SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
Download to read offline
หนังสือส่งเสริมการอ่าน
เรื่อง ร่วมรักษ์ ร่วมสืบสาน จากบ้านสู่เมือง
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
วิชาประวัติศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
เล่มที่ ๑ แรกเริ่ม...เดิมที
จิรณี ประกอบเสียง
โรงเรียนบ้านเกาะรัง สพป.ลบ.๒
ก
หนังสือส่งเสริมการอ่าน ร่วมรักษ์ ร่วมสืบสานจากบ้านสู่เมือง กลุ่มสาระการเรียนรู้
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม วิชาประวัติศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ มีสาระตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา
ศาสนาและวัฒนธรรม และมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวบ่งชี้ ในสาระประวัติศาสตร์ ซึ่งจัดทาขึ้น
เพื่อใช้ประกอบการจัดการเรียนรู้ศึกษาประวัติความเป็นมาท้องถิ่นตน วัฒนธรรมประเพณี
ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่บูรณาการสู่อาชีพที่มั่นคงของผู้เรียนในขุมขนเกาะรัง อาเภอชัยบาดาล
จังหวัดลพบุรี และร่วมน้อมราลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณ กษัตริย์นักพัฒนา พระบาทสมเด็จ
พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทรสยามินทราธิราช
บรมนาถบพิตร แห่งรอยพระบาทยาตราเมืองไชยบาดาล ขอน้อมถวายความอาลัยด้วย
การส่งเสริมการอ่าน เนื่องจากตระหนักถึงความสาคัญของการอ่านที่มุ่งสร้างสานึกความเป็น
ไทย พัฒนาทักษะการคิด วิเคราะห์ ร่วมหล่อหลอมและธารงรักษาซึ่งความเป็นชาติไทยให้
คงอยู่สืบไป โดยหนังสือส่งเสริมการอ่าน ร่วมรักษ์ ร่วมสืบสานจากบ้านสู่เมืองนี้ มีจำนวน
ทั้งหมด ๔ เล่ม
ผู้จัดทาขอขอบพระคุณผู้บริหาร คุณครูสมเกียรติ แก่นเพชร ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ
ชานาญการพิเศษ คณะครูโรงเรียนบ้านเกาะรังและผู้เรียน ตลอดจนผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง
ทุกท่านที่ให้การช่วยเหลือจนประสบความสาเร็จลุล่วงด้วยดี
สุดท้ายนี้หวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสือส่งเสริมการอ่าน ร่วมรักษ์ ร่วมสืบสานจากบ้าน
สู่เมือง จะเป็นประโยชน์ต่อผู้เรียน เยาวชนและสถานศึกษาในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
เพื่อสร้างสานึกความเป็นไทย ส่งเสริมค่านิยมหลัก ๑๒ ประการ รู้รัก รู้กตัญญูต่อสถาบัน
ต่อแผ่นดิน สังคมและครอบครัว ภาคภูมิใจในความเป็นไทยพร้อมร่วมสร้างสรรค์พัฒนาให้
ท้องถิ่นของตนเป็นชุมชนที่เข้มแข็งน่าอยู่สืบไป
จิรณี ประกอบเสียง
โรงเรียนบ้านเกาะรัง สพป.ลบ.๒
ข
สารบัญ
เรื่อง หน้า
คานา ก
สารบัญ ข
คาชี้แจง ค
คาแนะนาสาหรับนักเรียน ง
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/โครงสร้างการจัดการเรียนรู้ จ
จุดประสงค์การเรียนรู้ ฉ
แบบทดสอบก่อนเรียน ๑
เล่มที่ ๑ แรกเริ่ม...เดิมที ๓
แบบฝึกหัด ๑๖
แบบทดสอบหลังเรียน ๑๙
เฉลยแบบฝึกหัด แบบทดสอบก่อนเรียน - หลังเรียน ๒๑
แบบบันทึกคะแนน ๒๒
บรรณานุกรม ๒๓
ค
คาชี้แจง
หนังสือส่งเสริมกำรอ่ำน ร่วมรักษ์ ร่วมสืบสำนจำกบ้ำนสู่เมือง กลุ่มสำระกำรเรียนรู้
สังคมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม วิชำประวัติศำสตร์ ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ ๓ ซึ่งผู้เรียน
สำมำรถศึกษำเนื้อหำและปฏิบัติตำมคำแนะนำสำหรับผู้เรียนรวมถึงสำมำรถประเมินผล
กำรเรียนรู้ด้วยตนเองตำมขั้นตอนที่กำหนดไว้ โดยหนังสือส่งเสริมกำรอ่ำนนี้มีจำนวน ๔ เล่ม
ประกอบด้วย
เล่มที่ ๑ แรกเริ่ม...เดิมที จำนวน ๒ ชั่วโมง
เล่มที่ ๒ วิถีชีวิตบ้ำนเรำชำวเกำะรัง จำนวน ๒ ชั่วโมง
เล่มที่ ๓ “บ ว ร” ของฉัน จำนวน ๔ ชั่วโมง
เล่มที่ ๔ รำลึกแห่งรอยพระบำทที่ยำตรำเมืองไชยบำดำล จำนวน ๔ ชั่วโมง
เล่มที่ ๑ แรกเริ่ม...เดิมที มีสาระการก่อเกิดเป็นชุมชนระบบสังคมหมู่บ้าน หลักฐานที่
ปรากฏแสดงถึงความเป็นมา โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ เพื่อให้รู้และเข้าใจความเป็นมา
ของวิถีชีวิตในท้องถิ่น ซึ่งมีแบบทดสอบ แบบฝึกหัดและเฉลย ผู้เรียนสำมำรถประเมินผลกำร
เรียนรู้ด้วยตนเอง โดยบันทึกผลลงตำรำง หำกคะแนนต่ำกว่ำ ๗ คะแนน ถือว่ำไม่ผ่ำนเกณฑ์
ควรได้รับกำรซ่อมเสริม
โครงสร้างการจัดการเรียนรู้ จำนวน ๑๔ ชั่วโมง ดังนี้
กำรปฐมนิเทศ จำนวน ๑ ชั่วโมง
กำรศึกษำเรียนรู้จำกหนังสือส่งเสริมกำรอ่ำน ๔ เล่ม จำนวน ๑๒ ชั่วโมง
กำรวัดผลประเมินผลและสรุปกำรเรียนรู้ จำนวน ๑ ชั่วโมง
ง
คาแนะนาสาหรับนักเรียน
ให้นักเรียนศึกษาและปฏิบัติตามลาดับขั้นตอน ดังนี้
๗. ทาแบบทดสอบหลังเรียน
๙. ทบทวน
๑. ศึกษาจุดประสงค์การเรียนรู้
๒. ศึกษาคาชี้แจง
๓. ศึกษาคาแนะนาสาหรับนักเรียน
๕. ศึกษาเนื้อหา
๖. ทาแบบฝึกหัด
๔. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน
๘. ตรวจคาตอบ
๑๐. รวบรวมส่ง
จ
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสาคัญของเวลาและยุคสมัยทาง
ประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็น
ระบบ
มาตรฐาน ส 4.3 เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย
มีความรักความภูมิใจ และธารงความเป็นไทย
ตัวชี้วัด
มฐ.ส 4.1 ม.3/2 ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาเรื่องราวต่างๆ ที่ตนสนใจ
มฐ.ส 4.3 ม.3/๓ วิเคราะห์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์และ
อิทธิพลต่อการพัฒนาชาติไทย
ฉ
จุดประสงค์การเรียนรู้
จุดประสงค์การเรียนรู้ มีดังนี้
๑. บอกความหมาย ความสาคัญของท้องถิ่นโดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ได้
๒. บอกประวัติความเป็นมาของชุมชนบ้านเกาะรัง
๓. ร่วมศึกษาข้อมูลท้องถิ่นตนเองโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์และนาเสนอข้อมูลได้
๔. บอกความภูมิใจในความเป็นไทยตามวิถีชุมชนของตนเองได้
เล่มที่ ๑ แรกเริ่ม...เดิมที ๑
คำชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้อง และเขียนเครื่องหมำยกำกบำท () ทับ
ตัวอักษรในกระดำษคำตอบ จำนวน ๑0 ข้อ เวลำ 10 นำที
๑. ข้อใดบอกควำมหมำยของคำว่ำ ท้องถิ่น ได้ถูกต้องที่สุด
ก. ท้องที่ในเขตเทศบำลหรืออำเภอเท่ำนั้น
ข. ท้องที่ในบริเวณที่เป็นเขตชนบท
ค. ท้องที่ใดท้องที่หนึ่งโดยเฉพำะ เน้นลักษณะทำงภูมิศำสตร์
ง. ท้องที่ตำมลักษณะวัฒนธรรมประเพณี
๒. ท้องถิ่นของเรำ ในควำมหมำยนี้หมำยถึงข้อใด
ก. ท้องที่ในเขตวัฒนธรรมของลพบุรี
ข. ท้องที่ในเขตกำรปกครองของจังหวัดลพบุรี
ค. ท้องที่ในบริเวณที่มีคนลพบุรีอำศัยอยู่
ง ท้องที่บริเวณเขตหมู่บ้ำนของเรำ
๓. ลักษณะของครอบครัวในสังคมชนบท มีลักษณะสำคัญอย่ำงไร
ก. เป็นครอบครัวที่มีควำมใกล้ชิดสนิทสนมกัน
ข. เป็นครอบครัวที่ต่ำงคนต่ำงอยู่
ค. ครอบครัวขนำดเล็กที่สนิทสนมกัน
ง. ครอบครัวขนำดใหญ่ที่สนิทสนมกัน
๔. ชุมชนในหมู่บ้ำนประกอบอำชีพด้ำนใดน้อยที่สุด
ก. รับจ้ำงและบริกำร
ข. เกษตรกรรม
ค. ค้ำขำย
ง. ประมง
๕. สังคมเมือง มีลักษณะกำรปฏิบัติตนตำมวัฒนธรรมประเพณีอย่ำงไร
ก. ยึดตำมธรรมเนียมอย่ำงเคร่งครัด
ข. ปฏิบัติสืบทอดมำอย่ำงดีงำม
ค. เปลี่ยนแปลงไปตำมกระแส
ง. เลือกปฏิบัติเฉพำะวัฒนธรรมไทย
เล่มที่ ๑ แรกเริ่ม...เดิมที ๒
๖. สังคมเมืองกับสังคมชนบทมีควำมสัมพันธ์กันในลักษณะใด
ก. สังคมชนบทพึ่งพำสังคมเมืองเป็นส่วนใหญ่
ข. สังคมเมืองพึ่งพำสังคมชนบทเป็นส่วนใหญ่
ค. พึ่งพำอำศัยซึ่งกันและกัน
ง. ต่ำงฝ่ำยต่ำงอยู่ ไม่เกี่ยวข้องกัน
๗. ลักษณะของสังคมใด ประชำชนมีส่วนร่วมในกำรปกครองมำกที่สุด
ก. สังคมชนบท
ข. สังคมเมือง
ค. ทั้งสังคมเมืองและชนบท
ง. สังคมนักวิชำกำร
๘. ตรำประจำองค์กำรบริหำรส่วนตำบลเกำะรังเป็นรูปใด
ก. มังกรทอง
ข. ช้ำง
ค. สิงโต
ง. ดอกบัว
๙. ต้นไม้สัญลักษณ์ประจำโรงเรียนบ้ำนเกำะรัง คือต้นอะไรอะไร
ก. ต้นเหลืองปรีดียำธร
ข. ต้นรำชพฤกษ์
ค. ต้นกัลปพฤกษ์
ง. ต้นรัง
10. โรงเรียนบ้ำนเกำะรังก่อตั้งขึ้นเมื่อใด
ก. ๑๒ มกรำคม ๒๕๕๐
ข. ๑๔ กันยำยน ๒๔๗๐
ค. ๑๗ สิงหำคม ๒๕๕๐
ง. ๒๒ ตุลำคม ๒๕๕๗
เล่มที่ ๑ แรกเริ่ม...เดิมที ๓
เล่มที่ ๑ แรกเริ่ม...เดิมที
สาระสาคัญ
บ้ำนเกำะรัง ได้มีชื่อถือกำเนิดบนผืนป่ำแห่งนี้ ซึ่งเดิมทีบ้ำนเกำะรังอยู่ภำยใต้
กำรปกครองของตำบลบัวชุม แรกเริ่มที่ตั้งของชุมชนนั้นคือเส้นทำงผ่ำนของเหล่ำพ่อค้ำที่ใช้
สัญจรเพื่อกำรค้ำขำยเป็นหลัก ซึ่งเป็นเส้นทำงคมนำคมที่สำคัญเส้นทำงหนึ่งระหว่ำงเมือง
ศรีเทพ เมืองเพชรบูรณ์กับเมืองไชยบำดำล ตลอดจนเมืองชัยภูมิ เมืองโครำช ตั้งแต่สมัย
โบรำณมำกว่ำ ๑๐๐ ปีมำแล้ว ผู้คนที่เคยใช้เส้นทำงนี้ก็ได้เริ่มมำจับจองที่ดินทำกินและจำก
ปำกสู่ปำก ซึ่งมำจำกถิ่นฐำนใด ชนชำติใดไม่มีหลักฐำนปรำกฏชัดเจน อำทิเช่น แถบที่รำบสูง
คือเมืองชัยภูมิ เมืองพิมำย เมืองโครำช เมืองด่ำนขุนทดและแถบเมืองเพชรบูรณ์ เมืองศรี
เทพ เมืองวิเชียรและเมืองหล่มสัก เมื่อเริ่มมีบ้ำนเรือนเกิดขึ้นแบบกระจำยและขยำยเป็น
ชุมชน อำชีพส่วนใหญ่คือกำรหำของป่ำเพื่อกำรค้ำขำย และกำรเกษตรกรรม เพรำะสภำพ
ทำงภูมิศำสตร์ของพื้นที่แห่งนี้ส่วนใหญ่เป็นป่ำเต็งรังและมีแม่น้ำสำยสำคัญคือ แม่น้ำป่ำสัก
แม่น้ำลำสนธิ
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
มีควำมรู้ควำมเข้ำใจและเห็นควำมสำคัญของท้องถิ่น ใช้วิธีกำรทำงประวัติศำสตร์ใน
กำรเรียนรู้ท้องถิ่นตนเอง อย่ำงภำคภูมิใจในควำมเป็นไทยตลอดจนกำรนำควำมรู้ไป
ประยุกต์ใช้
จุดประสงค์การเรียนรู้ มีดังนี้
๑. บอกควำมหมำย ควำมสำคัญของท้องถิ่นโดยใช้วิธีกำรทำงประวัติศำสตร์ได้
๒. บอกประวัติควำมเป็นมำของชุมชนบ้ำนเกำะรัง
๓. ร่วมศึกษำข้อมูลท้องถิ่นตนเองโดยวิธีกำรทำงประวัติศำสตร์และนำเสนอข้อมูลได้
๔. บอกควำมภูมิใจในควำมเป็นไทยตำมวิถีชุมชนของตนเองได้
เล่มที่ ๑ แรกเริ่ม...เดิมที ๔
๑. ความหมายของท้องถิ่น
คำว่ำ "ท้องถิ่น"ตำมพจนำนุกรมฉบับรำชบัณฑิตยสถำน พ.ศ.2542
(2546:511) ให้ควำมหมำยไว้ว่ำ ท้องที่ใดท้องที่หนึ่งโดยเฉพำะ ซึ่งเน้นถึงลักษณะ
ทำงสภำพแวดล้อมทำงภูมิศำสตร์และทำงธรรมชำติ ที่มีควำมเป็นขอบเขตเฉพำะพื้นที่นั้นๆ
เป็นสำคัญ และยังมีควำมหมำยที่กำหนดขอบเขตของพื้นที่ระดับย่อยตำมเขตกำรปกครอง
หรือเป็นหน่วยงำนระดับรองไปจำกหน่วยงำนใหญ่ ได้แก่ หมู่บ้ำน ตำบล อำเภอจังหวัด
เป็นต้น คำว่ำท้องถิ่น จึงขึ้นอยู่กับกำรจำกัดขอบเขตทำงพื้นที่ดังกล่ำว และเมื่อนำไปใช้
ประกอบกับคำใดจึงให้ควำมหมำยเฉพำะเจำะจงในเรื่องนั้น เช่น ประเพณีท้องถิ่น สินค้ำ
ประจำท้องถิ่น เป็นต้น
ดังนั้น ท้องถิ่นของเรำจึงหมำยถึง ลักษณะสภำพแวดล้อมทำงภูมิศำสตร์และ
ทรัพยำกรทำงธรรมชำติในเขตพื้นที่กำรปกครองของตำบลเกำะรัง อำเภอชัยบำดำล ตำม
ลักษณะกำรปกครองส่วนภูมิภำค กระทรวงมหำดไทย
๒. ลักษณะของสังคมในท้องถิ่น
ท้องถิ่นแต่ละพื้นที่เกิดขึ้นจำกกำรรวมตัวของคนจำนวนหนึ่ง ประกอบด้วย
ครอบครัวหลำยๆ ครอบครัว มำกน้อยแตกต่ำงกันไป มีลักษณะกำรดำเนินชีวิตที่สอดคล้อง
เชื่อมโยงกัน จนก่อให้เกิดขนบธรรมเนียม ประเพณี ควำมเชื่อ จนส่งผลให้เกิดเป็น
วัฒนธรรมของตนเอง ดังนั้นสังคมในแต่ละท้องถิ่นย่อมแตกต่ำงกันไปแบบมีปฏิสัมพันธ์ซึ่ง
แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ ดังนี้
2.1 สังคมชนบท
2.2 สังคมเมือง
2.1 สังคมชนบท ได้แก่ ชุมชนที่มีคนอำศัยอยู่น้อยหรือเบำบำงมีลักษณะ
รวมกันอยู่เป็นหมู่บ้ำน ตำบล อำเภอหรือจังหวัด สังคมชนบทมีลักษณะโครงสร้ำงดังนี้
2.1.1 ลักษณะกำรตั้งถิ่นฐำน แบบกระจัดกระจำยอัตรำควำม
หนำแน่นของครอบครัวส่วนมำกเป็นครอบครัวขนำดใหญ่มีควำมสัมพันธ์กันอย่ำงใกล้ชิด
สนิทสนม
2.1.2 กำรศึกษำ ประชำกรในชนบทโดยทั่วไประบบกำรศึกษำ
ค่อนข้ำงต่ำ ส่วนใหญ่เป็นกำรศึกษำภำคบังคับ
2.1.3 ระบบเศรษฐกิจ ส่วนใหญ่เป็นสังคมเกษตรกรรม
กำรประกอบอำชีพหลักคือ กำรทำนำ ทำไร่ ทำสวน ประมงและกำรหำของป่ำขำยซึ่งมี
ลักษณะแบบพึ่งตนเอง
2.1.4 กำรเมืองกำรปกครอง กำรมีส่วนร่วมทำงกำรเมืองค่อนข้ำง
น้อย เพรำะมีควำมเข้ำใจว่ำไม่มีควำมเกี่ยวข้องกับตนเอง
เล่มที่ ๑ แรกเริ่ม...เดิมที ๕
2.1.5 ศำสนำและวัฒนธรรมประเพณี สังคมชนบทมีควำมศรัทธำ
ในศำสนำสูง ยึดหลักปฏิบัติตนเคร่งครัดในจำรีตประเพณี มีกำรยอมรับควำมเปลี่ยนแปลง
ในสังคมโลกน้อย
2.2 สังคมเมือง ได้แก่ พื้นที่ของชุมชนที่มีประชำกรอำศัยอยู่มำก
หนำแน่น สังคมเมืองมีลักษณะโครงสร้ำงดังนี้
2.2.1 ลักษณะกำรตั้งถิ่นฐำน พื้นที่ของชุมชนที่มีกำรอำศัยอยู่
เป็นจำนวนหลำกหลำยครัวเรือน มีอัตรำควำมหนำแน่นสูง ลักษณะเป็นครอบครัวเดี่ยว
หรือครอบครัวขนำดเล็ก
2.2.2 ระบบกำรศึกษำ สังคมเมืองเป็นศูนย์กลำงทำงกำรศึกษำ
มีสถำบันทำงกำรศึกษำทุกระดับชั้นทั้งของรัฐและเอกชน ประชำกรจึงได้รับกำรศึกษำแบบ
มีคุณภำพ
2.2.3 ระบบเศรษฐกิจ อัตรำค่ำครองชีพค่อนข้ำงสูง หลำกหลำย
อำชีพและประชำกรส่วนใหญ่มีอำชีพเกี่ยวกับกำรค้ำขำย อุตสำหกรรมและบริกำรต่ำงๆ
เล่มที่ ๑ แรกเริ่ม...เดิมที ๖
2.2.4 กำรเมืองกำรปกครอง ศูนย์กลำงทำงกำรเมืองกำรปกครอง
ของประเทศอยู่ในสังคมเมือง ประชำกรให้ควำมสำคัญและมีส่วนร่วมในระบบกำรเมือง
กำรปกครองมำก
2.2.5 ศำสนำและวัฒนธรรมประเพณี สังคมเมืองมีควำมเจริญ
ทำงด้ำนวัตถุและวิชำกำรตำมหลักควำมมีเหตุผลและวิทยำศำสตร์สมัยใหม่มำกมำย เพื่อ
กำรก้ำวให้ทันต่อกำรเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก ดังนั้นควำมศรัทธำในศำสนำ ควำมเชื่อ
วัฒนธรรมประเพณีจึงไม่สูงนัก
๓. ความสัมพันธ์ระหว่างสังคมเมืองและสังคมชนบท
