SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
KITTEN FASTER: เครื่องผสมอาหารเอนกประสงค

ผูจัดทํา เด็กชายภูดศ เสถียรวัฒนา
                    ิ
          เด็กชายวิทวัฒน จงรัตนกลาง
          เด็กชายชวนากร ศรีสวัสดิ์
          เด็กชายกฤตณัฐ คุมรักษา

คุณครูที่ปรึกษา ครูอนันต สุขไพเราะ
                ครูเบญญา ชวัญยืน
                ครูพจนารถ เทียนรุงศรี
                ครูทวีศักดิ์ ภูชัย
                               

แนวคิดในการประดิษฐ
          จากการสังเกตวาเครื่องผสมอาหารมีราคาสูง แตเราไมไดใชเครื่องนี้ทุกวันเหมือนรานคา
จึงไมคุมคาทางเศรษฐกิจ คณะผูจัดทําจึงคิดนําวัสดุรีไซเคิลมาประดิษฐเปน KITTEN FASTER และ
ปรับปรุงคุณสมบัติใหมากกวาเครื่องผสมอาหารที่มีอยู โดยนําแทนไมเหลือใชมาทําฐานรองถวย
และใชซิลิโคนเปนตัวรองกันกระแทกและกันลื่นอีกชั้นหนึ่ง

จุดประสงค
       1. เพื่อใหไดอุปกรณผสมอาหารเอนกประสงคที่ทําจากวัสดุรีไซเคิลราคาประหยัด
       2. เพื่อลดภาวะโลกรอน (Global warming)
       3. เพื่อใชเวลาวางใหเกิดประโยชน

วิธีการดําเนินงาน
         1. ประชุมวางแผน แบงงานในกลุม
         2. รางตนแบบเครื่อง KITTEN FASTER
         3. รวบรวมวัสดุรไซเคิล
                           ี
         4. ศึกษาทฤษฏีการสรางจากบุคคลในครอบครัว คุณครู และผูรู (พอคา แมคา)
         5. ทําโครงราง กําหนด และจัดเรียมอุปกรณ
         6. ประกอบตนแบบเครื่อง KITTEN FASTER
         7. ทดลองหาประสิทธิภาพการใชงาน
         8. นําไปทดลองใช และขอรับคําแนะนําจากผูรู
วัสดุและอุปกรณ
        1. มอเตอรพัดลมเกาพรอมสายไฟ
        2. ดามตีไข
        3. กลองเหล็กรองฮารดดิสกในเครื่องคอมพิวเตอรเกา
        4. กลองเหล็กรองซีดีรอมในเครื่องคอมพิวเตอรเกา
        5. เกียรมอเตอร และเฟองทด
        6. เศษไมอัด
        7. ขวดพลาสติกทิ้งแลว
        8. ตะปู
        9. น็อต
        10. ซิลิโคน
        11. ฝาเครื่องคอมพิวเตอรเกา (CPU)

วิธีการประดิษฐ




                    วัสดุ                                    ประกอบแทนปน




                                        กอนตกแตง
1. สรางแทนปน
         1.1 ประกอบมอเตอรพัดลมเกาเขากับเกียรปรับความเร็ว
         1.2 นํากลองเหล็กรองฮารดดิสกในเครื่องคอมพิวเตอรเกามาทําเปนรูปตัว C
         1.3 ยึดกลองเหล็กตัว C เขากับกลองเหล็กรองซีดีรอม
         1.4 ยึดมอเตอรกับเฟองทดดวยน็อต 2 ตัว
         1.5 นําขวดน้ําพลาสติกมาตัดใหมีลักษณะโคง (ตัดใหเปนรูปตัว C) แลวนํามา
ครอบปดโครงมอเตอร เพื่อปองกันการลัดวงจร และอันตรายที่อาจเกิดขึ้น
         1.6 นําซิลิโคนมาติดเพื่อเพิ่มความแข็งแรง และซับแรงสั่นสะเทือน
2. สรางฐานวางแทนปน
         2.1 นํากลองเหล็กรองซีดีรอมในเครื่องคอมพิวเตอรเกา
         2.2 เจาะ ฝาเครื่องคอมพิวเตอรเกา จากนั้นยึดกลองเหล็กรองซีดีรอมกับฝาเครื่อง
ดวยน็อต
3. ประกอบแทนปนกับฐานวางแทนปน




   ขั้นตอน (เกือบ) สุดทาย                    นําสายรัดมารัดสายไฟใหเรียบรอยสวยงาม
4. สรางฐานรองถวย




