SlideShare a Scribd company logo
1 of 36
Download to read offline
โรงไฟฟาพลังนํา (Hydro
      ้      ้
   Power Plant)
ลกษณะการทางาน
 ั       ํ

            โรงไฟฟ้ าพลังงานนํ้า เป็ นแหล่งผลิตไฟฟ้ าที่สาคัญอีกชนิดหนึ่งของ
                                                              ํ
ประเทศไทย โรงไฟฟ้ าชนิดนี้ใช้น้ าในลํานํ้าธรรมชาติเป็ นพลังงาน ในการเดินเครื่ อง
                                      ํ
                                                                    ่
โดยวิธีสร้างเขื่อนปิ ดกั้นแม่น้ าไว้ เป็ นอ่างเก็บนํ้า ให้มีระดับอยูในที่สูงจนมีปริ มาณ
                                ํ
นํ้า และแรงดันเพียงพอที่จะนํามาหมุนเครื่ องกังหันนํ้าและเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าซึ่งอยู่
ในโรงไฟฟ้ าท้ายนํ้าที่มีระดับตํ่ากว่าได้ กําลังผลิตติดตั้งและพลังงานไฟฟ้ าที่ผลิตได้
จากโรงไฟฟ้ าชนิดนี้ จะเพิ่มเป็ นสัดส่ วนโดยตรงกับแรงดันและปริ มาณนํ้าที่ไหลผ่าน
เครื่ องกังหันนํ้า
1. นํา (Hydro)
                                          ้
 เป็ นทรัพยากรที่สาคัญที่สุดอย่างหนึ่งต่อการดํารงชีวิตของสิ่ งมีชีวิตทั้งหลาย มนุษย์
                       ํ
   จําเป็ นต้องใช้น้ าเพื่อการอุปโภคและบริ โภค นอกจากนี้ นํ้ายังเป็ นแหล่งอาหารที่
                     ํ
สําคัญ เป็ นเส้นทางคมนาคม เป็ นแหล่งสันทนาการ รวมทั้งยังสามารถพัฒนาให้เป็ น
                                     แหล่งพลังงานอีกด้วย
น้ าจะเกิดข้ ึนตามธรรมชาติมีวฏจกรหมุนเวียนไปอยางไมมีวนหมด น้ าจากแหล่งน้ า
   ํ                              ั ั                   ่ ่ ั           ํ          ํ
  ธรรมชาติ ทะเล มหาสมุทร จะถูกดวงอาทิตย์เผากลายเป็ นไอลอยขึ้นไปบนอากาศ
และเกาะตัวเป็ นกลุ่มก้อนคือ เมฆฝน ตกลงมาบนพื้นโลก และนํานํ้ามาใช้ประโยชน์
                                      ในแบบต่าง ๆ กัน
การพัฒนาแหล่งนํ้าเพื่อนํามาใช้ประโยชน์ ส่ วนใหญ่จะก่อสร้างเขื่อนหรื ออ่างเก็บนํ้า
              ั                    ํ
     เป็นหลก โดยการสร้างจะกาหนดวตถุประสงคไวเ้ ป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
                                            ั         ์
1. เพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะเพียงอย่างเดียว (Single Purpose) เช่น สร้างเพื่อ
- การชลประทาน                                - การอุปโภค บริโภค
- การผลิตกระแสไฟฟ้ า
2. เพื่อการอเนกประสงค์ (Multipurpose) คือการสร้างเพื่อให้ได้ประโยชน์หลาย ๆ
อยางพร้อมกน เช่น
    ่          ั
- การชลประทาน (Irrigation)                        - การระบายนํ้า (Drainage)
- การบรรเทาอุทกภย (Flood Control) - การคมนาคม (Navigation)
                      ั
- การรักษาคุณภาพนํ้า (Water Quality Control) - การประมง (Fishery)
- การไล่น้ าเค็ม (Salinity Control)
             ํ                                    - การท่องเที่ยว (Tourism)
- การผลิตกระแสไฟฟ้ าพลังนํ้า (Hydro Power Generation)
- การอุปโภค บริโภค (Domestic or Industrial Water Supply)
ประโยชน์ที่ได้รับหลาย ๆ อย่างนี้ การสร้างเขื่อนส่ วนมากจึงจําเป็ นต้องตั้งวัตถุประสงค์ไว้
เพื่อให้เป็ นเขื่อนแบบอเนกประสงค์
2. การวางแผนสร้างเขื่อน
การวางแผนสร้างเขื่อน จะต้องพยายามใช้ประโยชน์จากแหล่งนํ้าบริ เวณที่สร้างเขื่อนให้ได้
ประโยชน์มากที่สุด โดยศึกษาและสารวจหาความสามารถสูงสุดของแหล่งน้ าดงต่อไปน้ ี
                                   ํ                                ํ ั
1.       ลกษณะภมิประเทศ (Topography)
             ั     ู
2.       อุทกวิทยา และอุตุนิยมวทยา (Hydrology and Meteorology)
                                 ิ
3.       ธรณี วิทยา และฐานราก (Geology and Foundation)
4.       วสดุก่อสร้าง (Construction Materials)
           ั
5.       ระบบไฟฟ้าที่มีอยู่ (Existing Power System)
6.       ผลกระทบต่อสิ่งแวดลอม (Environment Impact)
                               ้
เมื่อไดรวบรวมขอมูลและทาการศึกษารายละเอียดตามรายการท้ ง 6 ข้อที่กล่าวมาแล้ว ก็สามารถ
       ้         ้       ํ                            ั
จะประมวลเป็นโครงการแลวทาการศึกษาต่อทางดานวศวกรรมเศรษฐศาสตร์ และการเงินของ
                           ้ ํ                    ้ ิ
โครงการ เพื่อการติดสิ นใจดําเนินการเป็ นขั้น ๆ ต่อไป
3. ชนิดของเขื่อน
แบ่งตามวัสดุที่ใช้ในการก่อสร้าง แบ่งเป็ น
3.1 เขื่อนคอนกรี ต มีอยู่ 3 แบบ คือ
1. แบบฐานแผ่ (Gravity) เป็นเขื่อนที่ออกแบบใหมีความมนคงแขงแรงโดย
                                                      ้         ั่     ็
อาศัยนํ้าหนักคอนกรี ตของตัวเขื่อนรับแรงต่าง ๆ เขื่อนประเภทนี้ได้แก่ เขื่อนกิ่วลม