สังคมเมืองหรือสังคมชนบท ต่ำงต้องพึ่งพำอำศัยซึ่งกันและกัน เช่น สังคมเมือง
ย่อมได้รับผลิตผลทำงด้ำนเกษตรกรรมจำกสังคมชนบท เพื่อกำรบริโภคและใช้เป็นวัตถุดิบ
ที่ส่งให้แก่โรงงำนอุตสำหกรรมและได้แรงงำนหรือทรัพยำกรธรรมชำติจำกสังคมชนบท
สังคมชนบทก็ต้องพึ่งพำสังคมเมืองด้ำนกำรตลำดเพื่อกำรผลิต กำรจำหน่ำยสินค้ำและ
ปรับปรุงผลิตภัณฑ์พืชผลทำงกำรเกษตร เพื่อให้ได้รับควำมรู้และวิทยำกำรสมัยใหม่จำก
สังคมเมือง รับเครื่องอุปโภคบริโภค สินค้ำอุตสำหกรรมเพื่อควำมเป็นอยู่ที่ดีขึ้น เช่น พัดลม
ตู้เย็น เครื่องทุ่นแรงต่ำงๆ ตลอดจนยวดยำนพำหนะ
เล่มที่ ๑ แรกเริ่ม...เดิมที ๗
๔. แรกเริ่ม..เดิมที ชุมชนบ้านเกาะรัง
จำกหนังสือประวัติตำบลเกำะรัง (สมเกียรติ แก่นเพชร,2554) ได้กล่ำวไว้ว่ำ ป่ำ
ดิบแล้ง ดงพญำเย็นผืนใหญ่ บริเวณลุ่มแม่น้ำป่ำสักแห่งนี้อุดมสมบูรณ์ไปด้วย ทำงธรรมชำติ
ซึ่งปกคลุมไปด้วยป่ำไม้ที่มีคุณค่ำทำงเศรษฐกิจนำนำชนิด เช่น ป่ำแดง ป่ำเต็ง ป่ำรัง มะค่ำ
ประดู่ และป่ำไม้เบญจพรรณ ในเขตเชิงเขำมีทรัพยำกรสัตว์ป่ำมำกมำย จึงทำให้มีผู้คน
อพยพเข้ำมำอยู่อำศัย ตั้งถิ่นฐำนทำมำหำกินอย่ำงต่อเนื่อง เมื่อเวลำผ่ำนไปไม่นำน ผืนป่ำ
ผืนใหญ่แห่งลุ่มแม่น้ำป่ำสักแห่งนี้ จึงเริ่มปรับเปลี่ยนกลำยสภำพเป็นชุมชนบ้ำนป่ำเมืองเก่ำ
อำเภอ ตำบลและหมู่บ้ำนตำมลำดับ
เมืองไชยบำดำลและเมืองบัวชุม เมื่อแรกเริ่มนั้นเป็นหัวเมืองฝ่ำยตะวันออกใน
สมัยกรุงศรีอยุธยำเหมือนกัน ซึ่งเมืองไชยบำดำลและเมืองบัวชุมมีหลักฐำนทำง
ประวัติศำสตร์ที่ระบุซึ่งกำรตั้งถิ่นฐำนอยู่แถบลุ่มแม่น้ำป่ำสักเช่นเดียวกับเมืองศรีเทพ ซึ่งทั้ง
เมืองศรีเทพ เมืองบัวชุม และเมืองไชยบำดำลได้ปรำกฎหลักฐำนแสดงให้เห็นว่ำ เป็นชุมชน
ที่อยู่อำศัยของมนุษย์ในสมัยโบรำณมำมำกกว่ำ 100 ปีมำแล้ว
เมืองบัวชุมและเมืองไชยบำดำลในอดีตนั้นได้มีกำรเปลี่ยนแปลงกำรปกครอง โดย
ได้ย้ำยสังกัดเมืองใหญ่ที่อยู่ใกล้เคียงตลอดเวลำ จำกเดิมเมืองไชยบำดำลมีฐำนะเป็นเมือง
ชั้นโทขึ้นอยู่ในกำรปกครองของเมืองโครำช (จังหวัดนครรำชสีมำ) เมืองชัยบำดำลซึ่งมีฐำนะ
เป็นแขวงไชยบำดำล ตั้งที่ทำกำรอยู่ริมแม่น้ำป่ำสักที่เมืองบัวชุม ปัจจุบันคือที่ตั้งสถำนี
อนำมัยบัวชุม บ้ำนบัวชุม ตำบลบัวชุม อำเภอชัยบำดำล จังหวัดลพบุรี โดยหลักฐำนจำก
กำรขุดพบโครงกระดูกและเครื่องประดับของมนุษย์ในสมัยโบรำณ ซึ่งนักแสวงโชคได้
ทำกำรขุดพบในพื้นที่ หมู่ที่ ๑ หมู่ที่ ๒ ของบ้ำนบัวชุมเมื่อประมำณปี ๒๕๔๒
บ้ำนบัวชุมและชุมชนใกล้เคียง ได้มีผู้คนมำอยู่อำศัยทำมำหำกินมำก่อนช้ำนำน
แล้ว สันนิฐำนว่ำคงเป็นชุมชนที่ใหญ่มำกเพรำะจำนวนศพที่ขุดพบมีจำนวนมำก บำงหลุม
พบมำกถึง ๓ ศพและมีบริเวณพื้นที่กว้ำงหลำยไร่ อำจมีกำรอพยพโยกย้ำยอยู่
บ่อยครั้ง เพรำะไม่มีสิ่งปลูกสร้ำงใดเป็นหลักฐำน ทั้งนี้อำจเป็นเพรำะอพยพหนีภัยสงครำม
โจรผู้ร้ำย หรือโรคภัยไข้เจ็บที่แพร่ระบำด ท้องถิ่นแถบนี้คงถูกทอดทิ้งให้รกร้ำงว่ำงเปล่ำมำ
เป็นเวลำนำน เพรำะไม่มีหลักฐำนกำรอยู่อำศัยของมนุษย์หลังจำกยุคนั้นเลย
ต่อมำสมัยทวำรวดีบ้ำนบัวชุมกลับมำมีผู้คนอำศัยอยู่อีกครั้งหนึ่งเพรำะปรำกฏ
หลักฐำนที่ขุดพบคือ โครงกระดูก เครื่องใช้และเครื่องประดับที่ทำมำจำกหิน และ
สำริด คำดว่ำคงเป็นอำณำจักรที่ใหญ่มำกเพรำะว่ำบริเวณที่ขุดพบสิ่งเหล่ำนี้กระจำยออกไป
หลำยตำบล เช่นบ้ำนซับคะเคียน บ้ำนท่ำมะกอก บ้ำนบัวชุมและบ้ำนวังอ่ำงเป็นต้น แต่ที่ตั้ง
เมืองอำจจะเป็นที่บ้ำนซับจำปำ เพรำะพบหลักฐำนรูปแบบของผังเมืองและร่องรอย
กำรสร้ำง และวัตถุโบรำณที่ขุดพบจะมีมำกกว่ำก่อนที่ขอมจะเรืองอำนำจและเข้ำมำมี
อิทธิพลในพื้นที่ วัตถุโบรำณได้แก่ พระพุทธรูปปรำงค์นำคปรกที่วัดสิงหำรำม ตำบลบัวชุม
เล่มที่ ๑ แรกเริ่ม...เดิมที ๘
พระพุทธรูปปรำงค์สมำธิที่ตำบลชัยบำดำล ซึ่งเป็นศิลปะเขมร สมัยนครวัด รำวปี พ.ศ.
๑๖๔๓ – ๑๗๑๘ หรือรำว ๘๐๐ - ๙๐๐ ปี มำแล้ว ปัจจุบันพระพุทธรูปทั้งสององค์นี้ ได้ถูก
นำไปเก็บรักษำไว้ที่พิพิธภัณฑ์สถำนแห่งชำติจังหวัดลพบุรีและยังมีวัตถุโบรำณที่วัด
สิงหำรำมอีกหลำยอย่ำงที่บ่งบอกให้ทรำบว่ำ ผู้คนที่อำศัยอยู่ในแถบนี้มีอำรยธรรมและ
ประเพณีอยู่กับวัดมำเป็นเวลำช้ำนำน แต่ก็มีหลำยอย่ำงที่ถูกโจรกรรมไป จำกหลักฐำนที่พบ
นี้ทำให้สันนิฐำนได้ว่ำในภูมิภำคแถบนี้คงจะมีถิ่นที่อยู่ที่มีควำมสำคัญและมีประวัติศำสตร์
เกี่ยวเนื่องกันคือ เมืองบัวชุม เมืองศรีเทพและเมืองชัยบำดำล เพรำะจำกหลักฐำนที่ขุดพบ
มักจะมีลักษณะที่ใกล้เคียงกันและแต่ละแห่งก็ตั้งอยู่ริมแม่น้ำป่ำสักที่เปรียบเหมือน
เส้นเลือดสำคัญที่ใช้เป็นเส้นทำงในกำรเดินทำงสมัยก่อน และถ้ำเป็นฤดูน้ำหลำกก็จะ
สำมำรถติดต่อกับพื้นที่อื่นที่ไกลออกไปได้สะดวกขึ้น พิจำรณำจำกที่ตั้งของชุมชน.จะเห็นได้
ว่ำเมืองบัวชุมเป็นศูนย์กลำงระหว่ำงเมืองชัยบำดำลกับเมืองศรีเทพ และเมืองบัวชุมน่ำจะ
เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในช่วงเวลำนั้น
ด้วยเหตุผลคือบัวชุมเป็นที่บรรจบกันของแม่น้ำสองสำยที่สำคัญ คือแม่น้ำป่ำสัก
และแม่น้ำลำสนธิ ซึ่งเป็นแหล่งที่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยข้ำวปลำอำหำร จำกกำรที่เมืองบัวชุม
เป็นศูนย์กลำงดังกล่ำวจึงทำให้มีควำมเจริญรุ่งเรืองมำกขึ้นอยู่ในภำวะปกติสุขปรำศจำก
ภัยสงครำม ประชำชนจึงหันมำบูรณะวัดตำมศรัทธำของตนและนิยมให้ลูกหลำนได้บวช
เรียน เพื่อสืบทอดพระพุทธศำสนำ ฉะนั้นจึงมีผู้คนในละแวกนี้นำบุตรหลำนมำบวชเรียน
เป็นจำนวนมำกจึงเป็นคำเรียกเมืองนี้ว่ำ “เมืองบวชชุม” ต่อมำจึงกลำยเป็นเมืองบัว
ชุม เมื่อขอมเรืองอำนำจแล้วคำดว่ำคงจะมีผู้คนมำอยู่อำศัยตั้งแต่สมัยสุโขทัยเป็นรำชธำนี
ต่อเนื่องมำจนถึงสมัยกรุงศรีอยุธยำ ซึ่งปรำกฎร่องรอยกำรอยู่อำศัยของผู้คนมำตั้งแต่ รำว
๒,๐๐๐ ปีมำแล้ว โดยมีกำรพบโครงกระดูกมนุษย์ยุคก่อนประวัติศำสตร์ตอนปลำย
ต่อเนื่องมำถึงหลักฐำนในวัฒนธรรมทวำรวดีและขอมโบรำณตำมลำดับ แล้วถูกทิ้งร้ำงไป
ในรำวปลำยพุทธศตวรรษที่ ๑๘ – ต้นพุทธศตวรรษที่ ๑๙ อันเป็นช่วงเวลำก่อนที่สุโขทัย
และกรุงศรีอยุธยำจะเจริญขึ้นมำแทนที่ โดยนักโบรำณคดีมีข้อสันนิษฐำนว่ำ อำจเกิดจำก
โรคระบำดร้ำยแรงหรือปัญหำภัยแล้ง ประกำรใดประกำรหนึ่ง หรือทั้งสองประกำรไม่ว่ำที่นี่
จะร่วงโรยลงไปด้วยสำเหตุใด แต่ก็ได้ทิ้งร่องรอยควำมรุ่งเรืองไว้มำกมำยให้ได้ศึกษำอย่ำง
เข้มข้น (จำกละโว้ – สุพรรณภูมิ สู่กรุงศรีอยุธยำ คือ รำวพุทธศักรำช ๑๗๐๐ เกิดศูนย์
อำนำจที่รวมตัวกันขึ้นด้วยเงื่อนไขทำงเศรษฐกิจสังคมแลกำรเมืองเป็น ๒ กลุ่มคือกลุ่มละโว้
ในลุ่มน้ำลพลุรี ในลุ่มน้ำลพบุรี – ป่ำสัก ต่อมำย้ำยศูนย์กลำงมำอยู่ที่ อโยธยำศรีรำมเทพ
นคร)
เล่มที่ ๑ แรกเริ่ม...เดิมที ๙
ดังพระนิพนธ์ตอนหนึ่งของสมเด็จพระบรมวงศ์เธอ กรมพระยำดำรงรำชำนุภำพ
เมื่อครั้งดำรงตำแหน่งเป็นเสนำบดีกระทรวงมหำดไทย และได้เสด็จไปเยี่ยมชมมณฑล
เพชรบูรณ์ โดยเสด็จพระดำเนินมำทำงเรือจำกสระบุรีตำมแม่น้ำป่ำสักไปยังมณฑล
เพชรบูรณ์ในปี พ.ศ. ๒๔๕๗ ควำมตอนหนึ่งว่ำ “เมืองบัวชุมแลเมืองไชยบำดำล ๒ เมืองนี้
แต่ก่อนเป็นเมืองขึ้นกับเมืองวิเชียรเดี๋ยวนี้แยกออกเป็นอำเภอ เรียกว่ำอำเภอไชยบำดำล
ขึ้นเมืองเพชรบูรณ์ ผู้คนมำกกว่ำอำเภอวิเชียร ด้วยทำไร่ทำนำดี แลมีไม้แดง ทั้งใบลำนแล
สีเสียด เป็นสินค้ำหำผลประโยชน์ได้มำก เพรำะขึ้นล่องมำกับเมืองสระบุรีได้สะดวก ไม่
อัตคัดเหมือนตอนบน ตั้งแต่เมืองไชยบำดำลลงมำบ้ำนเรือนตำมริมน้ำก็มีหนำตำขึ้นจนถึง
แขวงเมืองสระบุรี” จำกข้อควำมดังกล่ำวคงเป็นเรื่องยืนยันได้ว่ำ เมืองบัวชุมเป็นศูนย์กลำง
กำรค้ำระหว่ำงเมืองต่ำงๆ ในแถบนี้ โดยอำศัยกำรติดต่อทำงน้ำเป็นสำคัญ ขึ้นไปทำง
ตะวันออกก็ใช้แม่น้ำลำสนธิ ได้แก่ บ้ำนหนองยำยโต๊ะ บ้ำนจงโก บ้ำนหนองรีและติดต่อ
ทำงบกไปทำงโครำช ขึ้นไปทำงเหนือโดยอำศัย แม่น้ำป่ำสัก ได้แก่ เมืองศรีเทพ วิเชียร ส่วน
ทำงใต้ก็ติดต่อกับเมืองไชยบำดำล กำรติดต่อไปถึงมณฑลเพชรบูรณ์นั้น มักจะทำได้ยำก
เพรำะเมื่อไปตำมลำน้ำป่ำสักซึ่งเป็นที่แคบ และคดเคี้ยวมีน้ำไหลเชี่ยว ถ้ำเป็นฤดูแล้งน้ำจะ
น้อยกำรเดินทำงเรือจึงไม่สะดวก จนกระทั่งปี พ.ศ. ๒๔๖๑ จึงได้โอนจำกมณฑลเพชรบูรณ์
ไปขึ้นกับมณฑลสระบุรี เพรำะจะสะดวกในกำรติดต่อมำกกว่ำ และได้ย้ำยที่ทำกำรอำเภอ
จำกบัวชุมไปตั้งที่ตำบลชัยบำดำล ด้วยเหตุผลว่ำใกล้เมืองสระบุรีมำกกว่ำ แต่ตำบลบัวชุมก็
ยังคงเป็นศูนย์กลำงกำรค้ำขำยอยู่เหมือนเดิม ทำให้มีผู้อพยพเข้ำมำมำกขึ้น ทั้งแสวงหำที่
ทำกินบ้ำงหำของป่ำไปค้ำขำยบ้ำง รับจ้ำงบ้ำง ทำให้ตำบลบัวชุมเป็นตำบลใหญ่มำก ผู้คน
จึงแยกกันออกไปตั้งเป็นหมู่บ้ำนต่ำงๆ เช่นบ้ำนหนองยำยโต๊ะ บ้ำนเกำะรัง บ้ำน
ลำนำรำยณ์ เป็นต้น
กล่ำวถึงควำมเจริญด้ำนอำรยธรรมทำงศำสนำ ควำมเชื่อ วัฒนธรรม และ
ประเพณีจำกหลักฐำนมีกำรพบจำรึกหลำยชิ้นที่ศรีเทพมำตั้งแต่ก่อน พ.ศ. ๒๕๐๐ ซึ่งพระ
เจ้ำบรมวงศ์เธอ กรมพระยำดำรงรำชำนุภำพทรงมีบันทึกถึงกำรพบจำรึกหลักหนึ่งที่ต่อมำ
รู้จักกันในนำม ‘จำรึกเมืองศรีเทพ’ อักษรปัลลวะ ภำษำสันสกฤตและมีกำรพบจำรึกอื่นๆ
เพิ่มเติมเรื่อยมำเมื่อมีกำรสำรวจ ขุดแต่ง หรือบูรณะโบรำณสถำน เช่น กำรสำรวจโดย
ดร. เฮช ซี ควอริทซ์ เวลส์ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๐ ซึ่งทำให้พบจำรึกบริเวณปรำงค์สองพี่น้อง
รวมทั้งกำรลักลอบขุดหำโบรำณวัตถุอย่ำงหนัก
จำรึกเป็นหลักฐำนสำคัญซึ่งบ่งบอกถึงกำรนับถือศำสนำของผู้คนที่นี่ โดยพบจำรึก
ภำษำบำลีสั้นๆ ที่ปรำกฏหลักธรรมของศำสนำพุทธ และคำถำเยธัมมำอันเป็นหัวใจ
ของพระพุทธศำสนำ จำรึกเหล่ำนี้ไม่มีกำรระบุศักรำช ผู้เชี่ยวชำญด้ำนภำษำโบรำณจำก
หอสมุดแห่งชำติ จึงกำหนดอำยุตำมรูปแบบตัวอักษรปัลลวะที่ปรำกฏในจำรึกไว้ในรำวพุทธ
เล่มที่ ๑ แรกเริ่ม...เดิมที ๑๐
ศตวรรษที่ ๑๒ อักษรดังกล่ำว แสดงให้เห็นเด่นชัดถึงกำรรับวัฒนธรรมด้ำนตัวอักษรและ
อักขรวิธีมำจำกอินเดีย พร้อมกับศำสนำและวัฒนธรรมควำมเจริญด้ำนอื่นๆ เป็นอักษรที่มี
ลักษณะเดียวกับอักษรของรำชวงศ์ปัลลวะทำงอินเดียใต้ ซึ่งแพร่เข้ำมำ ณ ดินแดน
อุษำคเนย์ในช่วงเวลำดังกล่ำว
ศรีเทพ .....เมืองโบรำณอันรุ่งเรืองแห่งลุ่มน้ำลพบุรี – ป่ำสัก
ที่มา : สายชล Sri-Thep45.jpg
เมืองโบรำณศรีเทพนั้น เดิมชื่อ "เมืองอภัยสำลี"
นอกจำกนี้ยังมีจำรึกอักษรจีนและปัลลวะบนพระพิมพ์ อำยุรำวพุทธศตวรรษที่
๑๒ เช่นกัน สอดคล้องกับกำรพบเครื่องถ้วยจีนสมัยรำชวงศ์ถังจำกกำรขุดค้นทำงโบรำณคดี
ที่แสดงถึงกำรติดต่อกับจีน รวมถึงจำรึกสำคัญอีกหนึ่งชิ้นคือ ‘จำรึกเมืองศรีเทพ’ อักษร
ปัลลวะภำษำสันสฤตซึ่งสันนิษฐำนว่ำเป็นคำกล่ำวสรรเสริญบุคคลอีกด้วย ‘จำรึกหลักธรรม
๒ เมืองศรีเทพ’ จำรึกด้วยอักษรปัลลวะภำษำบำลี ว่ำด้วยเรื่องทุกข์และปฏิจจสมุปบำท
อักษรจำรึกเรื่องรำวโดยแสดงให้เห็นถึงกำรเติบโตอย่ำงต่อเนื่องของเมืองศรีเทพตั้งแต่พุทธ
ศตวรรษ ๑๑ - ๑๘ เป็นอย่ำงน้อย หำกพิจำรณำจำกสภำพภูมิศำสตร์แล้วนักโบรำณคดี
เล่มที่ ๑ แรกเริ่ม...เดิมที ๑๑
ล้วนลงควำมเห็นว่ำศรีเทพอยู่ในตำแหน่งที่เป็นศูนย์กลำงกำรคมนำคม ซึ่งสะดวกใน
กำรติดต่อสัมพันธ์ระหว่ำงชุมชนในลุ่มน้ำเจ้ำพระยำกับที่รำบสูงโครำช
เนื่องจำกตั้งอยู่ในหุบเขำเพชรบูรณ์ ซึ่งมีแม่น้ำป่ำสักไหลจำกเหนือลงใต้ทำงด้ำน
ตะวันตก ป่ำเขำและที่สูงกันที่รำบลุ่มป่ำสักออกจำกเขตที่รำบลุ่มเจ้ำพระยำ ส่วนทำง
ตะวันออกมีดงพญำเย็นกั้นออกจำกที่รำบสูงโครำช ด้วยเหตุนี้จึงกลำยเป็นเมืองที่อยู่
ระหว่ำงกำรแพร่กระจำยของวัฒนธรรมจำกแหล่งสำคัญ ๒ รูปแบบ ทั้งพุทธศำสนำแบบ
ทวำรวดีจำกภำคกลำง และพรำหมณ์ – ฮินดู เนื่องในวัฒนธรรมขอมโบรำณจำกฝั่ง
ตะวันออกเฉียงเหนือนั่นเอง
แหล่งโบรำณสถำนอีกหลำยแห่งที่ยืนยันถึงควำมเจริญรุ่งเรืองได้เป็นอย่ำงดี อำทิ
เช่น ปรำงค์นำงผมหอม อยู่ที่ตำบลหนองยำยโต๊ะ อำเภอชัยบำดำล มีลักษณะเป็นปรำงค์
องค์เดียวโดดๆ ก่อด้วยอิฐก้อนใหญ่ไม่สอปูน ปัจจุบันยอดปรำงค์หักหมด มีประตูเข้ำไปใน
ตัวปรำงค์ได้ กรอบประตูสร้ำงด้วยแท่งหิน ภำยในตัวปรำงค์เป็นห้องโถง รอบๆ องค์ปรำงค์
มีก้อนหินใหญ่อยู่เกลื่อนกลำด ห่ำงออกไปจำกองค์ปรำงค์ไปไม่มำกนักเป็นเนินดิน มีซำกอิฐ
อำจจะเป็นฐำนวิหำรหรือเจดีย์ ชำวบ้ำนเรียกว่ำ โคกคลีน้อย และยังมีเนินดินกว้ำงอยู่อีก
แห่งหนึ่งเรียกว่ำ โคกคลีใหญ่ บริเวณที่ตั้งของปรำงค์นำงผมหอม มีแม่น้ำมำบรรจบกันสอง
สำย คือ ลำสนธิกับลำพญำกลำง สันนิษฐำนว่ำบริเวณนี้เดิมคงเป็นเมืองโบรำณ
ปรำงค์นำงผมหอม และบ้ำนโป่งมะนำว
โบรำณวัตถุนั้นเกี่ยวข้องกับคติควำมเชื่อหรือพิธีกรรมในยุคก่อน
ประวัติศำสตร์ เรื่อง "ควำมอุดมสมบูรณ์" (Fertirity ritual)
กระดิ่งหน้ำคน จำกลุ่มน้ำป่ำสัก อำยุประมำณ 2,000 ปี
.
กระบี่จอมยุทธ์ ด้ำมสำริด ดำบเหล็ก ฝักกระบี่เป็น
ไม้ผุพังไปมำกพบในแห่งโบรำณคดียุคหิน – ทองแดง
เขตลุ่มน้ำป่ำสัก อำเภอลำนำรำยณ์ อำยุในรำว 3,000 ปี
เล่มที่ ๑ แรกเริ่ม...เดิมที ๑๒
.
.
.
ภำชนะสำริด ภำยในมีร่องรอยของลูกปัดแก้ว ระฆังรูปไก่ เป็นเทคโนโลยีกำรหล่อสำริด
จำกลุ่มน้ำป่ำสัก อำยุประมำณ 2,000 ปี.และรูปสัตว์ที่สวยงำมอำยุในรำว 2,000 ปี
จำกลุ่มน้ำป่ำสัก ชัยบำดำล จังหวัดลพบุรี
ขวำนปล่องสำริด พบเป็นจำนวนมำกในเขตโบรำณคดี
ภำคกลำงไปจนถึงภำคอีสำน อำยุรำว 2,000 - 3,500 ปี
ระฆังสำหรับแขวนคอสัตว์ มีแง่งเป็นแขน และลวดลำยดำวคล้ำยตำ
จำกแหล่งโบรำณคดีลุ่มน้ำป่ำสัก อำยุในรำว 2,000 ปี
.
ระฆังสำริด พบเป็นจำนวนมำก ใน
แหล่งโบรำณคดีทั่วภูมิภำคอำยุในรำว 2,000 ปี
http://www.oknation.net/blog/voranai/2007/10/25/entry-2
ระฆังช้ำง มีรูปช้ำงขนำดเล็กเกำะอยู่ด้ำนบน ใช้สำหรับคล้องคอช้ำง