                                   สภาพฐานรองถวย

              4.1 นําเศษไมอัดมาตัดเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผา
              4.2 ตอกตะปูทั้ง 4 มุม ใหตะปูทะลุแผนไมประมาณ 1-2 เซนติเมตร
              4.3 ทาซิลโคนที่หัวและปลายตะปูเพื่อกันลืน
                        ิ                               ่

ประโยชนทไดรับ
         ี่
      1. ไดความรูเกี่ยวกับกลไกการทํางาน และระบบรักษาความปลอดภัยของพัดลม
      2. ไดเครื่องผสมอาหารเอนกประสงค ที่มีราคาประหยัด
      3. ชวยลดปริมาณขยะอิเล็กทรอนิกส ลดภาวะโลกรอน
      4. เปนแนวทางในการสรางสิ่งประดิษฐจากขยะอิเล็กทรอนิกสในอนาคต

ขอเสนอแนะ
       ตองพัฒนารูปแบบ KITTEN FASTER ใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น และนาใชมากขึ้น

More Related Content

Viewers also liked

แบบทดสอบเรื่อง แรงระหว่างประจุ
แบบทดสอบเรื่อง แรงระหว่างประจุแบบทดสอบเรื่อง แรงระหว่างประจุ
แบบทดสอบเรื่อง แรงระหว่างประจุWorrachet Boonyong
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่งโครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่งTaweesak Poochai
 
Electrostatics ปฐมบทแห่งไฟฟ้า ม.6
Electrostatics ปฐมบทแห่งไฟฟ้า ม.6Electrostatics ปฐมบทแห่งไฟฟ้า ม.6
Electrostatics ปฐมบทแห่งไฟฟ้า ม.6Worrachet Boonyong
 
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไข ตามข้อเสนอแนะของ สมศ.
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไข ตามข้อเสนอแนะของ สมศ.แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไข ตามข้อเสนอแนะของ สมศ.
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไข ตามข้อเสนอแนะของ สมศ.Worrachet Boonyong
 
สหวิทยาการของนาโนเทคโนโลยี
สหวิทยาการของนาโนเทคโนโลยีสหวิทยาการของนาโนเทคโนโลยี
สหวิทยาการของนาโนเทคโนโลยีTaweesak Poochai
 
การทดลองทางวิทยาศ
การทดลองทางวิทยาศการทดลองทางวิทยาศ
การทดลองทางวิทยาศnuu
 
เอกสารการสัมมนาวิชาการฯ ทิศทางการผลิตครูวิทยาศาสตร์
เอกสารการสัมมนาวิชาการฯ ทิศทางการผลิตครูวิทยาศาสตร์เอกสารการสัมมนาวิชาการฯ ทิศทางการผลิตครูวิทยาศาสตร์
เอกสารการสัมมนาวิชาการฯ ทิศทางการผลิตครูวิทยาศาสตร์Taweesak Poochai
 
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ
การเคลื่อนที่ใน  1 มิติการเคลื่อนที่ใน  1 มิติ
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติTaweesak Poochai
 
คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์
คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์
คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์Taweesak Poochai
 

Viewers also liked (20)

แบบทดสอบเรื่อง แรงระหว่างประจุ
แบบทดสอบเรื่อง แรงระหว่างประจุแบบทดสอบเรื่อง แรงระหว่างประจุ
แบบทดสอบเรื่อง แรงระหว่างประจุ
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
nano safety short
nano safety shortnano safety short
nano safety short
 
Hydroelectric power
Hydroelectric powerHydroelectric power
Hydroelectric power
 
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่งโครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
 
Electrostatics ปฐมบทแห่งไฟฟ้า ม.6
Electrostatics ปฐมบทแห่งไฟฟ้า ม.6Electrostatics ปฐมบทแห่งไฟฟ้า ม.6
Electrostatics ปฐมบทแห่งไฟฟ้า ม.6
 
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไข ตามข้อเสนอแนะของ สมศ.
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไข ตามข้อเสนอแนะของ สมศ.แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไข ตามข้อเสนอแนะของ สมศ.
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไข ตามข้อเสนอแนะของ สมศ.
 