เป็นตน้
2. แบบโค้ง (Arch) อาศัยความโค้งรับแรงที่กระทําต่อเขื่อน โดยถ่ายแรงดันของ
นํ้าไปสู่ ไหล่เขาทั้งสองข้าง ตัวเขื่อนมีลกษณะบางใช้คอนกรี ตไม่มาก เขื่อนแบบนี้
                                          ั
ได้แก่ เขื่อนภูมิพล ซึ่งเป็ นเขื่อนเดียวในประเทศไทย
3. แบบกลวงหรื อครี บ (Hollow or Buttress) ดานหนาเขื่อนเป็นแผน
                                                          ้        ้           ่
คอนกรี ต มีโครงสร้างคอนกรี ตคํ้ายันเป็ นช่วง ๆ ทางด้านหลัง เขื่อนแบบนี้ไม่มีใน
ประเทศไทย และปัจจุบนไม่ค่อยได้รับความนิยม
                           ั
3.2 เขื่อนถม
                                    ั                        ู่
เขื่อนถม คือเขื่อนที่สร้างข้ ึนจากวสดุตามธรรมชาติที่มีอยในบริเวณใกลเ้ คียง รวมท้ งวสดุที่ได้
                                                                                       ั ั
จากการขดหรือสร้างจากวสดุที่เหลือทิ้งจากกระบวนการทางอุตสาหกรรม สามารถแยกออกได้
           ุ                  ั
ตามลักษณะองค์ประกอบ และวิธีการก่อสร้างดังนี้
1. เขื่อนดินถม หรื อเขื่อนดิน (Earthfill Dam) คือเขื่อนที่ก่อสร้างข้ ึนโดยมีปริมาตรของ
วสดุทึบน้ า ( ดิน) มากกว่าร้อยละ 50 ของปริ มาตรตัวเขื่อน มักจะมีแกนกลางเป็ นดินเหนียว
    ั        ํ
และเป็ นเขื่อนที่พบมากที่สุดเนื่องจากง่ายต่อการก่อสร้าง สามารถใช้วสดุก่อสร้างซึ่ งหาได้ง่าย
                                                                           ั
จากบริ เวณใกล้เคียง ได้แก่ เขื่อนสิ ริกิต์ เขื่อนแก่งกระจาน เขื่อนแม่งดสมบูรณ์ชล ฯลฯ
                                                                         ั
2. เขื่อนหิ นถม หรื อหิ นทิ้ง (Rockfill Dam) คือเขื่อนที่ก่อสร้างข้ ึน โดยมีปริมาตรของ
วสดุที่ไม่ทึบน้ า ( หิ น กรวด ทราย) มากกว่าร้อยละ 50 ของปริมาตรตวเขื่อน ส่วนใหญ่มีแกน
  ั             ํ                                                            ั
เป็ นดินเหนี ยว ได้แก่ เขื่อนศรี นคริ นทร์ เขื่อนอุบลรัตน์ เขื่อนสิ รินธร เขื่อนจุฬาภรณ์ เขื่องบาง
ลาง ฯลฯ เป็ นต้น สําหรับส่ วนที่แตกต่างกว่าที่เคยสร้างมา คือ เขื่อนเขาแหลม ไม่มีแกนดิน
เหนียว แต่เป็ นหิ นถมดาดหน้าด้วยคอนกรี ต
นอกจากนี้ ยังมีเขื่อนชนิดอื่น ๆ อีก เช่น เขื่อนไม้ ซึ่ งใช้ไม้มาทับถมกัน เขื่อนโครงเหล็ก ใช้เหล็ก
เป็ นวัสดุก่อสร้าง และเขื่อนผสมเป็ นการนําแบบของเขื่อนชนิดต่าง ๆ มาผสมผสานกัน
4. ชนิดของเขื่อนแบ่ งตามลักษณะการใช้ งาน
แบ่งออกไดดงน้ ี
             ้ั
1. เขื่อนรับนํ้า (Intake Dam) สร้างเพื่อยกระดับนํ้าให้สูงขึ้น และรับนํ้าจากลํานํ้าเข้าสู่
โรงไฟฟ้าเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า แลวไหลลงสู่ ลาน้ าตามเดิม ไดแก่ เขื่อนปากมูล และเขื่อนหรือ
                                       ้       ํ ํ                 ้
ฝายของโรงไฟฟ้ าพลังนํ้าขนาดเล็กต่าง ๆ เช่น บ้านยาง บ้านขุนกลาง บ้านสันติ ฯลฯ เป็ นต้น
2. เขื่อนเก็บกักนํ้า (Storage Dam) ใช้วธีการเก็บกักนํ้าไว้ในอ่าง แล้วควบคุมการ
                                                   ิ
ปล่อยนํ้าให้เป็ นไปตามที่ตองการ เช่น เขื่อนภูมิพล เขื่อนสิ ริกิต์ ิ เขื่อนศรี นคริ นทร์ เขื่อนอุบลรัตน์
                            ้
เขื่อนเขาแหลม เขื่อนรัชชประภา เขื่อนบางลาง ฯลฯ เป็นตน      ้
3. เขื่อนบังคับนํ้า (Regulating Dam) สร้างขึ้นเพื่อควบคุมปริ มาณนํ้าทางด้านนํ้าให้
เพียงพอที่เขื่อนรับน้ าจะยกระดบผนเขาคลองส่งน้ าสาหรับการชลประทาน เช่น เขื่อนวชิราลง
                      ํ          ั ั ้            ํ ํ
กรณ์ เขื่อนเพชรบุรี เขื่อนเจ้าพระยา เขื่อนนเรศวร ฯลฯ เป็ นต้น สําหรับเขื่อนบังคับนํ้าแห่งแรกที่
สามารถผลิตไฟฟ้ าได้ คือ เขื่อนท่าทุ่งนา
4. เขื่อนเก็บกักนํ้าเพื่อสูบนํ้ากลับ (Pumped Storage Dam) สร้างขึ้นเพื่อทําอ่าง
เกบน้ าเมื่อปล่อยน้ าออกแลวสูบกลบ เขื่อนประเภทน้ ี อาจจะไม่ตองสร้างขวางทางน้ า หนาที่ที่
    ็ ํ             ํ         ้      ั                                 ้                   ํ ้
สาคญกคือคอยเกบน้ าไวปล่อยเพื่อผลิตไฟฟ้าในช่วงที่มีความตองการสูง และในช่วงที่มีความ
  ํ ั             ็ ํ ้                                              ้
ต้องการไฟฟ้ าตํ่า ก็จะสูบนํ้าจากอ่างเก็บนํ้าตอนล่างขึ้นไปเก็บไว้ยงอ่างเก็บนํ้าตอนบนตามเดิม
                                                                         ั
และนํานํ้านั้นมาใช้ผลิตกระแสไฟฟ้ าอีกครั้งในช่วงที่มีความต้องการสู งสุ ดของแต่ละวัน
5. ชนิดของโรงไฟฟาพลังนําแบ่ งตามปริมาณนํา
                                              ้       ้                   ้