พบในแหล่งโบรำณคดีลุ่มน้ำป่ำสัก ชัยบำดำล อำยุในรำว 2,000 ปี
ทุกรูป "สำริด" เป็นโลหะผสมที่มีอัตรำส่วนของทองแดงเป็นจำนวนมำก และบำง
ทีเรำก็จะพบสำริดบำงชิ้นปรำกฏสนิมสีแดง เกิดจำกสนิมของตะกั่วที่ผสมอยู่ภำยในเนื้อ
ของสำริด
จำกพงศำวดำร ฉบับพระรำชหัตถเลขำ กล่ำวไว้ว่ำ เมื่อปีกุน พ.ศ. ๒๑๓๐
พระยำละแวกเจ้ำเมืองเห็นว่ำกรุงศรีอยุธยำอ่อนกำลังลง ด้วยตกเป็นเมืองขึ้นของพม่ำยังไม่
มีกำลังทหำรมำกมำย จึงยกทัพมำตีเมืองนครรำชสีมำ หวังจะตีหัวเมืองชั้นในทำง
ตะวันออกไปเป็นเมืองขึ้น เวลำนั้นสมเด็จพระนเรศวรเสด็จจำกเมืองพิษณุโลกลงไปเฝ้ำพระ
มหำธรรมรำชำ พระบิดำของพระองค์ที่พระนครศรีอยุธยำ จึงโปรดให้พระศรีถมอรัตน์กับ
พระยำชัยบุรี เจ้ำเมืองไชยบำดำล (แต่เดิมคงหมำยถึงเมืองบัวชุม) คุมพลไปดักซุ่มโจมตี
พระยำละแวกในดงพญำกลำง (ดงพญำกลำง เข้ำใจว่ำน่ำจะเป็นบ้ำนลำพญำกลำง ขึ้นอยู่
อำเภอลำสนธิ เหตุเพรำะอยู่ในแนวเทือกเขำดงพญำเย็น) พระยำละแวกจึงถอยทัพกลับ
เล่มที่ ๑ แรกเริ่ม...เดิมที ๑๓
จำกกำรศึกษำลักษณะภูมิประเทศ ตรงช่องตะพำนหินจะเป็นช่องว่ำงระหว่ำงเชิง
เขำพังเหย กับเทือกเขำดงพญำเย็น ซึ่งมีอำณำเขตติดต่อกัน ระหว่ำงบ้ำนตะพำนหิน
ลำพญำกลำง อำเภอลำสนธิ จังหวัดลพบุรีกับกิ่งอำเภอเทพำรักษ์จังหวัดนครรำชสีมำ ซึ่งทั้ง
สองพื้นที่นี้จะมีควำมแตกต่ำงกันตรงระดับของพื้นดิน คือเมื่อข้ำมไปทำงนครรำชสีมำจะ
เป็นพื้นที่รำบสูงถ้ำกลับลงมำจะเป็นพื้นที่ต่ำ จึงสันนิฐำนว่ำ ชื่อ ไชยบำดำล น่ำจะมำจำก
ผู้คนที่เดินทำงมำจำกที่รำบสูงโครำช เพรำะเมื่อเดินทำงข้ำมพ้นช่องตะพานหินลงมำก็จะลง
สู่ที่ต่ำด้ำนล่ำงอย่ำงเห็นได้ชัด พวกเขำจึงเรียกพื้นที่แถบนี้ว่ำ บำดำล พื้นดินลึกลงมำ
เหมือนเมืองบำดำลในวรรณคดีเรื่องรำมเกียรติ์ และกำรที่พวกเขำพยำยำมหำช่องทำงใน
กำรข้ำมช่องเขำจนพบนั้นจึงเหมือนกำรเจำะ หรือไช ให้เกิดเป็นช่อง (ภำษำอีสำนใช้คำว่ำ
ไช) ดังนั้น เมื่อพวกเขำจะข้ำมเขตที่สูงแห้งกันดำรในแถบที่รำบสูงลงมำ เมื่อใดที่จะเดินทำง
ไปยังพื้นที่รำบด้ำนล่ำงก็มักจะพูดว่ำ ไปบำดำลจนติดปำก กลำยมำเป็นคำเรียกว่ำ บ้ำน
ไชยบำดำล ซึ่งหมำยถึง บัวชุม แต่ไม่ใช้บ้ำนชัยบำดำล
สมัยตอนต้นของกรุงรัตนโกสินทร์ สมัยพระบำทสมเด็จพระนั่งเกล้ำเจ้ำอยู่หัว
รัชกำลที่ 3 ทรงโปรดให้รวมเมืองไชยบำดำล และเมืองบัวชุม เข้ำเป็นเมืองขึ้นของเมือง
วิเชียรบุรี (เมืองศรีเทพเดิม) ปี พ.ศ.2442 ทำงกำรได้ตั้งมณฑลเพชรบูรณ์ขึ้นโดยโอนเมือง
หล่มสัก อำเภอวังสะพง มำขึ้นกับมณฑลเพชรบูรณ์ ยุบเมืองวิเชียรบุรีมำเป็นอำเภอเมือง
วิเชียรบุรี โดยอำเภอบัวชุม อำเภอชัยบำดำลมำขึ้นกับมณฑลเพชรบูรณ์ในปี พ.ศ.2457
ร่องรอยกำรอยู่อำศัยของผู้คนมำตั้งแต่ รำว ๒,๐๐๐ ปีมำแล้ว โดยมีกำรพบโครงกระดูก
มนุษย์ยุคก่อนประวัติศำสตร์ตอนปลำย ต่อเนื่องมำถึงหลักฐำนในวัฒนธรรมทวำรวดีและ
ขอมโบรำณตำมลำดับแล้วถูกทิ้งร้ำงไปในรำวปลำยพุทธศตวรรษที่ ๑๘ – ต้นพุทธศตวรรษ
ที่ ๑๙ อันเป็นช่วงเวลำก่อนที่สุโขทัยและกรุงศรีอยุธยำจะเจริญขึ้นมำแทนที่ โดยนัก
โบรำณคดีมีข้อสันนิษฐำนว่ำ อำจเกิดจำกโรคระบำดร้ำยแรงหรือปัญหำภัยแล้ง ประกำรใด
ประกำรหนึ่ง หรือทั้งสองประกำรไม่ว่ำที่นี่จะร่วงโรยลงไปด้วยสำเหตุใด แต่ก็ได้ทิ้งร่องรอย
ควำมรุ่งเรืองไว้มำกมำยให้ได้ศึกษำอย่ำงเข้มข้น
หลวงปู่เหลว กิตติงกโร อดีตเจ้ำอำวำสวัดสิงหำรำม ท่ำนเล่ำว่ำ ในขณะนั้น
อำเภอบัวชุมได้ลดลงเป็นกิ่งอำเภอบัวชุม โดยมีหลวงแพ่ง มำจำกอำเภอวิเชียรบุรี ลงมำ
เป็นปลัดประจำที่กิ่งอำเภอบัวชุม และต่อมำก็ถูกยุบจำกกิ่งอำเภอบัวชุม เหลือเพียงตำบล
บัวชุม (จากหนังสือที่ระลึกในงานทอดกฐิน ชีวประวัติ หลวงปู่เหลว กิตติงกโร วันที่ 10-
11 พฤศจิกายน2550)
ปี พ.ศ.2461 ทำงรำชกำรได้โอนอำเภอไชยบำดำลไปขึ้นกับจังหวัดสระบุรี ซึ่งว่ำ
กันว่ำกำรโอนเมืองบัวชุมและไชยบำดำล จำกโครำช (จังหวัดนครรำชสีมำ) ไปขึ้นกับมณฑล
เพชรบูรณ์ หรือโอนบัวชุมและไชยบำดำลไปขึ้นกับสระบุรีนั้น ก็ด้วยเหตุผลเพื่อสะดวกใน
เล่มที่ ๑ แรกเริ่ม...เดิมที ๑๔
กำรเดินทำงและลดเวลำค่ำใช้จ่ำยในกำรเดินทำง เช่นกำรเดินทำงไปโครำช (นครรำชสีมำ)
ต้องเดินทำงไปด้วยเท้ำไม่ปลอดภัย เพรำะมีสิงห์สำรำสัตว์ ไข้ป่ำ ชุกชุมไกลกันดำร หรือ
โอนไปขึ้นกับมณฑลเพชรบูรณ์ก็มีลักษณะคล้ำยกันแต่มีทำงเลือกอีกหนึ่งทำงคือ
กำรเดินทำงไปตำมแม่น้ำป่ำสักทำงเรือ ซึ่งต้องใช้ระยะเวลำในกำรเดินทำง 7 ถึง 15 วัน
และเมื่อโอนไปขึ้นกับจังหวัดสระบุรี ใกล้กว่ำไปขึ้นกับจังหวัดเพชรบูรณ์เล็กน้อย ไปทำงเรือ
พำยล่องน้ำ สบำยกว่ำ ไวกว่ำ หรือจะเดินทำงเท้ำก็ไวและกำรเดินทำงมีระยะทำงสั้นกว่ำ
และได้ย้ำยที่ทำกำรจำกบัวชุม ไปตั้งที่ตำบลชัยบำดำล เพรำะใกล้กับสระบุรีมำกกว่ำ
เส้นทำงของกำรคมนำคมกับแม่น้ำป่ำสัก
ซุ้มประตูบ้ำนบัวชุม
เล่มที่ ๑ แรกเริ่ม...เดิมที ๑๕
“นครบำลเพชรบูรณ์” เมืองหลวงประเทศไทย พ.ศ. 2486-2487
ดร. วิศัลย์ โฆษิตานนท์
สมัยอดีตตั้งแต่ หลวงปู่เหล่ว กิตติงกโร
อดีตเจ้ำอำวำสวัดสิงหำรำม
http://lek-prapai.org/ImageUpload/Image/806_02.jpg
เล่มที่ ๑ แรกเริ่ม...เดิมที ๑๖
กิจกรรมพัฒนาสมอง
เล่มที่ ๑ แรกเริ่ม...เดิมที
แบบฝึกหัดที่ ๑
ชื่อ..........................................นำมสกุล..........................................เลขที่...............
คำชี้แจง ให้นักเรียนยกตัวอย่ำงกำรเปลี่ยนแปลงทำงวัฒนธรรมและ
วิเครำะห์กำรเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรม (๕ คะแนน)
กำรดูแลรักษำวัฒนธรรมไทยสอดคล้องกับคุณธรรมจริยธรรม
และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ข้อใด
มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ รักควำมเป็นไทย
แนวทำงกำรรักษำวัฒนธรรม
………………………………
………………………………
………………………………
………………………………
………………………………
……..
สำเหตุ
………………………………
………………………………
………………………………
………………………………
………………………………
……
ผลที่เกิดขึ้น
………………………………
………………………………
………………………………
………………………………
………………………………
……..
วัฒนธรรมเดิม
………………………………
………………………………
………………………………
………………………………
………………………………
……..
ใบงานที่ ๑
ครับ
เล่มที่ ๑ แรกเริ่ม...เดิมที ๑๗
แบบฝึกหัดที่ ๒
ชื่อ..........................................นำมสกุล..........................................เลขที่...............
คำชี้แจง ให้นักเรียนค้นคว้ำ ศึกษำหำข้อมูลประวัติควำมเป็นมำ
กำรตั้งถิ่นฐำนที่อยู่ของครอบครัวตนเอง (๕ คะแนน)
ประวัติความเป็นมาครอบครัวของฉัน
ข้อมูลส่วนตัว……..…..…..…..…..…..…..……..…..…..…..…………………..…..…..
……..…..…..…..…..…..…..……..…..…..…..…..…..…..……..…..…..…..…..…..…..
ภูมิลำเนำครอบครัวของบิดำ …..…..……..…..…..…..…..…..……………………..
……..…..…..…..…..…..…..……..…..…..…..…..…..…..……..…..…..…..…..…..…..
ภูมิลำเนำครอบครัวของมำรดำ…..…..……..…..…..…..…..…..…..……..…..……
……..…..…..…..…..…..…..……..…..…..…..…..…..…..……..…..…..…..…..…..…..
ที่อยู่ปัจจุบัน ..…..……………………..…..…..…..…..…..…..…...…..…..…..…..…..
……..…..…..…..…..…..…..……..…..…..…..…..…..…..……..…..…..…..…..…..…..
……..…..…..…..…..…..…..……..…..…..…..…..…..…..……..…..…..…..…..…..…..
ปัจจัยและสำเหตุกำรย้ำยที่อยู่อำศัย ..…..……..…..…..…..…..…...…..…..…..
……..…..…..…..…..…..…..……..…..…..…..…..…..…..……..…..…..…..…..…..…..
……..…..…..…..…..…..…..……..…..…..…..…..…..…..……..…..…..…..…..…..…..
……..…..…..…..…..…..…..……..…..…..…..…..…..…..……..…..…..…..…..…..…..
ที่มำของข้อมูล …..
ใบงานที่ ๒
ครับ
เล่มที่ ๑ แรกเริ่ม...เดิมที ๑๘
แบบฝึกหัดที่ ๓
คำชี้แจง ให้นักเรียนจับกลุ่มตำมหมู่บ้ำนตนเอง เพื่อร่วมกันค้นคว้ำ ศึกษำ
หำข้อมูลดังต่อไปนี้ (๑๐ คะแนน)
หัวข้อการวิเคราะห์ศักยภาพชุมชน ท้องถิ่น
1. สำรวจรวบรวมข้อมูลชุมชนโดยข้อมูลที่สำรวจได้แก่ด้ำนประชำกร(จำนวน
กำรศึกษำ) ด้ำนเศรษฐกิจ (อำชีพ รำยรับ รำยจ่ำย) ด้ำนประเพณีและวัฒนธรรม (ควำมเชื่อ
ศำสนำ ประเพณี) ด้ำนกำรเมืองกำรปกครอง (โครงสร้ำงกำรปกครอง) ด้ำนสังคม (โรงเรียน
สถำนีอนำมัย) ด้ำนระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม (ทรัพยำกรธรรมชำติในท้องถิ่น) โดยใช้
วิธีกำรทำงประวัติศำสตร์ (กำรสำรวจ กำรสังเกต กำรสัมภำษณ์ กำรใช้แบบสอบถำม
หรือกำรศึกษำจำกเอกสำรเป็นต้น)
2. วิเครำะห์ศักยภำพชุมชนของกลุ่มตนเอง และนำเสนอข้อมูลในหัวข้อตำมใบงำนที่
กำหนดให้ (สิ่งสาคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลชุมชนคือ ประชาชนในชุมชนต้องมีส่วนร่วมใน
การวิเคราะห์ ให้ข้อคิดเห็น แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน)
ฉันเป็นผู้นำท้องถิ่น ทุกอย่ำงฉันสำมำรถ เพรำะฉันมีทีมชุดพัฒนำชุมชน
๑. จุดเด่นของชุมชน
๒. จุดด้อยของชุมชน
๓. สิ่งที่เหมำะสมแล้ว เห็นควรได้รับกำรพัฒนำให้ดียิ่งขึ้น
๔. สิ่งที่สมควรได้รับกำรปรับปรุงแก้ไข (ระบุแนวทำงแก้ไข)
๕. สิ่งที่ผู้นำอย่ำงฉันอยำกทำเพื่อชุมชนแห่งนี้
ใบงานที่ ๓
ครับ
เล่มที่ ๑ แรกเริ่ม...เดิมที ๑๙
คำชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้อง และเขียนเครื่องหมำยกำกบำท () ทับ
ตัวอักษรในกระดำษคำตอบ จำนวน ๑0 ข้อ เวลำ 10 นำที
๑. ข้อใดบอกควำมหมำยของคำว่ำท้องถิ่นได้ถูกต้องที่สุด
ก. ท้องที่ในเขตเทศบำลหรืออำเภอเท่ำนั้น
ข. ท้องที่ในบริเวณที่เป็นเขตชนบท
ค. ท้องที่ใดท้องที่หนึ่งโดยเฉพำะ เน้นลักษณะทำงภูมิศำสตร์
ง. ท้องที่ตำมลักษณะวัฒนธรรมประเพณี
๒. ท้องถิ่นของเรำ ในควำมหมำยของวิชำท้องถิ่นของเรำ หมำยถึงข้อใด
ก. ท้องที่ในเขตวัฒนธรรมของลพบุรี
ข. ท้องที่ในเขตกำรปกครองของจังหวัดลพบุรี
ค. ท้องที่ในบริเวณที่มีคนลพบุรีอำศัยอยู่
ง. ท้องที่บริเวณเขตหมู่บ้ำน
๓. ลักษณะของครอบครัวในสังคมชนบท มีลักษณะสำคัญอย่ำงไร
ก. เป็นครอบครัวที่มีควำมใกล้ชิดสนิทสนมกัน
ข. เป็นครอบครัวที่ต่ำงคนต่ำงอยู่
ค. ครอบครัวขนำดเล็กที่สนิทสนมกัน
ง. ครอบครัวขนำดใหญ่ที่สนิทสนมกัน
๔. ชุมชนในหมู่บ้ำนประกอบอำชีพด้ำนใดน้อยที่สุด
ก. รับจ้ำงและบริกำร
ข. เกษตรกรรม
ค. ค้ำขำย
ง. ประมง
๕. สังคมเมือง มีลักษณะกำรปฏิบัติตนตำมวัฒนธรรมประเพณีอย่ำงไร
ก. ยึดตำมธรรมเนียมอย่ำงเคร่งครัด
ข. ปฏิบัติสืบทอดมำอย่ำงดีงำม
ค. เปลี่ยนแปลงไปตำมกระแส
ง. เลือกปฏิบัติเฉพำะวัฒนธรรมไทย
เล่มที่ ๑ แรกเริ่ม...เดิมที ๒๐
๖. สังคมเมืองกับชนบทมีควำมสัมพันธ์กันในลักษณะใด
ก. สังคมชนบทพึ่งพำสังคมเมืองเป็นส่วนใหญ่
ข. สังคมเมืองพึ่งพำสังคมชนบทเป็นส่วนใหญ่
ค. พึ่งพำอำศัยซึ่งกันและกัน
ง. ต่ำงฝ่ำยต่ำงอยู่ ไม่เกี่ยวข้องกัน
๗. ลักษณะของสังคมใด ประชำชนมีส่วนร่วมในกำรปกครองมำกที่สุด
ก. สังคมชนบท
ข. สังคมเมือง
ค. ทั้งสังคมเมืองและชนบท
ง. สังคมนักวิชำกำร
๘. ตรำประจำองค์กำรบริหำรส่วนตำบลเกำะรังเป็นรูปใด
ก. มังกรทอง
ข. ช้ำง
ค. สิงโต
ง.ดอกบัว
๙. ต้นไม้ประจำโรงเรียนบ้ำนเกำะรัง คือต้นอะไรอะไร
ก. ต้นเหลืองปรีดียำธร
ข. ต้นรำชพฤกษ์
ค. ต้นกัลปพฤกษ์
ง. ต้นรัง
10. โรงเรียนบ้ำนเกำะรังก่อตั้งขึ้นเมื่อใด
ก. ๑๒ มกรำคม ๒๕๕๐
ข. ๑๔ กันยำยน ๒๔๗๐
ค. ๑๗ สิงหำคม ๒๕๕๐
ง. ๒๒ ตุลำคม ๒๕๕๗
เล่มที่ ๑ แรกเริ่ม...เดิมที ๒๑
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน - หลังเรียน
ร่วมรักษ์ ร่วมสืบสานจากบ้านสู่เมือง เล่มที่ ๑ แรกเริ่ม...เดิมที
เฉลยแบบฝึกหัด
ก ค ง ง ค ค ก ข ง ง
ใบงำนที่ ๑ - 3 แนวคำตอบอยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน
เล่มที่ ๑ แรกเริ่ม...เดิมที ๒๒
แบบบันทึกคะแนนการทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียน ห้อง..........
เล่มที่........................................................
เกณฑ์กำรวัดผล ๑. คะแนนเต็มของแบบทดสอบ จำนวน ๑๐ คะแนน
๒. เวลำในกำรทำแบบทดสอบ ๖ นำที (หำกเกินเวลำปรับ ๑ คะแนน/นำที)
๓. หำกนักเรียนได้คะแนนต่ำกว่ำ ๗ คะแนน ถือว่ำไม่ผ่ำนเกณฑ์ควร
ได้รับกำรซ่อมเสริม
ที่ ชื่อ นามสกุล ก่อน หลัง สรุปผล หมายเหตุ
ลงชื่อ......................................................ครูผู้สอน
(.....................................................)
เล่มที่ ๑ แรกเริ่ม...เดิมที ๒๓
บรรณานุกรม
คู่มือกำรสอน ประวัติศำสตร์ ม. 3 บริษัท สำนักพิมพ์วัฒนำพำนิช จำกัด
แบบฝึกทักษะ รำยวิชำพื้นฐำน ประวัติศำสตร์ ม. 3 บริษัท สำนักพิมพ์วัฒนำพำนิช
พจนำนุกรมฉบับรำชบัณฑิตยสถำน พ.ศ. ๒๕๔๒. (๒๕๔๖). กรุงเทพมหำนคร:
ผผผผผผผผพระบรมรำโชวำท และพระรำชดำรัสเกี่ยวกับควำมสุขในกำรดำเนินชีวิต
(พิมพ์ครั้งที่ ๔). กรุงเทพมหำนคร: โรงพิมพ์กรุงเทพ
วิรัช จินดำกวี . (๒๕๕๙). ประวัติควำมเป็นมำอำเภอชัยบำดำล.
สมเกียรติ แก่นเพชร,(๒๕๕๔). ประวัติตำบลเกำะรัง.กรุงเทพมหำนคร
สื่อกำรเรียนรู้ PowerPoint รำยวิชำพื้นฐำนประวัติศำสตร์ ม. 3 บริษัทสำนักพิมพ์
วัฒนำพำนิช จำกัด
หนังสือเรียน รำยวิชำพื้นฐำนประวัติศำสตร์ ม.3 บริษัทสำนักพิมพ์วัฒนำพำนิช จำกัด
หนังสือเรียน รำยวิชำพื้นฐำนประวัติศำสตร์ ม.3 บริษัทอักษรเจริญทัศน์ จำกัด
องค์กำรบริหำรส่วนตำบลบัวชุม.(๒๕๖๐). ประวัติตำบลบัวชุม . สืบค้น สิงหำคม ๒๕๖๐
จำก http://www.buachum.go.th/prawat.html
องค์กำรบริหำรส่วนตำบลชัยบำดำล.(๒๕๖๑). สืบค้น สิงหำคม ๒๕๖๐
จำก http://www.chaibadan.go.th/condition.php
http://www.newsecurity.in.th/monographs_iframe.html
http://readgur.com/doc/
http://readgur.com/download/2260302

