาจากเจ้าหน้าที่ของศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพานฯ ในการปลูกข้าวโดย
ใช้ปุ๋ยพืชสดร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยเคมี ในปีหนึ่งๆ จะได้ผลผลิตข้าวประมาณ ๕.๖
ตัน เฉลี่ยผลผลิต ๓๕๐ กก./ไร่ จึงมีค่าตอบแทนจากการทำนาคิดเป็นเงิน ๕๖,๐๐๐
บาท/ปี ในระหว่างการเพาะปลูกข้าวในนา ได้ใช้พื้นที่นา จำนวน ๒ ไร่ ปล่อยปลา
เลี้ยงในนาข้าวเพื่อเป็นอาหารและจำหน่ายเป็นการลดต้นทุนในการผลิตและเพิ่ม


รายได้ อีกทั้งปลายังช่วยเพิ่มธาตุอาหารให้ต้นข้าวโดยการถ่ายมูลและแหวกว่าย
ถ่ายเทอากาศ กำจัดวัชพืชและศัตรูพืชในนาข้าวได้อีกด้วย หลังจากมีการเก็บเกี่ยว
ข้าวในฤดูนาปีแล้วจะไถกลบตอซัง และเตรียมดินเพาะปลูกพืชอายุสั้นในนาข้าว
ทำให้มีรายได้ต่อเนื่อง เมื่อจะปลูกข้าวในฤดูนาปีครั้งต่อไป ก็จะหว่านเมล็ดพืชตระกูล
ถั่วทำปุ๋ยพืชสดเพื่อปรับสภาพของดินและเพิ่มธาตุอาหารให้แก่ต้นข้าว


๑๖

๑๙ ผลสำเร็จที่โดดเด่นของศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพานอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
ส่วนที่
๓	พื้นที่	๒	ไร่	(๑๐	%)	เป็นพื้นที่ปลูกพืชผสมผสาน	

 ไมผล
-
ไมยืนตน
พื้นที่
๑.๕
ไร่
	 เนื่องจากพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ลุ่มใช้ปลูกพืชยืนต้นได้น้อย	 จึงได้ปรับสัดส่วน	
การปลูกไม้ผล	-	ไม้ยืนต้น	ลดลงตามศักยภาพของพื้นที่	 ดังนั้น	จึงมีการปลูกไม้ผล	ไม้ยืนต้นบนคันคูรอบสระน้ำ	 และปลูกบนคันนาโดยทำคันนาให้ขยายใหญ่กว่าปกติ	
ไม้ผล	 -	 ไม้ยืนต้นที่เพาะปลูกมีหลายชนิด	 มีทั้งที่ให้ผลผลิตแล้วและยังไม่ให้ผลผลิต		
ที่ให้ผลผลิตแล้วส่วนใหญ่เป็นกล้วยน้ำว้า	 ซึ่งจะมีรายได้จากการขายผลผลิตไม้ผล	 -	
ไม้ยืนต้น	ปีละประมาณ	๒,๐๐๐	บาท	

 พืชไร่
–
พืชผัก
และพืชอายุสั้นต่างๆ
พื้นที่
๐.๕
ไร่

	 ดำเนินการเพาะปลูกพืชผักต่างๆ	 เนื่องจากพื้นที่ดอนมีจำกัด	 จึงได้กันพื้นที่นา
ดอนไว้ประมาณ	๐.๕	ไร่	 เพื่อปลูกแตงกวาในปลายฤดูฝนเพราะผลผลิตมีราคาดี	 และ
เมื่อมีการเก็บเกี่ยวข้าวที่เพาะปลูกในนาทั้งหมดแล้ว	จะใช้พื้นที่นาจำนวน	๒	ไร่เพาะ
ปลูกพืชไร่ต่างๆ	 ตามที่ตลาดต้องการ	 สลับหมุนเวียนกันไปตลอดฤดูกาล	 ซึ่งการปลูก
พืชหมุนเวียนเป็นการหลีกเลี่ยงการระบาดของศัตรูพืชและทำให้พืชใช้ธาตุอาหารใน
ดินได้คุ้มค่าเพราะพืชแต่ละชนิดมี	
ความยาวของราก	
ไม่เท่ากัน	

คู่มือเกษตรทฤษฎีใหม่

๑๗
จึงดูดซับธาตุอาหารในดิน ในระดับที่ต่างกัน รายได้จากการปลูกพืชไร่-พืชผัก และ
พืชอายุสั้นต่างๆ ปีละ ๗๕,๐๐๐ บาท ในการปลูกพืชอายุสั้นในนาข้าวจะใช้วิธีขุดร่อง
น้ำเล็กๆ แล้วสูบน้ำจากสระทฤษฎีใหม่ลงสู่ร่องน้ำระบายเข้าแปลงนาเพื่อให้น้ำแก่พืช 

	 ส่วนที่ ๔ พื้นที่ ๑ ไร่ (๕ %) ที่อยู่อาศัยและอื่นๆ

	 เป็นพื้นที่สร้างบ้านและสิ่งปลูกสร้างอื่นๆ ได้แก่ คอกเลี้ยงสัตว์ โรงปุ๋ยอินทรีย์ 

ที่เก็บเครื่องมือการเกษตร ที่เก็บอาหารสัตว์ โรงเพาะเห็ด รวมทั้งศาลาเรียนรู้ที่สร้าง
ไว้สำหรับเป็นที่จัดประชุม และไว้ต้อนรับผู้ที่มาศึกษาดูงาน นอกจากนี้บริเวณรอบๆ
ที่อยู่อาศัยยังมีการปลูกพืชผักต่างๆ และพืชสมุนไพรไว้ศึกษาและนำมาใช้ประโยชน์
ในชีวิตประจำวัน


สรุปการทำเกษตรทฤษฎีใหม่ “นายขวัญใจ แก้วหาวงศ์”


	 ๑.	 กำหนดการลงทุนและดำเนินการผลิตในแปลงเกษตรทฤษฎีใหม่ ไม่มากจน
เกินกำลัง อาศัยแรงงานของคนในครอบครัวเป็นหลัก
	 ๒.	บริหารการใช้จ่ายในครอบครัวไม่ฟุ้งเฟ้อ ฟุ่มเฟือย ทำการเกษตรแบบผสม
ผสาน โดยปลูกพืชเลี้ยงสัตว์หลายชนิดได้ผลผลิตทุกฤดูกาล มีอาหารเพียงพอต่อ


การบริโภค เลือกซื้อเฉพาะสินค้าจำเป็นที่ผลิตเองไม่ได้

๑๘

๑๙ ผลสำเร็จที่โดดเด่นของศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพานอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
๓.	จัดแบ่งพื้นที่ทำการเกษตรอย่างมีเหตุผล ปรับยืดหยุ่นสัดส่วนพื้นที่แปลง

เกษตรทฤษฎีใหม่ให้สามารถใช้ประโยชน์เต็มประสิทธิภาพทุกพื้นที่ ทำให้มีรายได้

ต่อเนื่อง

	 ๔.	มีการวางแผนการผลิต โดยคำนึงถึงศักยภาพของพื้นที่ การใช้ทรัพยากรที่

มีอยู่ และช่วงเวลาการเพาะปลูกที่จะทำให้จำหน่ายผลผลิตได้ในราคาดี
	 ๕.	รู้จักนำภูมิปัญญามาประยุกต์ใช้กับความรู้ใหม่ๆ ที่ได้รับจากหน่วยงานต่างๆ
เช่น การปรับปรุงบำรุงดินโดยทำปุ๋ยชีวภาพใช้เอง และการใช้ฮอร์โมนจากพืชทำสาร
ขับไล่แมลงศัตรูพืช ทำให้ลดต้นทุนในการผลิต เป็นต้น

