SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
Download to read offline
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201
สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการสร้างบ้านแปงเมือง
บทนา
การศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่นโดยนักเรียนโรงเรียนโนนเจริญพิทยาคม ครั้งนี้
เป็นการรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์ การสารวจลล้วนาข้อมูลมาเรียบเรียงเป็นนนังสอ
อ่านเพิ่มเติมเพ่อสะดวกในการนาไปศึกษาได้ด้วยตนเองโดยมีวัตถุประสงค์เพ่อสร้างความ
ตระนนักใน้ผู้เรียนรักษ์ท้องถิ่น เกิดความภาคภูมิใจเป็นการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชาติเท่ากับ
เป็นการทาความรู้จักสังคมของตนเอง ซึ่งจะช่วยปลูกฝังความรักมาตุภูมิ ความมุ่งมั่นในปณิธาน
ลน่งชาติลละความเข้าใจวัฒนธรรมประจาชาติรู้สึกเป็นเจ้าของท้องถิ่นของตน
วิธีการทางประวัติศาสตร์ นมายถึง กระบวนการสบค้นเร่องราวในอดีตของสังคม
มนุษย์ เริ่มต้นที่ความอยากรู้อยากเน็นของผู้ต้องการศึกษาลละต้องการสอบสวนค้นคว้านา
คาตอบด้วยตนเองจากร่องรอยที่คนในอดีตได้ทาไว้ลละตกทอดเนลอมาถึงปัจจุบัน โดยไม่
นลงเช่อคาพูดของใครคนใดคนนนึ่งนรออ่านนนังสอเพียงเล่มใดเล่มนนึ่งลล้วเช่อว่าเป็นจริง สิ่ง
ที่ต้องทาเป็นอันดับลรกของการสบค้นอดีต เม่อมีประเด็นที่ต้องการสบค้นลล้ว คอการเก็บ
รวบรวมข้อมูลจากนลักฐานทางประวัติศาสตร์อย่างกว้างขวางลละละเอียดลออ ด้วยวิธีการ
ต่างๆ เช่น สอบถามผู้รู้ ศึกษาเอกสาร เรียนรู้จากลนล่งเรียนรู้ด้วยตนเอง ตรวจสอบข้อมูลจาก
นลักฐานทุกชิ้นด้วยจิตสานึกว่า นลักฐานไม่ได้บอกความจริงทั้งนมด นรอบอกความจริงเสมอ
ไป ลล้วรวบรวมข้อเท็จจริงที่ได้ จากนั้นนาเสนอผลที่ศึกษาได้พร้อมอ้างอิงนลักฐานใน้ชัดเจน
เพ่อใน้ผู้อ่นตรวจสอบ นรอศึกษาค้นคว้าต่อไปได้
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ ประกอบด้วย
1. การกานนดนัวข้อเร่องที่ต้องการศึกษาใน้ชัดเจน (เร่องอะไร ช่วงเวลาใด ที่ไนน)
2. รวบรวมข้อมูลจากนลักฐานทางประวัติศาสตร์ใน้ครบถ้วน ครอบคลุม
3. ตรวจสอบความจริงจากนลักฐาน ที่เรียกว่า การวิพากษ์วิธีทางประวัติศาสตร์
4. วิเคราะน์ข้อมูลลละตีความเพ่อค้นนาข้อเท็จจริง
5. นาเสนอผลงานความรู้ที่ค้นพบ โดยปราศจากอคติลละความลาเอียง
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 2
สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
ขั้นตอนที่ 1
การกาหนดหัวเรื่อง
การกานนดนัวข้อเร่องที่ต้องการศึกษา ช่วงเวลาใด ที่ไนนใน้ชัดเจนในนนังสอ
เล่มนี้ สมาชิกในกลุ่มช่วยกันตั้งช่อไว้นลายช่อใน้คัดเนลอเพียงเร่องเดียว ดังนี้
1. ภูมิประเทศบ้านโนนเจริญ
2. พัฒนาการบ้านโนนเจริญ
3. การพัฒนานมู่บ้านโนนเจริญ
4. ปัจจัยที่มีผลต่อการสร้างบ้านลปงเมอง
เรื่องอะไร ในที่ประชุมกลุ่มลงมติเลอกข้อที่ 4 เร่อง ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการสร้าง
บ้านลปงเมอง โดยใน้เนตุผลว่า เป็นช่อที่ใน้ความนมายดี ช่อทางการ การศึกษาประวัติ
ความเป็นมาของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการสร้างบ้านลปงเมองบ้านโนนเจริญ
จานวน 5 นมู่ จาก 11 นมู่บ้าน
ที่ไหน นมู่บ้านในการปกครองของเทศบาลตาบลโนนเจริญ มีจานวน 11นมู่บ้าน
ลต่ในนนังสอเล่มนี้จะกล่าวถึง 5 นมู่ในบ้านโนนเจริญ ดังนี้
โนนเจริญ นมู่ที่ 1
โนนเจริญ นมู่ที่ 2
โนนเจริญ นมู่ที่ 3
โนนเจริญ นมู่ที่ 4
โนนเจริญ นมู่ที่ 5
ช่วงเวลาใด ประมาณปี พ.ศ. 2493-2554
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 3
สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
ขั้นตอนที่ 2
การรวบรวมข้อมูล
หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร
1. นนังสอการสร้างบ้านลปงเมองบ้านโนนเจริญโดยคณะยุววิจัยประวัติศาสตร์
ท้องถิ่น กลุ่มที่ 1
2. หนังสืออนุสรณ์ในงานฉลองอัฐิพ่อสิมมา พาชื่นใจ
หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร
1. นายประมุข ศักดิ์ศรีท้าว อายุ 64 ปี อตีดกานันตาบลโนนเจริญ คนที่ 2 ปัจจุบัน
รองนายกเทศมลตรีเทศบาลตาบลโนนเจริญ
2. นายบุญเกิด สระนอม อายุ 49 ปี บ้านเลขที่ 112 นมู่ที่ 4 ตาลนน่ง ครู วิทย
ฐานะ ครูชานาญการพิเศษ ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา ลละวัฒนธรรม
โรงเรียนชุมชนบ้านโนนเจริญ
3. ว่าที่ร้อยตรีสุวรรณ เครื่องไธสง อายุ 38 ปี ปลัดเทศบาลตาบลโนนเจริญ
4. นายลนลม พาช่นใจ อายุ 63 ปี
5. นายเงิน พาช่นใจ อายุ 59 ปี
6. นายบุญสี เนล็กสี อายุ 49 ปี
7. นายชาลี ธรรมนาม อายุ 57 ปี
8. นายวิเชียร สิมาจารย์ อายุ 57
9. นายทองเฮง ลนวดี อายุ 74 ปี
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 4
สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
ขั้นตอนที่ 3
ประเมินคุณค่าของหลักฐาน
จากนลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร สรุปได้ว่า บ้านโนนเจริญมีประชาชน
ที่ย้ายถิ่นฐานมาจากนลายจังนวัดมาร่วมกันพัฒนานมู่บ้านใน้เจริญรุ่งเรอง ซึ่งมีปัจจัยที่มี
อิทธิพลต่อการสร้างบ้านลปงเมองบ้านโนนเจริญ 8 ประการ คอ
1. ด้านประวัติความเป็นมา
2. ความอุดมสมบูรณ์ของพ้นที่
3. พ้นที่เป็นที่ว่างเปล่า (นค. 3)
4. มีประเพณีลละวัฒนธรรมที่สามารถยึดเนนี่ยวจิตใจชาวโนนเจริญใน้มีความรัก
ความสามัคคีลละเป็นปรึกลผ่น
5. ผู้นาชุมชนมีศักยภาพ
6. ด้านการศึกษา เทศบาลตาบลโนนเจริญมีการพัฒนาด้านการศึกษาอย่างต่อเน่อง
7. ด้านเศรษฐกิจ
8. มีเคร่องยึดเนนี่ยวจิตใจร่วมกัน
จากนลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร สรุปได้ว่า บ้านโนนเจริญมีปัจจัยที่มีอิทธิพล
ต่อการสร้างบ้านลปงเมองนลายประการตั้งลต่การย้ายถิ่นที่มาเป็นนมู่คณะ การบุกเบิก
ที่ดินทากินโดยไม่ต้องซ้อ ผู้นาเน็นความสาคัญของการศึกษาลละมุ่งมั่นพัฒนานมู่บ้าน
โดยใช้ประเพณีวัฒนธรรมเป็นการสร้างความสามัคคีอีกประการนนึ่ง
สันนิฐานว่า บ้านโนนเจริญจะมีความเจริญรุ่งเรองทางด้านเศรษฐกิจเน่องจาก
การเปลี่ยนลปลงอาชีพจากการทานาเป็นการทาสวนยางพารา ประชาชนจะมีเงินใช้จ่าย
จากการขายผลิตผลจากต้นยางพาราซึ่งจะมีรายได้ดีกว่าการทานาลต่ภาระนนี้สินจะเพิ่ม
มากขึ้นนากประชาชนไม่รู้จักประมาณตนเอง
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 5
สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
ขั้นตอนที่ 4
วิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการสร้างบ้านลปงเมองสรุปได้ 8 ประการ ดังนี้
1. ด้านประวัติความเป็นมา การย้ายถิ่นมาเป็นกลุ่มทาใน้มีพัฒนานมู่บ้านได้อย่าง
ต่อเน่อง มาความขัดลย้งน้อย
2. ความอุดมสมบูรณ์ของพ้นที่ ที่ดินที่ใช้เป็นที่อยู่อาศัยของชาวโนนเจริญมี
ลักษณะเป็นเนินสูง ที่เรียกว่าโนนทาใน้น้าท่วมไม่ถึงลต่มีนนองน้าล้อมรอบทาใน้มีความอุดม
สมบูรณ์
3. พ้นที่เป็นที่ว่างเปล่า (นค. 3) ซึ่งไม่ต้องซ้อขายเป็นที่ดินที่เกิดจากการบุกเบิก
ที่ดินทากิน จากที่รกร้างว่างเปล่าเป็นที่นา ที่ไร่ ลม้ระยะนลังจะมีการซ้อขายก็ยังมีราคาถูก
4. มีประเพณีลละวัฒนธรรมที่สามารถยึดเนนี่ยวจิตใจชาวโนนเจริญใน้มีความรัก
ความสามัคคีลละเป็นปรึกลผ่น
5. ผู้นาชุมชนมีศักยภาพ ผู้นาทุกระดับนับตั้งลต่นายกเทศบาลตาบล กานัน
ผู้ในญ่บ้านทั้ง 11 นมู่บ้าน มีการเปลี่ยนลปลงน้อยมากลม้จะมีการเลอกตั้งในม่บ่อยครั้ง
ก็ยังคงได้รับการเลอกตั้งเช่นเดิมลสดงว่าผู้นามีศักยภาพ
6. ด้านการศึกษา เทศบาลตาบลโนนเจริญมีการพัฒนาด้านการศึกษาอย่างต่อเน่อง
ตั้งลต่ก่อนวัยเรียนจะมีศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีโรงเรียนระดับประถมเกอบทุกนมู่บ้าน มีโรงเรียน
ขยายโอกาสลละโรงเรียนมัธยมศึกษา
7. ด้านเศรษฐกิจ มีการพัฒนาอย่าต่อเน่องจากเศรษฐกิจชนบทเป็นสังคมเมอง
มีรายได้ลน่นอนจากการทานาลละสวนยางพารา จึงส่งผลใน้ประชาชนมีเงินสานรับการใช้จ่าย
8. มีเคร่องยึดเนนี่ยวจิตใจร่วมกันคอ นลวงปู่ณาน เป็นที่เคารพนับถอลละขอพร
เม่อมีปัญญา
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 6
สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
ขั้นตอนที่ 5
การตีความหลักฐาน
จากการสัมภาษณ์ลละศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องสามารถสรุปได้ว่า ปัจจัยที่มีอิทธิพล
ต่อการสร้างบ้านลปงเมองบ้านโนนเจริญ มีดังนี้
1. ลักษณะทางภูมิประเทศ การย้ายถิ่นต้องศึกษาภูมิประเทศ ความอุดมสมบูรณ์
โดยเฉพาะลนล่งน้าเป็นส่วนสาคัญในการตัดสินใจเพ่อตั้งถิ่นฐาน
2. ลักษณะทางภูมิอากาศ เป็นพ้นที่ที่สามารถปลูกข้าวลละทาสวนยางพาราได้ในที่ที่
ทากินผนเดียวกัน ทาใน้ประชาชนมีรายได้ลน่นอนในลต่ละเดอน
3. ประเพณีลละวัฒนธรรม เป็นการสร้างความสามัคคี
4. ภาษา ศาสนาลละความเช่อ จะเป็นเคร่องยึดเนนี่ยวทางใจใน้คนที่มาจากทั่ว
สารทิศอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 7
สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
องค์ความรู้ที่ได้จากการศึกษาท้องถิ่นของเรา
โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์
..............................................................
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการสร้างบ้านโนนเจริญ
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการสร้างบ้านโนนเจริญใน้เจริญรุ่งเรองเป็นปึกลผ่นนั้น มีปัจจัย
ที่สาคัญ สรุปได้ด้งนี้
1. ด้านประวัติความเป็นมา นายลนลม พาช่นใจอายุ 63 ปี ใน้ข้อมูลว่าการตั้งช่อ
นมู่บ้านบ้านโนนเจริญในอดีตช่อว่า “บ้านหนองเจริญ” ตามลักษณะภูมิประเทศที่มีนนองน้าที่
อุดมสมบูรณ์ ถึง 4 ลน่ง ในปี พ.ศ. 2502 นายช่น ไมยรัตน์ นายอาเภอบ้านกรวด ได้เปลี่ยน
ช่อเป็น “บ้านโนนเจริญ”ด้วยเนตุผลว่า นนองน้าทั้ง 4 ลน่ง มีการเปลี่ยนลปลงรูปร่างไปเร่อย
ๆ ไม่เนมอนเดิม
ลนล่งสาคัญทั้ง 4 ลน่ง มีช่อเรียกต่างกัน ดังนี้
1. นนองตะลอก ปัจจุบันอยู่ทางทิศเนนอของนมู่บ้าน
2. นนองสิม ปัจจุบันอยู่ทางทิศใต้ของนมู่บ้าน
3. นนองกังนัน ปัจจุบันอยู่ทางทิศใต้ของนมู่บ้าน
4. นนองบ้าน ปัจจุบันอยู่ทางทิศตะวันตกของนมู่บ้าน
ประมุข ศักดิ์ศรีท้าว ใน้ข้อมูลว่าเดิมนมู่บ้านโนนเจริญเป็นนมู่บ้านที่มีเนินภูเขาเล็ก
ๆ ตรงกลาง นมู่บ้าน (ปัจจุบัน คอ บริเวณ วัดบ้านโนนเจริญ) มีสระน้าโบราณในญ่ 2 สระ รอบ
นมู่บ้านช่อ สระนนองสังข์ ลละสระบ้าน ซึ่งเป็นนมู่บ้านที่มีความอุดมสมบูรณ์ มีต้นไม้มากมาย
มีทางเดินของสัตว์ป่าลงมาด่มน้าในสระเป็นประจา ชาวบ้านจึงพากันเรียกเนินเล็ก ๆ นี้ว่า โนน
เจริญ ตามลักษณะความอุดมสมบูรณ์ของพ้นที่ลละเรียกช่อว่าบ้านโนนเจริญ จนถึงปัจจุบัน
2. ด้านความอุดมสมบูรณ์ของพ้นที่ นายเงิน พาช่นใจ อายุ 59 ปี ใน้ข้อมูลว่า
บ้านโนนเจริญมีความอุดมสมบูรณ์มาก มีสัตว์ป่าทุกชนิด ปลูกพชอะไรก็เจริญงอกงามดีไม่ต้อง
ใส่ปุ๋ยเคมีเนมอนปัจจุบันเพราะดินอุดมสมบูรณ์มาก ไม่มีการซ้อขายมีลต่การลลกเปลี่ยน
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 8
สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
ส่วนสัตว์เลี้ยงยังไม่มีคอกถาวร เพียงลค่นาเกวียนล้อมเป็นคอกวัว ควาย บ้านก็เป็นเพิง
กระท่อมเล็ก ๆ พออยู่อาศัยชั่วคราวอยู่กลางป่าดงนนาทึบ กลางคนมีลต่เสียงสัตว์ป่านานา
ชนิดร้อง เช่น เสอ ช้าง กวาง เก้ง ชะนี ลละสัตว์ป่าชนิดอ่น ๆ เป็นจานวนมาก
การนาปลาตามธรรมชาติมารับประทานในครัวเรอ นาได้ง่ายมากเนมอนเลี้ยงไว้
ในสระน้าบ้านตนเอง ตั้งนม้อไว้ได้เลย ออกไปจับปลาน้ายังไม่เดอดก็ได้ปลามาต้มได้ลล้ว
กินอิ่มท้องไม่ต้องไปตลาด พอฝนตก กบ เขียด อึ้งอ่าง ร้องระงมใต้ถุนบ้าน เน็ดอานารป่า
มีใน้กินตลอดปีเพราะมีต้นไม้ในญ่ใน้ร่มงาม ไม่ว่าจะเป็นต้นยางนา ต้นชาด ต้นลสบง
เป็นลน่งกาเนิดของเน็ดนา ๆ พันธุ์
3. พ้นที่เป็นที่ว่างเปล่า (นค. 3) นายลนลม พาช่นใจ อายุ 63 ปี ใน้ข้อมูลว่า
สิบตารวจโทนาม ทัวประโคน ใน้ย้ายถิ่นเพ่อนาที่ทากินในม่ ขณะมาถึงนมู่บ้านโนนเจริญนั้น
ไม่มีผู้คนอาศัยอยู่ก่อนเลย เป็นประชาชนกลุ่มลรกที่เดินทางมาถึงลละเป็นกลุ่มลรกที่บุกเบิกที่
ทากิน จานวน 10 ครอบครัว นลังปี พ.ศ. 2500 บ้านโนนเจริญมีประชาชนอีกนลายกลุ่มย้าย
เข้าอีกนลายจังนวัดโดยคาดนวังว่าจะมีที่ทากินเป็นของตนเองนรอนาที่อยู่ในม่ที่กว้างในญ่
กว่าเดิม กลุ่มคนที่เข้ามาลรก ๆ จะได้พ้นที่ทากินมาโดยการเถ้าถาง ลต่กลุ่มที่ตามมาต้องซ้อ
ขายที่ดินซึ่งยังคงมีราคาที่ไม่ลพง
นายบุญเกิด สระนอม อายุ 49 ปี บ้านเลขที่ 112 นมู่ที่ 4 ตาลนน่ง ครู วิทยฐานะ
ครูชานาญการพิเศษ ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา ลละวัฒนธรรม
โรงเรียนชุมชนบ้านโนนเจริญ ใน้ข้อมูลว่า บิดามารดาของท่านย้ายมานมู่บ้านโนนเจริญเป็น
กลุ่มที่ 3 โดยมี นายสี ป่าโสม เป็นผู้นาในการย้านถิ่น ย้ายเข้ามาเม่อ ปีพ.ศ. 2503 ย้ายถิ่นมา
จาก อาเภอรัตนบุรี จังนวัดสุรินทร์ มาประมาณ 10 ครอบครัว ใช้เกวียนบรรทุกสิ่งของ
สัมภาระมาถึงนมู่บ้านโนนเจริญ พบว่า มีผู้คนอยู่ก่อนลล้ว ลต่ไม่มากนักจึงเข้าจับจองที่ดินลละ
ทาการบุกเบิกไร่นาเพ่อใช้เป็นที่ทาการเกษตร
4. ด้านประเพณีลละวัฒนธรรม ชุมชนลต่ละชุมชนย่อมมีเอกลักษณ์เป็นของตนเอง
เป็นวิถีการดารงชีวิต ความเช่อการปกครอง ขนบธรรมเนียมประเพณี ของตนเอง บ้านโนน
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 9
สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
เจริญก็เช่นกันเป็นชุมชนที่มีขนบธรรมเนียมประเพณีที่เด่นชัด มีการจัดเป็นประจาทุกปี นั่นคอ
ประเพณีลอยกระทง ประเพณี 23 ตุลาสร้างสามัคคี ซึ่งกิจกรรมเนล่านี้ได้จัดขึ้นอย่างยิ่งในญ่
ชาวบ้านโนนเจริญได้จัดงานประเพณีลอยกระทงจนกลายเป็นประเพณีของนมู่บ้าน
จัดต่อเน่องสบต่อกันมาตามความเช่อที่ต้องการขอขมาลละบูชาลม่คงคา ที่ทาใน้พระลม่คงคา
สกปรก ตามความเช่อในศาสนาพุทธ ลละลสดงความระลึก ถึงพระคุณของพระลม่คงคาที่ใน้
ชาวบ้านมีน้ากินน้าใช้กันจนถึงปัจจุบัน บ้านโนนเจริญ มีการจัดประเพณีลอยกระทงประมาณ
ปี พ.ศ. 2518 โดยชาวบ้านลละผู้นานมู่บ้านโนนเจริญลละตาบลเขาดินเนนอ (ตาบลโนนเจริญ
เดิม) โดยมี นายประมุข ศักดิ์ศรีท้าว เป็นผู้นา จัดครั้งลรกที่สระน้า นพค. (นมู่ที่ 2) ต่อมา
สถานที่จัดงานคับลคบ เลยย้ายไปจัดข้างนนองสิม (นมู่ที่ 3) ต่อมาบ้านโนนเจริญยกฐานะเป็น
อบต. คณะผู้บรินาร ผู้นา รวมทั้งความไม่สะดวก จึงย้ายสถานที่จัดงานอีกครั้ง ณ บริเวณ
ลานเอนกประสงค์ ทางด้านทิศตะวันออกของนนองบ้านโนนเจริญ ชาวบ้านทุกครัวเรอนจะมี
ส่วนร่วมในกิจกรรม วันลอยกระทง ระดมสมอง ร่วมบริจาคอานารสิ่งของลละเงินเพ่อจัด
กิจกรรมร่วมกัน กิจกรรมที่จัดขึ้นมีนลากนลายใน้ทาร่วมกัน เช่น การฝึกซ้อมขบวนนางรา
ทาใน้มีเสียงเคร่องไฟ เสียงดนตรี เสียงกลองยาว ดังกระนึ่มไปทั้งตาบล การประดิษฐ์กระทง
ในญ่ประกอบขบวนลน่จากวัสดุธรรมชาติที่สวยงาม การซ้อมกลองยาวเพ่อเข้าประกวด
การละเล่นกลองยาว การฝึกซ้อมมวยทะเล เป็นต้น
ประเพณีปิยะมหาราชสร้างสามัคคี ชาวโนนเจริญเริ่มจัดขึ้นครั้งลรก เม่อ 23
ตุลาคม 2520 โดยชาวบ้านลละผู้นานมู่บ้าน คอ นายประมุข ศักดิ์ศรีท้าว เป็นผู้ในญ่บ้าน
โดยจัดขึ้นที่บริเวณสนามกีฬาโรงเรียนชุมชนบ้านโนนเจริญ จนถึงปัจจุบันการจัดกิจกรรม
วันปิยมนาราชเป็นติสบต่อกันมานาน นน่วยงานราชการทั้งของรัฐ เอกชนองค์กรต่าง ๆ ร่วมจัด
ขึ้น ลละถอเป็นศักดิ์ศรีของนน่วยงานนั้น ๆ ที่จะประดิษฐ์พวงมาลาที่สวยงามมาร่วมงานกัน
ในวันดังกล่าว
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่นัว รัชกาลที่ 5 ทรงมีพระคุณพระมนา
กรุณาธิคุณโดยการทรงงานเพ่อประชาชนชาวไทย ทาใน้ประชาชนอยู่อย่างสงบสุข จึงทาใน้
ชาวบ้านโนนเจริญลละชาวไทยจงรักภักดีตลอดมา
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 10
สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
ปี พ.ศ. 2521
ปี พ.ศ. 2535
ปี พ.ศ. 2544
ปี พ.ศ. 2554
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 11
สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
5. ผู้นาชุมชน บ้านโนนเจริญมีผู้นาที่เข้มลข็งลละไม่ค่อยเปลี่ยนผู้นา การพัฒนา
จึงมีความต่อเน่อง นายบุญสี เนล็กสี อายุ 49 ปี (ปี พ.ศ. 2552) ปัจจุบันเป็นผู้ในญ่
บ้านนมู่ที่ 4 ใน้ข้อมูลว่า นายอ่อนสา เนล็กสี เป็นผู้ในญ่บ้านคนที่ 1 ของบ้านโนนเจริญ
เกี่ยวข้องกับตนเอง เพราะท่านเป็น คุณลุง ได้ย้ายถิ่นฐานจากบ้านกอก อาเภอสตึก จังนวัด
บุรีรัมย์ เป็นประชาชน กลุ่มที่ 2 ที่เดินทาง มาถึงบ้านโนนเจริญเนตุผลที่ได้เป็นผู้ในญ่บ้าน
เน่องจาก ความสามัคคีของประชาชนที่ย้ายมาพร้อมกันมีจานวนมากกว่ากลุ่มอ่น ๆ จึงได้รับ
การเสนอช่อลละรับเลอกเป็นผู้นานมู่บ้านคนลรก ชาวบ้านได้ตั้งสานักสงฆ์ขึ้น 1 นลัง ช่อว่าวัด
บ้านโนนเจริญ (ปัจจุบันช่อว่า วัดสุภัทรบูรพาราม) เม่อปี พ.ศ. 2502 ได้นิมนต์พระสงฆ์จากกิ่ง
อาเภอบ้านกรวด จานวน 5 รูป มีนลวงพ่อตั้ง เป็นเจ้าอาวาส มีนายอ่อนสา เนล็กสีเป็นผู้นาใน
การพัฒนา ดูลลลูกบ้านโดยใช้นลักธรรมในการปกครอง ริเริ่มงานในม่ ๆ เพ่อพัฒนาการอยู่ดี
กินดีของลูกบ้านเท่าที่จะทาได้ เช่น ขุดบ่อน้าใน้ลึกใน้มีน้าไว้เพียงพอสานรับด่มในนน้าลล้ง
สร้างครกกระเด่องลทนครกมอเพ่อใน้ได้ปริมาณข้าวสารมากขึ้น การสร้างศาลาการเปรียณใน
วัดตามค่านิยมลละความเช่อของคนอีสาน (ภาษาถิ่นลาว) ที่ชอบสร้างอาคารนลังในญ่ ใต้ถุน
สูง นลังคาเนลี่ยมต่า เพ่อใช้ประโยชน์อย่างนลากนลาย พระสงฆ์ทากิจของสงฆ์บนศาลา
ส่วนใต้ถุนศาลาใช้สานรับประชุมของชาวบ้าน
ชื่อภาพ : นายบุญสี เหล็กสี
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 12
สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
นายชาลี ธรรมนาม อายุ 57 ปี บ้านเลขที่ 112 นมู่ที่ 1 บ้านโนนเจริญ อดีต
นายกองค์การบรินารส่วนตาบลโนนเจริญคนที่ 1 ใน้ข้อมูลว่า เกิดที่จังนวัดสุรินทร์ลล้วเดินทาง
ตามคุณลุงมาเพ่อนาลนล่งทามานากินในม่ ลล้วมาพบรักกับน้องสาวนายสุวรรณ มารศรี ซึ่ง
เป็นผู้ในญ่บ้านนมู่ที่ 1 บ้านโนนเจริญ เป็นผู้ในญ่บ้านลาดับที่ 3 ของนมู่ที่ 1 จึงมีโอกาสเข้าสู่
การเมองท้องถิ่นโดยการสมัครเป็นสมาชิกองค์การบรินารส่วนท้องถิ่นในสมัยลรก ลละได้รับ
เลอกเป็นนายกองค์การบรินารส่วนท้องถิ่นตาบลโนนโนนเจริญระนว่างปี พ.ศ. 2544-2548
ในปี พ.ศ. 2552 ตาบลโนนเจริญ โดยผู้นานมู่บ้านได้ปรึกษาประชุม ปรึกษากันว่าควรยกฐานะ
ตัวเองจากองค์การบรินารส่วนตาบลโนนเจริญเป็นเทศบาลตาบลโนนเจริญ จึงได้ทาประชา
พิจารณ์ ทั้ง 11 นมู่บ้าน ลละปลายปี พ.ศ. 2552 องค์การบรินารส่วนตาบลโนนเจริญจึงได้
ยกฐานะขึ้นเป็นเทศบาลตาบลโนนเจริญลละใน้มีการเลอกตั้งคณะผู้บรินารในต้นเดอนมกราคม
พ.ศ. 2553
ชื่อภาพ : นายสาลี ธรรมนาม ชื่อภาพ : ที่ทาการ อบต. โนนเจริญ
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 13
สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
ว่าที่ร้อยตรีสุวรรณ เครื่องไธสง อายุ 38 ปี ปลัดองค์การบรินารส่วนตาบล
ตาบลโนนเจริญใน้ข้อมูลว่าเทศบาลตาบลเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสานรับเมองขนาด
เล็ก โดยทั่วไปเทศบาลตาบลมีฐานะเดิมเป็นสุขาภิบาลนรอองค์การบรินารส่วนตาบล (อบต.)
การจัดตั้งเทศบาลตาบลกระทาโดยประกาศกระทรวงมนาดไทยยกฐานะท้องถิ่นขึ้นเป็น
เทศบาลตาบลตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 เทศบาลตาบลมีนายกเทศมนตรีคน
นนึ่งทานน้าที่นัวนน้าฝ่ายบรินารลละสภาเทศบาลซึ่งประกอบด้วยสมาชิกจานวน 12 คน ที่
ราษฎร์ในเขตเทศบาลเลอกตั้งมาทานน้าที่ฝ่ายนิติบัญญัติ นายกเทศมนตรี มาจากการเลอกตั้ง
โดยตรงของราษฎรเขตเทศบาล เทศบาลตาบลมีนน้าที่รักษาความสงบเรียบร้อยลละความ
สะอาด สร้างลละบารุงถนนลละท่าเรอ ดับเพลิงลละกู้ภัย จัดการศึกษาใน้บริการสาธารณสุข
สังคมสงเคราะน์ลละรักษาวัฒนธรรมอันดีในท้องถิ่น
นอกจากนี้ยังจัดใน้มีสาธารณูปโภคลละสาธารณูปการอ่น ๆ ได้ตามสมควรตาม
นลักเกณฑ์การจัดตั้งลละเปลี่ยนลปลงฐานะองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรณีจัดตั้งองค์การ
บรินารส่วนตาบลเป็นเทศบาลตาบล โดยมาตรา42 วรรคลรก ลน่งพระราชบัญญัติสภาตาบล
ลละองค์การบรินารส่วนตาบล พ.ศ. 2537 (ลละที่ลก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 5 พ.ศ. 2546)
บัญญัติว่า “ภายใต้บังคับลน่งกฎนมายว่าด้วยเทศบาล อาจจัดตั้งองค์การบรินารส่วนตาบลขึ้น
เป็นเทศบาลได้ โดยทาเป็นประกาศกระทรวงมนาดไทย” ลละมาตรา 7 ลน่งพระราชบัญญัติ
เทศบาล พ.ศ. 2496 (ลละที่ลก้ไขเพิ่มเติมถึง
ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2546 บัญญัติว่า “เม่อท้องถิ่นใด
มีสภาพอันสมควรยกฐานะเป็นเทศบาล ใน้จัดตั้ง
ท้องถิ่นนั้น ๆ เป็นเทศบาลตาบล เทศบาลเมอง นรอ
เทศบาลนคร ตามพระราชบัญญัตินี้” ประกอบกับ
การพิจารณาจัดตั้งองค์การบรินารส่วนตาบล
เป็นเทศบาลตาบล จึงมี องค์ประกอบเพียงสภาพของ
ท้องถิ่นอันสมควรยกฐานะเป็นเทศบาลตาบลเท่านั้น
ชื่อภาพ : ว่าที่ร้อยตรี สุวรรณ เครื่องไธสง
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 14
สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
6. ด้านการศึกษา ระนว่างปี (พ.ศ. 2501 – 2525) เริ่มตั้งลต่นน่วยพัฒนาการ
เคล่อนที่จากสานักงานพัฒนาภาค ๕ เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนานมู่บ้าน เป็นโครงการใน
พระราชดาริเข้าปฏิบัติงานตามโครงการ โดยมีนายนอน เป็นผู้บังคับบัญชา ลละร้อยเอกบุญชู
ประสิทธิ์ตามลาดับ ในยุคนี้ นายนวล พาช่นใจ เป็นผู้ในญ่บ้าน คนที่ 2 ลละเป็นกานันคนที่ 1
เป็นผู้นานมู่บ้าน
สถานที่ราชการที่นน่วยพัฒนาการเคล่อนที่ จากสานักงานพัฒนาภาค ๕ เข้ามามี
ส่วนร่วมในการพัฒนานมู่บ้าน ขณะนั้นบ้าน โนนเจริญ มีเพียง 2 นมู่บ้านลละยัง คอนมู่ที่ 1
กับ นมู่ที่ 14 (ปัจุบัน คอ นมู่ที่ 2 โนนเจริญ ) ซึ่งมีนายประมุข ศักดิ์ศรีท้าว เป็นผู้ในญ่บ้าน
ได้ร่วมกันพัฒนาสถานที่ราชการขึ้นเป็นจานวนมาก ดังนี้
