SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
เทคโนโลยีนวัตกรรมและ
สื่อการศึกษา
241203 INNOVATION AND INFORMATION
TECHNOLOGY FOR LEARNING
ภารกิจการเรียนรู้ บทที่ 3
มุมมองทางจิตวิทยาการ
เรียนรู้กับเทคโนโลยีและ
สื่อการศึกษา
ภารกิจที่ 1
วิเคราะห์หาสาเหตุที่ทาให้การเรียนรู้จากสื่อของครูสมศรี
ไม่ตรงตามเป้ าประสงค์ที่ต้องการให้เกิดขึ้น พร้อมอธิบาย
เหตุผล
สาเหตุ
-ครูให้ดูเนื้อหาแต่ไม่มีการสรุปให้นักเรียนเข้าใจ
-นักเรียนไม่มีบทบาทหรือส่วนร่วม
เหตุผล
-การที่ใส่เนื้อหาและรูปภาพและกราฟฟิกเข้าไปในสื่อเพื่อให้นักเรียนดูแรกๆ
อาจจะน่าสนใจเพราะตัวกราฟฟิกแต่นานไปอาจเบื่อเพราะครูให้แค่ดูแต่ไม่อธิบายเนื้อหา
และบรรยายภาพประกอบโดยสรุปให้นักเรียนเข้าใจ
-นักเรียนไม่มีส่วนร่วม คือไม่มีการตั้งคาถามจึงเป็นการดูแบบผ่านๆมากกว่า
เพราะเมื่อไม่มีการตั้งคาถามเลยไม่รู้จะดูไปทาไมนักเรียนจึงขาดความกระตือรือร้นในการ
ที่จะค้นหาและทาความเข้าใจในเรื่องนั้นๆ
ภารกิจที่ 2
วิเคราะห์ว่าแนวคิดเกี่ยวกับแนวคิดในการออกแบบการสอน
และสื่อการสอนว่ามาจากพื้นฐานใดบ้าง และพื้นฐานดังกล่าว
มีความสัมพันธ์กันอย่างไร
พื้นฐานตามแนวคิดพฤติกรรมนิยม เป็นการออกแบบที่เน้นให้ผู้เรียน
สามารถจดจาความรู้ เนื้อหาให้ได้ในมากที่สุด โดยครูจะเป็นผู้นาเสนอ
ข้อมูลสาระสนเทศต่างๆ โดยใช้สื่อเช่นหนังสือเรียน ซึ่งบทบาทของ
ผู้เรียนจะเป็นเพียงผู้รับข้อมูลสารสนเทศ จากแนวคิดพฤติกรรมนิยมนี้จะ
เห็นได้ว่าข้อมูลข่าวสารจะถูกถ่ายทอด โดยตรงจากครูผู้สอนไปยังผู้เรียน
ซึ่งสอดคล้องกับสถานการณ์ของครูสมศรี คือ ครูสมศรีจะใช้
วิธีการสอนที่ให้ผู้เรียนเป็นผู้ที่รอรับข้อมูลสารสนเทศเพียงอย่างเดียว
ส่วนครูสมศรีเป็นผู้นาเสนอข้อมูลสารสนเทศตามแนวความคิดและ
ประสบการณ์ของตนเอง รวมถึงการออกแบบการสอนที่ มุ่งเน้นเพื่อให้
ผู้เรียนสามารถจดจาความรู้ให้ได้ในปริมาณมากที่สุด
ภารกิจที่ 3
วิเคราะห์ว่าในยุคปัจจุบันที่สังคมโลกมีการเปลี่ยนแปลง
ตลอดจนกระบวนทัศน์ใหม่ของการจัดการศึกษา ในการออกแบบ
การสอนและสื่อการสอนนั้นควรอยู่พื้นฐานของสิ่งใดบ้าง อธิบาย
พร้อมให้เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ
ในการออกแบบการสอนและสื่อการสอนควรอยู่พื้นฐานตาม
แนวคอนสตรัคติวิสต์เป็นหลัก แต่ยังประกอบด้วยแนวพฤติกรรม
นิยมและพุทธปัญญานิยมด้วย
เพราะ ผู้เรียนควรเป็นผู้สร้างความองค์ความรู้เอง โดยการ
เรียนรู้ ลงมือทา ปฏิบัติเป็นกลุ่ม และอภิปรายความรู้ร่วมกันในชั้นเรียน
แต่ยังมีแนวพื้นแบบเดิมด้วยเนื่องจากต้องมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบ
การสอนตามสถานการณ์ สภาพแวดล้อม และช่วงวัยของผู้เรียนด้วย
ตัวอย่างเช่น กิจกรรมที่สนับสนุนผู้เรียนในการสร้างความรู้
ไม่ใช่สนับสนุนจากการใช้เทคโนโลยีควบคุมปฏิสัมพันธ์
ผู้เรียนทั้งหมด จะเป็นการดีถ้าผู้เรียนเป็นผู้สร้าง ผู้ควบคุมและ
เมื่อมีปฏิสัมพันธ์กับเทคโนโลยี เพราะเป็นการสนับสนุนหรือ
ช่วยเหลือให้เกิดความคิดรวบยอดและเกิดสติปัญญา
จัดทาโดย
553050054-8 นางสาวกัลยาณี ทองทับ
553050090-4 นางสาวภัทรสุดา ประสานพันธ์
553050102-3 นางสาวศศิธร พลไธสง
สาขาวิชาคณิตศาสตรศึกษา ชั้นปีที่ 2