สหวิทยาการของนาโนเทคโนโลยี
สหวิทยาการของนาโนเทคโนโลยีสหวิทยาการของนาโนเทคโนโลยี
สหวิทยาการของนาโนเทคโนโลยี
 
การทดลองทางวิทยาศ
การทดลองทางวิทยาศการทดลองทางวิทยาศ
การทดลองทางวิทยาศ
 
เอกสารการสัมมนาวิชาการฯ ทิศทางการผลิตครูวิทยาศาสตร์
เอกสารการสัมมนาวิชาการฯ ทิศทางการผลิตครูวิทยาศาสตร์เอกสารการสัมมนาวิชาการฯ ทิศทางการผลิตครูวิทยาศาสตร์
เอกสารการสัมมนาวิชาการฯ ทิศทางการผลิตครูวิทยาศาสตร์
 
Em wave
Em waveEm wave
Em wave
 
Cavawts present
Cavawts presentCavawts present
Cavawts present
 
Sci30203-Pressure
Sci30203-PressureSci30203-Pressure
Sci30203-Pressure
 
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ
การเคลื่อนที่ใน  1 มิติการเคลื่อนที่ใน  1 มิติ
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ
 
Thailand gogreen cavaw_ts
Thailand gogreen cavaw_tsThailand gogreen cavaw_ts
Thailand gogreen cavaw_ts
 
คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์
คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์
คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์
 
Energy box
Energy boxEnergy box
Energy box
 
Nano guiddance
Nano guiddanceNano guiddance
Nano guiddance
 
Physics Curriculum 53
Physics Curriculum 53Physics Curriculum 53
Physics Curriculum 53
 
Sci30203 density
Sci30203 densitySci30203 density
Sci30203 density
 

More from Taweesak Poochai

ความพร้อมการเรียนทางไกล 1/63
ความพร้อมการเรียนทางไกล 1/63ความพร้อมการเรียนทางไกล 1/63
ความพร้อมการเรียนทางไกล 1/63Taweesak Poochai
 
โครงสร้างโลก
โครงสร้างโลกโครงสร้างโลก
โครงสร้างโลกTaweesak Poochai
 
การทดลองภูเขาไฟระเบิด
การทดลองภูเขาไฟระเบิดการทดลองภูเขาไฟระเบิด
การทดลองภูเขาไฟระเบิดTaweesak Poochai
 
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒Taweesak Poochai
 
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๑
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๑สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๑
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๑Taweesak Poochai
 
ถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพ
ถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพ
ถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพTaweesak Poochai
 
เอกสารประกอบการบรรยาย
เอกสารประกอบการบรรยายเอกสารประกอบการบรรยาย
เอกสารประกอบการบรรยายTaweesak Poochai
 
Research inclassroom 2-2553krupound
Research inclassroom 2-2553krupoundResearch inclassroom 2-2553krupound
Research inclassroom 2-2553krupoundTaweesak Poochai
 

More from Taweesak Poochai (17)

ความพร้อมการเรียนทางไกล 1/63
ความพร้อมการเรียนทางไกล 1/63ความพร้อมการเรียนทางไกล 1/63
ความพร้อมการเรียนทางไกล 1/63
 
โครงสร้างโลก
โครงสร้างโลกโครงสร้างโลก
โครงสร้างโลก
 
การทดลองภูเขาไฟระเบิด
การทดลองภูเขาไฟระเบิดการทดลองภูเขาไฟระเบิด
การทดลองภูเขาไฟระเบิด
 
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
 
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๑
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๑สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๑
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๑
 
ถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพ
ถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพ
ถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพ
 
เอกสารประกอบการบรรยาย
เอกสารประกอบการบรรยายเอกสารประกอบการบรรยาย
เอกสารประกอบการบรรยาย
 
Sound
SoundSound
Sound
 
Ictoutdoor2012
Ictoutdoor2012Ictoutdoor2012
Ictoutdoor2012
 
JFEs
JFEsJFEs
JFEs
 
GYI3rpt1
GYI3rpt1GYI3rpt1
GYI3rpt1
 
Sunny ars report
Sunny ars reportSunny ars report
Sunny ars report
 
Vijai 52-1
Vijai 52-1Vijai 52-1
Vijai 52-1
 
Intro sciproject
Intro sciprojectIntro sciproject
Intro sciproject
 
Lichen
LichenLichen
Lichen
 
52-Development_waveMotion
52-Development_waveMotion52-Development_waveMotion
52-Development_waveMotion
 
Research inclassroom 2-2553krupound
Research inclassroom 2-2553krupoundResearch inclassroom 2-2553krupound
Research inclassroom 2-2553krupound
 