More Related Content

Similar to หนังสือส่งเสริมการอ่าน ร่วมรักษ์ ร่วมสืบสานจากบ้านสู่เมือง กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม วิชาประวัติศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓

หนังสือขนาดเล็ก
หนังสือขนาดเล็ก หนังสือขนาดเล็ก
หนังสือขนาดเล็ก BLue Artittaya
 
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมายวรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมายchontee55
 
เล่มที่ 5 ภาษา ศาสนาและวัฒนธรรม
เล่มที่ 5 ภาษา ศาสนาและวัฒนธรรมเล่มที่ 5 ภาษา ศาสนาและวัฒนธรรม
เล่มที่ 5 ภาษา ศาสนาและวัฒนธรรมหรร 'ษๅ
 
งานคนไทยภาคกลาง
งานคนไทยภาคกลางงานคนไทยภาคกลาง
งานคนไทยภาคกลางorawan155
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u06-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u06-socPrachoom Rangkasikorn
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-socPrachoom Rangkasikorn
 
บทความ วิเคราะห์ เพลง
บทความ   วิเคราะห์ เพลงบทความ   วิเคราะห์ เพลง
บทความ วิเคราะห์ เพลงNiran Dankasai
 
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เมืองระยอง
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เมืองระยองประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เมืองระยอง
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เมืองระยองJariya Bankhuntod
 
กลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เขต 3 ตำแหน่งครูผู้ช่วย และครูผู้ดูแลเด็ก (17)
กลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เขต 3 ตำแหน่งครูผู้ช่วย และครูผู้ดูแลเด็ก (17)กลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เขต 3 ตำแหน่งครูผู้ช่วย และครูผู้ดูแลเด็ก (17)
กลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เขต 3 ตำแหน่งครูผู้ช่วย และครูผู้ดูแลเด็ก (17)ประพันธ์ เวารัมย์
 
โครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาด
โครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาดโครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาด
โครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาดSiriluk Singka
 
ประกาศคุณูปการ
ประกาศคุณูปการประกาศคุณูปการ
ประกาศคุณูปการfufee
 
.ใบความรู้ที่ 23 การปกครองท้องถิ่น
.ใบความรู้ที่ 23 การปกครองท้องถิ่น.ใบความรู้ที่ 23 การปกครองท้องถิ่น
.ใบความรู้ที่ 23 การปกครองท้องถิ่นNidWaree
 