	 ๖.	 เป็นแปลงเกษตรทฤษฎีใหม่ที่ได้รับการคัดเลือกจากศูนย์ศึกษาการพัฒนา


ภู พ านอั น เนื่ อ งมาจากพระราชดำริ จั ง หวั ด สกลนคร จั ด ตั้ ง ให้ เป็ น ศู น ย์ เรี ย นรู้
เศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริ ประจำอ่างเก็บน้ำห้วยปุ๊ บ้านเหล่านกยูง
หมู่ที่ ๖ ตำบลดงมะไฟ อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร

คู่มือเกษตรทฤษฎีใหม่

๑๙
ประมวลภาพกิจกรรมภายในแปลงเกษตรทฤษฎีใหม่
นายขวัญใจ
แก้วหาวงศ์

๒๐

๑๙ ผลสำเร็จที่โดดเด่นของศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพานอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
บรรณานุกรม


สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ (สำนักงาน 

	 กปร) ทฤษฎีใหม่ชีวิตที่พอเพียง : กรุงเทพมหานคร
สำนั ก พั ฒ นาเกษตรกร. ๒๕๕๐ เศรษฐกิ จ พอเพี ย งภาคเกษตร (พิ ม พ์ ค รั้ ง ที่ ๒) : 

	 กรุงเทพมหานคร กรมส่งเสริมการเกษตร
ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดนครราชสีมา. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ 

	 ตามแนวพระราชดำริ : ศูนย์การเรียนรู้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดำริ 

	 และศูนย์สาธิตและส่งเสริมศิลปาชีพภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดนครราชสีมา

คู่มือเกษตรทฤษฎีใหม่

More Related Content

What's hot

ตัวอย่างแผนธุรกิจรับจัดดอกไม้สด
ตัวอย่างแผนธุรกิจรับจัดดอกไม้สดตัวอย่างแผนธุรกิจรับจัดดอกไม้สด
ตัวอย่างแผนธุรกิจรับจัดดอกไม้สดNattakorn Sunkdon
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงwilai2510
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงkrupornpana55
 
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงpatcharapornfilmmii
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์โทโต๊ะ บินไกล
 
งานนำเสนอ รร ส่งเสริมสุขภาพ
งานนำเสนอ รร ส่งเสริมสุขภาพงานนำเสนอ รร ส่งเสริมสุขภาพ
งานนำเสนอ รร ส่งเสริมสุขภาพSujanya Inchana
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงkrupornpana55
 
แผน10 นวัตกรรม บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผน10 นวัตกรรม  บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงแผน10 นวัตกรรม  บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผน10 นวัตกรรม บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงJirathorn Buenglee
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนkrupornpana55
 
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจPariwanButsat
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3paewwaew
 
หน่วยที่ 1 การวางแผนดูเเลสุขภาพของตนเองเเละครอบครัว
หน่วยที่ 1 การวางแผนดูเเลสุขภาพของตนเองเเละครอบครัว หน่วยที่ 1 การวางแผนดูเเลสุขภาพของตนเองเเละครอบครัว
หน่วยที่ 1 การวางแผนดูเเลสุขภาพของตนเองเเละครอบครัว Terapong Piriyapan
 
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียงรายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียงครูแชมป์ ฟักอ่อน
 
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5Nontagan Lertkachensri
 
ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา ป.2+...
ใบความรู้  แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา  ป.2+...ใบความรู้  แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา  ป.2+...
ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา ป.2+...Prachoom Rangkasikorn
 
ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555
ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555
ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555Nattapon
 
โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1Jutarat Bussadee
 
คู่มือครูมืออาชีพ
คู่มือครูมืออาชีพคู่มือครูมืออาชีพ
คู่มือครูมืออาชีพEkachai Seeyangnok
 

What's hot (20)

ตัวอย่างแผนธุรกิจรับจัดดอกไม้สด
ตัวอย่างแผนธุรกิจรับจัดดอกไม้สดตัวอย่างแผนธุรกิจรับจัดดอกไม้สด
ตัวอย่างแผนธุรกิจรับจัดดอกไม้สด
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
 
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
สถานการณ์ Constructivist theory
สถานการณ์ Constructivist theoryสถานการณ์ Constructivist theory
สถานการณ์ Constructivist theory
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
 
งานนำเสนอ รร ส่งเสริมสุขภาพ
งานนำเสนอ รร ส่งเสริมสุขภาพงานนำเสนอ รร ส่งเสริมสุขภาพ
งานนำเสนอ รร ส่งเสริมสุขภาพ
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
 
แผน10 นวัตกรรม บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผน10 นวัตกรรม  บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงแผน10 นวัตกรรม  บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผน10 นวัตกรรม บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียน
 
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3
 
หน่วยที่ 1 การวางแผนดูเเลสุขภาพของตนเองเเละครอบครัว
หน่วยที่ 1 การวางแผนดูเเลสุขภาพของตนเองเเละครอบครัว หน่วยที่ 1 การวางแผนดูเเลสุขภาพของตนเองเเละครอบครัว
หน่วยที่ 1 การวางแผนดูเเลสุขภาพของตนเองเเละครอบครัว
 
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียงรายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง
 
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
 
ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา ป.2+...
ใบความรู้  แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา  ป.2+...ใบความรู้  แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา  ป.2+...
ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา ป.2+...
 
ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555
ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555
ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555
 
Siiim
SiiimSiiim
Siiim
 
โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1
 
คู่มือครูมืออาชีพ
คู่มือครูมืออาชีพคู่มือครูมืออาชีพ
คู่มือครูมืออาชีพ
 

Viewers also liked

โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงPreeyaporn Wannamanee
 
โครงงาน พืชผักสวนครัว
โครงงาน พืชผักสวนครัวโครงงาน พืชผักสวนครัว
โครงงาน พืชผักสวนครัวgreatzaza007
 
โครงงานเทคโนโลยี ปุ๋ยคอกปุ๋ยเคมี
โครงงานเทคโนโลยี ปุ๋ยคอกปุ๋ยเคมี โครงงานเทคโนโลยี ปุ๋ยคอกปุ๋ยเคมี
โครงงานเทคโนโลยี ปุ๋ยคอกปุ๋ยเคมี Thitaree Permthongchuchai
 
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงพัน พัน
 
โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัส
โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัสโครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัส
โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัสPreeyaporn Wannamanee
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 

Viewers also liked (7)

โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
 
โครงงาน พืชผักสวนครัว
โครงงาน พืชผักสวนครัวโครงงาน พืชผักสวนครัว
โครงงาน พืชผักสวนครัว
 
โครงงานเทคโนโลยี ปุ๋ยคอกปุ๋ยเคมี
โครงงานเทคโนโลยี ปุ๋ยคอกปุ๋ยเคมี โครงงานเทคโนโลยี ปุ๋ยคอกปุ๋ยเคมี
โครงงานเทคโนโลยี ปุ๋ยคอกปุ๋ยเคมี
 
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำโครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
 