 1. แบบไม่มีอ่างเกบน้ า (Run of River) โรงไฟฟ้าชนิดน้ ี ใชประโยชน์ของน้ าที่ไหล
                       ็ ํ                                              ้              ํ
ตามลําห้วย ลําธาร สร้างเขื่อนเล็ก ๆ หรื อฝายขวางลํานํ้า บังคับนํ้าให้ไหลไปตามท่อ หรื อทําราง
 ส่ งนํ้า ใช้ความดันของนํ้าจากที่สูงหมุนกังหันซึ่ งต่อแกนกับเครื่ องกําเนิด ผลิตไฟฟ้ าขนาดเล็ก
                            ปริมาณน้ าไม่แน่นอน ข้ ึนอยกบฤดูกาล
                                      ํ                  ู่ ั
2. แบบมีอ่างเกบน้ า (Storage Regulation Development) เป็ นโรงไฟฟ้ า
                  ็ ํ
ขนาดกลาง หรื อขนาดใหญ่ และพัฒนาให้เป็ นแบบอเนกประสงค์ โรงไฟฟ้ าชนิดใช้เป็ นหลักใน
 การผลิตไฟฟ้ า นํ้าจะถูกเก็บไว้ในอ่างเก็บนํ้าเหนือเขื่อนให้มีปริ มาณเพียงพอที่จะผลิตไฟฟ้ าได้
                                             ่ ํ
                                          อยางสม่าเสมอ
 3. แบบสูบน้ ากลบ (Pumped Storage Plant ) โรงไฟฟ้าแบบสูบน้ ากลบเป็น
                 ํ ั                                                                  ํ ั
โรงไฟฟ้าที่มีอ่างเกบน้ าสองส่วน คืออ่างเกบน้ าบนและล่าง โรงไฟฟ้าจะเป็นตวเชื่อม ในขณะที่
                      ็ ํ                   ็ ํ                                 ั
ผลิตไฟฟ้ าในช่วงที่มีความต้องการไฟฟ้ าสูงก็จะปล่อยนํ้าให้หมุนกังหันและเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ า
                                                                   ํ
      และเมื่อใดที่มีความต้องการใช้ไฟฟ้ าตํ่าหรื อลดลง ก็จะใช้กาลังงานไฟฟ้ าที่เหลือจ่าย
                    ั
 กระแสไฟฟ้ าให้กบปั้ มนํ้าขนาดใหญ่เพื่อสูบนํ้าจากอ่างล่างกลับขึ้นไปเก็บไว้ที่ดานบน เพื่อใช้
                                                                                  ้
                           ประโยชน์อยางมีประสิทธิภาพสูงสุดต่อไป
                                        ่
3. แบบสู บนํ้ากลับ (Pumped Storage Plant ) โรงไฟฟ้ าแบบสูบ
นํ้ากลับเป็ นโรงไฟฟ้ าที่มีอ่างเก็บนํ้าสองส่ วน คืออ่างเก็บนํ้าบนและล่าง โรงไฟฟ้ าจะ
เป็ นตัวเชื่อม ในขณะที่ผลิตไฟฟ้ าในช่วงที่มีความต้องการไฟฟ้ าสูงก็จะปล่อยนํ้าให้
    หมุนกังหันและเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ า และเมื่อใดที่มีความต้องการใช้ไฟฟ้ าตํ่าหรื อ
                 ํ                                          ั
ลดลง ก็จะใช้กาลังงานไฟฟ้ าที่เหลือจ่ายกระแสไฟฟ้ าให้กบปั้มนํ้าขนาดใหญ่เพื่อสูบ
   นํ้าจากอ่างล่างกลับขึ้นไปเก็บไว้ที่ดานบน เพื่อใช้ประโยชน์อย่างมีประสิ ทธิภาพ
                                         ้
                                       สูงสุดต่อไป




                                            ตัวอย่ าง รูปภาพ
                                           เครื่องสู บนํากลับ
                                                        ้
6. ส่ วนประกอบของโรงไฟฟาพลังนํา ้       ้
1. อาคารรับน้ า (Power Intake) คืออาคารที่อยดานล่างหลงเขื่อน ตวอาคารจะมีท่อส่ง
                 ํ                                            ู่ ้    ั       ั
นํ้าจากอ่างเก็บนํ้าไปดันกังหันและหมุนเครื่ องกําเนิดภายในอาคารจะมีหองควบคุมนํ้าและ
                                                                          ้
ควบคุมระบบการผลิตไฟฟ้า
                        ํ                                   ํ                    ่
2. อุโมงคเ์ หนือน้ า (Headrace) เป็ นช่องทางที่น้ าไหลเข้ามายังท่อส่ งนํ้าอยูภายในตัว
เขื่อน
3. ตะแกรง (Screen) เป็ นตะแกรงเหล็ก มีไว้สาหรับป้ องกันท่อนไม้ เศษไม้ หรื อวัตถุอื่น
                                                        ํ
ใดที่จะเข้าไปอุดตันท่อนํานํ้า หรื อทําความเสี ยหายให้กบกังหัน ตะแกรงนี้จะต้องมีช่องให้พอดีที่
                                                          ั
                              ่   ้ ่
จะทาใหปริมาณน้ าไหลผานไดอยางมีประสิทธิภาพ
      ํ ้             ํ
4. ท่อส่ งนํ้า (Penstack) เป็นท่อรับน้ าอยในตวเขื่อนหรือรับน้ าจากเขื่อน แลวลดระดบ
                                                ํ ู่ ั                  ํ          ้     ั
ให้ต่าลงเพื่อทําให้น้ ามีแรงดันหมุนกังหัน
       ํ                   ํ
5. ท่อรับน้ า (Draft Tube) เป็ นท่อรับนํ้าที่อยูส่วนหลังของกังหัน เพื่อนํานํ้าที่ผานกังหัน
              ํ                                       ่                                ่
ส่งออกไปยงทายน้ า
             ั ้ ํ
6. อาคารลดแรงดนน้ า (Surge Tank) เป็ นอาคารหรื อถังนํ้าขนาดใหญ่ สร้างขึ้นอยู่