More Related Content

What's hot (11)

Chapter 3
Chapter 3Chapter 3
Chapter 3
 
Chapter 3
Chapter 3Chapter 3
Chapter 3
 
นวัตกรรมกลุ่ม Chapter3
นวัตกรรมกลุ่ม Chapter3นวัตกรรมกลุ่ม Chapter3
นวัตกรรมกลุ่ม Chapter3
 
งานนำเสนอสัปดาห์ที่3
งานนำเสนอสัปดาห์ที่3งานนำเสนอสัปดาห์ที่3
งานนำเสนอสัปดาห์ที่3
 
Chapter 3
Chapter 3 Chapter 3
Chapter 3
 
Chapter 3
Chapter 3Chapter 3
Chapter 3
 
Chapter 3
Chapter 3Chapter 3
Chapter 3
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
 
จืตวิทยาการศึกษา
จืตวิทยาการศึกษาจืตวิทยาการศึกษา
จืตวิทยาการศึกษา
 
งานกลุ่มเทคโนโลยีการศึกษา
งานกลุ่มเทคโนโลยีการศึกษางานกลุ่มเทคโนโลยีการศึกษา
งานกลุ่มเทคโนโลยีการศึกษา
 

Similar to บทที่ 3

บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
Vi Mengdie
 
บทที่ 3 sec 1
บทที่ 3 sec 1บทที่ 3 sec 1
บทที่ 3 sec 1
yaowalakMathEd
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
Mod DW
 
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาChapter 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
Turdsak Najumpa
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
FerNews
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
beta_t
 

Similar to บทที่ 3 (20)

มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
 
Chapter 3
Chapter 3Chapter 3
Chapter 3
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
L3
L3L3
L3
 
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 
บทที่ 3 sec 1
บทที่ 3 sec 1บทที่ 3 sec 1
บทที่ 3 sec 1
 
Chapte3
Chapte3Chapte3
Chapte3
 
งานบทที่ 3
งานบทที่ 3งานบทที่ 3
งานบทที่ 3
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
นำเสนอ Chapter3 กลุ่ม EDK2BN
นำเสนอ Chapter3 กลุ่ม EDK2BNนำเสนอ Chapter3 กลุ่ม EDK2BN
นำเสนอ Chapter3 กลุ่ม EDK2BN
 
chapter3
chapter3chapter3
chapter3
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาChapter 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
Innovation chapter 3
Innovation chapter 3Innovation chapter 3
Innovation chapter 3
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 

บทที่ 3