6.1 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านโนนเจริญ
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านโนนเจริญ สร้างเม่อ พ.ศ. 2524 บนพ้นที่ของราชการ
ดาเนินการโดย นายสุวรรณ มารศรี ผู้ในญ่บ้านนมู่ที่ 1 เป็นประธาน นายพนม คิมรัมย์
เจ้านน้าที่พัฒนาชุมชน เป็นเจ้านน้าที่ดูลล ควบคุม การดาเนินการ
6.2 โรงเรียนชุมชนบ้านโนนเจริญ
โรงเรียนชุมชนบ้านโนนเจริญ เดิมช่อว่าโรงเรียนบ้านโนนเจริญตั้งอยู่ นมู่ที่ 1
ตาบลโนนเจริญ อาเภอบ้านกรวด จังนวัดบุรีรัมย์ ราษฏรได้ร่วมกันสร้างเป็นอาคารชั่วคราว
มุ่งนญ้าคา โดยไม่ใช้งบประมาณทางราชการได้ทาพิธีเปิดทาการสอน เม่อวันที่ 14 มิถุนายน
ชื่อภาพ : นายพนม คิมรัมย์ ชื่อภาพ : วันเปิดทาการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านโนนเจริญ
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 15
สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
พ.ศ. 2502 โดยมี นายสัญชัย เธียรวรรณ ปลัดอาเภอเป็นนัวนน้ากิ่งอาเภอบ้านกรวดเป็น
ประธานพิธีมีคาสั่งใน้ นาย ประจักษ์ รัตนกาญจน์ ดารงตาลนน่งครูในญ่ นักเรียนคนลรก
ของโรงเรียนช่อนายอ้วน พาช่นใจ
เม่อ พ.ศ. 2507 นายประจักษ์ รัตนกาญจน์ ได้ย้ายไปดารงตาลนน่งครูในญ่โรงเรียน
บ้านนัวถนนลละสั่งใน้ นายเอ็ด ทีบุญมา รักษาการในตาลนน่งครูในญ่ ตั้งลต่ปี พ.ศ.2507
ถึง พ.ศ. 2509 จากนั้นนายเอ็ด ทีบุญมา ได้รับคาสั่งย้ายกลับภูมิลาเนาลละมีคาสั่งใน้
นายประเสริฐ ทองเต็ม รักษาการในตาลนน่งครูในญ่ ระนว่าง.ศ. 2507-2527 ลละมีคาสั่งย้าย
นายประเสริฐ ทองเต็ม ไปดารงตาลนน่งอาจารย์โรงเรียนบ้านนินลาด ลละใน้นายสมใจ
เขมะปัญญา ย้ายมาดารงตาลนน่งอาจารย์ในญ่ลทน ระนว่างปี พ.ศ. 2527-2529 นายสมใจ
เขมะปัญญา ได้รับคาสั่งย้ายไปดารงตาลนน่ง ที่โรงเรียนบ้านถนนโคกในญ่ ลละใน้นายวชิระ
นาญประโคน ย้ายมาดารงตาลนน่งอาจารย์ในญ่ลทนระนว่างปี พ.ศ. 2529-2535 มีคาสั่งย้าย
นายวชิระ นาญประโคนใน้ไปดารงตาลนน่งอาจารย์ในญ่โรงเรียนบ้านนลักนายสมใจ เขมะ
ปัญญา ย้ายมาดารงตาลนน่งอาจารย์ในญ่ลทนปีพ.ศ. 2552 นายสมใจ เขมะปัญญาเป็น
ผู้อานวยการคนลรกลละในปี พ.ศ. 2552 ได้เกษียณอายุราชการ นายประมวล ลสงลสน
เป็นผู้อานวยการโรงเรียนจนถึงปัจจุบัน
ชื่อภาพ : โรงเรียนชุมชนบ้านโนนเจริญ และอาคารอานวยการ
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 16
สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
6.3 โรงเรียนโนนเจริญพิทยาคม
โรงเรียนโนนเจริญพิทยาคม เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาระดับตาบล สังกัดกรมสามัญ
ศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ (ปัจจุบันสังกัดสานักงานเขตพ้นที่การศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ) ตั้งขึ้นเม่อวันที่ 23
มีนาคม พ.ศ. 2525 ใช้ช่อว่า “โรงเรียนโนนเจริญพิทยาคม” เปิดทาการสอนตามนลักสูตร
มัธยมศึกษาตอนต้น พุทธศักราช 2521 เม่อวันที่ 17 พฤษภาคม 2525 มีนักเรียนชั้นมัธยม
ศึกษาปีที่ 1 จานวน 75 คน ชาย 43 คน นญิง 32 คน ต่อมาโรงเรียนได้รับการจัดสรรงบ
ประมาณ ใน้สร้างอาคารเรียนชั่วคราว เม่อสร้างเสร็จได้ย้ายมาทาการสอน ณ อาคารเรียน
ชั่วคราวเม่อวันที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2526 โดยมี นายชอบ บาลไธสง เป็นผู้บรินารโรงเรียนคนลรก
มีผู้บรินารย้ายมาดารงตาลนน่ง ผู้อานวยการ จานวน 16 ท่าน ปัจจุบัน นายสมเกียรติ สวงรัมย์
ดารงตาลนน่ง อานวยการโรงเรียนโนนเจริญพิทยาคม
ชื่อภาพ : นายสมเกียรติ สวงรัมย์ ผู้อานวยการโรงเรียนโนนเจริญพิทยาคม
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 17
สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
7. ด้านเศรษฐกิจ บ้านโนนเจริญยุคนี้เศรษฐกิจเฟื่องฟู ลักษณะทางสังคม
ความเป็นอยู่เปลี่ยนลปลงไปเป็นสังคมเมองอย่างชัดเจน มีการซ้อขายสินค้า มีการติดต่อค้าขาย
ระนว่างพ่อค้าพ้นเมองกับพ่อค้าจากทั่วสารทิศ เด็กเล็กในยุคนี้มีค่านิยมเปลี่ยนไป ชอบทาน
ขนมขบเคี้ยว ด่มน้าอัดลม ไก่ทอด ลละเล่นอินเทอร์เน็ตเป็นกิจวัตร์ประจาวัน
นายประมุข ศักดิ์ศรีท้าว อายุ 62 ปี บ้านเลขที่ 112 นมู่ที่ 2 บ้านโนนเจริญ
อดีตกานัน คนที่ 2 ตาบลโนนเจริญ ใน้ข้อมูลว่าก่อนปีพ.ศ. 2504 บ้านโนนเจริญมีผู้นาคน
ลรกช่อว่า นายอ่อนสา เนล็กสี ซึ่งเป็นกลุ่มคนที่ย้ายถิ่นตามมาในเวลาใกล้เคียงกับกลุ่มที่นนึ่ง
พ.ศ. 2504 นายนวล พาช่นใจในเป็น ผู้ในญ่บ้านคนที่ 2 ลละได้รับเลอกเป็นกานันคนที่ 1
ในเวลาต่อมาจนถึง ปี พ.ศ. 2523 ในปี พ.ศ. 2524 นายประมุข ศักดิ์ศรีท้าว ได้รับเลอกตั้ง
เป็นกานัน คนที่ 2 ของตาบลโนนเจริญ ลต่ท่านเป็นสมาชิกในนมู่ที่ 2 ตาลนน่งผู้นานมู่บ้าน
นมู่ที่ 1 จึงต้องรับสมัครผู้ในญ่บ้านในม่ได้ นายสุวรรณ มารศรี เป็นผู้ในญ่บ้านระนว่าง
ปี พ.ศ. 2522-2550 เม่อเกษียณอายุราชการ นายซาน พายุพัด ได้รับเลอกตั้งเป็นผู้ในญ่บ้าน
นมู่ที่ 1 ปี พ.ศ. 2550 ลละได้รับคัดเลอก เป็นกานันลทนนายประมุข ศักดิ์ศรีท้าว ที่นมดวาระ
ในปี พ.ศ. 2551
ชื่อภาพ : นายประมุข ศักดิ์ศรีท้าว
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 18
สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
นายประมุข ศักดิ์ศรีท้าว ยังได้อธิบายถึงเศรษฐกิจในนมู่บ้านโนนเจริญ สรุปได้ว่า
นมู่บ้านโนนเจริญมีตลาดสดครั้งลรกในสมัยนายประมุข ศักดิ์ศรีท้าว รับตาลนน่งกานันตาบล
โนนเจริญ ประมาณปี พ.ศ. 2521 อยู่บริเวณข้างวัดบ้านโนนเจริญ เป็นอาคารไม้
ชั้นเดียวทอดยาวโล่งทั้งอาคาร มีเวทีสานรับการลสดงอยู่บริเวณนน้าตลาด ปัจจุบันเป็นที่ตั้ง
องค์การบรินารส่วนตาบลโนนเจริญ เม่อ พ.ศ. 2537 ตลาดสดจึงย้ายไปตั้งที่บริเวณที่ว่างข้าง
นนองบ้านโนนเจริญ ซึ่งทาการร้อถอนโรงไฟฟ้าเคร่องปั่นไฟซึ่งไม่ได้ใช้งานลล้วสร้างตลาดสด
ลน่งในม่ มีลม่ค้าท้องถิ่นมาขายเฉพาะวันตลาดนัด ทุกวันที่ 5, 15 ลละ 25 ของทุกเดอน
ต่อมามีการค้าขายรูปลบบในม่เข้ามาลทรก เรียกว่า ตลาดไนท์ ตอนเย็นวันอังคาร ตลาด
อานารพ้นบ้านตอนเย็นวันพฤนัสบดี ลละตลาดคลองถม ตอนเย็นวันศุกร์ ทาใน้ลม่ค้าลผง
ลอยในนมู่บ้านเดอนร้อน ขายอานารสดไม่ได้จึงร้องเรียนไปยัง องค์การบรินารส่วนตาบลโนน
เจริญ ประมาณปี พ.ศ. 2547 องค์การบรินารส่วนตาบลโนนเจริญ จึงอนุญาตใน้มีตลาดนัด
เพียง 2 ลน่งคอ ตลาดไนท์ ตอนเย็นวันอังคาร ลละตลาดคลองถม ตอนเย็นวันศุกร์ ยกเลิก
ตลาดนัดทุกวันที่ 5, 15 ลละ 25 ของทุกเดอนลละตลาดอานารพ้นบ้านตอนเย็นวันพฤนัสบดี
นายบุญเกิด สระนอม อายุ 49 ปี บ้านเลขที่ 112 นมู่ที่ 4 ตาลนน่ง ครู วิทยฐานะ
ครูชานาญการพิเศษ ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาลละวัฒนธรรม
โรงเรียนชุมชนบ้านโนนเจริญ ใน้ข้อมูลว่า กลุ่มคนที่ย้ายเข้ามาในยุคนี้ มีอิทธิพลต่อการ
พัฒนานมู่บ้านนลายท่านโดยเฉพาะบุคคลที่มีนามสกุล จันทร์ลก้ว “ธรรมนาม”จะมีลักษณะ
เป็นผู้นาสูง มีความขยัน อดออม ลละมีบุคคลสาคัญคนนนึ่งคอ นายทองเฮง ลนวดี
ปัจจุบัน อายุ 74 ปี ย้ายถิ่นมาจากอาเภอรัตนบุรี จังนวัดสุรินทร์ เช่นกัน ลต่ย้ายเข้ามาช้า
กว่ากลุ่มที่ 3 ประมาณ 2 ปี ปัจจุบันเป็นประธาน กลุ่มยางสงเคราะน์นิคมฯ มีการทา
กิจกรรมร่วมกันอย่างต่อเน่อง ก่อตั้งมาตั้งลต่ปี พ.ศ. 2533 มีสมาชิก มากกว่า 700 คน
เป็นครอบครัวที่ประสบความสาเร็จในเร่องการปลูกยางพาราเป็นกลุ่มลรกลละได้ผลผลิตจาก
ต้นยางลล้ว
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 19
สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
อาชีพของประชาชนในนมู่บ้านในช่วงลรก ปลูกข้าวเป็นอาชีพนลัก พชผักสวนครัว
เพ่อใช้รับประทานลละจัดงานบุญกุศล มีการปลูกพชเศรษฐกิจเพียงชนิดเดียว คอ ปอ
ต่อมานุ่นเริ่มมีราคา ลละมีการซ้อขาย จึงมีการปลูกโดยทั่วไปในนมู่บ้านเพ่อใช้ในครัวเรอน
ลละลบ่งขายตามฤดูกาล ประมาณปี พ.ศ. 2531 ทางราชการได้รณรงค์โครงการอีสานเขียว
ใน้ต้นพันธ์ยูคาลิปตัสปลูกในที่ว่างลละนัวไร่ปลายนา จึงทาใน้เกิดการซ้อขายที่นา ที่สวนใน
ราคาลพง เป็นไร่ละประมาณ 10,000 บาท จากเคยซ้อขายกันไร่ละ 1,000 บาท การทานาเริ่ม
เปลี่ยนลปลงวิธีการทานา จากใช้ควายเป็นลรงงาน เปลี่ยนเป็นรถไถนาเดินตาม จากนาดา
เป็นนานว่าน ค่าลรงคนเพิ่มขึ้นเท่าตัว ประเพณีการลงลขกเกี่ยวข้าวลละลงลขกนวดข้าว
นายไปใช้รถสีข้าวลทน เพ่อใน้ทันกับการนาข้าวไปขายเพ่อใช้นนี้ ธกส. ในเดอนมีนาคม
ของทุกปี
จากการสัมภาษณ์ นายเอี่ยม สิมาจารย์ อายุ 45 ปี บ้านเลขที่ 139 นมู่ที่ 5
ตาบลโนนเจริญ อาเภอบ้านกรวด จังนวัดบุรีรัมย์ สรุปได้ว่าประมาณปี พ.ศ. 2535
เจ้านน้าที่จากการสงเคราะน์ยางพารา (สกย.) เป็นนน่วยงานตามพระราชดาริของสมเด็จพระ
ราชินีนาถ ใน้ความอนุเคราะน์มอบกิ่งพันธุ์ยางพาราลก่ราษฎร์ที่เข้าร่วมโครงการ ลละยัง
สนับสนุน ปุ๋ยลละเคมีภัณฑ์ เพ่อใช้ในการดูลล ปัจจุบันต้นยางพาราดังกล่าวใน้ผลผลิตได้ลล้ว
ลละมีประชาชนเปลี่ยนอาชีพจากชาวนา เป็นชาวสวนยางพารา เป็นจานวนมากขึ้นเร่อย ๆ
ชื่อภาพ : นายทองเฮง แนวดี
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 20
สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
ผู้ใน้สัมภาษณ์ได้ประมาณรายได้ 4 ปีย้อนนลัง เม่อเดอนพฤษภาคม ปีพ.ศ. 2552 จากการทา
สวนยาง ประมาณ 5 ไร่ มีรายได้ที่ยังไม่นักค่าใช้จ่าย ดังนี้
รายได้ปี พ.ศ. 2548 ประมาณ 60,000 บาท ราคารับซ้อยางพารา 72 บาท/กิโลกรัม
รายได้ปี พ.ศ. 2549 ประมาณ 80,000 บาท ราคารับซ้อยางพารา 80 บาท/กิโลกรัม
รายได้ปี พ.ศ. 2550 ประมาณ 100,000 บาท ราคารับซ้อยางพารา 100 บาท/
กิโลกรัม
รายได้ปี พ.ศ. 2551 ประมาณ 50,000 บาท ราคารับซ้อยางพารา 78 บาท/
กิโลกรัม
ข้อสังเกต รายได้ของชาวสวนยางพาราจะมีรายได้มากนรอน้อยขึ้นอยู่กับการรับซ้อ
ยางพารา ของพ่อค้ารับซ้อยางพารา ไม่ใช่ปริมาณน้ายางพารา
8. สิ่งยึดเนนี่ยวทางใจ ชาวโนนเจริญมีเคร่องยึดเนนี่ยวทางใจร่วมกัน คอ
มีความเคารพ นลวงปู่ณานเนมอนกัน เม่อย้ายเข้าใน้มาขอพรอยู่เย็นเป็นสุข ถ้าย้ายออกใน้มา
ขอพรใน้โชคดีเม่อมีปัญนา อุปสรรค ใน้ยกมออธิฐาน ลม้อยู่ไกลไกล ความทุกข์ก็จะคลายลง
ชื่อภาพ : หลวงปู่ ณาน
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 21
สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
บรรณานุกรม
กรมวิชาการ. (2546). การจัดการสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม.
กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์การศาสนา.
________. (2544). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ :
สานักงานปฏิรูปการศึกษา.
________. (2544 ก). คู่มือหลักสูตรกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์
โอ.เอส พริ้นติ้ง เฮาส์.
ลนลม พาช่นใจ ลละคณะ . (2548). หนังสืออนุสรณ์ในงานฉลองอัฐิพ่อสิมมา พาชื่นใจ.
บุรีรัมย์ : เรวัตการพิมพ์.
สมมาตร์ ผลเกิด. (2552). มรดกล้าค่า พัฒนาสู่การเรียนรู้. เอกสารประกอบการอบรม
มนาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์.