                          ั ํ
ระหวางตวเขื่อนกบอาคารรับน้ าเพื่อลดแรงดน หรือแรงดนของน้ าไม่ใหเ้ กิดอนตรายกบท่อหรือ
         ่ ั        ั              ํ          ั                 ั   ํ       ั        ั
                                      ั    ั
หัวฉี ดนํ้า แต่โรงไฟฟ้ าบางชนิดที่ต้ งใกล้กบตัวเขื่อนก็ไม่ตองมีอาคารลดแรงดันนํ้า
                                                                  ้
7. ประตูน้ า (Wicket Gate) เป็ นบานประตูที่ควบคุมการไหลของนํ้า
             ํ
สามารถปิดหรือเปิดใหน้ าไหลผานเขาไปยงท่อส่งน้ าเพื่อใหมีแรงดนไปหมุนกงหน
                   ้ ํ     ่ ้ ั             ํ       ้     ั       ั ั
กงหนน้ าจาแนกออกเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ 2 ประเภท คือ Reaction กับ
      ั ั ํ ํ
             Impulse กังหันนํ้าทั้ง 2 ประเภทมีคุณสมบัติแตกต่างกัน
                   คุณสมบัติทแตกต่ างกันของโรงไฟฟาพลังนํา
                             ี่                  ้      ้
                                       ประเภทของก ังห ันนํา
                                                          ้


                                       Reaction                              Impulse

1.    นํ้าทเข ้าไปหมน Runner
           ี่       ุ                  ท่วม                                  ไมทวม
                                                                               ่ ่


2.    ความกดดันของนํ้ าทีเข ้าไปดัน
                         ่             สงกวาบรรยากาศ
                                        ู  ่                                 เทาบรรยากาศ
                                                                               ่



      ใบกังหันของ Runner



3.    นํ้าทเข ้าไปสู่ Runner
           ี่                                  ่
                                       เต็มทุกชองพร ้อมกัน                   เป็ นจุด ๆ


4.    พลงงานทนํ้าถายเทให ้แก่ Runner
        ั    ี่   ่                    เป็ นพลังงานจลน์และเป็ นพลังงานจลน์   เป็นพลงงานจลนอยางเดยว
                                                                                   ั      ์ ่   ี

                                                 ั
                                       และพลงงานศกย ์
                                            ั
กังหันนํ้าประเภท Reaction ที่ใชกนแพร่หลายอยทวไป คือ แบบ Francis และ Kaplan
                                     ้ ั         ู่ ั่
                                                         ั ั ่             ็ ั ั ํ
ส่ วนกังหันนํ้าประเภทImpulse น้ นแบบที่สาคญและเป็นที่รู้จกกนดีวาแบบอื่น ๆ กคือ กงหนน้ า
                                ั        ํ ั
                                                       ั ั ํ
แบบ Pelton การพิจารณาเลือกสรรประเภท และแบบของกงหนน้ าเพื่อใหเ้ หมาะสมกบสภาพ   ั
ของงานนั้นอาศัยหลักเกณฑ์กว้างๆพอเป็ นแนวทางได้ดงนี้ั
Head
กังหันนํ้าแบบ (เมตร)
Kaplan (Fixed - blade) 1 ถึง 30
Kaplan (Adjustable - blade) 1 ถึง 60
Francis 25 ถึง 450
Pelton 250 ขึ้นไป
                                                            ่ ้
      ในกรณี น้ ี น้ าซึ่ งใช้หมุนกังหันนํ้า มีกรวดทรายปนอยูดวย และกังหันมีแรงม้าไม่สูงนักแล้ว
                     ํ
                                                 ั
กังหันนํ้าแบบ Pelton เป็ นดีที่สุด ซึ่ งอาจใช้กบ Head ตํ่าลงมาถึง 120 หรือ 150 เมตร ได้
                                                                   ่ ้
      เครื่ องกําเนิดไฟฟ้ า(Generator) จาแนกตามความเร็วรอบและขนาดอยางกวางๆได้
                                        ํ
ดังต่อไปนี้ (ความถี่มาตรฐาน 50 ไซเกิลวนาที)
                                          ิ
เครื่องความเร็วรอบสูง ขนาดเลก คือ ขนาด 200 – 2,000 เควี เอ.หมุน 1,000 – 750 รอบต่อนาที
                            ็
           ํ ่
(หรื ออาจต่ากวาน้ ี)
ส่ วนมากเป็ นชนิ ดเพลานอน (Horizontal Shaft) ต่อตรงกับกังหันนํ้าประเภท Impulse บางทีก็
เป็ นชนิดเพลาตั้ง(Vertical Shaft) ต่อตรงหรือขบดวยเกียร์จากกงหนรอบชา ในบางโอกาสที่ใช้
                                             ั ้           ั ั       ้
                                 ้ ็
กับกังหันนํ้าประเภท Reaction ดวยกมี

       เครื่องความเร็วรอบสูง ขนาดใหญ่ คือขนาด 3,000 – 100,000 เควี เอ. หรือสูงกวาน้ ีหมุน
                                                                                ่
750 – 333 รอบต่อนาที