ชุมชนบ้านกล้วย
ชุมชนบ้านกล้วยชุมชนบ้านกล้วย
ชุมชนบ้านกล้วยThanaporn Tu
 
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.Tor Jt
 

Similar to หนังสือส่งเสริมการอ่าน ร่วมรักษ์ ร่วมสืบสานจากบ้านสู่เมือง กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม วิชาประวัติศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ (20)

หนังสือขนาดเล็ก
หนังสือขนาดเล็ก หนังสือขนาดเล็ก
หนังสือขนาดเล็ก
 
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมายวรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
 
History
HistoryHistory
History
 
เล่มที่ 5 ภาษา ศาสนาและวัฒนธรรม
เล่มที่ 5 ภาษา ศาสนาและวัฒนธรรมเล่มที่ 5 ภาษา ศาสนาและวัฒนธรรม
เล่มที่ 5 ภาษา ศาสนาและวัฒนธรรม
 
งานคนไทยภาคกลาง
งานคนไทยภาคกลางงานคนไทยภาคกลาง
งานคนไทยภาคกลาง
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u06-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u06-soc
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc
 
บทความ วิเคราะห์ เพลง
บทความ   วิเคราะห์ เพลงบทความ   วิเคราะห์ เพลง
บทความ วิเคราะห์ เพลง
 
1
11
1
 
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เมืองระยอง
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เมืองระยองประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เมืองระยอง
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เมืองระยอง
 
File
FileFile
File
 
กลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เขต 3 ตำแหน่งครูผู้ช่วย และครูผู้ดูแลเด็ก (17)
กลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เขต 3 ตำแหน่งครูผู้ช่วย และครูผู้ดูแลเด็ก (17)กลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เขต 3 ตำแหน่งครูผู้ช่วย และครูผู้ดูแลเด็ก (17)
กลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เขต 3 ตำแหน่งครูผู้ช่วย และครูผู้ดูแลเด็ก (17)
 
Tha464 5
Tha464 5Tha464 5
Tha464 5
 
โครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาด
โครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาดโครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาด
โครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาด
 
7
77
7
 
ประกาศคุณูปการ
ประกาศคุณูปการประกาศคุณูปการ
ประกาศคุณูปการ
 
.ใบความรู้ที่ 23 การปกครองท้องถิ่น
.ใบความรู้ที่ 23 การปกครองท้องถิ่น.ใบความรู้ที่ 23 การปกครองท้องถิ่น
.ใบความรู้ที่ 23 การปกครองท้องถิ่น
 
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทย
 
ชุมชนบ้านกล้วย
ชุมชนบ้านกล้วยชุมชนบ้านกล้วย
ชุมชนบ้านกล้วย
 
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
 

หนังสือส่งเสริมการอ่าน ร่วมรักษ์ ร่วมสืบสานจากบ้านสู่เมือง กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม วิชาประวัติศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓

  • 1. หนังสือส่งเสริมการอ่าน เรื่อง ร่วมรักษ์ ร่วมสืบสาน จากบ้านสู่เมือง กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม วิชาประวัติศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ เล่มที่ ๑ แรกเริ่ม...เดิมที จิรณี ประกอบเสียง โรงเรียนบ้านเกาะรัง สพป.ลบ.๒
  • 2. ก หนังสือส่งเสริมการอ่าน ร่วมรักษ์ ร่วมสืบสานจากบ้านสู่เมือง กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม วิชาประวัติศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ มีสาระตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม และมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวบ่งชี้ ในสาระประวัติศาสตร์ ซึ่งจัดทาขึ้น เพื่อใช้ประกอบการจัดการเรียนรู้ศึกษาประวัติความเป็นมาท้องถิ่นตน วัฒนธรรมประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่บูรณาการสู่อาชีพที่มั่นคงของผู้เรียนในขุมขนเกาะรัง อาเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี และร่วมน้อมราลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณ กษัตริย์นักพัฒนา พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทรสยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร แห่งรอยพระบาทยาตราเมืองไชยบาดาล ขอน้อมถวายความอาลัยด้วย การส่งเสริมการอ่าน เนื่องจากตระหนักถึงความสาคัญของการอ่านที่มุ่งสร้างสานึกความเป็น ไทย พัฒนาทักษะการคิด วิเคราะห์ ร่วมหล่อหลอมและธารงรักษาซึ่งความเป็นชาติไทยให้ คงอยู่สืบไป โดยหนังสือส่งเสริมการอ่าน ร่วมรักษ์ ร่วมสืบสานจากบ้านสู่เมืองนี้ มีจำนวน ทั้งหมด ๔ เล่ม ผู้จัดทาขอขอบพระคุณผู้บริหาร คุณครูสมเกียรติ แก่นเพชร ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ชานาญการพิเศษ คณะครูโรงเรียนบ้านเกาะรังและผู้เรียน ตลอดจนผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ทุกท่านที่ให้การช่วยเหลือจนประสบความสาเร็จลุล่วงด้วยดี สุดท้ายนี้หวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสือส่งเสริมการอ่าน ร่วมรักษ์ ร่วมสืบสานจากบ้าน สู่เมือง จะเป็นประโยชน์ต่อผู้เรียน เยาวชนและสถานศึกษาในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ เพื่อสร้างสานึกความเป็นไทย ส่งเสริมค่านิยมหลัก ๑๒ ประการ รู้รัก รู้กตัญญูต่อสถาบัน ต่อแผ่นดิน สังคมและครอบครัว ภาคภูมิใจในความเป็นไทยพร้อมร่วมสร้างสรรค์พัฒนาให้ ท้องถิ่นของตนเป็นชุมชนที่เข้มแข็งน่าอยู่สืบไป จิรณี ประกอบเสียง โรงเรียนบ้านเกาะรัง สพป.ลบ.๒
  • 3. ข สารบัญ เรื่อง หน้า คานา ก สารบัญ ข คาชี้แจง ค คาแนะนาสาหรับนักเรียน ง มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/โครงสร้างการจัดการเรียนรู้ จ จุดประสงค์การเรียนรู้ ฉ แบบทดสอบก่อนเรียน ๑ เล่มที่ ๑ แรกเริ่ม...เดิมที ๓ แบบฝึกหัด ๑๖ แบบทดสอบหลังเรียน ๑๙ เฉลยแบบฝึกหัด แบบทดสอบก่อนเรียน - หลังเรียน ๒๑ แบบบันทึกคะแนน ๒๒ บรรณานุกรม ๒๓
  • 4. ค คาชี้แจง หนังสือส่งเสริมกำรอ่ำน ร่วมรักษ์ ร่วมสืบสำนจำกบ้ำนสู่เมือง กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ สังคมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม วิชำประวัติศำสตร์ ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ ๓ ซึ่งผู้เรียน สำมำรถศึกษำเนื้อหำและปฏิบัติตำมคำแนะนำสำหรับผู้เรียนรวมถึงสำมำรถประเมินผล กำรเรียนรู้ด้วยตนเองตำมขั้นตอนที่กำหนดไว้ โดยหนังสือส่งเสริมกำรอ่ำนนี้มีจำนวน ๔ เล่ม ประกอบด้วย เล่มที่ ๑ แรกเริ่ม...เดิมที จำนวน ๒ ชั่วโมง เล่มที่ ๒ วิถีชีวิตบ้ำนเรำชำวเกำะรัง จำนวน ๒ ชั่วโมง เล่มที่ ๓ “บ ว ร” ของฉัน จำนวน ๔ ชั่วโมง เล่มที่ ๔ รำลึกแห่งรอยพระบำทที่ยำตรำเมืองไชยบำดำล จำนวน ๔ ชั่วโมง เล่มที่ ๑ แรกเริ่ม...เดิมที มีสาระการก่อเกิดเป็นชุมชนระบบสังคมหมู่บ้าน หลักฐานที่ ปรากฏแสดงถึงความเป็นมา โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ เพื่อให้รู้และเข้าใจความเป็นมา ของวิถีชีวิตในท้องถิ่น ซึ่งมีแบบทดสอบ แบบฝึกหัดและเฉลย ผู้เรียนสำมำรถประเมินผลกำร เรียนรู้ด้วยตนเอง โดยบันทึกผลลงตำรำง หำกคะแนนต่ำกว่ำ ๗ คะแนน ถือว่ำไม่ผ่ำนเกณฑ์ ควรได้รับกำรซ่อมเสริม โครงสร้างการจัดการเรียนรู้ จำนวน ๑๔ ชั่วโมง ดังนี้ กำรปฐมนิเทศ จำนวน ๑ ชั่วโมง กำรศึกษำเรียนรู้จำกหนังสือส่งเสริมกำรอ่ำน ๔ เล่ม จำนวน ๑๒ ชั่วโมง กำรวัดผลประเมินผลและสรุปกำรเรียนรู้ จำนวน ๑ ชั่วโมง
  • 5. ง คาแนะนาสาหรับนักเรียน ให้นักเรียนศึกษาและปฏิบัติตามลาดับขั้นตอน ดังนี้ ๗. ทาแบบทดสอบหลังเรียน ๙. ทบทวน ๑. ศึกษาจุดประสงค์การเรียนรู้ ๒. ศึกษาคาชี้แจง ๓. ศึกษาคาแนะนาสาหรับนักเรียน ๕. ศึกษาเนื้อหา ๖. ทาแบบฝึกหัด ๔. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน ๘. ตรวจคาตอบ ๑๐. รวบรวมส่ง
  • 6. จ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสาคัญของเวลาและยุคสมัยทาง ประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็น ระบบ มาตรฐาน ส 4.3 เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรักความภูมิใจ และธารงความเป็นไทย ตัวชี้วัด มฐ.ส 4.1 ม.3/2 ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาเรื่องราวต่างๆ ที่ตนสนใจ มฐ.ส 4.3 ม.3/๓ วิเคราะห์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์และ อิทธิพลต่อการพัฒนาชาติไทย
  • 7. ฉ จุดประสงค์การเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ มีดังนี้ ๑. บอกความหมาย ความสาคัญของท้องถิ่นโดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ได้ ๒. บอกประวัติความเป็นมาของชุมชนบ้านเกาะรัง ๓. ร่วมศึกษาข้อมูลท้องถิ่นตนเองโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์และนาเสนอข้อมูลได้ ๔. บอกความภูมิใจในความเป็นไทยตามวิถีชุมชนของตนเองได้
  • 8. เล่มที่ ๑ แรกเริ่ม...เดิมที ๑ คำชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้อง และเขียนเครื่องหมำยกำกบำท () ทับ ตัวอักษรในกระดำษคำตอบ จำนวน ๑0 ข้อ เวลำ 10 นำที ๑. ข้อใดบอกควำมหมำยของคำว่ำ ท้องถิ่น ได้ถูกต้องที่สุด ก. ท้องที่ในเขตเทศบำลหรืออำเภอเท่ำนั้น ข. ท้องที่ในบริเวณที่เป็นเขตชนบท ค. ท้องที่ใดท้องที่หนึ่งโดยเฉพำะ เน้นลักษณะทำงภูมิศำสตร์ ง. ท้องที่ตำมลักษณะวัฒนธรรมประเพณี ๒. ท้องถิ่นของเรำ ในควำมหมำยนี้หมำยถึงข้อใด ก. ท้องที่ในเขตวัฒนธรรมของลพบุรี ข. ท้องที่ในเขตกำรปกครองของจังหวัดลพบุรี ค. ท้องที่ในบริเวณที่มีคนลพบุรีอำศัยอยู่ ง ท้องที่บริเวณเขตหมู่บ้ำนของเรำ ๓. ลักษณะของครอบครัวในสังคมชนบท มีลักษณะสำคัญอย่ำงไร ก. เป็นครอบครัวที่มีควำมใกล้ชิดสนิทสนมกัน ข. เป็นครอบครัวที่ต่ำงคนต่ำงอยู่ ค. ครอบครัวขนำดเล็กที่สนิทสนมกัน ง. ครอบครัวขนำดใหญ่ที่สนิทสนมกัน ๔. ชุมชนในหมู่บ้ำนประกอบอำชีพด้ำนใดน้อยที่สุด ก. รับจ้ำงและบริกำร ข. เกษตรกรรม ค. ค้ำขำย ง. ประมง ๕. สังคมเมือง มีลักษณะกำรปฏิบัติตนตำมวัฒนธรรมประเพณีอย่ำงไร ก. ยึดตำมธรรมเนียมอย่ำงเคร่งครัด ข. ปฏิบัติสืบทอดมำอย่ำงดีงำม ค. เปลี่ยนแปลงไปตำมกระแส ง. เลือกปฏิบัติเฉพำะวัฒนธรรมไทย
  • 9. เล่มที่ ๑ แรกเริ่ม...เดิมที ๒ ๖. สังคมเมืองกับสังคมชนบทมีควำมสัมพันธ์กันในลักษณะใด ก. สังคมชนบทพึ่งพำสังคมเมืองเป็นส่วนใหญ่ ข. สังคมเมืองพึ่งพำสังคมชนบทเป็นส่วนใหญ่ ค. พึ่งพำอำศัยซึ่งกันและกัน ง. ต่ำงฝ่ำยต่ำงอยู่ ไม่เกี่ยวข้องกัน ๗. ลักษณะของสังคมใด ประชำชนมีส่วนร่วมในกำรปกครองมำกที่สุด ก. สังคมชนบท ข. สังคมเมือง ค. ทั้งสังคมเมืองและชนบท ง. สังคมนักวิชำกำร ๘. ตรำประจำองค์กำรบริหำรส่วนตำบลเกำะรังเป็นรูปใด ก. มังกรทอง ข. ช้ำง ค. สิงโต ง. ดอกบัว ๙. ต้นไม้สัญลักษณ์ประจำโรงเรียนบ้ำนเกำะรัง คือต้นอะไรอะไร ก. ต้นเหลืองปรีดียำธร ข. ต้นรำชพฤกษ์ ค. ต้นกัลปพฤกษ์ ง. ต้นรัง 10. โรงเรียนบ้ำนเกำะรังก่อตั้งขึ้นเมื่อใด ก. ๑๒ มกรำคม ๒๕๕๐ ข. ๑๔ กันยำยน ๒๔๗๐ ค. ๑๗ สิงหำคม ๒๕๕๐ ง. ๒๒ ตุลำคม ๒๕๕๗
  • 10. เล่มที่ ๑ แรกเริ่ม...เดิมที ๓ เล่มที่ ๑ แรกเริ่ม...เดิมที สาระสาคัญ บ้ำนเกำะรัง ได้มีชื่อถือกำเนิดบนผืนป่ำแห่งนี้ ซึ่งเดิมทีบ้ำนเกำะรังอยู่ภำยใต้ กำรปกครองของตำบลบัวชุม แรกเริ่มที่ตั้งของชุมชนนั้นคือเส้นทำงผ่ำนของเหล่ำพ่อค้ำที่ใช้ สัญจรเพื่อกำรค้ำขำยเป็นหลัก ซึ่งเป็นเส้นทำงคมนำคมที่สำคัญเส้นทำงหนึ่งระหว่ำงเมือง ศรีเทพ เมืองเพชรบูรณ์กับเมืองไชยบำดำล ตลอดจนเมืองชัยภูมิ เมืองโครำช ตั้งแต่สมัย โบรำณมำกว่ำ ๑๐๐ ปีมำแล้ว ผู้คนที่เคยใช้เส้นทำงนี้ก็ได้เริ่มมำจับจองที่ดินทำกินและจำก ปำกสู่ปำก ซึ่งมำจำกถิ่นฐำนใด ชนชำติใดไม่มีหลักฐำนปรำกฏชัดเจน อำทิเช่น แถบที่รำบสูง คือเมืองชัยภูมิ เมืองพิมำย เมืองโครำช เมืองด่ำนขุนทดและแถบเมืองเพชรบูรณ์ เมืองศรี เทพ เมืองวิเชียรและเมืองหล่มสัก เมื่อเริ่มมีบ้ำนเรือนเกิดขึ้นแบบกระจำยและขยำยเป็น ชุมชน อำชีพส่วนใหญ่คือกำรหำของป่ำเพื่อกำรค้ำขำย และกำรเกษตรกรรม เพรำะสภำพ ทำงภูมิศำสตร์ของพื้นที่แห่งนี้ส่วนใหญ่เป็นป่ำเต็งรังและมีแม่น้ำสำยสำคัญคือ แม่น้ำป่ำสัก แม่น้ำลำสนธิ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง มีควำมรู้ควำมเข้ำใจและเห็นควำมสำคัญของท้องถิ่น ใช้วิธีกำรทำงประวัติศำสตร์ใน กำรเรียนรู้ท้องถิ่นตนเอง อย่ำงภำคภูมิใจในควำมเป็นไทยตลอดจนกำรนำควำมรู้ไป ประยุกต์ใช้ จุดประสงค์การเรียนรู้ มีดังนี้ ๑. บอกควำมหมำย ควำมสำคัญของท้องถิ่นโดยใช้วิธีกำรทำงประวัติศำสตร์ได้ ๒. บอกประวัติควำมเป็นมำของชุมชนบ้ำนเกำะรัง ๓. ร่วมศึกษำข้อมูลท้องถิ่นตนเองโดยวิธีกำรทำงประวัติศำสตร์และนำเสนอข้อมูลได้ ๔. บอกควำมภูมิใจในควำมเป็นไทยตำมวิถีชุมชนของตนเองได้
  • 11. เล่มที่ ๑ แรกเริ่ม...เดิมที ๔ ๑. ความหมายของท้องถิ่น คำว่ำ "ท้องถิ่น"ตำมพจนำนุกรมฉบับรำชบัณฑิตยสถำน พ.ศ.2542 (2546:511) ให้ควำมหมำยไว้ว่ำ ท้องที่ใดท้องที่หนึ่งโดยเฉพำะ ซึ่งเน้นถึงลักษณะ ทำงสภำพแวดล้อมทำงภูมิศำสตร์และทำงธรรมชำติ ที่มีควำมเป็นขอบเขตเฉพำะพื้นที่นั้นๆ เป็นสำคัญ และยังมีควำมหมำยที่กำหนดขอบเขตของพื้นที่ระดับย่อยตำมเขตกำรปกครอง หรือเป็นหน่วยงำนระดับรองไปจำกหน่วยงำนใหญ่ ได้แก่ หมู่บ้ำน ตำบล อำเภอจังหวัด เป็นต้น คำว่ำท้องถิ่น จึงขึ้นอยู่กับกำรจำกัดขอบเขตทำงพื้นที่ดังกล่ำว และเมื่อนำไปใช้ ประกอบกับคำใดจึงให้ควำมหมำยเฉพำะเจำะจงในเรื่องนั้น เช่น ประเพณีท้องถิ่น สินค้ำ ประจำท้องถิ่น เป็นต้น ดังนั้น ท้องถิ่นของเรำจึงหมำยถึง ลักษณะสภำพแวดล้อมทำงภูมิศำสตร์และ ทรัพยำกรทำงธรรมชำติในเขตพื้นที่กำรปกครองของตำบลเกำะรัง อำเภอชัยบำดำล ตำม ลักษณะกำรปกครองส่วนภูมิภำค กระทรวงมหำดไทย ๒. ลักษณะของสังคมในท้องถิ่น ท้องถิ่นแต่ละพื้นที่เกิดขึ้นจำกกำรรวมตัวของคนจำนวนหนึ่ง ประกอบด้วย ครอบครัวหลำยๆ ครอบครัว มำกน้อยแตกต่ำงกันไป มีลักษณะกำรดำเนินชีวิตที่สอดคล้อง เชื่อมโยงกัน จนก่อให้เกิดขนบธรรมเนียม ประเพณี ควำมเชื่อ จนส่งผลให้เกิดเป็น วัฒนธรรมของตนเอง ดังนั้นสังคมในแต่ละท้องถิ่นย่อมแตกต่ำงกันไปแบบมีปฏิสัมพันธ์ซึ่ง แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ ดังนี้ 2.1 สังคมชนบท 2.2 สังคมเมือง 2.1 สังคมชนบท ได้แก่ ชุมชนที่มีคนอำศัยอยู่น้อยหรือเบำบำงมีลักษณะ รวมกันอยู่เป็นหมู่บ้ำน ตำบล อำเภอหรือจังหวัด สังคมชนบทมีลักษณะโครงสร้ำงดังนี้ 2.1.1 ลักษณะกำรตั้งถิ่นฐำน แบบกระจัดกระจำยอัตรำควำม หนำแน่นของครอบครัวส่วนมำกเป็นครอบครัวขนำดใหญ่มีควำมสัมพันธ์กันอย่ำงใกล้ชิด สนิทสนม 2.1.2 กำรศึกษำ ประชำกรในชนบทโดยทั่วไประบบกำรศึกษำ ค่อนข้ำงต่ำ ส่วนใหญ่เป็นกำรศึกษำภำคบังคับ 2.1.3 ระบบเศรษฐกิจ ส่วนใหญ่เป็นสังคมเกษตรกรรม กำรประกอบอำชีพหลักคือ กำรทำนำ ทำไร่ ทำสวน ประมงและกำรหำของป่ำขำยซึ่งมี ลักษณะแบบพึ่งตนเอง 2.1.4 กำรเมืองกำรปกครอง กำรมีส่วนร่วมทำงกำรเมืองค่อนข้ำง น้อย เพรำะมีควำมเข้ำใจว่ำไม่มีควำมเกี่ยวข้องกับตนเอง
  • 12. เล่มที่ ๑ แรกเริ่ม...เดิมที ๕ 2.1.5 ศำสนำและวัฒนธรรมประเพณี สังคมชนบทมีควำมศรัทธำ ในศำสนำสูง ยึดหลักปฏิบัติตนเคร่งครัดในจำรีตประเพณี มีกำรยอมรับควำมเปลี่ยนแปลง ในสังคมโลกน้อย 2.2 สังคมเมือง ได้แก่ พื้นที่ของชุมชนที่มีประชำกรอำศัยอยู่มำก หนำแน่น สังคมเมืองมีลักษณะโครงสร้ำงดังนี้ 2.2.1 ลักษณะกำรตั้งถิ่นฐำน พื้นที่ของชุมชนที่มีกำรอำศัยอยู่ เป็นจำนวนหลำกหลำยครัวเรือน มีอัตรำควำมหนำแน่นสูง ลักษณะเป็นครอบครัวเดี่ยว หรือครอบครัวขนำดเล็ก 2.2.2 ระบบกำรศึกษำ สังคมเมืองเป็นศูนย์กลำงทำงกำรศึกษำ มีสถำบันทำงกำรศึกษำทุกระดับชั้นทั้งของรัฐและเอกชน ประชำกรจึงได้รับกำรศึกษำแบบ มีคุณภำพ 2.2.3 ระบบเศรษฐกิจ อัตรำค่ำครองชีพค่อนข้ำงสูง หลำกหลำย อำชีพและประชำกรส่วนใหญ่มีอำชีพเกี่ยวกับกำรค้ำขำย อุตสำหกรรมและบริกำรต่ำงๆ
  • 13. เล่มที่ ๑ แรกเริ่ม...เดิมที ๖ 2.2.4 กำรเมืองกำรปกครอง ศูนย์กลำงทำงกำรเมืองกำรปกครอง ของประเทศอยู่ในสังคมเมือง ประชำกรให้ควำมสำคัญและมีส่วนร่วมในระบบกำรเมือง กำรปกครองมำก 2.2.5 ศำสนำและวัฒนธรรมประเพณี สังคมเมืองมีควำมเจริญ ทำงด้ำนวัตถุและวิชำกำรตำมหลักควำมมีเหตุผลและวิทยำศำสตร์สมัยใหม่มำกมำย เพื่อ กำรก้ำวให้ทันต่อกำรเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก ดังนั้นควำมศรัทธำในศำสนำ ควำมเชื่อ วัฒนธรรมประเพณีจึงไม่สูงนัก ๓. ความสัมพันธ์ระหว่างสังคมเมืองและสังคมชนบท สังคมเมืองหรือสังคมชนบท ต่ำงต้องพึ่งพำอำศัยซึ่งกันและกัน เช่น สังคมเมือง ย่อมได้รับผลิตผลทำงด้ำนเกษตรกรรมจำกสังคมชนบท เพื่อกำรบริโภคและใช้เป็นวัตถุดิบ ที่ส่งให้แก่โรงงำนอุตสำหกรรมและได้แรงงำนหรือทรัพยำกรธรรมชำติจำกสังคมชนบท สังคมชนบทก็ต้องพึ่งพำสังคมเมืองด้ำนกำรตลำดเพื่อกำรผลิต กำรจำหน่ำยสินค้ำและ ปรับปรุงผลิตภัณฑ์พืชผลทำงกำรเกษตร เพื่อให้ได้รับควำมรู้และวิทยำกำรสมัยใหม่จำก สังคมเมือง รับเครื่องอุปโภคบริโภค สินค้ำอุตสำหกรรมเพื่อควำมเป็นอยู่ที่ดีขึ้น เช่น พัดลม ตู้เย็น เครื่องทุ่นแรงต่ำงๆ ตลอดจนยวดยำนพำหนะ