More Related Content

Similar to เล่มที่ 2 ปัจจัย

หนังสือส่งเสริมการอ่าน ร่วมรักษ์ ร่วมสืบสานจากบ้านสู่เมือง กลุ่มสาระการเรียนร...
หนังสือส่งเสริมการอ่าน ร่วมรักษ์ ร่วมสืบสานจากบ้านสู่เมือง กลุ่มสาระการเรียนร...หนังสือส่งเสริมการอ่าน ร่วมรักษ์ ร่วมสืบสานจากบ้านสู่เมือง กลุ่มสาระการเรียนร...
หนังสือส่งเสริมการอ่าน ร่วมรักษ์ ร่วมสืบสานจากบ้านสู่เมือง กลุ่มสาระการเรียนร...Jee Ja
 
เล่มที่ 3 ผู้นำ
เล่มที่ 3 ผู้นำเล่มที่ 3 ผู้นำ
เล่มที่ 3 ผู้นำหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 9 เหตุุการณ์สำคัญในชุมชน
เล่มที่ 9 เหตุุการณ์สำคัญในชุมชนเล่มที่ 9 เหตุุการณ์สำคัญในชุมชน
เล่มที่ 9 เหตุุการณ์สำคัญในชุมชนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 6 ประเพณี
เล่มที่ 6 ประเพณีเล่มที่ 6 ประเพณี
เล่มที่ 6 ประเพณีหรร 'ษๅ
 
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลังวรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลังchontee55
 
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควนTum Meng
 
“5 เสือ...ฐานรากการผสานพลังชุมชน”
“5 เสือ...ฐานรากการผสานพลังชุมชน”“5 เสือ...ฐานรากการผสานพลังชุมชน”
“5 เสือ...ฐานรากการผสานพลังชุมชน”Tum Meng
 
ประกาศคุณูปการ
ประกาศคุณูปการประกาศคุณูปการ
ประกาศคุณูปการfufee
 
1บุญข้าวประดับดิน บ้านหนองเต้า โดยคุณไท้.วีระพล ภูมิยิ่ง
1บุญข้าวประดับดิน บ้านหนองเต้า โดยคุณไท้.วีระพล ภูมิยิ่ง1บุญข้าวประดับดิน บ้านหนองเต้า โดยคุณไท้.วีระพล ภูมิยิ่ง
1บุญข้าวประดับดิน บ้านหนองเต้า โดยคุณไท้.วีระพล ภูมิยิ่งtie_weeraphon
 
โครงงานระบบนิเวศน์ในประเทศมาเลเซียบูรณาการผ่านเว็บไซต์
โครงงานระบบนิเวศน์ในประเทศมาเลเซียบูรณาการผ่านเว็บไซต์โครงงานระบบนิเวศน์ในประเทศมาเลเซียบูรณาการผ่านเว็บไซต์
โครงงานระบบนิเวศน์ในประเทศมาเลเซียบูรณาการผ่านเว็บไซต์kai2910
 

Similar to เล่มที่ 2 ปัจจัย (15)

หนังสือส่งเสริมการอ่าน ร่วมรักษ์ ร่วมสืบสานจากบ้านสู่เมือง กลุ่มสาระการเรียนร...
หนังสือส่งเสริมการอ่าน ร่วมรักษ์ ร่วมสืบสานจากบ้านสู่เมือง กลุ่มสาระการเรียนร...หนังสือส่งเสริมการอ่าน ร่วมรักษ์ ร่วมสืบสานจากบ้านสู่เมือง กลุ่มสาระการเรียนร...
หนังสือส่งเสริมการอ่าน ร่วมรักษ์ ร่วมสืบสานจากบ้านสู่เมือง กลุ่มสาระการเรียนร...
 