มีท้ งชนิ ดเพลานอนและเพลาตั้ง เหมาะกับกังหันนํ้าประเภท Impulse หรือ Reaction
     ั

     เครื่องความเร็วรอบต่า ขนาดเลก คือ ขนาด 200 – 2,00 เควี. หมุน 250 รอบต่อนาทีลงมา
                         ํ       ็
จนถึงขนาด 5,000 หรือ 10,000 เควี
หมุน 125 รอบต่อนาทีลงมา ส่วนมากเป็นชนิดเพลาต้ ง เหมาะกบกงหนน้ าแบบ Francis และ
                                               ั         ั ั ั ํ
Kaplan

      เครื่องความเร็วรอบต่า ขนาดใหญ่ คือ ขนาด 5,000 – 250,000 เควีเอ. หมุนหรือสูงกวาน้ ี
                           ํ                                                       ่
หมุน 250 – 75 รอบต่อนาที
                              ั ั ั ํ
เป็นเครื่องชนิดเพลาต้ ง เหมาะกบกงหนน้ าแบบ Francis และ Kaplan 2.6.3 ค่าลงทุนขั้นแรกและ
                      ั
ต้นทุนการผลิตไฟฟ้ า
8. กังหัน (Turbine) เป็นตวรับแรงกระทาของน้ าที่ใชแรงดนมาฉีดหรือผลกดนให้
                                ั          ํ       ํ ้ ั                      ั ั
                        ่ ั
หมุน และต่อแกนอยูกบเครื่ องกําเนิด ผลิตไฟฟ้ าออกมา
9. เครื่ องกําเนิดไฟฟ้ า (Generator) เป็ นเครื่ องกลไฟฟ้ าที่เปลี่ยนพลังงานกล ที่ได้รับ
จากตนกาลงมาเป็นพลงงานไฟฟ้า โดยใชหลกการของขดลวดตดผานสนามแม่เหลก
       ้ ํ ั                ั                ้ ั                     ั ่                ็
10. ทางนํ้าล้น (Spillway) คือทางระบายนํ้าออกในอ่างเก็บนํ้าในกรณี ที่น้ ามีระดับสูง
                                                                            ํ
มาก เพื่อป้ องกันไม่ให้น้ าท่วมล้นตัวเขื่อน
                              ํ
11. หมอแปลง (Transformer) เป็ นอุปกรณ์ไฟฟ้ าที่แปลงแรงดันไฟฟ้ าที่ผลิตได้จาก
          ้
เครื่องกาเนิดใหเ้ ป็นแรงดนสูงส่งเขาระบบส่งจ่ายไฟฟ้าเป็นระยะทางไกลไปใหกบ
            ํ                     ั   ้                                            ้ ั
ศูนย์กลางผูใช้ไฟฟ้ า
              ้
ตัวอย่ าง รูปภาพ
   หม้อแปลง
7. กังหันนํา (Water Turbine)
                ้
กังหันเป็ นส่ วนประกอบที่สาคัญที่สุดของโรงไฟฟ้ า เพราะกังหันจะเป็ นตัวรับการกระทําจากต้น
                            ํ
กําลังมาเป็ นพลังงานกลเพื่อหมุนเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าผลิตไฟฟ้ าออกมา
กังหันนํ้าแบ่งออกได้เป็ น 2 ชนิ ดคือ
       ั ั
1. กงหนแบบแรงกระแทก (Impulse Turbine)
กงหนแบบแรงกระแทกเป็นกงหนที่หมุนโดยอาศยแรงฉีดของน้ าจากท่อส่งน้ าที่รับน้ าจากที่สูง
  ั ั                         ั ั                ั             ํ              ํ    ํ
หรือหวน้ าสูง ไหลลงมาตามท่อที่ลดขนาดลงมายงหวฉีดกระแทกถงหนไม่หมุน และต่อแกนกบ
        ั ํ                                     ั ั                  ั ั                   ั
เครื่องกาเนิดผลิตไฟฟ้าออกไป กงหนแบบแรงกระแทกแบ่งออกเป็น 3 ชนิด คือ
         ํ                        ั ั
1. แบบใชกบหวน้ าต่ากาลงผลิตนอยใชแบบแบงกี (Banki Type)
             ้ ั ั ํ ํ ํ ั           ้ ้
              ้ ั ั ํ
2. แบบใชกบหวน้ าปานกลาง ใชแบบเทอร์โก (Turgo Type)
                                   ้
               ้ ั ั ํ ํ ั
3. แบบใชกบหวน้ าสูงกาลงผลิตมาก ใชแบบเพลตน (Pelton Type)
                                          ้         ั
   กังหันเพลตัน ใช้กนมากในกรณี ที่หวนํ้ามีแรงดันสู ง ด้วยเหตุน้ ี ส่วนมากจึงใช้แกนนอนแต่ยงมี
                      ั               ั                                                  ั
                                                                          ู่ ั ั
บางส่ วนที่ใช้ในแกนตั้ง ที่ใบพัดจะมีถวย (Bucket) หลาย ๆ ใบติดอยกบตวแกนแผนจาน
                                        ้                                            ่
(Disk) ถ้วยเหล่านี้จะรับนํ้าจากหัวฉี ด
โดยแบ่งนํ้าไปทางซ้ายและขวาด้วยสันแนวที่อยูตรงกลางของถ้วย ถ้วยที่ใช้กนอยู่
                                                 ่                            ั
   ่                        ้ ั ่
ทัวไปมี 2 แบบ แบบหน่ ึงใชติดกบแผนจาน โดยการยดไวดวยสลกเกลียว อีกแบบ
                                                       ึ ้้        ั
หนึ่งใช้วิธีหล่อติดกับแผ่นจาน ที่ท่อส่ งนํ้าตรงหัวฉี ดจะมีเข็ม (Needle) สําหรับปรับ
ปริ มาตรของนํ้าให้มีความดันมากขึ้นหรื อลดลง ทําให้สามารถปรับความเร็ วการ
             ั ั
หมุนของกงหนได้
        ั ั
7.2 กงหนแบบแรงสะทอน (Reaction Turbine)
                         ้
กงหนแบบแรงสะทอนเป็นกงหนที่หมุนโดยใชแรงดนของน้ าที่เกิดจากความต่าง
  ั ั                ้       ั ั                ้ ั            ํ