  • 14. เล่มที่ ๑ แรกเริ่ม...เดิมที ๗ ๔. แรกเริ่ม..เดิมที ชุมชนบ้านเกาะรัง จำกหนังสือประวัติตำบลเกำะรัง (สมเกียรติ แก่นเพชร,2554) ได้กล่ำวไว้ว่ำ ป่ำ ดิบแล้ง ดงพญำเย็นผืนใหญ่ บริเวณลุ่มแม่น้ำป่ำสักแห่งนี้อุดมสมบูรณ์ไปด้วย ทำงธรรมชำติ ซึ่งปกคลุมไปด้วยป่ำไม้ที่มีคุณค่ำทำงเศรษฐกิจนำนำชนิด เช่น ป่ำแดง ป่ำเต็ง ป่ำรัง มะค่ำ ประดู่ และป่ำไม้เบญจพรรณ ในเขตเชิงเขำมีทรัพยำกรสัตว์ป่ำมำกมำย จึงทำให้มีผู้คน อพยพเข้ำมำอยู่อำศัย ตั้งถิ่นฐำนทำมำหำกินอย่ำงต่อเนื่อง เมื่อเวลำผ่ำนไปไม่นำน ผืนป่ำ ผืนใหญ่แห่งลุ่มแม่น้ำป่ำสักแห่งนี้ จึงเริ่มปรับเปลี่ยนกลำยสภำพเป็นชุมชนบ้ำนป่ำเมืองเก่ำ อำเภอ ตำบลและหมู่บ้ำนตำมลำดับ เมืองไชยบำดำลและเมืองบัวชุม เมื่อแรกเริ่มนั้นเป็นหัวเมืองฝ่ำยตะวันออกใน สมัยกรุงศรีอยุธยำเหมือนกัน ซึ่งเมืองไชยบำดำลและเมืองบัวชุมมีหลักฐำนทำง ประวัติศำสตร์ที่ระบุซึ่งกำรตั้งถิ่นฐำนอยู่แถบลุ่มแม่น้ำป่ำสักเช่นเดียวกับเมืองศรีเทพ ซึ่งทั้ง เมืองศรีเทพ เมืองบัวชุม และเมืองไชยบำดำลได้ปรำกฎหลักฐำนแสดงให้เห็นว่ำ เป็นชุมชน ที่อยู่อำศัยของมนุษย์ในสมัยโบรำณมำมำกกว่ำ 100 ปีมำแล้ว เมืองบัวชุมและเมืองไชยบำดำลในอดีตนั้นได้มีกำรเปลี่ยนแปลงกำรปกครอง โดย ได้ย้ำยสังกัดเมืองใหญ่ที่อยู่ใกล้เคียงตลอดเวลำ จำกเดิมเมืองไชยบำดำลมีฐำนะเป็นเมือง ชั้นโทขึ้นอยู่ในกำรปกครองของเมืองโครำช (จังหวัดนครรำชสีมำ) เมืองชัยบำดำลซึ่งมีฐำนะ เป็นแขวงไชยบำดำล ตั้งที่ทำกำรอยู่ริมแม่น้ำป่ำสักที่เมืองบัวชุม ปัจจุบันคือที่ตั้งสถำนี อนำมัยบัวชุม บ้ำนบัวชุม ตำบลบัวชุม อำเภอชัยบำดำล จังหวัดลพบุรี โดยหลักฐำนจำก กำรขุดพบโครงกระดูกและเครื่องประดับของมนุษย์ในสมัยโบรำณ ซึ่งนักแสวงโชคได้ ทำกำรขุดพบในพื้นที่ หมู่ที่ ๑ หมู่ที่ ๒ ของบ้ำนบัวชุมเมื่อประมำณปี ๒๕๔๒ บ้ำนบัวชุมและชุมชนใกล้เคียง ได้มีผู้คนมำอยู่อำศัยทำมำหำกินมำก่อนช้ำนำน แล้ว สันนิฐำนว่ำคงเป็นชุมชนที่ใหญ่มำกเพรำะจำนวนศพที่ขุดพบมีจำนวนมำก บำงหลุม พบมำกถึง ๓ ศพและมีบริเวณพื้นที่กว้ำงหลำยไร่ อำจมีกำรอพยพโยกย้ำยอยู่ บ่อยครั้ง เพรำะไม่มีสิ่งปลูกสร้ำงใดเป็นหลักฐำน ทั้งนี้อำจเป็นเพรำะอพยพหนีภัยสงครำม โจรผู้ร้ำย หรือโรคภัยไข้เจ็บที่แพร่ระบำด ท้องถิ่นแถบนี้คงถูกทอดทิ้งให้รกร้ำงว่ำงเปล่ำมำ เป็นเวลำนำน เพรำะไม่มีหลักฐำนกำรอยู่อำศัยของมนุษย์หลังจำกยุคนั้นเลย ต่อมำสมัยทวำรวดีบ้ำนบัวชุมกลับมำมีผู้คนอำศัยอยู่อีกครั้งหนึ่งเพรำะปรำกฏ หลักฐำนที่ขุดพบคือ โครงกระดูก เครื่องใช้และเครื่องประดับที่ทำมำจำกหิน และ สำริด คำดว่ำคงเป็นอำณำจักรที่ใหญ่มำกเพรำะว่ำบริเวณที่ขุดพบสิ่งเหล่ำนี้กระจำยออกไป หลำยตำบล เช่นบ้ำนซับคะเคียน บ้ำนท่ำมะกอก บ้ำนบัวชุมและบ้ำนวังอ่ำงเป็นต้น แต่ที่ตั้ง เมืองอำจจะเป็นที่บ้ำนซับจำปำ เพรำะพบหลักฐำนรูปแบบของผังเมืองและร่องรอย กำรสร้ำง และวัตถุโบรำณที่ขุดพบจะมีมำกกว่ำก่อนที่ขอมจะเรืองอำนำจและเข้ำมำมี อิทธิพลในพื้นที่ วัตถุโบรำณได้แก่ พระพุทธรูปปรำงค์นำคปรกที่วัดสิงหำรำม ตำบลบัวชุม
  • 15. เล่มที่ ๑ แรกเริ่ม...เดิมที ๘ พระพุทธรูปปรำงค์สมำธิที่ตำบลชัยบำดำล ซึ่งเป็นศิลปะเขมร สมัยนครวัด รำวปี พ.ศ. ๑๖๔๓ – ๑๗๑๘ หรือรำว ๘๐๐ - ๙๐๐ ปี มำแล้ว ปัจจุบันพระพุทธรูปทั้งสององค์นี้ ได้ถูก นำไปเก็บรักษำไว้ที่พิพิธภัณฑ์สถำนแห่งชำติจังหวัดลพบุรีและยังมีวัตถุโบรำณที่วัด สิงหำรำมอีกหลำยอย่ำงที่บ่งบอกให้ทรำบว่ำ ผู้คนที่อำศัยอยู่ในแถบนี้มีอำรยธรรมและ ประเพณีอยู่กับวัดมำเป็นเวลำช้ำนำน แต่ก็มีหลำยอย่ำงที่ถูกโจรกรรมไป จำกหลักฐำนที่พบ นี้ทำให้สันนิฐำนได้ว่ำในภูมิภำคแถบนี้คงจะมีถิ่นที่อยู่ที่มีควำมสำคัญและมีประวัติศำสตร์ เกี่ยวเนื่องกันคือ เมืองบัวชุม เมืองศรีเทพและเมืองชัยบำดำล เพรำะจำกหลักฐำนที่ขุดพบ มักจะมีลักษณะที่ใกล้เคียงกันและแต่ละแห่งก็ตั้งอยู่ริมแม่น้ำป่ำสักที่เปรียบเหมือน เส้นเลือดสำคัญที่ใช้เป็นเส้นทำงในกำรเดินทำงสมัยก่อน และถ้ำเป็นฤดูน้ำหลำกก็จะ สำมำรถติดต่อกับพื้นที่อื่นที่ไกลออกไปได้สะดวกขึ้น พิจำรณำจำกที่ตั้งของชุมชน.จะเห็นได้ ว่ำเมืองบัวชุมเป็นศูนย์กลำงระหว่ำงเมืองชัยบำดำลกับเมืองศรีเทพ และเมืองบัวชุมน่ำจะ เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในช่วงเวลำนั้น ด้วยเหตุผลคือบัวชุมเป็นที่บรรจบกันของแม่น้ำสองสำยที่สำคัญ คือแม่น้ำป่ำสัก และแม่น้ำลำสนธิ ซึ่งเป็นแหล่งที่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยข้ำวปลำอำหำร จำกกำรที่เมืองบัวชุม เป็นศูนย์กลำงดังกล่ำวจึงทำให้มีควำมเจริญรุ่งเรืองมำกขึ้นอยู่ในภำวะปกติสุขปรำศจำก ภัยสงครำม ประชำชนจึงหันมำบูรณะวัดตำมศรัทธำของตนและนิยมให้ลูกหลำนได้บวช เรียน เพื่อสืบทอดพระพุทธศำสนำ ฉะนั้นจึงมีผู้คนในละแวกนี้นำบุตรหลำนมำบวชเรียน เป็นจำนวนมำกจึงเป็นคำเรียกเมืองนี้ว่ำ “เมืองบวชชุม” ต่อมำจึงกลำยเป็นเมืองบัว ชุม เมื่อขอมเรืองอำนำจแล้วคำดว่ำคงจะมีผู้คนมำอยู่อำศัยตั้งแต่สมัยสุโขทัยเป็นรำชธำนี ต่อเนื่องมำจนถึงสมัยกรุงศรีอยุธยำ ซึ่งปรำกฎร่องรอยกำรอยู่อำศัยของผู้คนมำตั้งแต่ รำว ๒,๐๐๐ ปีมำแล้ว โดยมีกำรพบโครงกระดูกมนุษย์ยุคก่อนประวัติศำสตร์ตอนปลำย ต่อเนื่องมำถึงหลักฐำนในวัฒนธรรมทวำรวดีและขอมโบรำณตำมลำดับ แล้วถูกทิ้งร้ำงไป ในรำวปลำยพุทธศตวรรษที่ ๑๘ – ต้นพุทธศตวรรษที่ ๑๙ อันเป็นช่วงเวลำก่อนที่สุโขทัย และกรุงศรีอยุธยำจะเจริญขึ้นมำแทนที่ โดยนักโบรำณคดีมีข้อสันนิษฐำนว่ำ อำจเกิดจำก โรคระบำดร้ำยแรงหรือปัญหำภัยแล้ง ประกำรใดประกำรหนึ่ง หรือทั้งสองประกำรไม่ว่ำที่นี่ จะร่วงโรยลงไปด้วยสำเหตุใด แต่ก็ได้ทิ้งร่องรอยควำมรุ่งเรืองไว้มำกมำยให้ได้ศึกษำอย่ำง เข้มข้น (จำกละโว้ – สุพรรณภูมิ สู่กรุงศรีอยุธยำ คือ รำวพุทธศักรำช ๑๗๐๐ เกิดศูนย์ อำนำจที่รวมตัวกันขึ้นด้วยเงื่อนไขทำงเศรษฐกิจสังคมแลกำรเมืองเป็น ๒ กลุ่มคือกลุ่มละโว้ ในลุ่มน้ำลพลุรี ในลุ่มน้ำลพบุรี – ป่ำสัก ต่อมำย้ำยศูนย์กลำงมำอยู่ที่ อโยธยำศรีรำมเทพ นคร)
  • 16. เล่มที่ ๑ แรกเริ่ม...เดิมที ๙ ดังพระนิพนธ์ตอนหนึ่งของสมเด็จพระบรมวงศ์เธอ กรมพระยำดำรงรำชำนุภำพ เมื่อครั้งดำรงตำแหน่งเป็นเสนำบดีกระทรวงมหำดไทย และได้เสด็จไปเยี่ยมชมมณฑล เพชรบูรณ์ โดยเสด็จพระดำเนินมำทำงเรือจำกสระบุรีตำมแม่น้ำป่ำสักไปยังมณฑล เพชรบูรณ์ในปี พ.ศ. ๒๔๕๗ ควำมตอนหนึ่งว่ำ “เมืองบัวชุมแลเมืองไชยบำดำล ๒ เมืองนี้ แต่ก่อนเป็นเมืองขึ้นกับเมืองวิเชียรเดี๋ยวนี้แยกออกเป็นอำเภอ เรียกว่ำอำเภอไชยบำดำล ขึ้นเมืองเพชรบูรณ์ ผู้คนมำกกว่ำอำเภอวิเชียร ด้วยทำไร่ทำนำดี แลมีไม้แดง ทั้งใบลำนแล สีเสียด เป็นสินค้ำหำผลประโยชน์ได้มำก เพรำะขึ้นล่องมำกับเมืองสระบุรีได้สะดวก ไม่ อัตคัดเหมือนตอนบน ตั้งแต่เมืองไชยบำดำลลงมำบ้ำนเรือนตำมริมน้ำก็มีหนำตำขึ้นจนถึง แขวงเมืองสระบุรี” จำกข้อควำมดังกล่ำวคงเป็นเรื่องยืนยันได้ว่ำ เมืองบัวชุมเป็นศูนย์กลำง กำรค้ำระหว่ำงเมืองต่ำงๆ ในแถบนี้ โดยอำศัยกำรติดต่อทำงน้ำเป็นสำคัญ ขึ้นไปทำง ตะวันออกก็ใช้แม่น้ำลำสนธิ ได้แก่ บ้ำนหนองยำยโต๊ะ บ้ำนจงโก บ้ำนหนองรีและติดต่อ ทำงบกไปทำงโครำช ขึ้นไปทำงเหนือโดยอำศัย แม่น้ำป่ำสัก ได้แก่ เมืองศรีเทพ วิเชียร ส่วน ทำงใต้ก็ติดต่อกับเมืองไชยบำดำล กำรติดต่อไปถึงมณฑลเพชรบูรณ์นั้น มักจะทำได้ยำก เพรำะเมื่อไปตำมลำน้ำป่ำสักซึ่งเป็นที่แคบ และคดเคี้ยวมีน้ำไหลเชี่ยว ถ้ำเป็นฤดูแล้งน้ำจะ น้อยกำรเดินทำงเรือจึงไม่สะดวก จนกระทั่งปี พ.ศ. ๒๔๖๑ จึงได้โอนจำกมณฑลเพชรบูรณ์ ไปขึ้นกับมณฑลสระบุรี เพรำะจะสะดวกในกำรติดต่อมำกกว่ำ และได้ย้ำยที่ทำกำรอำเภอ จำกบัวชุมไปตั้งที่ตำบลชัยบำดำล ด้วยเหตุผลว่ำใกล้เมืองสระบุรีมำกกว่ำ แต่ตำบลบัวชุมก็ ยังคงเป็นศูนย์กลำงกำรค้ำขำยอยู่เหมือนเดิม ทำให้มีผู้อพยพเข้ำมำมำกขึ้น ทั้งแสวงหำที่ ทำกินบ้ำงหำของป่ำไปค้ำขำยบ้ำง รับจ้ำงบ้ำง ทำให้ตำบลบัวชุมเป็นตำบลใหญ่มำก ผู้คน จึงแยกกันออกไปตั้งเป็นหมู่บ้ำนต่ำงๆ เช่นบ้ำนหนองยำยโต๊ะ บ้ำนเกำะรัง บ้ำน ลำนำรำยณ์ เป็นต้น กล่ำวถึงควำมเจริญด้ำนอำรยธรรมทำงศำสนำ ควำมเชื่อ วัฒนธรรม และ ประเพณีจำกหลักฐำนมีกำรพบจำรึกหลำยชิ้นที่ศรีเทพมำตั้งแต่ก่อน พ.ศ. ๒๕๐๐ ซึ่งพระ เจ้ำบรมวงศ์เธอ กรมพระยำดำรงรำชำนุภำพทรงมีบันทึกถึงกำรพบจำรึกหลักหนึ่งที่ต่อมำ รู้จักกันในนำม ‘จำรึกเมืองศรีเทพ’ อักษรปัลลวะ ภำษำสันสกฤตและมีกำรพบจำรึกอื่นๆ เพิ่มเติมเรื่อยมำเมื่อมีกำรสำรวจ ขุดแต่ง หรือบูรณะโบรำณสถำน เช่น กำรสำรวจโดย ดร. เฮช ซี ควอริทซ์ เวลส์ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๐ ซึ่งทำให้พบจำรึกบริเวณปรำงค์สองพี่น้อง รวมทั้งกำรลักลอบขุดหำโบรำณวัตถุอย่ำงหนัก จำรึกเป็นหลักฐำนสำคัญซึ่งบ่งบอกถึงกำรนับถือศำสนำของผู้คนที่นี่ โดยพบจำรึก ภำษำบำลีสั้นๆ ที่ปรำกฏหลักธรรมของศำสนำพุทธ และคำถำเยธัมมำอันเป็นหัวใจ ของพระพุทธศำสนำ จำรึกเหล่ำนี้ไม่มีกำรระบุศักรำช ผู้เชี่ยวชำญด้ำนภำษำโบรำณจำก หอสมุดแห่งชำติ จึงกำหนดอำยุตำมรูปแบบตัวอักษรปัลลวะที่ปรำกฏในจำรึกไว้ในรำวพุทธ
  • 17. เล่มที่ ๑ แรกเริ่ม...เดิมที ๑๐ ศตวรรษที่ ๑๒ อักษรดังกล่ำว แสดงให้เห็นเด่นชัดถึงกำรรับวัฒนธรรมด้ำนตัวอักษรและ อักขรวิธีมำจำกอินเดีย พร้อมกับศำสนำและวัฒนธรรมควำมเจริญด้ำนอื่นๆ เป็นอักษรที่มี ลักษณะเดียวกับอักษรของรำชวงศ์ปัลลวะทำงอินเดียใต้ ซึ่งแพร่เข้ำมำ ณ ดินแดน อุษำคเนย์ในช่วงเวลำดังกล่ำว ศรีเทพ .....เมืองโบรำณอันรุ่งเรืองแห่งลุ่มน้ำลพบุรี – ป่ำสัก ที่มา : สายชล Sri-Thep45.jpg เมืองโบรำณศรีเทพนั้น เดิมชื่อ "เมืองอภัยสำลี" นอกจำกนี้ยังมีจำรึกอักษรจีนและปัลลวะบนพระพิมพ์ อำยุรำวพุทธศตวรรษที่ ๑๒ เช่นกัน สอดคล้องกับกำรพบเครื่องถ้วยจีนสมัยรำชวงศ์ถังจำกกำรขุดค้นทำงโบรำณคดี ที่แสดงถึงกำรติดต่อกับจีน รวมถึงจำรึกสำคัญอีกหนึ่งชิ้นคือ ‘จำรึกเมืองศรีเทพ’ อักษร ปัลลวะภำษำสันสฤตซึ่งสันนิษฐำนว่ำเป็นคำกล่ำวสรรเสริญบุคคลอีกด้วย ‘จำรึกหลักธรรม ๒ เมืองศรีเทพ’ จำรึกด้วยอักษรปัลลวะภำษำบำลี ว่ำด้วยเรื่องทุกข์และปฏิจจสมุปบำท อักษรจำรึกเรื่องรำวโดยแสดงให้เห็นถึงกำรเติบโตอย่ำงต่อเนื่องของเมืองศรีเทพตั้งแต่พุทธ ศตวรรษ ๑๑ - ๑๘ เป็นอย่ำงน้อย หำกพิจำรณำจำกสภำพภูมิศำสตร์แล้วนักโบรำณคดี
  • 18. เล่มที่ ๑ แรกเริ่ม...เดิมที ๑๑ ล้วนลงควำมเห็นว่ำศรีเทพอยู่ในตำแหน่งที่เป็นศูนย์กลำงกำรคมนำคม ซึ่งสะดวกใน กำรติดต่อสัมพันธ์ระหว่ำงชุมชนในลุ่มน้ำเจ้ำพระยำกับที่รำบสูงโครำช เนื่องจำกตั้งอยู่ในหุบเขำเพชรบูรณ์ ซึ่งมีแม่น้ำป่ำสักไหลจำกเหนือลงใต้ทำงด้ำน ตะวันตก ป่ำเขำและที่สูงกันที่รำบลุ่มป่ำสักออกจำกเขตที่รำบลุ่มเจ้ำพระยำ ส่วนทำง ตะวันออกมีดงพญำเย็นกั้นออกจำกที่รำบสูงโครำช ด้วยเหตุนี้จึงกลำยเป็นเมืองที่อยู่ ระหว่ำงกำรแพร่กระจำยของวัฒนธรรมจำกแหล่งสำคัญ ๒ รูปแบบ ทั้งพุทธศำสนำแบบ ทวำรวดีจำกภำคกลำง และพรำหมณ์ – ฮินดู เนื่องในวัฒนธรรมขอมโบรำณจำกฝั่ง ตะวันออกเฉียงเหนือนั่นเอง แหล่งโบรำณสถำนอีกหลำยแห่งที่ยืนยันถึงควำมเจริญรุ่งเรืองได้เป็นอย่ำงดี อำทิ เช่น ปรำงค์นำงผมหอม อยู่ที่ตำบลหนองยำยโต๊ะ อำเภอชัยบำดำล มีลักษณะเป็นปรำงค์ องค์เดียวโดดๆ ก่อด้วยอิฐก้อนใหญ่ไม่สอปูน ปัจจุบันยอดปรำงค์หักหมด มีประตูเข้ำไปใน ตัวปรำงค์ได้ กรอบประตูสร้ำงด้วยแท่งหิน ภำยในตัวปรำงค์เป็นห้องโถง รอบๆ องค์ปรำงค์ มีก้อนหินใหญ่อยู่เกลื่อนกลำด ห่ำงออกไปจำกองค์ปรำงค์ไปไม่มำกนักเป็นเนินดิน มีซำกอิฐ อำจจะเป็นฐำนวิหำรหรือเจดีย์ ชำวบ้ำนเรียกว่ำ โคกคลีน้อย และยังมีเนินดินกว้ำงอยู่อีก แห่งหนึ่งเรียกว่ำ โคกคลีใหญ่ บริเวณที่ตั้งของปรำงค์นำงผมหอม มีแม่น้ำมำบรรจบกันสอง สำย คือ ลำสนธิกับลำพญำกลำง สันนิษฐำนว่ำบริเวณนี้เดิมคงเป็นเมืองโบรำณ ปรำงค์นำงผมหอม และบ้ำนโป่งมะนำว โบรำณวัตถุนั้นเกี่ยวข้องกับคติควำมเชื่อหรือพิธีกรรมในยุคก่อน ประวัติศำสตร์ เรื่อง "ควำมอุดมสมบูรณ์" (Fertirity ritual) กระดิ่งหน้ำคน จำกลุ่มน้ำป่ำสัก อำยุประมำณ 2,000 ปี . กระบี่จอมยุทธ์ ด้ำมสำริด ดำบเหล็ก ฝักกระบี่เป็น ไม้ผุพังไปมำกพบในแห่งโบรำณคดียุคหิน – ทองแดง เขตลุ่มน้ำป่ำสัก อำเภอลำนำรำยณ์ อำยุในรำว 3,000 ปี