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
 
โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัส
โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัสโครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัส
โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัส
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 

Similar to เกษตรทฤษฎีใหม่

เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่Chung Bowji
 
เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่Chung Bowji
 
เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่Chung Bowji
 
เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่Chung Bowji
 
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืน
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืนเศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืน
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืนAnantaya
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรเรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรchompoo28
 
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองโครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองbenya_28030
 
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองโครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองbenya2013
 
เกษตรทฤษฎีใหม่
เกษตรทฤษฎีใหม่เกษตรทฤษฎีใหม่
เกษตรทฤษฎีใหม่kima203
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง  การทำการเกษตรเรื่อง  การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรdaiideah102
 
Newsletter pidthong vol.5
Newsletter pidthong vol.5Newsletter pidthong vol.5
Newsletter pidthong vol.5tongsuchart
 
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทยภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทยSomporn Isvilanonda
 
โครงงานกระตุ้นชุมชน เพิ่มจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านกุดนางทุย
โครงงานกระตุ้นชุมชน เพิ่มจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านกุดนางทุยโครงงานกระตุ้นชุมชน เพิ่มจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านกุดนางทุย
โครงงานกระตุ้นชุมชน เพิ่มจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านกุดนางทุยtongkesmanee
 
โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7Ploy Benjawan
 
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทยพันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทยWasan Yodsanit
 
การปฏิรูปการเกษตรภายใต้กระบวนทัศน์ใหม่
การปฏิรูปการเกษตรภายใต้กระบวนทัศน์ใหม่การปฏิรูปการเกษตรภายใต้กระบวนทัศน์ใหม่
การปฏิรูปการเกษตรภายใต้กระบวนทัศน์ใหม่ThailandCoop
 
ความพอเพียงแนวทางพ่อหลวง
ความพอเพียงแนวทางพ่อหลวงความพอเพียงแนวทางพ่อหลวง
ความพอเพียงแนวทางพ่อหลวงKruwaw-ru Kan
 

Similar to เกษตรทฤษฎีใหม่ (20)

เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่
 
เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่
 
เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่
 
เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่
 
กลุ่ม4
กลุ่ม4กลุ่ม4
กลุ่ม4
 
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืน
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืนเศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืน
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืน
 
002
002002
002
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรเรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตร
 
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองโครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
 
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองโครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
 
เกษตรทฤษฎีใหม่
เกษตรทฤษฎีใหม่เกษตรทฤษฎีใหม่
เกษตรทฤษฎีใหม่
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง  การทำการเกษตรเรื่อง  การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตร
 
Newsletter pidthong vol.5
Newsletter pidthong vol.5Newsletter pidthong vol.5
Newsletter pidthong vol.5
 
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทยภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
 
โครงงานกระตุ้นชุมชน เพิ่มจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านกุดนางทุย
โครงงานกระตุ้นชุมชน เพิ่มจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านกุดนางทุยโครงงานกระตุ้นชุมชน เพิ่มจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านกุดนางทุย
โครงงานกระตุ้นชุมชน เพิ่มจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านกุดนางทุย
 
โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7
 
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทยพันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
 
การปฏิรูปการเกษตรภายใต้กระบวนทัศน์ใหม่
การปฏิรูปการเกษตรภายใต้กระบวนทัศน์ใหม่การปฏิรูปการเกษตรภายใต้กระบวนทัศน์ใหม่
การปฏิรูปการเกษตรภายใต้กระบวนทัศน์ใหม่
 
ความพอเพียงแนวทางพ่อหลวง
ความพอเพียงแนวทางพ่อหลวงความพอเพียงแนวทางพ่อหลวง
ความพอเพียงแนวทางพ่อหลวง
 
เศรษฐกิจ..[1]
 เศรษฐกิจ..[1] เศรษฐกิจ..[1]
เศรษฐกิจ..[1]
 

More from Intrapan Suwan

จดหมายเหตุภาพ2475
จดหมายเหตุภาพ2475จดหมายเหตุภาพ2475
จดหมายเหตุภาพ2475Intrapan Suwan
 
มหากาพย์จำนำข้าว สู่มหกรรมกอบกู้สุจริต
มหากาพย์จำนำข้าว สู่มหกรรมกอบกู้สุจริตมหากาพย์จำนำข้าว สู่มหกรรมกอบกู้สุจริต
มหากาพย์จำนำข้าว สู่มหกรรมกอบกู้สุจริตIntrapan Suwan
 
นโยบายและแผนวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ ฉบับที่ 1
นโยบายและแผนวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ ฉบับที่ 1นโยบายและแผนวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ ฉบับที่ 1
นโยบายและแผนวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ ฉบับที่ 1Intrapan Suwan
 
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียง
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียงรายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียง
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียงIntrapan Suwan
 
ผักพื้นบ้านเขลางค์นคร
ผักพื้นบ้านเขลางค์นครผักพื้นบ้านเขลางค์นคร
ผักพื้นบ้านเขลางค์นครIntrapan Suwan
 
งานวิจัยข้าวหอมมะลิแดง
งานวิจัยข้าวหอมมะลิแดงงานวิจัยข้าวหอมมะลิแดง
งานวิจัยข้าวหอมมะลิแดงIntrapan Suwan
 

More from Intrapan Suwan (7)

จดหมายเหตุภาพ2475
จดหมายเหตุภาพ2475จดหมายเหตุภาพ2475
จดหมายเหตุภาพ2475
 
มหากาพย์จำนำข้าว สู่มหกรรมกอบกู้สุจริต
มหากาพย์จำนำข้าว สู่มหกรรมกอบกู้สุจริตมหากาพย์จำนำข้าว สู่มหกรรมกอบกู้สุจริต
มหากาพย์จำนำข้าว สู่มหกรรมกอบกู้สุจริต
 
นโยบายและแผนวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ ฉบับที่ 1
นโยบายและแผนวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ ฉบับที่ 1นโยบายและแผนวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ ฉบับที่ 1
นโยบายและแผนวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ ฉบับที่ 1
 
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียง
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียงรายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียง
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียง
 
กุดชุม
กุดชุมกุดชุม
กุดชุม
 
ผักพื้นบ้านเขลางค์นคร
ผักพื้นบ้านเขลางค์นครผักพื้นบ้านเขลางค์นคร
ผักพื้นบ้านเขลางค์นคร
 
งานวิจัยข้าวหอมมะลิแดง
งานวิจัยข้าวหอมมะลิแดงงานวิจัยข้าวหอมมะลิแดง
งานวิจัยข้าวหอมมะลิแดง
 