เล่มที่ 3 ผู้นำ
เล่มที่ 3 ผู้นำเล่มที่ 3 ผู้นำ
เล่มที่ 3 ผู้นำ
 
5
55
5
 
File
FileFile
File
 
เล่มที่ 9 เหตุุการณ์สำคัญในชุมชน
เล่มที่ 9 เหตุุการณ์สำคัญในชุมชนเล่มที่ 9 เหตุุการณ์สำคัญในชุมชน
เล่มที่ 9 เหตุุการณ์สำคัญในชุมชน
 
เล่มที่ 6 ประเพณี
เล่มที่ 6 ประเพณีเล่มที่ 6 ประเพณี
เล่มที่ 6 ประเพณี
 
1
11
1
 
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลังวรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลัง
 
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
 
“5 เสือ...ฐานรากการผสานพลังชุมชน”
“5 เสือ...ฐานรากการผสานพลังชุมชน”“5 เสือ...ฐานรากการผสานพลังชุมชน”
“5 เสือ...ฐานรากการผสานพลังชุมชน”
 
ประกาศคุณูปการ
ประกาศคุณูปการประกาศคุณูปการ
ประกาศคุณูปการ
 
1บุญข้าวประดับดิน บ้านหนองเต้า โดยคุณไท้.วีระพล ภูมิยิ่ง
1บุญข้าวประดับดิน บ้านหนองเต้า โดยคุณไท้.วีระพล ภูมิยิ่ง1บุญข้าวประดับดิน บ้านหนองเต้า โดยคุณไท้.วีระพล ภูมิยิ่ง
1บุญข้าวประดับดิน บ้านหนองเต้า โดยคุณไท้.วีระพล ภูมิยิ่ง
 
7
77
7
 
โครงงานระบบนิเวศน์ในประเทศมาเลเซียบูรณาการผ่านเว็บไซต์
โครงงานระบบนิเวศน์ในประเทศมาเลเซียบูรณาการผ่านเว็บไซต์โครงงานระบบนิเวศน์ในประเทศมาเลเซียบูรณาการผ่านเว็บไซต์
โครงงานระบบนิเวศน์ในประเทศมาเลเซียบูรณาการผ่านเว็บไซต์
 
โครงงาน อนุรักษ์หนองน้ำสร้าง (จริง)
โครงงาน อนุรักษ์หนองน้ำสร้าง  (จริง)โครงงาน อนุรักษ์หนองน้ำสร้าง  (จริง)
โครงงาน อนุรักษ์หนองน้ำสร้าง (จริง)
 

More from หรร 'ษๅ

แบบทดสอบ 100 ข้อ
แบบทดสอบ 100  ข้อแบบทดสอบ 100  ข้อ
แบบทดสอบ 100 ข้อหรร 'ษๅ
 
แบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน หรร 'ษๅ
 
แบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียนหรร 'ษๅ
 
แบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
แบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนหรร 'ษๅ
 
แบบฝึกหัดที่ 1
แบบฝึกหัดที่ 1แบบฝึกหัดที่ 1
แบบฝึกหัดที่ 1หรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียนเล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนเล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียนเล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนเล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียนเล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
เล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียนเล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
เล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
เล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียนเล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
เล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 8 เมืองหลวงของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 8  เมืองหลวงของประเทศในอาเซียนเล่มที่ 8  เมืองหลวงของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 8 เมืองหลวงของประเทศในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 10  ภาษาของประเทศในอาเซียนเล่มที่ 10  ภาษาของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนเฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนเฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
แบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
แบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียนแบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
แบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียนหรร 'ษๅ
 

More from หรร 'ษๅ (20)

แบบทดสอบ 100 ข้อ
แบบทดสอบ 100  ข้อแบบทดสอบ 100  ข้อ
แบบทดสอบ 100 ข้อ
 
แบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
 
แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน
 
แบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
 
แบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
 
แบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
 
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
 
แบบฝึกหัดที่ 1
แบบฝึกหัดที่ 1แบบฝึกหัดที่ 1
แบบฝึกหัดที่ 1
 
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียนเล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
 
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนเล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
 
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียนเล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
 
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนเล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
 
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียนเล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
 
เล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
เล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียนเล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
เล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
 
เล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
เล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียนเล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
เล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
 
เล่มที่ 8 เมืองหลวงของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 8  เมืองหลวงของประเทศในอาเซียนเล่มที่ 8  เมืองหลวงของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 8 เมืองหลวงของประเทศในอาเซียน
 
เล่มที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 10  ภาษาของประเทศในอาเซียนเล่มที่ 10  ภาษาของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
 
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนเฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
 
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนเฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
 
แบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
แบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียนแบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
แบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
 