  • 19. เล่มที่ ๑ แรกเริ่ม...เดิมที ๑๒ . . . ภำชนะสำริด ภำยในมีร่องรอยของลูกปัดแก้ว ระฆังรูปไก่ เป็นเทคโนโลยีกำรหล่อสำริด จำกลุ่มน้ำป่ำสัก อำยุประมำณ 2,000 ปี.และรูปสัตว์ที่สวยงำมอำยุในรำว 2,000 ปี จำกลุ่มน้ำป่ำสัก ชัยบำดำล จังหวัดลพบุรี ขวำนปล่องสำริด พบเป็นจำนวนมำกในเขตโบรำณคดี ภำคกลำงไปจนถึงภำคอีสำน อำยุรำว 2,000 - 3,500 ปี ระฆังสำหรับแขวนคอสัตว์ มีแง่งเป็นแขน และลวดลำยดำวคล้ำยตำ จำกแหล่งโบรำณคดีลุ่มน้ำป่ำสัก อำยุในรำว 2,000 ปี . ระฆังสำริด พบเป็นจำนวนมำก ใน แหล่งโบรำณคดีทั่วภูมิภำคอำยุในรำว 2,000 ปี http://www.oknation.net/blog/voranai/2007/10/25/entry-2 ระฆังช้ำง มีรูปช้ำงขนำดเล็กเกำะอยู่ด้ำนบน ใช้สำหรับคล้องคอช้ำง พบในแหล่งโบรำณคดีลุ่มน้ำป่ำสัก ชัยบำดำล อำยุในรำว 2,000 ปี ทุกรูป "สำริด" เป็นโลหะผสมที่มีอัตรำส่วนของทองแดงเป็นจำนวนมำก และบำง ทีเรำก็จะพบสำริดบำงชิ้นปรำกฏสนิมสีแดง เกิดจำกสนิมของตะกั่วที่ผสมอยู่ภำยในเนื้อ ของสำริด จำกพงศำวดำร ฉบับพระรำชหัตถเลขำ กล่ำวไว้ว่ำ เมื่อปีกุน พ.ศ. ๒๑๓๐ พระยำละแวกเจ้ำเมืองเห็นว่ำกรุงศรีอยุธยำอ่อนกำลังลง ด้วยตกเป็นเมืองขึ้นของพม่ำยังไม่ มีกำลังทหำรมำกมำย จึงยกทัพมำตีเมืองนครรำชสีมำ หวังจะตีหัวเมืองชั้นในทำง ตะวันออกไปเป็นเมืองขึ้น เวลำนั้นสมเด็จพระนเรศวรเสด็จจำกเมืองพิษณุโลกลงไปเฝ้ำพระ มหำธรรมรำชำ พระบิดำของพระองค์ที่พระนครศรีอยุธยำ จึงโปรดให้พระศรีถมอรัตน์กับ พระยำชัยบุรี เจ้ำเมืองไชยบำดำล (แต่เดิมคงหมำยถึงเมืองบัวชุม) คุมพลไปดักซุ่มโจมตี พระยำละแวกในดงพญำกลำง (ดงพญำกลำง เข้ำใจว่ำน่ำจะเป็นบ้ำนลำพญำกลำง ขึ้นอยู่ อำเภอลำสนธิ เหตุเพรำะอยู่ในแนวเทือกเขำดงพญำเย็น) พระยำละแวกจึงถอยทัพกลับ
  • 20. เล่มที่ ๑ แรกเริ่ม...เดิมที ๑๓ จำกกำรศึกษำลักษณะภูมิประเทศ ตรงช่องตะพำนหินจะเป็นช่องว่ำงระหว่ำงเชิง เขำพังเหย กับเทือกเขำดงพญำเย็น ซึ่งมีอำณำเขตติดต่อกัน ระหว่ำงบ้ำนตะพำนหิน ลำพญำกลำง อำเภอลำสนธิ จังหวัดลพบุรีกับกิ่งอำเภอเทพำรักษ์จังหวัดนครรำชสีมำ ซึ่งทั้ง สองพื้นที่นี้จะมีควำมแตกต่ำงกันตรงระดับของพื้นดิน คือเมื่อข้ำมไปทำงนครรำชสีมำจะ เป็นพื้นที่รำบสูงถ้ำกลับลงมำจะเป็นพื้นที่ต่ำ จึงสันนิฐำนว่ำ ชื่อ ไชยบำดำล น่ำจะมำจำก ผู้คนที่เดินทำงมำจำกที่รำบสูงโครำช เพรำะเมื่อเดินทำงข้ำมพ้นช่องตะพานหินลงมำก็จะลง สู่ที่ต่ำด้ำนล่ำงอย่ำงเห็นได้ชัด พวกเขำจึงเรียกพื้นที่แถบนี้ว่ำ บำดำล พื้นดินลึกลงมำ เหมือนเมืองบำดำลในวรรณคดีเรื่องรำมเกียรติ์ และกำรที่พวกเขำพยำยำมหำช่องทำงใน กำรข้ำมช่องเขำจนพบนั้นจึงเหมือนกำรเจำะ หรือไช ให้เกิดเป็นช่อง (ภำษำอีสำนใช้คำว่ำ ไช) ดังนั้น เมื่อพวกเขำจะข้ำมเขตที่สูงแห้งกันดำรในแถบที่รำบสูงลงมำ เมื่อใดที่จะเดินทำง ไปยังพื้นที่รำบด้ำนล่ำงก็มักจะพูดว่ำ ไปบำดำลจนติดปำก กลำยมำเป็นคำเรียกว่ำ บ้ำน ไชยบำดำล ซึ่งหมำยถึง บัวชุม แต่ไม่ใช้บ้ำนชัยบำดำล สมัยตอนต้นของกรุงรัตนโกสินทร์ สมัยพระบำทสมเด็จพระนั่งเกล้ำเจ้ำอยู่หัว รัชกำลที่ 3 ทรงโปรดให้รวมเมืองไชยบำดำล และเมืองบัวชุม เข้ำเป็นเมืองขึ้นของเมือง วิเชียรบุรี (เมืองศรีเทพเดิม) ปี พ.ศ.2442 ทำงกำรได้ตั้งมณฑลเพชรบูรณ์ขึ้นโดยโอนเมือง หล่มสัก อำเภอวังสะพง มำขึ้นกับมณฑลเพชรบูรณ์ ยุบเมืองวิเชียรบุรีมำเป็นอำเภอเมือง วิเชียรบุรี โดยอำเภอบัวชุม อำเภอชัยบำดำลมำขึ้นกับมณฑลเพชรบูรณ์ในปี พ.ศ.2457 ร่องรอยกำรอยู่อำศัยของผู้คนมำตั้งแต่ รำว ๒,๐๐๐ ปีมำแล้ว โดยมีกำรพบโครงกระดูก มนุษย์ยุคก่อนประวัติศำสตร์ตอนปลำย ต่อเนื่องมำถึงหลักฐำนในวัฒนธรรมทวำรวดีและ ขอมโบรำณตำมลำดับแล้วถูกทิ้งร้ำงไปในรำวปลำยพุทธศตวรรษที่ ๑๘ – ต้นพุทธศตวรรษ ที่ ๑๙ อันเป็นช่วงเวลำก่อนที่สุโขทัยและกรุงศรีอยุธยำจะเจริญขึ้นมำแทนที่ โดยนัก โบรำณคดีมีข้อสันนิษฐำนว่ำ อำจเกิดจำกโรคระบำดร้ำยแรงหรือปัญหำภัยแล้ง ประกำรใด ประกำรหนึ่ง หรือทั้งสองประกำรไม่ว่ำที่นี่จะร่วงโรยลงไปด้วยสำเหตุใด แต่ก็ได้ทิ้งร่องรอย ควำมรุ่งเรืองไว้มำกมำยให้ได้ศึกษำอย่ำงเข้มข้น หลวงปู่เหลว กิตติงกโร อดีตเจ้ำอำวำสวัดสิงหำรำม ท่ำนเล่ำว่ำ ในขณะนั้น อำเภอบัวชุมได้ลดลงเป็นกิ่งอำเภอบัวชุม โดยมีหลวงแพ่ง มำจำกอำเภอวิเชียรบุรี ลงมำ เป็นปลัดประจำที่กิ่งอำเภอบัวชุม และต่อมำก็ถูกยุบจำกกิ่งอำเภอบัวชุม เหลือเพียงตำบล บัวชุม (จากหนังสือที่ระลึกในงานทอดกฐิน ชีวประวัติ หลวงปู่เหลว กิตติงกโร วันที่ 10- 11 พฤศจิกายน2550) ปี พ.ศ.2461 ทำงรำชกำรได้โอนอำเภอไชยบำดำลไปขึ้นกับจังหวัดสระบุรี ซึ่งว่ำ กันว่ำกำรโอนเมืองบัวชุมและไชยบำดำล จำกโครำช (จังหวัดนครรำชสีมำ) ไปขึ้นกับมณฑล เพชรบูรณ์ หรือโอนบัวชุมและไชยบำดำลไปขึ้นกับสระบุรีนั้น ก็ด้วยเหตุผลเพื่อสะดวกใน
  • 21. เล่มที่ ๑ แรกเริ่ม...เดิมที ๑๔ กำรเดินทำงและลดเวลำค่ำใช้จ่ำยในกำรเดินทำง เช่นกำรเดินทำงไปโครำช (นครรำชสีมำ) ต้องเดินทำงไปด้วยเท้ำไม่ปลอดภัย เพรำะมีสิงห์สำรำสัตว์ ไข้ป่ำ ชุกชุมไกลกันดำร หรือ โอนไปขึ้นกับมณฑลเพชรบูรณ์ก็มีลักษณะคล้ำยกันแต่มีทำงเลือกอีกหนึ่งทำงคือ กำรเดินทำงไปตำมแม่น้ำป่ำสักทำงเรือ ซึ่งต้องใช้ระยะเวลำในกำรเดินทำง 7 ถึง 15 วัน และเมื่อโอนไปขึ้นกับจังหวัดสระบุรี ใกล้กว่ำไปขึ้นกับจังหวัดเพชรบูรณ์เล็กน้อย ไปทำงเรือ พำยล่องน้ำ สบำยกว่ำ ไวกว่ำ หรือจะเดินทำงเท้ำก็ไวและกำรเดินทำงมีระยะทำงสั้นกว่ำ และได้ย้ำยที่ทำกำรจำกบัวชุม ไปตั้งที่ตำบลชัยบำดำล เพรำะใกล้กับสระบุรีมำกกว่ำ เส้นทำงของกำรคมนำคมกับแม่น้ำป่ำสัก ซุ้มประตูบ้ำนบัวชุม
  • 22. เล่มที่ ๑ แรกเริ่ม...เดิมที ๑๕ “นครบำลเพชรบูรณ์” เมืองหลวงประเทศไทย พ.ศ. 2486-2487 ดร. วิศัลย์ โฆษิตานนท์ สมัยอดีตตั้งแต่ หลวงปู่เหล่ว กิตติงกโร อดีตเจ้ำอำวำสวัดสิงหำรำม http://lek-prapai.org/ImageUpload/Image/806_02.jpg
  • 23. เล่มที่ ๑ แรกเริ่ม...เดิมที ๑๖ กิจกรรมพัฒนาสมอง เล่มที่ ๑ แรกเริ่ม...เดิมที แบบฝึกหัดที่ ๑ ชื่อ..........................................นำมสกุล..........................................เลขที่............... คำชี้แจง ให้นักเรียนยกตัวอย่ำงกำรเปลี่ยนแปลงทำงวัฒนธรรมและ วิเครำะห์กำรเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรม (๕ คะแนน) กำรดูแลรักษำวัฒนธรรมไทยสอดคล้องกับคุณธรรมจริยธรรม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ข้อใด มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ รักควำมเป็นไทย แนวทำงกำรรักษำวัฒนธรรม ……………………………… ……………………………… ……………………………… ……………………………… ……………………………… …….. สำเหตุ ……………………………… ……………………………… ……………………………… ……………………………… ……………………………… …… ผลที่เกิดขึ้น ……………………………… ……………………………… ……………………………… ……………………………… ……………………………… …….. วัฒนธรรมเดิม ……………………………… ……………………………… ……………………………… ……………………………… ……………………………… …….. ใบงานที่ ๑ ครับ
  • 24. เล่มที่ ๑ แรกเริ่ม...เดิมที ๑๗ แบบฝึกหัดที่ ๒ ชื่อ..........................................นำมสกุล..........................................เลขที่............... คำชี้แจง ให้นักเรียนค้นคว้ำ ศึกษำหำข้อมูลประวัติควำมเป็นมำ กำรตั้งถิ่นฐำนที่อยู่ของครอบครัวตนเอง (๕ คะแนน) ประวัติความเป็นมาครอบครัวของฉัน ข้อมูลส่วนตัว……..…..…..…..…..…..…..……..…..…..…..…………………..…..….. ……..…..…..…..…..…..…..……..…..…..…..…..…..…..……..…..…..…..…..…..….. ภูมิลำเนำครอบครัวของบิดำ …..…..……..…..…..…..…..…..…………………….. ……..…..…..…..…..…..…..……..…..…..…..…..…..…..……..…..…..…..…..…..….. ภูมิลำเนำครอบครัวของมำรดำ…..…..……..…..…..…..…..…..…..……..…..…… ……..…..…..…..…..…..…..……..…..…..…..…..…..…..……..…..…..…..…..…..….. ที่อยู่ปัจจุบัน ..…..……………………..…..…..…..…..…..…..…...…..…..…..…..….. ……..…..…..…..…..…..…..……..…..…..…..…..…..…..……..…..…..…..…..…..….. ……..…..…..…..…..…..…..……..…..…..…..…..…..…..……..…..…..…..…..…..….. ปัจจัยและสำเหตุกำรย้ำยที่อยู่อำศัย ..…..……..…..…..…..…..…...…..…..….. ……..…..…..…..…..…..…..……..…..…..…..…..…..…..……..…..…..…..…..…..….. ……..…..…..…..…..…..…..……..…..…..…..…..…..…..……..…..…..…..…..…..….. ……..…..…..…..…..…..…..……..…..…..…..…..…..…..……..…..…..…..…..…..….. ที่มำของข้อมูล ….. ใบงานที่ ๒ ครับ
  • 25. เล่มที่ ๑ แรกเริ่ม...เดิมที ๑๘ แบบฝึกหัดที่ ๓ คำชี้แจง ให้นักเรียนจับกลุ่มตำมหมู่บ้ำนตนเอง เพื่อร่วมกันค้นคว้ำ ศึกษำ หำข้อมูลดังต่อไปนี้ (๑๐ คะแนน) หัวข้อการวิเคราะห์ศักยภาพชุมชน ท้องถิ่น 1. สำรวจรวบรวมข้อมูลชุมชนโดยข้อมูลที่สำรวจได้แก่ด้ำนประชำกร(จำนวน กำรศึกษำ) ด้ำนเศรษฐกิจ (อำชีพ รำยรับ รำยจ่ำย) ด้ำนประเพณีและวัฒนธรรม (ควำมเชื่อ ศำสนำ ประเพณี) ด้ำนกำรเมืองกำรปกครอง (โครงสร้ำงกำรปกครอง) ด้ำนสังคม (โรงเรียน สถำนีอนำมัย) ด้ำนระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม (ทรัพยำกรธรรมชำติในท้องถิ่น) โดยใช้ วิธีกำรทำงประวัติศำสตร์ (กำรสำรวจ กำรสังเกต กำรสัมภำษณ์ กำรใช้แบบสอบถำม หรือกำรศึกษำจำกเอกสำรเป็นต้น) 2. วิเครำะห์ศักยภำพชุมชนของกลุ่มตนเอง และนำเสนอข้อมูลในหัวข้อตำมใบงำนที่ กำหนดให้ (สิ่งสาคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลชุมชนคือ ประชาชนในชุมชนต้องมีส่วนร่วมใน การวิเคราะห์ ให้ข้อคิดเห็น แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน) ฉันเป็นผู้นำท้องถิ่น ทุกอย่ำงฉันสำมำรถ เพรำะฉันมีทีมชุดพัฒนำชุมชน ๑. จุดเด่นของชุมชน ๒. จุดด้อยของชุมชน ๓. สิ่งที่เหมำะสมแล้ว เห็นควรได้รับกำรพัฒนำให้ดียิ่งขึ้น ๔. สิ่งที่สมควรได้รับกำรปรับปรุงแก้ไข (ระบุแนวทำงแก้ไข) ๕. สิ่งที่ผู้นำอย่ำงฉันอยำกทำเพื่อชุมชนแห่งนี้ ใบงานที่ ๓ ครับ
  • 26. เล่มที่ ๑ แรกเริ่ม...เดิมที ๑๙ คำชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้อง และเขียนเครื่องหมำยกำกบำท () ทับ ตัวอักษรในกระดำษคำตอบ จำนวน ๑0 ข้อ เวลำ 10 นำที ๑. ข้อใดบอกควำมหมำยของคำว่ำท้องถิ่นได้ถูกต้องที่สุด ก. ท้องที่ในเขตเทศบำลหรืออำเภอเท่ำนั้น ข. ท้องที่ในบริเวณที่เป็นเขตชนบท ค. ท้องที่ใดท้องที่หนึ่งโดยเฉพำะ เน้นลักษณะทำงภูมิศำสตร์ ง. ท้องที่ตำมลักษณะวัฒนธรรมประเพณี ๒. ท้องถิ่นของเรำ ในควำมหมำยของวิชำท้องถิ่นของเรำ หมำยถึงข้อใด ก. ท้องที่ในเขตวัฒนธรรมของลพบุรี ข. ท้องที่ในเขตกำรปกครองของจังหวัดลพบุรี ค. ท้องที่ในบริเวณที่มีคนลพบุรีอำศัยอยู่ ง. ท้องที่บริเวณเขตหมู่บ้ำน ๓. ลักษณะของครอบครัวในสังคมชนบท มีลักษณะสำคัญอย่ำงไร ก. เป็นครอบครัวที่มีควำมใกล้ชิดสนิทสนมกัน ข. เป็นครอบครัวที่ต่ำงคนต่ำงอยู่ ค. ครอบครัวขนำดเล็กที่สนิทสนมกัน ง. ครอบครัวขนำดใหญ่ที่สนิทสนมกัน ๔. ชุมชนในหมู่บ้ำนประกอบอำชีพด้ำนใดน้อยที่สุด ก. รับจ้ำงและบริกำร ข. เกษตรกรรม ค. ค้ำขำย ง. ประมง ๕. สังคมเมือง มีลักษณะกำรปฏิบัติตนตำมวัฒนธรรมประเพณีอย่ำงไร ก. ยึดตำมธรรมเนียมอย่ำงเคร่งครัด ข. ปฏิบัติสืบทอดมำอย่ำงดีงำม ค. เปลี่ยนแปลงไปตำมกระแส ง. เลือกปฏิบัติเฉพำะวัฒนธรรมไทย
  • 27. เล่มที่ ๑ แรกเริ่ม...เดิมที ๒๐ ๖. สังคมเมืองกับชนบทมีควำมสัมพันธ์กันในลักษณะใด ก. สังคมชนบทพึ่งพำสังคมเมืองเป็นส่วนใหญ่ ข. สังคมเมืองพึ่งพำสังคมชนบทเป็นส่วนใหญ่ ค. พึ่งพำอำศัยซึ่งกันและกัน ง. ต่ำงฝ่ำยต่ำงอยู่ ไม่เกี่ยวข้องกัน ๗. ลักษณะของสังคมใด ประชำชนมีส่วนร่วมในกำรปกครองมำกที่สุด ก. สังคมชนบท ข. สังคมเมือง ค. ทั้งสังคมเมืองและชนบท ง. สังคมนักวิชำกำร ๘. ตรำประจำองค์กำรบริหำรส่วนตำบลเกำะรังเป็นรูปใด ก. มังกรทอง ข. ช้ำง ค. สิงโต ง.ดอกบัว ๙. ต้นไม้ประจำโรงเรียนบ้ำนเกำะรัง คือต้นอะไรอะไร ก. ต้นเหลืองปรีดียำธร ข. ต้นรำชพฤกษ์ ค. ต้นกัลปพฤกษ์ ง. ต้นรัง 10. โรงเรียนบ้ำนเกำะรังก่อตั้งขึ้นเมื่อใด ก. ๑๒ มกรำคม ๒๕๕๐ ข. ๑๔ กันยำยน ๒๔๗๐ ค. ๑๗ สิงหำคม ๒๕๕๐ ง. ๒๒ ตุลำคม ๒๕๕๗
  • 28. เล่มที่ ๑ แรกเริ่ม...เดิมที ๒๑ เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน - หลังเรียน ร่วมรักษ์ ร่วมสืบสานจากบ้านสู่เมือง เล่มที่ ๑ แรกเริ่ม...เดิมที เฉลยแบบฝึกหัด ก ค ง ง ค ค ก ข ง ง ใบงำนที่ ๑ - 3 แนวคำตอบอยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน
  • 29. เล่มที่ ๑ แรกเริ่ม...เดิมที ๒๒ แบบบันทึกคะแนนการทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียน ห้อง.......... เล่มที่........................................................ เกณฑ์กำรวัดผล ๑. คะแนนเต็มของแบบทดสอบ จำนวน ๑๐ คะแนน ๒. เวลำในกำรทำแบบทดสอบ ๖ นำที (หำกเกินเวลำปรับ ๑ คะแนน/นำที) ๓. หำกนักเรียนได้คะแนนต่ำกว่ำ ๗ คะแนน ถือว่ำไม่ผ่ำนเกณฑ์ควร ได้รับกำรซ่อมเสริม ที่ ชื่อ นามสกุล ก่อน หลัง สรุปผล หมายเหตุ ลงชื่อ......................................................ครูผู้สอน (.....................................................)
  • 30. เล่มที่ ๑ แรกเริ่ม...เดิมที ๒๓ บรรณานุกรม คู่มือกำรสอน ประวัติศำสตร์ ม. 3 บริษัท สำนักพิมพ์วัฒนำพำนิช จำกัด แบบฝึกทักษะ รำยวิชำพื้นฐำน ประวัติศำสตร์ ม. 3 บริษัท สำนักพิมพ์วัฒนำพำนิช พจนำนุกรมฉบับรำชบัณฑิตยสถำน พ.ศ. ๒๕๔๒. (๒๕๔๖). กรุงเทพมหำนคร: ผผผผผผผผพระบรมรำโชวำท และพระรำชดำรัสเกี่ยวกับควำมสุขในกำรดำเนินชีวิต (พิมพ์ครั้งที่ ๔). กรุงเทพมหำนคร: โรงพิมพ์กรุงเทพ วิรัช จินดำกวี . (๒๕๕๙). ประวัติควำมเป็นมำอำเภอชัยบำดำล. สมเกียรติ แก่นเพชร,(๒๕๕๔). ประวัติตำบลเกำะรัง.กรุงเทพมหำนคร สื่อกำรเรียนรู้ PowerPoint รำยวิชำพื้นฐำนประวัติศำสตร์ ม. 3 บริษัทสำนักพิมพ์ วัฒนำพำนิช จำกัด หนังสือเรียน รำยวิชำพื้นฐำนประวัติศำสตร์ ม.3 บริษัทสำนักพิมพ์วัฒนำพำนิช จำกัด หนังสือเรียน รำยวิชำพื้นฐำนประวัติศำสตร์ ม.3 บริษัทอักษรเจริญทัศน์ จำกัด องค์กำรบริหำรส่วนตำบลบัวชุม.(๒๕๖๐). ประวัติตำบลบัวชุม . สืบค้น สิงหำคม ๒๕๖๐ จำก http://www.buachum.go.th/prawat.html องค์กำรบริหำรส่วนตำบลชัยบำดำล.(๒๕๖๑). สืบค้น สิงหำคม ๒๕๖๐ จำก http://www.chaibadan.go.th/condition.php http://www.newsecurity.in.th/monographs_iframe.html http://readgur.com/doc/ http://readgur.com/download/2260302