ระดับของนํ้าด้านหน้าและด้านท้ายของกังหันกระทําต่อใบพัด ระดับด้านท้ายนํ้าจะ
     ่
อยูสูงกว่าระดับบนของปลายท่อปล่อยนํ้าออกเสมอ กังหันชนิดนี้เหมาะกับอ่างเก็บ
นํ้าที่มีความสู งปานกลางและตํ่า กังหันแรงสะท้อน แบ่งได้เป็ น 3 แบบ คือ
1. กังหันฟรานซิส (Francis Turbine) เป็ นกังหันแบบที่ใช้การไหลช้าของปริ มาณนํ้า
                                              ั
ในใบพดเป็นแบบแฉกและไหลออกขนานกบแกน ซ่ ึงแสดงวามีการเปลี่ยนทิศ
          ั                                                      ่
                       ่      ั ั ั
ทางการไหลในขณะผานใบพด กงหนฟรานซิสมีท้ งแบบแกนนอนและแกนต้ ง
                                                     ั                          ั
รู ป กังหันฟรานซิส (Francis Turbine)
แกนตั้ง                                       แกนนอน
1. ต้องการพื้นที่นอยการติดตั้งสามารถ
                    ้                         1. เป็ นเครื่ องกังหันนํ้าขนาดเล็กแต่ใช้
                             ่
   วางเครื่ องกังหันให้อยูในระดับตํ่า เพื่อ      กับกังหันหัวนํ้าสูง มีความ
   ลดปั ญหาการกัดกร่ อนและโพรง                   เหมาะสมทางเศรษฐศาสตร์ ใน
   สูญญากาศที่เกิดกบใบพดเครื่องกงหน
                       ั         ั   ั ั         เครื่ องกังหันแกนนอนขนาดใหญ่
                           ั ั ํ ู่
2. อุปกรณ์ของเครื่องกงหนน้ าอยในฐาน              จะมีท่อนํานํ้าเข้ากังหันใหญ่มากจึง
   และโครงสร้างอาคารที่เป็นคอนกรีต                 ่
                                                 ยุงยากในการก่อสร้างโครงสร้างที่
   รับแรงสันสะเทือนไดดี
               ่               ้                 จะมารองรับ
3. เหมาะกบเครื่องกงหนน้ าขนาดใหญ่ที่
             ั        ั ั ํ                   2. การซ่อมแซม และการบารุงรักษา
                                                                           ํ
   ต้องการพื้นที่โรงไฟฟ้ าไม่มาก และมี           ทาไดง่าย
                                                     ํ ้
                         ่
   ประสิทธิภาพสูงกวาแกนนอน                                                   ั ั ํ
                                              3. ประสิทธิภาพของเครื่องกงหนน้ า
                                                 แกนนอนตํ่ากว่าแกนตั้งประมาณ
                                                 1-2 เปอร์เซ็นต์
ั ั
2. กังหันเดเรี ยซ (Deriaz Turbine) หรือกงหนแบบที่มีการไหลของน้ าในทิศทาง      ํ
ทแยงมุมกบแกน กงหนแบบน้ ีใชกบกรณีที่มีหวน้ าสูง ส่วนของใบพดจะเคลื่อนที่ไดเ้ มื่อมีน้ า
           ั             ั ั       ้ั          ั ํ                 ั                    ํ
ไหลผ่าน และมีลกษณะคล้าย ๆ กับกังหันฟรานซิ ส
                       ั
                                                        ั ั
3. กังหันคาปลาน (Kaplan Turbine) หรือกงหนแบบใบพด น้ าจะไหลผานใบพดใน  ั ํ          ่       ั
                 ั             ั ั ้ ั                            ั ั
ทิศทางขนานกบแกนของกงหน ใชกบงานที่มีหวน้ าต่า ใบพดของกงหนคาปลานเป็นใบพดที่
                                                  ั ํ ํ       ั                       ั
สามารถปรับไดตามมุมของซี่ใบพดโดยอตโนมติตามแรงอดหรือแรงฉีดแรงน้ า โดยจะสัมพนธ์
                   ้                ั     ั     ั           ั              ํ                ั
  ั
กบความแรงที่หวฉีดน้ าซ่ ึ งประกอบดวยลกเบ้ ียว (Cam) ชุดควบคุมความเร็ ว (Speed
                     ั       ํ         ้ ู
Governor) ช่องนํานํ้า (Guide Vane) และมุมของซี่ใบพด (Runner           ั
Blade)
เช่นเดียวกันกับกังหันชนิ ดอื่น ๆ ถ้าต้องการเพิ่มความเร็ วและความแรงของนํ้า ก็ทาท่อป้ อนนํ้า
                                                                                ํ
เป็ นรู ปหอยโข่ง โดยทําท่อด้านรับนํ้าเข้าให้ใหญ่และเรี ยวเล็กลงตามลําดับ
กังหันนํ้าเดเรี ยซ และกังหันนํ้ากระเปาะ ( Bulb ) (โรงไฟฟ้ าพลังนํ้าเขื่อนปากมูล)
ั ั ํ
8. การเลือกแบบของเครื่องกงหนน้ า
การเลือกแบบของเครื่ องกังหันนํ้าในขั้นต้น พิจารณาได้จากความสัมพันธ์
ของหัวนํ้าและกําลังผลิตของกังหันแบบต่าง ๆ แต่ท้ งนี้ ต้องคํานึงถึงความ
                                                   ั
เหมาะสมทางด้านเศรษฐศาสตร์ดวย โดยทัวไปเครื่ องกังหันนํ้าแบบฟราน
                                  ้         ่
ซิส ก่อสร้างได้ง่าย มีความเชื่อถือสูง จึงนิยมใช้กนมาก ในกรณี ที่หวนํ้าสู ง
                                                 ั               ั
มากโดยทัว ๆ ไปใช้แบบเพลตัน และถ้าหัวนํ้าตํ่า ก็ใช้เครื่ องกังหันแบบคา