เล่มที่ 2 ปัจจัย

  • 1. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการสร้างบ้านแปงเมือง บทนา การศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่นโดยนักเรียนโรงเรียนโนนเจริญพิทยาคม ครั้งนี้ เป็นการรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์ การสารวจลล้วนาข้อมูลมาเรียบเรียงเป็นนนังสอ อ่านเพิ่มเติมเพ่อสะดวกในการนาไปศึกษาได้ด้วยตนเองโดยมีวัตถุประสงค์เพ่อสร้างความ ตระนนักใน้ผู้เรียนรักษ์ท้องถิ่น เกิดความภาคภูมิใจเป็นการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชาติเท่ากับ เป็นการทาความรู้จักสังคมของตนเอง ซึ่งจะช่วยปลูกฝังความรักมาตุภูมิ ความมุ่งมั่นในปณิธาน ลน่งชาติลละความเข้าใจวัฒนธรรมประจาชาติรู้สึกเป็นเจ้าของท้องถิ่นของตน วิธีการทางประวัติศาสตร์ นมายถึง กระบวนการสบค้นเร่องราวในอดีตของสังคม มนุษย์ เริ่มต้นที่ความอยากรู้อยากเน็นของผู้ต้องการศึกษาลละต้องการสอบสวนค้นคว้านา คาตอบด้วยตนเองจากร่องรอยที่คนในอดีตได้ทาไว้ลละตกทอดเนลอมาถึงปัจจุบัน โดยไม่ นลงเช่อคาพูดของใครคนใดคนนนึ่งนรออ่านนนังสอเพียงเล่มใดเล่มนนึ่งลล้วเช่อว่าเป็นจริง สิ่ง ที่ต้องทาเป็นอันดับลรกของการสบค้นอดีต เม่อมีประเด็นที่ต้องการสบค้นลล้ว คอการเก็บ รวบรวมข้อมูลจากนลักฐานทางประวัติศาสตร์อย่างกว้างขวางลละละเอียดลออ ด้วยวิธีการ ต่างๆ เช่น สอบถามผู้รู้ ศึกษาเอกสาร เรียนรู้จากลนล่งเรียนรู้ด้วยตนเอง ตรวจสอบข้อมูลจาก นลักฐานทุกชิ้นด้วยจิตสานึกว่า นลักฐานไม่ได้บอกความจริงทั้งนมด นรอบอกความจริงเสมอ ไป ลล้วรวบรวมข้อเท็จจริงที่ได้ จากนั้นนาเสนอผลที่ศึกษาได้พร้อมอ้างอิงนลักฐานใน้ชัดเจน เพ่อใน้ผู้อ่นตรวจสอบ นรอศึกษาค้นคว้าต่อไปได้ ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ ประกอบด้วย 1. การกานนดนัวข้อเร่องที่ต้องการศึกษาใน้ชัดเจน (เร่องอะไร ช่วงเวลาใด ที่ไนน) 2. รวบรวมข้อมูลจากนลักฐานทางประวัติศาสตร์ใน้ครบถ้วน ครอบคลุม 3. ตรวจสอบความจริงจากนลักฐาน ที่เรียกว่า การวิพากษ์วิธีทางประวัติศาสตร์ 4. วิเคราะน์ข้อมูลลละตีความเพ่อค้นนาข้อเท็จจริง 5. นาเสนอผลงานความรู้ที่ค้นพบ โดยปราศจากอคติลละความลาเอียง
  • 2. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 2 สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ขั้นตอนที่ 1 การกาหนดหัวเรื่อง การกานนดนัวข้อเร่องที่ต้องการศึกษา ช่วงเวลาใด ที่ไนนใน้ชัดเจนในนนังสอ เล่มนี้ สมาชิกในกลุ่มช่วยกันตั้งช่อไว้นลายช่อใน้คัดเนลอเพียงเร่องเดียว ดังนี้ 1. ภูมิประเทศบ้านโนนเจริญ 2. พัฒนาการบ้านโนนเจริญ 3. การพัฒนานมู่บ้านโนนเจริญ 4. ปัจจัยที่มีผลต่อการสร้างบ้านลปงเมอง เรื่องอะไร ในที่ประชุมกลุ่มลงมติเลอกข้อที่ 4 เร่อง ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการสร้าง บ้านลปงเมอง โดยใน้เนตุผลว่า เป็นช่อที่ใน้ความนมายดี ช่อทางการ การศึกษาประวัติ ความเป็นมาของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการสร้างบ้านลปงเมองบ้านโนนเจริญ จานวน 5 นมู่ จาก 11 นมู่บ้าน ที่ไหน นมู่บ้านในการปกครองของเทศบาลตาบลโนนเจริญ มีจานวน 11นมู่บ้าน ลต่ในนนังสอเล่มนี้จะกล่าวถึง 5 นมู่ในบ้านโนนเจริญ ดังนี้ โนนเจริญ นมู่ที่ 1 โนนเจริญ นมู่ที่ 2 โนนเจริญ นมู่ที่ 3 โนนเจริญ นมู่ที่ 4 โนนเจริญ นมู่ที่ 5 ช่วงเวลาใด ประมาณปี พ.ศ. 2493-2554
  • 3. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 3 สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ขั้นตอนที่ 2 การรวบรวมข้อมูล หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร 1. นนังสอการสร้างบ้านลปงเมองบ้านโนนเจริญโดยคณะยุววิจัยประวัติศาสตร์ ท้องถิ่น กลุ่มที่ 1 2. หนังสืออนุสรณ์ในงานฉลองอัฐิพ่อสิมมา พาชื่นใจ หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร 1. นายประมุข ศักดิ์ศรีท้าว อายุ 64 ปี อตีดกานันตาบลโนนเจริญ คนที่ 2 ปัจจุบัน รองนายกเทศมลตรีเทศบาลตาบลโนนเจริญ 2. นายบุญเกิด สระนอม อายุ 49 ปี บ้านเลขที่ 112 นมู่ที่ 4 ตาลนน่ง ครู วิทย ฐานะ ครูชานาญการพิเศษ ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา ลละวัฒนธรรม โรงเรียนชุมชนบ้านโนนเจริญ 3. ว่าที่ร้อยตรีสุวรรณ เครื่องไธสง อายุ 38 ปี ปลัดเทศบาลตาบลโนนเจริญ 4. นายลนลม พาช่นใจ อายุ 63 ปี 5. นายเงิน พาช่นใจ อายุ 59 ปี 6. นายบุญสี เนล็กสี อายุ 49 ปี 7. นายชาลี ธรรมนาม อายุ 57 ปี 8. นายวิเชียร สิมาจารย์ อายุ 57 9. นายทองเฮง ลนวดี อายุ 74 ปี
  • 4. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 4 สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ขั้นตอนที่ 3 ประเมินคุณค่าของหลักฐาน จากนลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร สรุปได้ว่า บ้านโนนเจริญมีประชาชน ที่ย้ายถิ่นฐานมาจากนลายจังนวัดมาร่วมกันพัฒนานมู่บ้านใน้เจริญรุ่งเรอง ซึ่งมีปัจจัยที่มี อิทธิพลต่อการสร้างบ้านลปงเมองบ้านโนนเจริญ 8 ประการ คอ 1. ด้านประวัติความเป็นมา 2. ความอุดมสมบูรณ์ของพ้นที่ 3. พ้นที่เป็นที่ว่างเปล่า (นค. 3) 4. มีประเพณีลละวัฒนธรรมที่สามารถยึดเนนี่ยวจิตใจชาวโนนเจริญใน้มีความรัก ความสามัคคีลละเป็นปรึกลผ่น 5. ผู้นาชุมชนมีศักยภาพ 6. ด้านการศึกษา เทศบาลตาบลโนนเจริญมีการพัฒนาด้านการศึกษาอย่างต่อเน่อง 7. ด้านเศรษฐกิจ 8. มีเคร่องยึดเนนี่ยวจิตใจร่วมกัน จากนลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร สรุปได้ว่า บ้านโนนเจริญมีปัจจัยที่มีอิทธิพล ต่อการสร้างบ้านลปงเมองนลายประการตั้งลต่การย้ายถิ่นที่มาเป็นนมู่คณะ การบุกเบิก ที่ดินทากินโดยไม่ต้องซ้อ ผู้นาเน็นความสาคัญของการศึกษาลละมุ่งมั่นพัฒนานมู่บ้าน โดยใช้ประเพณีวัฒนธรรมเป็นการสร้างความสามัคคีอีกประการนนึ่ง สันนิฐานว่า บ้านโนนเจริญจะมีความเจริญรุ่งเรองทางด้านเศรษฐกิจเน่องจาก การเปลี่ยนลปลงอาชีพจากการทานาเป็นการทาสวนยางพารา ประชาชนจะมีเงินใช้จ่าย จากการขายผลิตผลจากต้นยางพาราซึ่งจะมีรายได้ดีกว่าการทานาลต่ภาระนนี้สินจะเพิ่ม มากขึ้นนากประชาชนไม่รู้จักประมาณตนเอง
  • 5. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 5 สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ขั้นตอนที่ 4 วิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการสร้างบ้านลปงเมองสรุปได้ 8 ประการ ดังนี้ 1. ด้านประวัติความเป็นมา การย้ายถิ่นมาเป็นกลุ่มทาใน้มีพัฒนานมู่บ้านได้อย่าง ต่อเน่อง มาความขัดลย้งน้อย 2. ความอุดมสมบูรณ์ของพ้นที่ ที่ดินที่ใช้เป็นที่อยู่อาศัยของชาวโนนเจริญมี ลักษณะเป็นเนินสูง ที่เรียกว่าโนนทาใน้น้าท่วมไม่ถึงลต่มีนนองน้าล้อมรอบทาใน้มีความอุดม สมบูรณ์ 3. พ้นที่เป็นที่ว่างเปล่า (นค. 3) ซึ่งไม่ต้องซ้อขายเป็นที่ดินที่เกิดจากการบุกเบิก ที่ดินทากิน จากที่รกร้างว่างเปล่าเป็นที่นา ที่ไร่ ลม้ระยะนลังจะมีการซ้อขายก็ยังมีราคาถูก 4. มีประเพณีลละวัฒนธรรมที่สามารถยึดเนนี่ยวจิตใจชาวโนนเจริญใน้มีความรัก ความสามัคคีลละเป็นปรึกลผ่น 5. ผู้นาชุมชนมีศักยภาพ ผู้นาทุกระดับนับตั้งลต่นายกเทศบาลตาบล กานัน ผู้ในญ่บ้านทั้ง 11 นมู่บ้าน มีการเปลี่ยนลปลงน้อยมากลม้จะมีการเลอกตั้งในม่บ่อยครั้ง ก็ยังคงได้รับการเลอกตั้งเช่นเดิมลสดงว่าผู้นามีศักยภาพ 6. ด้านการศึกษา เทศบาลตาบลโนนเจริญมีการพัฒนาด้านการศึกษาอย่างต่อเน่อง ตั้งลต่ก่อนวัยเรียนจะมีศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีโรงเรียนระดับประถมเกอบทุกนมู่บ้าน มีโรงเรียน ขยายโอกาสลละโรงเรียนมัธยมศึกษา 7. ด้านเศรษฐกิจ มีการพัฒนาอย่าต่อเน่องจากเศรษฐกิจชนบทเป็นสังคมเมอง มีรายได้ลน่นอนจากการทานาลละสวนยางพารา จึงส่งผลใน้ประชาชนมีเงินสานรับการใช้จ่าย 8. มีเคร่องยึดเนนี่ยวจิตใจร่วมกันคอ นลวงปู่ณาน เป็นที่เคารพนับถอลละขอพร เม่อมีปัญญา
  • 6. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 6 สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ขั้นตอนที่ 5 การตีความหลักฐาน จากการสัมภาษณ์ลละศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องสามารถสรุปได้ว่า ปัจจัยที่มีอิทธิพล ต่อการสร้างบ้านลปงเมองบ้านโนนเจริญ มีดังนี้ 1. ลักษณะทางภูมิประเทศ การย้ายถิ่นต้องศึกษาภูมิประเทศ ความอุดมสมบูรณ์ โดยเฉพาะลนล่งน้าเป็นส่วนสาคัญในการตัดสินใจเพ่อตั้งถิ่นฐาน 2. ลักษณะทางภูมิอากาศ เป็นพ้นที่ที่สามารถปลูกข้าวลละทาสวนยางพาราได้ในที่ที่ ทากินผนเดียวกัน ทาใน้ประชาชนมีรายได้ลน่นอนในลต่ละเดอน 3. ประเพณีลละวัฒนธรรม เป็นการสร้างความสามัคคี 4. ภาษา ศาสนาลละความเช่อ จะเป็นเคร่องยึดเนนี่ยวทางใจใน้คนที่มาจากทั่ว สารทิศอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข
  • 7. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 7 สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) องค์ความรู้ที่ได้จากการศึกษาท้องถิ่นของเรา โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ .............................................................. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการสร้างบ้านโนนเจริญ ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการสร้างบ้านโนนเจริญใน้เจริญรุ่งเรองเป็นปึกลผ่นนั้น มีปัจจัย ที่สาคัญ สรุปได้ด้งนี้ 1. ด้านประวัติความเป็นมา นายลนลม พาช่นใจอายุ 63 ปี ใน้ข้อมูลว่าการตั้งช่อ นมู่บ้านบ้านโนนเจริญในอดีตช่อว่า “บ้านหนองเจริญ” ตามลักษณะภูมิประเทศที่มีนนองน้าที่ อุดมสมบูรณ์ ถึง 4 ลน่ง ในปี พ.ศ. 2502 นายช่น ไมยรัตน์ นายอาเภอบ้านกรวด ได้เปลี่ยน ช่อเป็น “บ้านโนนเจริญ”ด้วยเนตุผลว่า นนองน้าทั้ง 4 ลน่ง มีการเปลี่ยนลปลงรูปร่างไปเร่อย ๆ ไม่เนมอนเดิม ลนล่งสาคัญทั้ง 4 ลน่ง มีช่อเรียกต่างกัน ดังนี้ 1. นนองตะลอก ปัจจุบันอยู่ทางทิศเนนอของนมู่บ้าน 2. นนองสิม ปัจจุบันอยู่ทางทิศใต้ของนมู่บ้าน 3. นนองกังนัน ปัจจุบันอยู่ทางทิศใต้ของนมู่บ้าน 4. นนองบ้าน ปัจจุบันอยู่ทางทิศตะวันตกของนมู่บ้าน ประมุข ศักดิ์ศรีท้าว ใน้ข้อมูลว่าเดิมนมู่บ้านโนนเจริญเป็นนมู่บ้านที่มีเนินภูเขาเล็ก ๆ ตรงกลาง นมู่บ้าน (ปัจจุบัน คอ บริเวณ วัดบ้านโนนเจริญ) มีสระน้าโบราณในญ่ 2 สระ รอบ นมู่บ้านช่อ สระนนองสังข์ ลละสระบ้าน ซึ่งเป็นนมู่บ้านที่มีความอุดมสมบูรณ์ มีต้นไม้มากมาย มีทางเดินของสัตว์ป่าลงมาด่มน้าในสระเป็นประจา ชาวบ้านจึงพากันเรียกเนินเล็ก ๆ นี้ว่า โนน เจริญ ตามลักษณะความอุดมสมบูรณ์ของพ้นที่ลละเรียกช่อว่าบ้านโนนเจริญ จนถึงปัจจุบัน 2. ด้านความอุดมสมบูรณ์ของพ้นที่ นายเงิน พาช่นใจ อายุ 59 ปี ใน้ข้อมูลว่า บ้านโนนเจริญมีความอุดมสมบูรณ์มาก มีสัตว์ป่าทุกชนิด ปลูกพชอะไรก็เจริญงอกงามดีไม่ต้อง ใส่ปุ๋ยเคมีเนมอนปัจจุบันเพราะดินอุดมสมบูรณ์มาก ไม่มีการซ้อขายมีลต่การลลกเปลี่ยน