เกษตรทฤษฎีใหม่

  • 1.
  • 2.
  • 3.
  • 4. คำนำ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณต่อปวงชนชาวไทย พระองค์ทรงมีพระวินิจฉัย ค้นคว้า สำรวจ รวบรวมข้อมูล และทดสอบเกี่ยวกับ การจั ด การทรั พ ยากรน้ ำ ที่ ดิ น พั นธุ์ พื ช สำหรั บ การอุ ป โภคและบริ โภค เพื่ อ ให้ สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ในพื้นที่ของตนเอง โดยตั้งเป็น “ทฤษฎีใหม่” ซึ่งผ่านการสรุป ผลจากการทดลองของมูลนิธิชัยพัฒนาในพระองค์ ที่วัดมงคลชัยพัฒนา อำเภอ เฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสระบุรี ซึ่งเป็นแนวทางพัฒนาการเกษตรแบบพึ่งพาตนเอง โดยการผสมผสานกิจกรรมพืช สัตว์ และประมง ให้มีความหลากหลายนานาพันธุ์ เกิดการพัฒนาแบบยั่งยืน ศู น ย์ ศึ ก ษาการพั ฒ นาภู พ านอั น เนื่ อ งมาจากพระราชดำริ จั ง หวั ด สกลนคร ได้น้อมนำแนวพระราชดำริมาส่งเสริมการประกอบอาชีพให้แก่ราษฎรโดยใช้หลัก เกษตรทฤษฎีใหม่ มีการจัดตั้งเกษตรกรต้นแบบของการทำเกษตรผสมผสานตามแนว ทฤษฎีใหม่ ประจำไว้ทุกหมู่บ้านรอบศูนย์ เพื่อเป็นตัวอย่างให้แก่เกษตรกรเข้าไป เรี ย นรู้ แ ละนำไปปฏิ บั ติ ง านขยายผล ศู น ย์ ศึ ก ษาการพั ฒ นาภู พ านฯ จึ ง ได้ จั ด ทำ เอกสารคำแนะนำการทำเกษตรทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชดำริ และผลการดำเนินงาน การทำเกษตรทฤษฎีใหม่ของเกษตรกรตัวอย่าง เพื่อเป็นคู่มือสำหรับเกษตรกรที่สนใจ นำไปประยุกต์ใช้เพื่อยกระดับรายได้และคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้นต่อไป
  • 5. สารบัญ ความเป็นมา หลักการสำคัญของทฤษฎีใหม่ การจัดการในทฤษฎีใหม่ ทฤษฎีใหม่ขั้นต้น การจัดสรรที่อยู่อาศัยและทำกิน ทฤษฎีใหม่ขั้นก้าวหน้า ทฤษฎีใหม่ขั้นที่สอง ทฤษฎีใหม่ขั้นที่สาม ประโยชน์ทฤษฎีใหม่ แปลงตัวอย่างการทำเกษตรทฤษฎีใหม่ สรุปการทำเกษตรทฤษฎีใหม่ นายขวัญใจ แก้วหาวงศ์ หน้า ๕ ๖ ๖ ๘ ๙ ๙ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๘
  • 6.
  • 7. เกษตรทฤษฎีใหม่ ความเป็นมา ปั ญ หาหลั ก ของเกษตรกรในอดี ต จนถึ ง ปั จ จุ บั น ที่ ส ำคั ญ ประการหนึ่ง คือ การขาดแคลนน้ำเพื่อเกษตรกรรม โดยเฉพาะ อย่ า งยิ่ ง ในเขตพื้ น ที่ อ าศั ย น้ ำ ฝน ซึ่ ง เป็ น พื้ น ที่ ส่ ว นใหญ่ ข อง ประเทศที่อยู่ในเขตที่มีฝนค่อนข้างน้อยและส่วนมากเป็นนาข้าว และพืชไร่ เกษตรกรยังคงทำการเพาะปลูกได้ปีละครั้งในช่วง ฤดูฝนเท่านั้น และมีความเสี่ยงกับความเสียหายอันเนื่องมาจาก ความแปรปรวนของดิน ฟ้า อากาศ และฝนทิ้งช่วง แม้ว่าจะมี การขุดบ่อหรือสระเก็บน้ำไว้ใช้บ้างแต่ก็ไม่มีขนาดแน่นอน หรือมี ปั จ จั ย อื่ น ๆ ที่ เป็ น ปั ญ หาให้ มี น้ ำ ใช้ ไม่ เพี ย งพอรวมทั้ ง ระบบ การปลูกพืชไม่มีหลักเกณฑ์ใด ๆ และส่วนใหญ่ปลูกพืชนิดเดียว ด้วยเหตุนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจึงได้พระราชทาน พระราชดำริเพื่อเป็นการช่วยเหลือเกษตรกรที่ประสบความยาก ลำบากดังกล่าวให้สามารถผ่านพ้นช่วงเวลาวิกฤต โดยเฉพาะ การขาดแคลนน้ ำ ได้ โ ดยไม่ เ ดื อ ดร้ อ นและยากลำบากนั ก พระราชดำรินี้ ทรงเรียกว่า “ทฤษฎีใหม่” อันเป็นแนวทางหรือ หลักการในการบริหารจัดการที่ดินและน้ำเพื่อการเกษตรในที่ดิน ขนาดเล็กให้เกิดประโยชน์สูงสุด คู่มือเกษตรทฤษฎีใหม่ ๕
  • 8. หลักการสำคัญของทฤษฎีใหม่ การบริหารจัดการทรัพยากรโดยเฉพาะดินและน้ำที่มีอยู่จำกัดให้เกิดประโยชน์ สูงสุด เพื่อให้เกษตรกรสามารถดำเนินชีวิตอยู่ได้อย่างพอเพียง โดยเน้นการพึ่งพา ตนเองให้มากที่สุด เหตุที่เรียก “ทฤษฎีใหม่” ๑. มี ก ารบริ ห ารและจั ด แบ่ ง ที่ ดิ น ขนาดเล็ ก ออกเป็ น สั ด ส่ ว นที่ ชั ด เจน เพื่อประโยชน์สูงสุดของเกษตรกร ๒. มีการคำนวณโดยหลักวิชาการ เกี่ยวกับปริมาณน้ำที่จะเก็บกักให้พอเพียงต่อ การเพาะปลูกได้อย่างเหมาะสมตลอดปี ๓. มีการวางแผนที่สมบูรณ์แบบ ประกอบด้วย ๓ ขั้นตอน ขั้นตอนของทฤษฎีใหม่ การทำเกษตรทฤษฎีใหม่ มี ๓ ขั้นตอน ขั้นที่ ๑ เป็นการผลิตแบบพึ่งตนเองด้วยวิธีง่ายๆ ค่อยเป็นค่อยไปตามกำลัง พอมีพอกินไม่อดอยาก ขั้นที่ ๒ เกษตรกรรวมพลังกันในรูปกลุ่มหรือสหกรณ์ ร่วมแรงในเรื่องของ การผลิต การตลาด การเป็นอยู่ สวัสดิการ การศึกษา สังคม และศาสนา ขั้นที่ ๓ ร่วมมือกับแหล่งเงินและพลังงาน ตั้งและบริการโรงสี ตั้งและบริการ ร้านสหกรณ์ ช่วยกันลงทุน ช่วยกันพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในชนบท ซึ่ง มิใช่ทำอาชีพเกษตรเพียงอย่างเดียว ขั้นที่ ๑ เป็นการสร้างความพอเพียงในระดับครอบครัว ขั้นที่ ๒ และ ๓ เป็นการสร้างความพอเพียงในระดับชุมชน การจัดการในทฤษฎีใหม่ การจัดสรรพื้นที่ในการทำเกษตรทฤษฎีใหม่ขั้นที่ ๑ ซึ่งเป็นขั้นพื้นฐานสำคัญ แบ่ ง ออกเป็ น เกษตรทฤษฎี ใ หม่ อ าศั ย น้ ำ ฝน และเกษตรทฤษฎี ใ หม่ อ าศั ย น้ ำ ชลประทาน (เติมน้ำได้) ๖ ๑๙ ผลสำเร็จที่โดดเด่นของศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพานอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