          ่
ปลาน
               เครื่ องกันหันนํ้า        ความสู งหัวนํ้า ( เมตร)
     กังหันคาปลาน                          1 – 70
     กังหันฟรานซิส                        15 – 450
         กังหันเพลตัน                         150
ในการเลือกใช้เครื่ องกังหันนํ้าอาจเลือกใช้แบบใดแบบหนึ่งก็ได้ ซึ่งควรจะนํามา
พิจารณาประกอบได้ดงนี้    ั
ในกรณี หวนํ้าสูง การเลือกกังหันเพลตันหรื อฟรานซิ ส ควรพิจารณาประกอบ คือ
            ั
1. ค่าระดับนํ้าหลากทางท้ายนํ้าสู ง กังหันเพลตันไม่สามารถใช้หวนํ้า ใต้ระดับของ
                                                                         ั
          ั ั
เครื่องกงหนใหเ้ ป็นประโยชน์ได้
2. เมื่อตองการเดินเครื่องที่มีโหลดต่ออยมาก กงหนเพลตนแบบใชหวฉีดหลายอน
              ้                                ู่     ั ั        ั         ้ ั   ั
จะให้ประสิ ทธิภาพสูงกว่า
3. กังหันฟรานซิส มีความเร็ วรอบสู ง และสามารถปรับความเร็ วรอบตามขนาดของ
เครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าได้ ทําให้เลือกใช้เครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าที่มีราคาตํ่าได้
4. ถ้าท่อส่ งนํ้ามีความยาวและลาดชัดน้อย ควรใช้กงหันเพลตันเพราะค่าใช้จ่ายใน
                                                          ั
การก่อสร้างท่อส่ งนํ้าตํ่า เนื่องจากความดันดันในขณะปิ ดท่อส่ งนํ้าในทันที่ที่ต่า
                                                                               ํ
(Sudden Shut Down)
ั
5. ในกรณี ที่น้ าไหลช้า มักจะนิยมใช้กงหันเพลตัน เพราะสามารถตรวจสอบใบพัด
                 ํ
และบารุงรักษาไดง่าย
      ํ             ้
                          ่
6. กังหันฟรานซิสจะมีคาก่อสร้างโรงไฟฟ้ าสู งกว่า เพราะต้องเพิ่มงานชุดมากกว่า
แต่ราคาของกังหันฟรานซิสจะถูกกว่ากังหันเพลตัน
ในกรณี หวนํ้าตํ่า การเลือกกังหันคาปลาน หรื อกังหันฟราสซิ ส ควรพิจารณา
          ั
ประกอบคือ
                                                    ั
1. เมื่อหัวนํ้าเปลี่ยนแปลงบ่อย ๆ ควรเลือกใช้กงหันคาปลาน
2. กังหันคาปลานความเร็ วสู ง ทําให้ราคาของเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าตํ่า แต่ตองลด   ้
ระดับท่อปล่อยนํ้าให้ต่า ซึ่งทั้งนี้ท่อนํ้าเข้ากังหันจะต้องใหญ่ข้ ึน จึงทําให้ค่าใช้จ่าย
                       ํ
ด้านงานโยธาสูงขึ้น
3. การบํารุ งรักษา กังหันฟรานซิ ส ง่ายและสะดวกเพราะก่อสร้างแบบง่าย ๆ ราคา
ของเครื่ องกังหันก็ถูกกว่ากังหันคาปลาน
9. หัวนํา (Head)
             ้
การใช้เครื่ องกังหันนํ้าจะต้องคํานึงถึงกําลังผลิตและหัวนํ้า รวมทั้งความเหมาะสมทางด้าน
                                          ั ั ํ
เศรษฐศาสตร์ เพื่อพิจารณาเลือกเครื่องกงหนน้ าที่เหมาะสม ( จากรูปที่ 2.17) แสดงความสูง
หัวนํ้าของเครื่ องกังหันฟรานซิ สในระยะต่าง ๆ กัน
1. หัวนํ้ารวม (Gross Head) คือความสู งแตกต่างระหว่างระดับนํ้าในอ่างเก็บนํ้าและ
ระดับนํ้าท้ายโรงไฟฟ้ า
2. หัวนํ้าสุ ทธิ (Net Head) คือหัวนํ้ารวมที่หกค่าความสู ญเสี ยทางด้านชลศาสตร์ท้ ง
                                                     ั                                    ั
หมดแลว    ้
3. หวน้ าออกแบบ (Design Head) คือหัวนํ้าสุ ทธิที่เครื่ องกังหันนํ้าเดินเครื่ องด้วย
        ั ํ
ประสิทธิภาพสูงสุดในความเร็วที่ออกแบบโดยปกติ หวน้ าออกแบบจะมีค่าใกลกบหวน้ าเฉลี่ย
                                                       ั ํ                     ้ั ั ํ
                                                                                   ํ
4. หัวนํ้าควบคุม (Rated Head) คือหัวนํ้าที่เครื่ องกังหันนํ้าเดินเครื่ องให้กาลังไฟฟ้ า
เท่าที่ออกแบบในขณะที่บานประตูเครื่องกงหนน้ าเปิดใหน้ าไหลผานเตมที่
                                             ั ั ํ         ้ ํ       ่ ็
5. หัวนํ้าตํ่าสุ ด (Minimum Head) คือความสู งแตกต่างของระดับนํ้าตํ่าในอ่างเก็บนํ้า
            ั ํ ้                             ั ั ํ
และระดบน้ าทายโรงไฟฟ้าเมื่อเปิดเครื่องกงหนน้ าทุกเครื่องเตมที่ ็
6. หัวนํ้าเฉลี่ย (Weight Average Head) คือความสูงแตกต่างของระดบน้ าเฉลี่ย            ั ํ
ในอ่างเก็บนํ้าและระดับนํ้าท้ายโรงไฟฟ้ า ซึ่ งค่าระดับนํ้าดังกล่าวเป็ นผลจากการเดินเครื่ องกังหัน
นํ้าในระยะยาว
10. หัวฉีดนํา (Jet Water)
                                              ้
หัวฉี ดนํ้า เป็ นปลายทางของท่อส่ งนํ้าที่ไปยังกังหัน หัวฉี ดนํ้าจะทําให้น้ าที่ไหลตามท่อมีแรงดัน
                                                                           ํ
สูงขึ้นลักษณะของหัวฉี ดนํ้าจะประกอบด้วยหัว และเข็มฉี ดนํ้าประกอบกันเหมือนกรวยซ้อนกัน