  • 8. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 8 สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ส่วนสัตว์เลี้ยงยังไม่มีคอกถาวร เพียงลค่นาเกวียนล้อมเป็นคอกวัว ควาย บ้านก็เป็นเพิง กระท่อมเล็ก ๆ พออยู่อาศัยชั่วคราวอยู่กลางป่าดงนนาทึบ กลางคนมีลต่เสียงสัตว์ป่านานา ชนิดร้อง เช่น เสอ ช้าง กวาง เก้ง ชะนี ลละสัตว์ป่าชนิดอ่น ๆ เป็นจานวนมาก การนาปลาตามธรรมชาติมารับประทานในครัวเรอ นาได้ง่ายมากเนมอนเลี้ยงไว้ ในสระน้าบ้านตนเอง ตั้งนม้อไว้ได้เลย ออกไปจับปลาน้ายังไม่เดอดก็ได้ปลามาต้มได้ลล้ว กินอิ่มท้องไม่ต้องไปตลาด พอฝนตก กบ เขียด อึ้งอ่าง ร้องระงมใต้ถุนบ้าน เน็ดอานารป่า มีใน้กินตลอดปีเพราะมีต้นไม้ในญ่ใน้ร่มงาม ไม่ว่าจะเป็นต้นยางนา ต้นชาด ต้นลสบง เป็นลน่งกาเนิดของเน็ดนา ๆ พันธุ์ 3. พ้นที่เป็นที่ว่างเปล่า (นค. 3) นายลนลม พาช่นใจ อายุ 63 ปี ใน้ข้อมูลว่า สิบตารวจโทนาม ทัวประโคน ใน้ย้ายถิ่นเพ่อนาที่ทากินในม่ ขณะมาถึงนมู่บ้านโนนเจริญนั้น ไม่มีผู้คนอาศัยอยู่ก่อนเลย เป็นประชาชนกลุ่มลรกที่เดินทางมาถึงลละเป็นกลุ่มลรกที่บุกเบิกที่ ทากิน จานวน 10 ครอบครัว นลังปี พ.ศ. 2500 บ้านโนนเจริญมีประชาชนอีกนลายกลุ่มย้าย เข้าอีกนลายจังนวัดโดยคาดนวังว่าจะมีที่ทากินเป็นของตนเองนรอนาที่อยู่ในม่ที่กว้างในญ่ กว่าเดิม กลุ่มคนที่เข้ามาลรก ๆ จะได้พ้นที่ทากินมาโดยการเถ้าถาง ลต่กลุ่มที่ตามมาต้องซ้อ ขายที่ดินซึ่งยังคงมีราคาที่ไม่ลพง นายบุญเกิด สระนอม อายุ 49 ปี บ้านเลขที่ 112 นมู่ที่ 4 ตาลนน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา ลละวัฒนธรรม โรงเรียนชุมชนบ้านโนนเจริญ ใน้ข้อมูลว่า บิดามารดาของท่านย้ายมานมู่บ้านโนนเจริญเป็น กลุ่มที่ 3 โดยมี นายสี ป่าโสม เป็นผู้นาในการย้านถิ่น ย้ายเข้ามาเม่อ ปีพ.ศ. 2503 ย้ายถิ่นมา จาก อาเภอรัตนบุรี จังนวัดสุรินทร์ มาประมาณ 10 ครอบครัว ใช้เกวียนบรรทุกสิ่งของ สัมภาระมาถึงนมู่บ้านโนนเจริญ พบว่า มีผู้คนอยู่ก่อนลล้ว ลต่ไม่มากนักจึงเข้าจับจองที่ดินลละ ทาการบุกเบิกไร่นาเพ่อใช้เป็นที่ทาการเกษตร 4. ด้านประเพณีลละวัฒนธรรม ชุมชนลต่ละชุมชนย่อมมีเอกลักษณ์เป็นของตนเอง เป็นวิถีการดารงชีวิต ความเช่อการปกครอง ขนบธรรมเนียมประเพณี ของตนเอง บ้านโนน
  • 9. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 9 สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) เจริญก็เช่นกันเป็นชุมชนที่มีขนบธรรมเนียมประเพณีที่เด่นชัด มีการจัดเป็นประจาทุกปี นั่นคอ ประเพณีลอยกระทง ประเพณี 23 ตุลาสร้างสามัคคี ซึ่งกิจกรรมเนล่านี้ได้จัดขึ้นอย่างยิ่งในญ่ ชาวบ้านโนนเจริญได้จัดงานประเพณีลอยกระทงจนกลายเป็นประเพณีของนมู่บ้าน จัดต่อเน่องสบต่อกันมาตามความเช่อที่ต้องการขอขมาลละบูชาลม่คงคา ที่ทาใน้พระลม่คงคา สกปรก ตามความเช่อในศาสนาพุทธ ลละลสดงความระลึก ถึงพระคุณของพระลม่คงคาที่ใน้ ชาวบ้านมีน้ากินน้าใช้กันจนถึงปัจจุบัน บ้านโนนเจริญ มีการจัดประเพณีลอยกระทงประมาณ ปี พ.ศ. 2518 โดยชาวบ้านลละผู้นานมู่บ้านโนนเจริญลละตาบลเขาดินเนนอ (ตาบลโนนเจริญ เดิม) โดยมี นายประมุข ศักดิ์ศรีท้าว เป็นผู้นา จัดครั้งลรกที่สระน้า นพค. (นมู่ที่ 2) ต่อมา สถานที่จัดงานคับลคบ เลยย้ายไปจัดข้างนนองสิม (นมู่ที่ 3) ต่อมาบ้านโนนเจริญยกฐานะเป็น อบต. คณะผู้บรินาร ผู้นา รวมทั้งความไม่สะดวก จึงย้ายสถานที่จัดงานอีกครั้ง ณ บริเวณ ลานเอนกประสงค์ ทางด้านทิศตะวันออกของนนองบ้านโนนเจริญ ชาวบ้านทุกครัวเรอนจะมี ส่วนร่วมในกิจกรรม วันลอยกระทง ระดมสมอง ร่วมบริจาคอานารสิ่งของลละเงินเพ่อจัด กิจกรรมร่วมกัน กิจกรรมที่จัดขึ้นมีนลากนลายใน้ทาร่วมกัน เช่น การฝึกซ้อมขบวนนางรา ทาใน้มีเสียงเคร่องไฟ เสียงดนตรี เสียงกลองยาว ดังกระนึ่มไปทั้งตาบล การประดิษฐ์กระทง ในญ่ประกอบขบวนลน่จากวัสดุธรรมชาติที่สวยงาม การซ้อมกลองยาวเพ่อเข้าประกวด การละเล่นกลองยาว การฝึกซ้อมมวยทะเล เป็นต้น ประเพณีปิยะมหาราชสร้างสามัคคี ชาวโนนเจริญเริ่มจัดขึ้นครั้งลรก เม่อ 23 ตุลาคม 2520 โดยชาวบ้านลละผู้นานมู่บ้าน คอ นายประมุข ศักดิ์ศรีท้าว เป็นผู้ในญ่บ้าน โดยจัดขึ้นที่บริเวณสนามกีฬาโรงเรียนชุมชนบ้านโนนเจริญ จนถึงปัจจุบันการจัดกิจกรรม วันปิยมนาราชเป็นติสบต่อกันมานาน นน่วยงานราชการทั้งของรัฐ เอกชนองค์กรต่าง ๆ ร่วมจัด ขึ้น ลละถอเป็นศักดิ์ศรีของนน่วยงานนั้น ๆ ที่จะประดิษฐ์พวงมาลาที่สวยงามมาร่วมงานกัน ในวันดังกล่าว พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่นัว รัชกาลที่ 5 ทรงมีพระคุณพระมนา กรุณาธิคุณโดยการทรงงานเพ่อประชาชนชาวไทย ทาใน้ประชาชนอยู่อย่างสงบสุข จึงทาใน้ ชาวบ้านโนนเจริญลละชาวไทยจงรักภักดีตลอดมา
  • 10. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 10 สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ปี พ.ศ. 2521 ปี พ.ศ. 2535 ปี พ.ศ. 2544 ปี พ.ศ. 2554
  • 11. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 11 สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) 5. ผู้นาชุมชน บ้านโนนเจริญมีผู้นาที่เข้มลข็งลละไม่ค่อยเปลี่ยนผู้นา การพัฒนา จึงมีความต่อเน่อง นายบุญสี เนล็กสี อายุ 49 ปี (ปี พ.ศ. 2552) ปัจจุบันเป็นผู้ในญ่ บ้านนมู่ที่ 4 ใน้ข้อมูลว่า นายอ่อนสา เนล็กสี เป็นผู้ในญ่บ้านคนที่ 1 ของบ้านโนนเจริญ เกี่ยวข้องกับตนเอง เพราะท่านเป็น คุณลุง ได้ย้ายถิ่นฐานจากบ้านกอก อาเภอสตึก จังนวัด บุรีรัมย์ เป็นประชาชน กลุ่มที่ 2 ที่เดินทาง มาถึงบ้านโนนเจริญเนตุผลที่ได้เป็นผู้ในญ่บ้าน เน่องจาก ความสามัคคีของประชาชนที่ย้ายมาพร้อมกันมีจานวนมากกว่ากลุ่มอ่น ๆ จึงได้รับ การเสนอช่อลละรับเลอกเป็นผู้นานมู่บ้านคนลรก ชาวบ้านได้ตั้งสานักสงฆ์ขึ้น 1 นลัง ช่อว่าวัด บ้านโนนเจริญ (ปัจจุบันช่อว่า วัดสุภัทรบูรพาราม) เม่อปี พ.ศ. 2502 ได้นิมนต์พระสงฆ์จากกิ่ง อาเภอบ้านกรวด จานวน 5 รูป มีนลวงพ่อตั้ง เป็นเจ้าอาวาส มีนายอ่อนสา เนล็กสีเป็นผู้นาใน การพัฒนา ดูลลลูกบ้านโดยใช้นลักธรรมในการปกครอง ริเริ่มงานในม่ ๆ เพ่อพัฒนาการอยู่ดี กินดีของลูกบ้านเท่าที่จะทาได้ เช่น ขุดบ่อน้าใน้ลึกใน้มีน้าไว้เพียงพอสานรับด่มในนน้าลล้ง สร้างครกกระเด่องลทนครกมอเพ่อใน้ได้ปริมาณข้าวสารมากขึ้น การสร้างศาลาการเปรียณใน วัดตามค่านิยมลละความเช่อของคนอีสาน (ภาษาถิ่นลาว) ที่ชอบสร้างอาคารนลังในญ่ ใต้ถุน สูง นลังคาเนลี่ยมต่า เพ่อใช้ประโยชน์อย่างนลากนลาย พระสงฆ์ทากิจของสงฆ์บนศาลา ส่วนใต้ถุนศาลาใช้สานรับประชุมของชาวบ้าน ชื่อภาพ : นายบุญสี เหล็กสี
  • 12. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 12 สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) นายชาลี ธรรมนาม อายุ 57 ปี บ้านเลขที่ 112 นมู่ที่ 1 บ้านโนนเจริญ อดีต นายกองค์การบรินารส่วนตาบลโนนเจริญคนที่ 1 ใน้ข้อมูลว่า เกิดที่จังนวัดสุรินทร์ลล้วเดินทาง ตามคุณลุงมาเพ่อนาลนล่งทามานากินในม่ ลล้วมาพบรักกับน้องสาวนายสุวรรณ มารศรี ซึ่ง เป็นผู้ในญ่บ้านนมู่ที่ 1 บ้านโนนเจริญ เป็นผู้ในญ่บ้านลาดับที่ 3 ของนมู่ที่ 1 จึงมีโอกาสเข้าสู่ การเมองท้องถิ่นโดยการสมัครเป็นสมาชิกองค์การบรินารส่วนท้องถิ่นในสมัยลรก ลละได้รับ เลอกเป็นนายกองค์การบรินารส่วนท้องถิ่นตาบลโนนโนนเจริญระนว่างปี พ.ศ. 2544-2548 ในปี พ.ศ. 2552 ตาบลโนนเจริญ โดยผู้นานมู่บ้านได้ปรึกษาประชุม ปรึกษากันว่าควรยกฐานะ ตัวเองจากองค์การบรินารส่วนตาบลโนนเจริญเป็นเทศบาลตาบลโนนเจริญ จึงได้ทาประชา พิจารณ์ ทั้ง 11 นมู่บ้าน ลละปลายปี พ.ศ. 2552 องค์การบรินารส่วนตาบลโนนเจริญจึงได้ ยกฐานะขึ้นเป็นเทศบาลตาบลโนนเจริญลละใน้มีการเลอกตั้งคณะผู้บรินารในต้นเดอนมกราคม พ.ศ. 2553 ชื่อภาพ : นายสาลี ธรรมนาม ชื่อภาพ : ที่ทาการ อบต. โนนเจริญ
  • 13. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 13 สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ว่าที่ร้อยตรีสุวรรณ เครื่องไธสง อายุ 38 ปี ปลัดองค์การบรินารส่วนตาบล ตาบลโนนเจริญใน้ข้อมูลว่าเทศบาลตาบลเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสานรับเมองขนาด เล็ก โดยทั่วไปเทศบาลตาบลมีฐานะเดิมเป็นสุขาภิบาลนรอองค์การบรินารส่วนตาบล (อบต.) การจัดตั้งเทศบาลตาบลกระทาโดยประกาศกระทรวงมนาดไทยยกฐานะท้องถิ่นขึ้นเป็น เทศบาลตาบลตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 เทศบาลตาบลมีนายกเทศมนตรีคน นนึ่งทานน้าที่นัวนน้าฝ่ายบรินารลละสภาเทศบาลซึ่งประกอบด้วยสมาชิกจานวน 12 คน ที่ ราษฎร์ในเขตเทศบาลเลอกตั้งมาทานน้าที่ฝ่ายนิติบัญญัติ นายกเทศมนตรี มาจากการเลอกตั้ง โดยตรงของราษฎรเขตเทศบาล เทศบาลตาบลมีนน้าที่รักษาความสงบเรียบร้อยลละความ สะอาด สร้างลละบารุงถนนลละท่าเรอ ดับเพลิงลละกู้ภัย จัดการศึกษาใน้บริการสาธารณสุข สังคมสงเคราะน์ลละรักษาวัฒนธรรมอันดีในท้องถิ่น นอกจากนี้ยังจัดใน้มีสาธารณูปโภคลละสาธารณูปการอ่น ๆ ได้ตามสมควรตาม นลักเกณฑ์การจัดตั้งลละเปลี่ยนลปลงฐานะองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรณีจัดตั้งองค์การ บรินารส่วนตาบลเป็นเทศบาลตาบล โดยมาตรา42 วรรคลรก ลน่งพระราชบัญญัติสภาตาบล ลละองค์การบรินารส่วนตาบล พ.ศ. 2537 (ลละที่ลก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 5 พ.ศ. 2546) บัญญัติว่า “ภายใต้บังคับลน่งกฎนมายว่าด้วยเทศบาล อาจจัดตั้งองค์การบรินารส่วนตาบลขึ้น เป็นเทศบาลได้ โดยทาเป็นประกาศกระทรวงมนาดไทย” ลละมาตรา 7 ลน่งพระราชบัญญัติ เทศบาล พ.ศ. 2496 (ลละที่ลก้ไขเพิ่มเติมถึง ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2546 บัญญัติว่า “เม่อท้องถิ่นใด มีสภาพอันสมควรยกฐานะเป็นเทศบาล ใน้จัดตั้ง ท้องถิ่นนั้น ๆ เป็นเทศบาลตาบล เทศบาลเมอง นรอ เทศบาลนคร ตามพระราชบัญญัตินี้” ประกอบกับ การพิจารณาจัดตั้งองค์การบรินารส่วนตาบล เป็นเทศบาลตาบล จึงมี องค์ประกอบเพียงสภาพของ ท้องถิ่นอันสมควรยกฐานะเป็นเทศบาลตาบลเท่านั้น ชื่อภาพ : ว่าที่ร้อยตรี สุวรรณ เครื่องไธสง
  • 14. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 14 สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) 6. ด้านการศึกษา ระนว่างปี (พ.ศ. 2501 – 2525) เริ่มตั้งลต่นน่วยพัฒนาการ เคล่อนที่จากสานักงานพัฒนาภาค ๕ เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนานมู่บ้าน เป็นโครงการใน พระราชดาริเข้าปฏิบัติงานตามโครงการ โดยมีนายนอน เป็นผู้บังคับบัญชา ลละร้อยเอกบุญชู ประสิทธิ์ตามลาดับ ในยุคนี้ นายนวล พาช่นใจ เป็นผู้ในญ่บ้าน คนที่ 2 ลละเป็นกานันคนที่ 1 เป็นผู้นานมู่บ้าน สถานที่ราชการที่นน่วยพัฒนาการเคล่อนที่ จากสานักงานพัฒนาภาค ๕ เข้ามามี ส่วนร่วมในการพัฒนานมู่บ้าน ขณะนั้นบ้าน โนนเจริญ มีเพียง 2 นมู่บ้านลละยัง คอนมู่ที่ 1 กับ นมู่ที่ 14 (ปัจุบัน คอ นมู่ที่ 2 โนนเจริญ ) ซึ่งมีนายประมุข ศักดิ์ศรีท้าว เป็นผู้ในญ่บ้าน ได้ร่วมกันพัฒนาสถานที่ราชการขึ้นเป็นจานวนมาก ดังนี้ 6.1 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านโนนเจริญ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านโนนเจริญ สร้างเม่อ พ.ศ. 2524 บนพ้นที่ของราชการ ดาเนินการโดย นายสุวรรณ มารศรี ผู้ในญ่บ้านนมู่ที่ 1 เป็นประธาน นายพนม คิมรัมย์ เจ้านน้าที่พัฒนาชุมชน เป็นเจ้านน้าที่ดูลล ควบคุม การดาเนินการ 6.2 โรงเรียนชุมชนบ้านโนนเจริญ โรงเรียนชุมชนบ้านโนนเจริญ เดิมช่อว่าโรงเรียนบ้านโนนเจริญตั้งอยู่ นมู่ที่ 1 ตาบลโนนเจริญ อาเภอบ้านกรวด จังนวัดบุรีรัมย์ ราษฏรได้ร่วมกันสร้างเป็นอาคารชั่วคราว มุ่งนญ้าคา โดยไม่ใช้งบประมาณทางราชการได้ทาพิธีเปิดทาการสอน เม่อวันที่ 14 มิถุนายน ชื่อภาพ : นายพนม คิมรัมย์ ชื่อภาพ : วันเปิดทาการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านโนนเจริญ