  • 9. เกษตรทฤษฎีใหม่อาศัยน้ำฝน การจัดสรรพื้นที่อยู่อาศัยและที่ทำกิน แบ่งออก เป็น ๔ ส่วน ตามสัดส่วน ๓๐ : ๓๐ : ๓๐ : ๑๐ ส่วนที่ ๑ สระน้ำ ๓๐ % ส่วนที่ ๒ นาข้าว ๓๐ % ส่วนที่ ๓ พืชสวนพืชไร่ ๓๐ % ส่วนที่ ๔ ที่อยู่อาศัย ๑๐ % เงื่ อ นไข คื อ มี พื้ น ที่ น้ อ ย (ประมาณ ๑๕ ไร่) อยู่ในเขตเกษตรน้ำฝน ฝนตกไม่ชุก ปลูกข้าวเป็นพืชหลัก สภาพดินสามารถขุด สระเก็ บ กั ก น้ ำ ได้ ฐานะค่ อ นข้ า งยากจน มีสมาชิกในครอบครัวปานกลางประมาณ ๕ - ๖ คน และไม่มีอาชีพหรือรายได้อื่นที่ดี กว่าในบริเวณใกล้เคียง เกษตรทฤษฎีใหม่อาศัยน้ำชลประทาน (เติมน้ำได้) การทำทฤษฎีใหม่สามารถ ยืดหยุ่นปรับสัดส่วนการใช้พื้นที่ให้มีความเหมาะสมตามสภาพพื้นที่ เช่น พื้นที่ภาคใต้ ที่มีฝนตกชุกกว่าภาคอื่น หรือพื้นที่ที่มีแหล่งน้ำมาเติมได้หรือมีระบบชลประทานเข้าถึง สัดส่วนของสระน้ำอาจเล็กลง แล้วเพิ่มเติมพื้นที่ปลูกไม้ผล พืชไร่ พืชผักแทน โดย อาจแบ่งพื้นที่ออกเป็น ๔ ส่วน ตามอัตราส่วน ๑๖ : ๒๔ : ๕๐ : ๑๐ อ่างเก็บน้ำ สระน้ำ แปลงเกษตรกรรม ส่วนที่ ๑ สระน้ำ ๑๖ % ส่วนที่ ๒ นาข้าว ๒๔ % ส่วนที่ ๓ ไม้ผล พืชหลัก และพืชไร่ ๕๐ % ส่วนที่ ๔ ที่อยู่อาศัย ๑๐ % ที่ดอน จัดเป็นพื้นที่สำหรับปลูกไม้ผล เลี้ยงสัตว์ และที่อยู่อาศัย ที่ลุ่ม จัดเป็นพื้นที่ทำนาข้าว แปลงผัก และสระน้ำ คู่มือเกษตรทฤษฎีใหม่ ๗
  • 10. ทฤษฎีใหม่ขั้นต้น การจัดสรรที่อยู่อาศัยและทำกิน ตเป กินไม่“ การผลิ” นการผลิตให้พึ่งตนเองได้ด้วยวิธีง่ายๆ ค่อยเปนค่อยไปตามกำลังให้พอ มี อดอยาก (พระราชดำรัส เมื่อวันที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๓๗) โดยให้ แบ่ ง พื้ นที่ ซึ่ ง เฉลี่ ย แล้ ว เกษตรกรไทยมี เนื้ อ ที่ ถื อ ครอง ๑๐ - ๑๕ ไร่ / ครอบครัว โดยแบ่งออกเป็น ๔ ส่วน คือ แหล่งน้ำ : นาข้าว : พืชผสมผสาน : โครงสร้างพื้นฐานในอัตราส่วน ๓๐ : ๓๐ : ๓๐ : ๑๐ ดังนี้ ส่ ว นแรก ร้ อ ยละ ๓๐ ให้ ขุ ด สระกั ก เก็ บ น้ ำ ใน ฤดูฝน เพาะปลูกและเสริมการปลูกพืชในฤดูแล้งได้ ตลอดปี ทั้งยังใช้เลี้ยงปลา ปลูกพืชน้ำ และพืชริมสระ เพื่อการบริโภคและเพิ่มรายได้ให้กับครอบครัวอีกทาง หนึ่ง โดยพระราชทานแนวทางการคำนวณว่าต้องการ น้ำ ๑,๐๐๐ ลูกบาศก์เมตรต่อการเพาะปลูก ๑ ไร่ โดย ประมาณ และบนสระน้ำสามารถสร้างเล้าไก่ เล้าเป็ด และเล้าสุกรเพิ่มด้วยก็ได้ ส่ ว นที่ ส อง ร้ อ ยละ ๓๐ ให้ ท ำนาข้ า ว เนื่องจากคนไทยบริโภคข้าวเป็นอาหารหลัก โดยมี ห ลั ก เกณฑ์ เฉลี่ ย เกษตรกรบริ โภคข้ า ว คนละ ๒๐๐ กิโลกรัมข้าวเปลือก/ปี ซึ่งเพียง พอต่ อ การบริ โ ภคตลอดปี เพื่ อ ยึ ด หลั ก พึ่ ง ตนเองได้อย่างมีอิสรภาพ ๘ ๑๙ ผลสำเร็จที่โดดเด่นของศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพานอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
  • 11. ส่ ว นที่ ส าม ร้ อ ยละ ๓๐ ให้ ป ลู ก ไม้ ผ ล ไม้ ยืนต้น ไม้ใช้สอย ไม้ทำเชื้อเพลิง ไม้สร้างบ้าน พืช ผัก พืชไร่ พืชสมุนไพร ฯลฯ เพื่อการบริโภคและ ใช้ ส อยอย่ า งพอเพี ย ง หากเหลื อ บริ โภคก็ น ำไป จำหน่ายเป็นรายได้ต่อไป ส่วนที่สี่ ร้อยละ ๑๐ (โครงสร้างพื้นฐาน) เป็นที่อยู่อาศัยและอื่นๆ เช่น ถนน ลานตาก ฉางข้าว กองปุ๋ยหมัก โรงเพาะเห็ด พืชผักสวน ครัว เป็นต้น ทฤษฎีใหม่ขั้นก้าวหน้า หลักการดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้น เป็นทฤษฎีใหม่ขั้นที่หนึ่ง เมื่อเกษตรกรเข้าใจ หลักการและได้ลงมือปฏิบัติตามขั้นที่หนึ่งในที่ดินของตนจนได้ผลแล้ว เกษตรกรก็ สามารถพัฒนาตนเองไปสู่ขั้นพออยู่พอกิน และตัดค่าใช้จ่ายลงเกือบทั้งหมด มีอิสระ จากสภาพปัจจัยภายนอกแล้วและเพื่อให้มีผลสมบูรณ์ยิ่งขึ้น จึงควรที่จะต้องดำเนินการ ตามขั้นที่สอง ทฤษฎีใหม่ขั้นที่สอง ิน ผลแล้วก็ต้องเริ “ เมื่คือเกษตรกรเข้าใจในหลักการและได้ปปฏิกลุับต่มิที่ดหรืของตนเองจนได้มแรงในการผลิ่มต ขั้ นที่ ส อง อ ให้ เ กษตรกรรวมพลั ง กั น ในรู อ สหกรณ์ ร่ ว การตลาด การเปนอยู่ สวัสดิการ การศึกษา สังคม และศรัทธาเพื่อให้พอมีกินมีใช้ ช่วยให้ สังคมดีขึ้นพร้อมๆ กันไม่รวยคนเดียว” (พระราชดำรัสเมื่อวันที่ ๑๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๓๘) คู่มือเกษตรทฤษฎีใหม่ ๙