Kitten faster

  • 1. KITTEN FASTER: เครื่องผสมอาหารเอนกประสงค ผูจัดทํา เด็กชายภูดศ เสถียรวัฒนา ิ เด็กชายวิทวัฒน จงรัตนกลาง เด็กชายชวนากร ศรีสวัสดิ์ เด็กชายกฤตณัฐ คุมรักษา คุณครูที่ปรึกษา ครูอนันต สุขไพเราะ ครูเบญญา ชวัญยืน ครูพจนารถ เทียนรุงศรี ครูทวีศักดิ์ ภูชัย  แนวคิดในการประดิษฐ จากการสังเกตวาเครื่องผสมอาหารมีราคาสูง แตเราไมไดใชเครื่องนี้ทุกวันเหมือนรานคา จึงไมคุมคาทางเศรษฐกิจ คณะผูจัดทําจึงคิดนําวัสดุรีไซเคิลมาประดิษฐเปน KITTEN FASTER และ ปรับปรุงคุณสมบัติใหมากกวาเครื่องผสมอาหารที่มีอยู โดยนําแทนไมเหลือใชมาทําฐานรองถวย และใชซิลิโคนเปนตัวรองกันกระแทกและกันลื่นอีกชั้นหนึ่ง จุดประสงค 1. เพื่อใหไดอุปกรณผสมอาหารเอนกประสงคที่ทําจากวัสดุรีไซเคิลราคาประหยัด 2. เพื่อลดภาวะโลกรอน (Global warming) 3. เพื่อใชเวลาวางใหเกิดประโยชน วิธีการดําเนินงาน 1. ประชุมวางแผน แบงงานในกลุม 2. รางตนแบบเครื่อง KITTEN FASTER 3. รวบรวมวัสดุรไซเคิล ี 4. ศึกษาทฤษฏีการสรางจากบุคคลในครอบครัว คุณครู และผูรู (พอคา แมคา) 5. ทําโครงราง กําหนด และจัดเรียมอุปกรณ 6. ประกอบตนแบบเครื่อง KITTEN FASTER 7. ทดลองหาประสิทธิภาพการใชงาน 8. นําไปทดลองใช และขอรับคําแนะนําจากผูรู
  • 2. วัสดุและอุปกรณ 1. มอเตอรพัดลมเกาพรอมสายไฟ 2. ดามตีไข 3. กลองเหล็กรองฮารดดิสกในเครื่องคอมพิวเตอรเกา 4. กลองเหล็กรองซีดีรอมในเครื่องคอมพิวเตอรเกา 5. เกียรมอเตอร และเฟองทด 6. เศษไมอัด 7. ขวดพลาสติกทิ้งแลว 8. ตะปู 9. น็อต 10. ซิลิโคน 11. ฝาเครื่องคอมพิวเตอรเกา (CPU) วิธีการประดิษฐ วัสดุ ประกอบแทนปน กอนตกแตง
  • 3. 1. สรางแทนปน 1.1 ประกอบมอเตอรพัดลมเกาเขากับเกียรปรับความเร็ว 1.2 นํากลองเหล็กรองฮารดดิสกในเครื่องคอมพิวเตอรเกามาทําเปนรูปตัว C 1.3 ยึดกลองเหล็กตัว C เขากับกลองเหล็กรองซีดีรอม 1.4 ยึดมอเตอรกับเฟองทดดวยน็อต 2 ตัว 1.5 นําขวดน้ําพลาสติกมาตัดใหมีลักษณะโคง (ตัดใหเปนรูปตัว C) แลวนํามา ครอบปดโครงมอเตอร เพื่อปองกันการลัดวงจร และอันตรายที่อาจเกิดขึ้น 1.6 นําซิลิโคนมาติดเพื่อเพิ่มความแข็งแรง และซับแรงสั่นสะเทือน 2. สรางฐานวางแทนปน 2.1 นํากลองเหล็กรองซีดีรอมในเครื่องคอมพิวเตอรเกา 2.2 เจาะ ฝาเครื่องคอมพิวเตอรเกา จากนั้นยึดกลองเหล็กรองซีดีรอมกับฝาเครื่อง ดวยน็อต 3. ประกอบแทนปนกับฐานวางแทนปน ขั้นตอน (เกือบ) สุดทาย นําสายรัดมารัดสายไฟใหเรียบรอยสวยงาม
  • 4. 4. สรางฐานรองถวย สภาพฐานรองถวย 4.1 นําเศษไมอัดมาตัดเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผา 4.2 ตอกตะปูทั้ง 4 มุม ใหตะปูทะลุแผนไมประมาณ 1-2 เซนติเมตร 4.3 ทาซิลโคนที่หัวและปลายตะปูเพื่อกันลืน ิ ่ ประโยชนทไดรับ ี่ 1. ไดความรูเกี่ยวกับกลไกการทํางาน และระบบรักษาความปลอดภัยของพัดลม 2. ไดเครื่องผสมอาหารเอนกประสงค ที่มีราคาประหยัด 3. ชวยลดปริมาณขยะอิเล็กทรอนิกส ลดภาวะโลกรอน 4. เปนแนวทางในการสรางสิ่งประดิษฐจากขยะอิเล็กทรอนิกสในอนาคต ขอเสนอแนะ ตองพัฒนารูปแบบ KITTEN FASTER ใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น และนาใชมากขึ้น