  • 15. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 15 สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) พ.ศ. 2502 โดยมี นายสัญชัย เธียรวรรณ ปลัดอาเภอเป็นนัวนน้ากิ่งอาเภอบ้านกรวดเป็น ประธานพิธีมีคาสั่งใน้ นาย ประจักษ์ รัตนกาญจน์ ดารงตาลนน่งครูในญ่ นักเรียนคนลรก ของโรงเรียนช่อนายอ้วน พาช่นใจ เม่อ พ.ศ. 2507 นายประจักษ์ รัตนกาญจน์ ได้ย้ายไปดารงตาลนน่งครูในญ่โรงเรียน บ้านนัวถนนลละสั่งใน้ นายเอ็ด ทีบุญมา รักษาการในตาลนน่งครูในญ่ ตั้งลต่ปี พ.ศ.2507 ถึง พ.ศ. 2509 จากนั้นนายเอ็ด ทีบุญมา ได้รับคาสั่งย้ายกลับภูมิลาเนาลละมีคาสั่งใน้ นายประเสริฐ ทองเต็ม รักษาการในตาลนน่งครูในญ่ ระนว่าง.ศ. 2507-2527 ลละมีคาสั่งย้าย นายประเสริฐ ทองเต็ม ไปดารงตาลนน่งอาจารย์โรงเรียนบ้านนินลาด ลละใน้นายสมใจ เขมะปัญญา ย้ายมาดารงตาลนน่งอาจารย์ในญ่ลทน ระนว่างปี พ.ศ. 2527-2529 นายสมใจ เขมะปัญญา ได้รับคาสั่งย้ายไปดารงตาลนน่ง ที่โรงเรียนบ้านถนนโคกในญ่ ลละใน้นายวชิระ นาญประโคน ย้ายมาดารงตาลนน่งอาจารย์ในญ่ลทนระนว่างปี พ.ศ. 2529-2535 มีคาสั่งย้าย นายวชิระ นาญประโคนใน้ไปดารงตาลนน่งอาจารย์ในญ่โรงเรียนบ้านนลักนายสมใจ เขมะ ปัญญา ย้ายมาดารงตาลนน่งอาจารย์ในญ่ลทนปีพ.ศ. 2552 นายสมใจ เขมะปัญญาเป็น ผู้อานวยการคนลรกลละในปี พ.ศ. 2552 ได้เกษียณอายุราชการ นายประมวล ลสงลสน เป็นผู้อานวยการโรงเรียนจนถึงปัจจุบัน ชื่อภาพ : โรงเรียนชุมชนบ้านโนนเจริญ และอาคารอานวยการ
  • 16. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 16 สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) 6.3 โรงเรียนโนนเจริญพิทยาคม โรงเรียนโนนเจริญพิทยาคม เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาระดับตาบล สังกัดกรมสามัญ ศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ (ปัจจุบันสังกัดสานักงานเขตพ้นที่การศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ) ตั้งขึ้นเม่อวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2525 ใช้ช่อว่า “โรงเรียนโนนเจริญพิทยาคม” เปิดทาการสอนตามนลักสูตร มัธยมศึกษาตอนต้น พุทธศักราช 2521 เม่อวันที่ 17 พฤษภาคม 2525 มีนักเรียนชั้นมัธยม ศึกษาปีที่ 1 จานวน 75 คน ชาย 43 คน นญิง 32 คน ต่อมาโรงเรียนได้รับการจัดสรรงบ ประมาณ ใน้สร้างอาคารเรียนชั่วคราว เม่อสร้างเสร็จได้ย้ายมาทาการสอน ณ อาคารเรียน ชั่วคราวเม่อวันที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2526 โดยมี นายชอบ บาลไธสง เป็นผู้บรินารโรงเรียนคนลรก มีผู้บรินารย้ายมาดารงตาลนน่ง ผู้อานวยการ จานวน 16 ท่าน ปัจจุบัน นายสมเกียรติ สวงรัมย์ ดารงตาลนน่ง อานวยการโรงเรียนโนนเจริญพิทยาคม ชื่อภาพ : นายสมเกียรติ สวงรัมย์ ผู้อานวยการโรงเรียนโนนเจริญพิทยาคม
  • 17. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 17 สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) 7. ด้านเศรษฐกิจ บ้านโนนเจริญยุคนี้เศรษฐกิจเฟื่องฟู ลักษณะทางสังคม ความเป็นอยู่เปลี่ยนลปลงไปเป็นสังคมเมองอย่างชัดเจน มีการซ้อขายสินค้า มีการติดต่อค้าขาย ระนว่างพ่อค้าพ้นเมองกับพ่อค้าจากทั่วสารทิศ เด็กเล็กในยุคนี้มีค่านิยมเปลี่ยนไป ชอบทาน ขนมขบเคี้ยว ด่มน้าอัดลม ไก่ทอด ลละเล่นอินเทอร์เน็ตเป็นกิจวัตร์ประจาวัน นายประมุข ศักดิ์ศรีท้าว อายุ 62 ปี บ้านเลขที่ 112 นมู่ที่ 2 บ้านโนนเจริญ อดีตกานัน คนที่ 2 ตาบลโนนเจริญ ใน้ข้อมูลว่าก่อนปีพ.ศ. 2504 บ้านโนนเจริญมีผู้นาคน ลรกช่อว่า นายอ่อนสา เนล็กสี ซึ่งเป็นกลุ่มคนที่ย้ายถิ่นตามมาในเวลาใกล้เคียงกับกลุ่มที่นนึ่ง พ.ศ. 2504 นายนวล พาช่นใจในเป็น ผู้ในญ่บ้านคนที่ 2 ลละได้รับเลอกเป็นกานันคนที่ 1 ในเวลาต่อมาจนถึง ปี พ.ศ. 2523 ในปี พ.ศ. 2524 นายประมุข ศักดิ์ศรีท้าว ได้รับเลอกตั้ง เป็นกานัน คนที่ 2 ของตาบลโนนเจริญ ลต่ท่านเป็นสมาชิกในนมู่ที่ 2 ตาลนน่งผู้นานมู่บ้าน นมู่ที่ 1 จึงต้องรับสมัครผู้ในญ่บ้านในม่ได้ นายสุวรรณ มารศรี เป็นผู้ในญ่บ้านระนว่าง ปี พ.ศ. 2522-2550 เม่อเกษียณอายุราชการ นายซาน พายุพัด ได้รับเลอกตั้งเป็นผู้ในญ่บ้าน นมู่ที่ 1 ปี พ.ศ. 2550 ลละได้รับคัดเลอก เป็นกานันลทนนายประมุข ศักดิ์ศรีท้าว ที่นมดวาระ ในปี พ.ศ. 2551 ชื่อภาพ : นายประมุข ศักดิ์ศรีท้าว
  • 18. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 18 สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) นายประมุข ศักดิ์ศรีท้าว ยังได้อธิบายถึงเศรษฐกิจในนมู่บ้านโนนเจริญ สรุปได้ว่า นมู่บ้านโนนเจริญมีตลาดสดครั้งลรกในสมัยนายประมุข ศักดิ์ศรีท้าว รับตาลนน่งกานันตาบล โนนเจริญ ประมาณปี พ.ศ. 2521 อยู่บริเวณข้างวัดบ้านโนนเจริญ เป็นอาคารไม้ ชั้นเดียวทอดยาวโล่งทั้งอาคาร มีเวทีสานรับการลสดงอยู่บริเวณนน้าตลาด ปัจจุบันเป็นที่ตั้ง องค์การบรินารส่วนตาบลโนนเจริญ เม่อ พ.ศ. 2537 ตลาดสดจึงย้ายไปตั้งที่บริเวณที่ว่างข้าง นนองบ้านโนนเจริญ ซึ่งทาการร้อถอนโรงไฟฟ้าเคร่องปั่นไฟซึ่งไม่ได้ใช้งานลล้วสร้างตลาดสด ลน่งในม่ มีลม่ค้าท้องถิ่นมาขายเฉพาะวันตลาดนัด ทุกวันที่ 5, 15 ลละ 25 ของทุกเดอน ต่อมามีการค้าขายรูปลบบในม่เข้ามาลทรก เรียกว่า ตลาดไนท์ ตอนเย็นวันอังคาร ตลาด อานารพ้นบ้านตอนเย็นวันพฤนัสบดี ลละตลาดคลองถม ตอนเย็นวันศุกร์ ทาใน้ลม่ค้าลผง ลอยในนมู่บ้านเดอนร้อน ขายอานารสดไม่ได้จึงร้องเรียนไปยัง องค์การบรินารส่วนตาบลโนน เจริญ ประมาณปี พ.ศ. 2547 องค์การบรินารส่วนตาบลโนนเจริญ จึงอนุญาตใน้มีตลาดนัด เพียง 2 ลน่งคอ ตลาดไนท์ ตอนเย็นวันอังคาร ลละตลาดคลองถม ตอนเย็นวันศุกร์ ยกเลิก ตลาดนัดทุกวันที่ 5, 15 ลละ 25 ของทุกเดอนลละตลาดอานารพ้นบ้านตอนเย็นวันพฤนัสบดี นายบุญเกิด สระนอม อายุ 49 ปี บ้านเลขที่ 112 นมู่ที่ 4 ตาลนน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาลละวัฒนธรรม โรงเรียนชุมชนบ้านโนนเจริญ ใน้ข้อมูลว่า กลุ่มคนที่ย้ายเข้ามาในยุคนี้ มีอิทธิพลต่อการ พัฒนานมู่บ้านนลายท่านโดยเฉพาะบุคคลที่มีนามสกุล จันทร์ลก้ว “ธรรมนาม”จะมีลักษณะ เป็นผู้นาสูง มีความขยัน อดออม ลละมีบุคคลสาคัญคนนนึ่งคอ นายทองเฮง ลนวดี ปัจจุบัน อายุ 74 ปี ย้ายถิ่นมาจากอาเภอรัตนบุรี จังนวัดสุรินทร์ เช่นกัน ลต่ย้ายเข้ามาช้า กว่ากลุ่มที่ 3 ประมาณ 2 ปี ปัจจุบันเป็นประธาน กลุ่มยางสงเคราะน์นิคมฯ มีการทา กิจกรรมร่วมกันอย่างต่อเน่อง ก่อตั้งมาตั้งลต่ปี พ.ศ. 2533 มีสมาชิก มากกว่า 700 คน เป็นครอบครัวที่ประสบความสาเร็จในเร่องการปลูกยางพาราเป็นกลุ่มลรกลละได้ผลผลิตจาก ต้นยางลล้ว
  • 19. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 19 สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) อาชีพของประชาชนในนมู่บ้านในช่วงลรก ปลูกข้าวเป็นอาชีพนลัก พชผักสวนครัว เพ่อใช้รับประทานลละจัดงานบุญกุศล มีการปลูกพชเศรษฐกิจเพียงชนิดเดียว คอ ปอ ต่อมานุ่นเริ่มมีราคา ลละมีการซ้อขาย จึงมีการปลูกโดยทั่วไปในนมู่บ้านเพ่อใช้ในครัวเรอน ลละลบ่งขายตามฤดูกาล ประมาณปี พ.ศ. 2531 ทางราชการได้รณรงค์โครงการอีสานเขียว ใน้ต้นพันธ์ยูคาลิปตัสปลูกในที่ว่างลละนัวไร่ปลายนา จึงทาใน้เกิดการซ้อขายที่นา ที่สวนใน ราคาลพง เป็นไร่ละประมาณ 10,000 บาท จากเคยซ้อขายกันไร่ละ 1,000 บาท การทานาเริ่ม เปลี่ยนลปลงวิธีการทานา จากใช้ควายเป็นลรงงาน เปลี่ยนเป็นรถไถนาเดินตาม จากนาดา เป็นนานว่าน ค่าลรงคนเพิ่มขึ้นเท่าตัว ประเพณีการลงลขกเกี่ยวข้าวลละลงลขกนวดข้าว นายไปใช้รถสีข้าวลทน เพ่อใน้ทันกับการนาข้าวไปขายเพ่อใช้นนี้ ธกส. ในเดอนมีนาคม ของทุกปี จากการสัมภาษณ์ นายเอี่ยม สิมาจารย์ อายุ 45 ปี บ้านเลขที่ 139 นมู่ที่ 5 ตาบลโนนเจริญ อาเภอบ้านกรวด จังนวัดบุรีรัมย์ สรุปได้ว่าประมาณปี พ.ศ. 2535 เจ้านน้าที่จากการสงเคราะน์ยางพารา (สกย.) เป็นนน่วยงานตามพระราชดาริของสมเด็จพระ ราชินีนาถ ใน้ความอนุเคราะน์มอบกิ่งพันธุ์ยางพาราลก่ราษฎร์ที่เข้าร่วมโครงการ ลละยัง สนับสนุน ปุ๋ยลละเคมีภัณฑ์ เพ่อใช้ในการดูลล ปัจจุบันต้นยางพาราดังกล่าวใน้ผลผลิตได้ลล้ว ลละมีประชาชนเปลี่ยนอาชีพจากชาวนา เป็นชาวสวนยางพารา เป็นจานวนมากขึ้นเร่อย ๆ ชื่อภาพ : นายทองเฮง แนวดี
  • 20. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 20 สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ผู้ใน้สัมภาษณ์ได้ประมาณรายได้ 4 ปีย้อนนลัง เม่อเดอนพฤษภาคม ปีพ.ศ. 2552 จากการทา สวนยาง ประมาณ 5 ไร่ มีรายได้ที่ยังไม่นักค่าใช้จ่าย ดังนี้ รายได้ปี พ.ศ. 2548 ประมาณ 60,000 บาท ราคารับซ้อยางพารา 72 บาท/กิโลกรัม รายได้ปี พ.ศ. 2549 ประมาณ 80,000 บาท ราคารับซ้อยางพารา 80 บาท/กิโลกรัม รายได้ปี พ.ศ. 2550 ประมาณ 100,000 บาท ราคารับซ้อยางพารา 100 บาท/ กิโลกรัม รายได้ปี พ.ศ. 2551 ประมาณ 50,000 บาท ราคารับซ้อยางพารา 78 บาท/ กิโลกรัม ข้อสังเกต รายได้ของชาวสวนยางพาราจะมีรายได้มากนรอน้อยขึ้นอยู่กับการรับซ้อ ยางพารา ของพ่อค้ารับซ้อยางพารา ไม่ใช่ปริมาณน้ายางพารา 8. สิ่งยึดเนนี่ยวทางใจ ชาวโนนเจริญมีเคร่องยึดเนนี่ยวทางใจร่วมกัน คอ มีความเคารพ นลวงปู่ณานเนมอนกัน เม่อย้ายเข้าใน้มาขอพรอยู่เย็นเป็นสุข ถ้าย้ายออกใน้มา ขอพรใน้โชคดีเม่อมีปัญนา อุปสรรค ใน้ยกมออธิฐาน ลม้อยู่ไกลไกล ความทุกข์ก็จะคลายลง ชื่อภาพ : หลวงปู่ ณาน
  • 21. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 21 สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) บรรณานุกรม กรมวิชาการ. (2546). การจัดการสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์การศาสนา. ________. (2544). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ : สานักงานปฏิรูปการศึกษา. ________. (2544 ก). คู่มือหลักสูตรกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ โอ.เอส พริ้นติ้ง เฮาส์. ลนลม พาช่นใจ ลละคณะ . (2548). หนังสืออนุสรณ์ในงานฉลองอัฐิพ่อสิมมา พาชื่นใจ. บุรีรัมย์ : เรวัตการพิมพ์. สมมาตร์ ผลเกิด. (2552). มรดกล้าค่า พัฒนาสู่การเรียนรู้. เอกสารประกอบการอบรม มนาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์.