  • 12. ดำเนินการดังนี้ ๑. การผลิต (พันธุ์พืช เตรียมดิน ชลประทาน ฯลฯ) เกษตรกรจะต้องร่วมมือในการผลิต โดยเริ่มตั้งแต่ขั้นเตรียมดิน การหาพันธุ์พืช ปุ๋ย การจัดการน้ำ และอื่นๆ เพื่อการเพาะปลูก ๒. การตลาด (ลานตากข้าว ยุ้ง เครื่องสีข้าว การจำหน่ายผลผลิต) เมื่อมีผลผลิตแล้วจะต้องเตรียมการต่าง ๆ เพื่อการขายผลผลิตให้ได้ประโยชน์ สูงสุด เช่น การเตรียมลานตากข้าวร่วมกัน การจัดหายุ้งรวบรวมข้าว เตรียมหา เครื่องสีข้าว ตลอดจนการร่วมกันขายผลผลิตให้ได้ราคาดี และลดค่าใช้จ่ายลง ๓. การเป็นอยู่ (กะปิ น้ำปลา อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ฯลฯ) ในขณะเดียวกันเกษตรกรต้องมีความเป็นอยู่ที่ดีพอสมควร โดยมีปัจจัยพื้นฐาน ในการดำรงชีวิต เช่น อาหารการกินต่างๆ กะปิ น้ำปลา เสื้อผ้าที่พอเพียง ๑๐ ๑๙ ผลสำเร็จที่โดดเด่นของศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพานอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
  • 13. ๔. สวัสดิการ (สาธารณสุข เงินกู้) แต่ ล ะชุ ม ชนมี ส วั ส ดิ ภ าพและบริ ก ารที่ จ ำเป็ น เช่ น มี ส ถานี อ นามั ย เมื่ อ ยาม ป่วยไข้ หรือมีกองทุนไว้กู้ยืมเพื่อประโยชน์ในกิจกรรมต่าง ๆ ของชุมชน ๕. การศึกษา (โรงเรียน ทุนการศึกษา) ชุมชนควรมีบทบาทในการส่งเสริม เช่น มีกองทุนเพื่อการศึกษาเล่าเรียนให้แก่ เยาวชนของชุมชน ๖. สังคมและศาสนา (ชุมชน วัด) ชุมชนควรเป็นที่รวมในการพัฒนาสังคมและจิตใจ โดยมีศาสนาเป็นที่ยึดเหนี่ยว กิจกรรมทั้งหมดดังกล่าวข้างต้น จะต้องได้รับความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ไม่ว่าส่วนราชการ องค์กรเอกชน ตลอดจนสมาชิกชุมชนเป็นสำคัญ คู่มือเกษตรทฤษฎีใหม่ ๑๑
  • 14. ทฤษฎีใหม่ขั้นที่สาม เมื นการขั องแล้ เกษตรกรก็ ค ฒ นา าวหน้“าไปสู่อ่ขดำเนิ่ทีสามต่อไป้นคืตอนทีร่ว่สมมือกับวแหล่เกษตรกรหรืองกลุ่มงงาน ตั้งและบริวรพัารโรงสี ก้ ั้น อ งเงินและแหล่ พลั ก ตั้งและบริการร้านสหกรณ์ ช่วยกันลงทุน ช่วยกันพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนชนบท ซึ่งไม่ได้ทำอาชีพเกษตรอย่างเดียว” (พระราชดำรัส เมื่อวันที่ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๘) ทั้ ง นี้ ฝ่ า ยเกษตรกรและฝ่ า ยธนาคาร หรื อ บริ ษั ท เอกชนจะได้ รั บ ประโยชน์ ร่วมกัน กล่าวคือ เกษตรกรขายข้าวได้ราคาสูง (ไม่ถูกกดราคา) ธนาคารหรือบริษัทเอกชนสามารถซื้อข้าวบริโภคในราคาต่ำ (ซื้อข้าวเปลือก ตรงจากเกษตรกรและมาสีเอง) เกษตรกรซื้ อ เครื่ อ งอุ ป โภคบริ โ ภคในราคาต่ ำ เนื่ อ งจากรวมกั นซื้ อ เป็ น จำนวนมาก (เป็นร้านสหกรณ์ราคาขายส่ง) ธนาคาร หรือบริษัทเอกชนจะสามารถกระจายบุคลากร เพื่อไปดำเนินการใน กิจกรรมต่างๆ ให้เกิดผลดียิ่งขึ้น ๑๒ ๑๙ ผลสำเร็จที่โดดเด่นของศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพานอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
  • 15. ประโยชน์ทฤษฎีใหม่ จากพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ที่ได้พระราชทานใน โอกาสต่าง ๆ นั้น พอสรุปถึงประโยชน์ของทฤษฎีใหม่ได้ดังนี้ ๑. ให้ประชาชนพออยู่พอกินสมควรแก่อัตภาพในระดับที่ประหยัดไม่อดอยาก และเลี้ยงตนเองได้ตามหลักปรัชญา “เศรษฐกิจพอเพียง” ๒. ในหน้ า แล้ ง มี น้ ำ น้ อ ย ก็ ส ามารถเอาน้ ำ ที่ เ ก็ บ ไว้ ใ นสระมาปลู ก พื ช ผั ก เลี้ยงปลา หรือทำอะไรอื่นๆ ก็ได้แม้แต่ข้าวก็ยังปลูกได้ ไม่ต้องเบียดเบียนชลประทาน ระบบใหญ่เพราะมีของตนเอง ๓. ในปี ที่ ฝ นตกตามฤดู ก าลโดยตลอดปี ทฤษฎี ใหม่ นี้ ก็ ส ามารถสร้ า งรายได้ ให้ ร่ ำ รวยขึ้ น ได้ ในกรณี ที่ เ กิ ด อุ ท กภั ย ก็ ส ามารถที่ จ ะฟื้ นตั ว และช่ ว ยตั ว เองได้ ใน ระดั บ หนึ่ ง โดยทางราชการไม่ ต้ อ งช่ ว ยเหลื อ มากเกิ น ไป อั น เป็ นการประหยั ด งบประมาณด้วย คู่มือเกษตรทฤษฎีใหม่ ๑๓
  • 16. แปลงตัวอย่างการทำเกษตรทฤษฎีใหม่ ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงตามแนว พระราชดำริ อ่างเก็บน้ำห้วยปุ๊ นายขวัญใจ แก้วหาวงศ์ พื้นที่ของศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริ อ่างเก็บน้ำห้วยปุ๊ อยู่บริเวณท้ายอ่างเก็บน้ำห้วยปุ๊ตามแนวพระราชดำริ บ้านเหล่านกยูง หมู่ที่ ๖ ตำบล ดงมะไฟ อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร มีพื้นที่ดำเนินการ ๒๐ ไร่ มีนายขวัญใจ แก้วหาวงศ์ อายุ ๖๐ ปี จบการศึกษาชั้นประถมปีที่ ๔ เป็นหัวหน้าศูนย์เรียนรู้ โดยมี แรงงานในครัวเรือน รวม ๔ คน เดิมใช้พื้นที่ในการเพาะปลูกข้าวและใช้น้ำจากบ่อ ขนาดเล็กในไร่นาเพาะปลูกพืชอายุสั้นในฤดูแล้งในนาหลังจากเก็บเกี่ยวข้าวแล้ว ต่อ มาในปี ๒๕๕๐ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพานอันเนื่องมาจากพระราชดำริ จังหวัด สกลนคร ได้สนับสนุนขุดสระทฤษฎีใหม่ในไร่นาให้ ๑ แห่ง จึงทำการเพาะปลูกพืช เลี้ยงสัตว์ และประมง ตามแนวทฤษฎีใหม่ กิจกรรมที่ดำเนินการ ปลูกข้าวนาปี ๑๖ ไร่ เลี้ยงปลาในนาข้าว ๒ ไร่ ปลูกไม้ผลชนิดต่างๆ ๑ ไร่ ๒ งาน เลี้ยงปลาในกระชัง ๔ กระชัง ปลูกพืชไร่ ๑ ไร่ เลี้ยงกบในกระชัง ๓ กระชัง ปลูกพืชผัก ๒ งาน เลี้ยงไก่ดำภูพาน ๔๐ ตัว เพาะเห็ดในโรงเรือน ๑ โรง เลี้ยงสุกรภูพาน ๒ ตัว เลี้ยงโค ๖ ตัว เลี้ยงเป็ดเทศ ๓๐ ตัว เลี้ยงปลา ๑ บ่อ/๑ ไร่/๖,๐๐๐ ตัว ปลูกอ้อย ๓ ไร่ ๑๔ ๑๙ ผลสำเร็จที่โดดเด่นของศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพานอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
  • 17. แผนผังแปลงเกษตรทฤษฎีใหม่ นายขวัญใจ แก้วหาวงศ์ พื้นที่ทั้งหมด ๒๐ ไร่ ที่อยู่อาศัย ๑ ไร่ ๑๕๐ ตารางวา สระน้ำ ๑ ไร่ นาข้าว ๑๖ ไร่ พืชผักผลไม้ ๑ ไร่ ๓ งาน ๓๐๐ ตารางวา หมายเหตุ นคันนาปลูกไม้ผล บ วิธีดำเนินการ จัดแบ่งพื้นที่ดำเนินการเป็น ๔ ส่วน ตามองค์ประกอบของทฤษฎีใหม่ตามแนว พระราชดำริ แต่ปรับเปลี่ยนสัดส่วนของพื้นที่ต่างๆ ตามความเหมาะสมของพื้นที่และ แรงงานดังนี้ ส่วนแรก พื้นที่ ๑ ไร่ (๕ %) เป็นแหล่งน้ำและเลี้ยงปลา ใช้พื้นที่บ่อน้ำขนาดเล็กบ่อเดิม ซึ่งอยู่ใกล้ประตูระบายน้ำจากคลองส่งน้ำของ อ่างเก็บน้ำห้วยปุ๊ ขุดเป็นบ่อทฤษฎีใหม่ ขนาดกว้าง ๔๐ เมตร ยาว ๔๐ เมตร ลึก ๓.๕ เมตร มีความจุน้ำประมาณ ๕,๐๐๐ ลูกบาศก์เมตร ใช้เก็บกักน้ำไว้สำหรับการเพาะ ปลูกพืชและทำการประมง สามารถรับการเติมน้ำจากอ่างเก็บน้ำแล้วระบายลงสู่ แปลงเกษตรในพื้นที่ลุ่มได้ด้วย บริเวณคันคูรอบสระน้ำใช้เป็นพื้นที่ปลูกพืชผสมผสาน ได้แก่ มะพร้าว ลำไย ลิ้นจี่ ส้มโอ มะม่วง มะละกอ กล้วย ฯลฯ และพืชผักต่าง ๆ แซมระหว่างแถวของไม้ผล ส่วนขอบสระมีการปลูกหญ้าแฝกและข่า ตะไคร้ ป้องกัน คู่มือเกษตรทฤษฎีใหม่ ๑๕
  • 18. การชะล้างพังทลายของดิน มีการเก็บเกี่ยวผลผลิต ข่า ตะไคร้ ไปจำหน่ายและตัดใบ คลุมโคนไม้ผล สำหรับน้ำที่อยู่ในสระ มีการปล่อยปลาเลี้ยงเพื่อการบริโภคและ จำหน่ายจำพวกปลากินพืช ได้แก่ ปลานิล ปลาไน ปลาตะเพียน ฯลฯ ปีละประมาณ ๖,๐๐๐ ตัว มีรายได้จากการจำหน่ายปลาปีละ ๓,๐๐๐ บาท และยังมีการทำกระชัง เลี้ยงปลาดุกและกบอีก รวม ๗ กระชัง พื้นที่มุมสระน้ำด้านหนึ่งได้จัดทำคอกสัตว์ปีก สำหรับเลี้ยงเป็ดบาบาหลี ๓๐ ตัว และไก่ดำภูพาน ๔๐ ตัว มีรายได้จากการเลี้ยง สัตว์ปีกปีละ ๒,๕๐๐ - ๓,๐๐๐ บาท นอกจากนี้บนขอบสระมีคอกเลี้ยงสุกรดำพันธุ์ ภูพาน จำนวน ๓ ตัว ส่วนที่ ๒ พื้นที่ ๑๖ ไร่ (๘๐ %) เป็นพื้นที่ปลูกข้าว ใช้ปลูกข้าวนาปีโดยอาศัยน้ำฝน ถ้าประสบภาวะฝนแล้งหรือฝนทิ้งช่วงสามารถ ทดน้ำจากสระทฤษฎีใหม่ลงสู่แปลงนาได้ พันธุ์ข้าวที่ปลูกใช้ข้าวพันธุ์ส่งเสริม ได้แก่ พั นธุ์ กข ๖ และหอมมะลิ ๑๐๕ มี ก ารเพาะปลู ก ข้ า วตามหลั ก วิ ช าการที่ ได้ รั บ การถ่ายทอดมาจากเจ้าหน้าที่ของศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพานฯ ในการปลูกข้าวโดย ใช้ปุ๋ยพืชสดร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยเคมี ในปีหนึ่งๆ จะได้ผลผลิตข้าวประมาณ ๕.๖ ตัน เฉลี่ยผลผลิต ๓๕๐ กก./ไร่ จึงมีค่าตอบแทนจากการทำนาคิดเป็นเงิน ๕๖,๐๐๐ บาท/ปี ในระหว่างการเพาะปลูกข้าวในนา ได้ใช้พื้นที่นา จำนวน ๒ ไร่ ปล่อยปลา เลี้ยงในนาข้าวเพื่อเป็นอาหารและจำหน่ายเป็นการลดต้นทุนในการผลิตและเพิ่ม รายได้ อีกทั้งปลายังช่วยเพิ่มธาตุอาหารให้ต้นข้าวโดยการถ่ายมูลและแหวกว่าย ถ่ายเทอากาศ กำจัดวัชพืชและศัตรูพืชในนาข้าวได้อีกด้วย หลังจากมีการเก็บเกี่ยว ข้าวในฤดูนาปีแล้วจะไถกลบตอซัง และเตรียมดินเพาะปลูกพืชอายุสั้นในนาข้าว ทำให้มีรายได้ต่อเนื่อง เมื่อจะปลูกข้าวในฤดูนาปีครั้งต่อไป ก็จะหว่านเมล็ดพืชตระกูล ถั่วทำปุ๋ยพืชสดเพื่อปรับสภาพของดินและเพิ่มธาตุอาหารให้แก่ต้นข้าว ๑๖ ๑๙ ผลสำเร็จที่โดดเด่นของศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพานอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
  • 19. ส่วนที่ ๓ พื้นที่ ๒ ไร่ (๑๐ %) เป็นพื้นที่ปลูกพืชผสมผสาน ไมผล - ไมยืนตน พื้นที่ ๑.๕ ไร่ เนื่องจากพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ลุ่มใช้ปลูกพืชยืนต้นได้น้อย จึงได้ปรับสัดส่วน การปลูกไม้ผล - ไม้ยืนต้น ลดลงตามศักยภาพของพื้นที่ ดังนั้น จึงมีการปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้นบนคันคูรอบสระน้ำ และปลูกบนคันนาโดยทำคันนาให้ขยายใหญ่กว่าปกติ ไม้ผล - ไม้ยืนต้นที่เพาะปลูกมีหลายชนิด มีทั้งที่ให้ผลผลิตแล้วและยังไม่ให้ผลผลิต ที่ให้ผลผลิตแล้วส่วนใหญ่เป็นกล้วยน้ำว้า ซึ่งจะมีรายได้จากการขายผลผลิตไม้ผล - ไม้ยืนต้น ปีละประมาณ ๒,๐๐๐ บาท พืชไร่ – พืชผัก และพืชอายุสั้นต่างๆ พื้นที่ ๐.๕ ไร่ ดำเนินการเพาะปลูกพืชผักต่างๆ เนื่องจากพื้นที่ดอนมีจำกัด จึงได้กันพื้นที่นา ดอนไว้ประมาณ ๐.๕ ไร่ เพื่อปลูกแตงกวาในปลายฤดูฝนเพราะผลผลิตมีราคาดี และ เมื่อมีการเก็บเกี่ยวข้าวที่เพาะปลูกในนาทั้งหมดแล้ว จะใช้พื้นที่นาจำนวน ๒ ไร่เพาะ ปลูกพืชไร่ต่างๆ ตามที่ตลาดต้องการ สลับหมุนเวียนกันไปตลอดฤดูกาล ซึ่งการปลูก พืชหมุนเวียนเป็นการหลีกเลี่ยงการระบาดของศัตรูพืชและทำให้พืชใช้ธาตุอาหารใน ดินได้คุ้มค่าเพราะพืชแต่ละชนิดมี ความยาวของราก ไม่เท่ากัน คู่มือเกษตรทฤษฎีใหม่ ๑๗
  • 20. จึงดูดซับธาตุอาหารในดิน ในระดับที่ต่างกัน รายได้จากการปลูกพืชไร่-พืชผัก และ พืชอายุสั้นต่างๆ ปีละ ๗๕,๐๐๐ บาท ในการปลูกพืชอายุสั้นในนาข้าวจะใช้วิธีขุดร่อง น้ำเล็กๆ แล้วสูบน้ำจากสระทฤษฎีใหม่ลงสู่ร่องน้ำระบายเข้าแปลงนาเพื่อให้น้ำแก่พืช ส่วนที่ ๔ พื้นที่ ๑ ไร่ (๕ %) ที่อยู่อาศัยและอื่นๆ เป็นพื้นที่สร้างบ้านและสิ่งปลูกสร้างอื่นๆ ได้แก่ คอกเลี้ยงสัตว์ โรงปุ๋ยอินทรีย์ ที่เก็บเครื่องมือการเกษตร ที่เก็บอาหารสัตว์ โรงเพาะเห็ด รวมทั้งศาลาเรียนรู้ที่สร้าง ไว้สำหรับเป็นที่จัดประชุม และไว้ต้อนรับผู้ที่มาศึกษาดูงาน นอกจากนี้บริเวณรอบๆ ที่อยู่อาศัยยังมีการปลูกพืชผักต่างๆ และพืชสมุนไพรไว้ศึกษาและนำมาใช้ประโยชน์ ในชีวิตประจำวัน สรุปการทำเกษตรทฤษฎีใหม่ “นายขวัญใจ แก้วหาวงศ์” ๑. กำหนดการลงทุนและดำเนินการผลิตในแปลงเกษตรทฤษฎีใหม่ ไม่มากจน เกินกำลัง อาศัยแรงงานของคนในครอบครัวเป็นหลัก ๒. บริหารการใช้จ่ายในครอบครัวไม่ฟุ้งเฟ้อ ฟุ่มเฟือย ทำการเกษตรแบบผสม ผสาน โดยปลูกพืชเลี้ยงสัตว์หลายชนิดได้ผลผลิตทุกฤดูกาล มีอาหารเพียงพอต่อ การบริโภค เลือกซื้อเฉพาะสินค้าจำเป็นที่ผลิตเองไม่ได้ ๑๘ ๑๙ ผลสำเร็จที่โดดเด่นของศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพานอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
  • 21. ๓. จัดแบ่งพื้นที่ทำการเกษตรอย่างมีเหตุผล ปรับยืดหยุ่นสัดส่วนพื้นที่แปลง เกษตรทฤษฎีใหม่ให้สามารถใช้ประโยชน์เต็มประสิทธิภาพทุกพื้นที่ ทำให้มีรายได้ ต่อเนื่อง ๔. มีการวางแผนการผลิต โดยคำนึงถึงศักยภาพของพื้นที่ การใช้ทรัพยากรที่ มีอยู่ และช่วงเวลาการเพาะปลูกที่จะทำให้จำหน่ายผลผลิตได้ในราคาดี ๕. รู้จักนำภูมิปัญญามาประยุกต์ใช้กับความรู้ใหม่ๆ ที่ได้รับจากหน่วยงานต่างๆ เช่น การปรับปรุงบำรุงดินโดยทำปุ๋ยชีวภาพใช้เอง และการใช้ฮอร์โมนจากพืชทำสาร ขับไล่แมลงศัตรูพืช ทำให้ลดต้นทุนในการผลิต เป็นต้น ๖. เป็นแปลงเกษตรทฤษฎีใหม่ที่ได้รับการคัดเลือกจากศูนย์ศึกษาการพัฒนา ภู พ านอั น เนื่ อ งมาจากพระราชดำริ จั ง หวั ด สกลนคร จั ด ตั้ ง ให้ เป็ น ศู น ย์ เรี ย นรู้ เศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริ ประจำอ่างเก็บน้ำห้วยปุ๊ บ้านเหล่านกยูง หมู่ที่ ๖ ตำบลดงมะไฟ อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร คู่มือเกษตรทฤษฎีใหม่ ๑๙
  • 23. บรรณานุกรม สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ (สำนักงาน กปร) ทฤษฎีใหม่ชีวิตที่พอเพียง : กรุงเทพมหานคร สำนั ก พั ฒ นาเกษตรกร. ๒๕๕๐ เศรษฐกิ จ พอเพี ย งภาคเกษตร (พิ ม พ์ ค รั้ ง ที่ ๒) : กรุงเทพมหานคร กรมส่งเสริมการเกษตร ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดนครราชสีมา. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ ตามแนวพระราชดำริ : ศูนย์การเรียนรู้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดำริ และศูนย์สาธิตและส่งเสริมศิลปาชีพภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดนครราชสีมา คู่มือเกษตรทฤษฎีใหม่