       เมื่อปลายหวฉีดเลื่อนมาใกลปากท่อ รูจะเลก เมื่อถอยหวเขมออกมา รูหวฉีดจะโตข้ ึน
                  ั              ้               ็             ั ็               ั
1. พลงงานนํา
        ั         ้
น้ าเป็นสารประกอบที่เกิดจากไฮโดรเจนและออกซิเจนมีสถานะเป็นของเหลวมีมาก
   ํ
ในทะเลและมหาสมุทร เมื่อได้รับพลังงานความร้อนจากแสงอาทิตย์ จะเปลี่ยน
สถานะเป็นไอน้ า และลอยตวสูงข้ ึนกลายเป็นเมฆซ่ ึงจะถูกลมหอยเขาสู่ แผนดิน เมื่อ
                    ํ         ั                                      ้ ่
เมฆน้ ีลอยข้ ึนสูงสู่ ยอดเขา ไอน้ าน้ ีจะขยายตวและเยนตวลงทาใหเ้ กิดการกลนตวเป็น
                                  ํ           ั     ็ ั    ํ              ่ั ั
หยดนํ้า ตกสู่ผวดินไหลไปตามร่ องนํ้าธรรมชาติของผิวดิน จนกลับลงสู่ ทะเล และ
                ิ
มหาสมุทรต่อไปจนครบวงจร แต่จะมีน้ าบางส่วนไหลซึมลงดิน แลวไหลต่อไป
                                            ํ                      ้
                                                 ่
จนถึงทะเล นํ้าที่ไหลตามผิวดินจะมีพลังงานอยูในตัว 3 รู ปแบบ คือ
ก) พลังงานศักย์ เกิดจากระดับความสู งของนํ้าระหว่างจุดที่น้ าพักอยู่ กับจุดที่น้ าจะ
                                                             ํ                  ํ
ไหลลงสู่เบื้องล่าง
                                                                      ่
ข) พลังงานความดัน เป็ นพลังงานที่น้ าต้องมีเพื่อให้สามารถเคลื่อนที่ผานบริ เวณที่มี
                                          ํ
ความดันได้
ค) พลังงานจลน์ เป็ นพลังงานที่เกิดขึ้นเมื่อมีการเคลื่อนไหวของนํ้าด้วยความเร็ วค่า
หน่ ึง
การไหลของนํ้าจากที่สูงลงสู่ ที่ต่า เราจะสังเกตได้วา นํ้าจะมีการไหลเร็ ว และไหล
                                  ํ                ่
เชี่ยวขึ้น ซึ่งเราสามารถใช้ประโยชน์จากพลังงานจลน์ที่เกิดขึ้นนี้ได้โดยเปลี่ยนเป็ น
พลังงานกล หรื อพลังงานไฟฟ้ าโดยจะต้องมีเครื่ องจักรกลที่เหมาะสม และมีวิธีการที่
ถูกต้องจึงจะสามารถนําพลังงานนี้มาใช้ประโยชน์ได้ การพัฒนาแหล่งพลังนํ้าขนาด
ใหญ่ในประเทศไทยเกิดข้ ึนคร้ ังแรก เมื่อปี พ. ศ. 2507 โดยการสร้างเขื่อนภูมิพล
                                    ํ
ที่จงหวัดตาก ซึ่งออกแบบให้มีกาลังผลิตพลังงานไฟฟ้ าทั้งหมด 535 เมกกะวัตต์
     ั
มีพ้ืนที่อ่างเก็บนํ้า 316 ตารางกิโลเมตร และมีพ้ืนที่รับนํ้า 26,386 ตาราง
กิโลเมตร ต่อมาปี พ. ศ. 2517 ได้สร้างเขื่อนสิ ริกิต์ ิ ที่จงหวัดอุตรดิตถ์ มีกาลังผลิต
                                                          ั                 ํ
ไฟฟ้ าทั้งหมด 375 เมกกะวัตต์ มีพ้ืนที่ของอ่างเก็บนํ้า 259.6 ตารางกิโลเมตร
และมีพ้ืนที่รับนํ้า 13,130 ตารางกิโลเมตร นอกจากนี้ยงมีแหล่งพลังนํ้าขนาด
                                                            ั
                               ่ ั่
กลาง และขนาดเล็กกระจายอยูทวประเทศไทย โดยเฉพาะในบริ เวณพื้นที่ซ่ ึงเป็ น
ภูเขามีลานํ้าไหลผ่านตามหุ บเขา ซึ่งถ้าท้องนํ้ามีการเปลี่ยนระดับได้มากในช่วง
          ํ
ระยะทางสั้น ๆ ก็จะเป็ นพื้นที่ที่มีศกยภาพสู งในการที่จะพัฒนาเป็ นแหล่งนํ้าต่อไป
                                      ั
ข้ อดีของโรงไฟฟ้ าพลังงานนํา มีดงต่ อไปนี้
                                ้ ั
1. ค่าใช้จ่ายในการดําเนินงานตํ่า สามารถผลิตพลังงานไฟฟ้ าได้ดวยราคาถูก ค่าใช้จ่ายในการซ่อมแซม
                                                                     ้
บํารุ งรักษาตํ่า
2. สามารถเดินเครื่ องจ่ายกระแสไฟฟ้ าได้ทนที ใช้เวลาจ่ายไฟฟ้ าเข้าระบบได้ ภายในเวลา 4 – 5 นาที การเพิ่มหรื อ
                                              ั
ลดพลังงานทําให้รวดเร็ว สามารถจัดให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลง โดยไม่เสี ยประสิ ทธิภาพ
3. เป็ นโครงการเอนกประสงค์ สามารถใช้ประโยชน์ได้มากมาย เช่น ผลิตพลังงานไฟฟ้ า การชลประทาน การ
ป้ องกันนํ้าท่วม การคมนาคมทางนํ้า การเลี้ยงสัตว์น้ า และสัตว์ป่า ฯลฯ
                                                         ํ
4. ไม่สิ้นเปลืองเชื้อเพลิง ไม่มีควันเสี ย, เขม่า หรื อก๊าซพิษ ค่าเก็บรักษาเชื้อเพลิง ค่าจํากัดของเสี ยจึงไม่มี
5. ไม่มีพลังงานสูญเสี ยในการสํารองใช้งาน
6. มีความแน่นอนในการใช้งาน ประสิ ทธิภาพของโรงจักรไฟฟ้ าไม่เปลี่ยนแปลงมากตามอายุการใช้งาน เพราะ
                                                                                                ุ่
เครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าหมุนด้วยความเร็วตํ่า อุณหภูมิใช้งานตํ่า การออกแบบอุปกรณ์ไฟฟ้ าไม่ยงยาก ข้อขัดข้องที่
เกิดขึ้นน้อย ในแต่ละปี จะหยุดเครื่ องเพื่อตรวจซ่อมน้อยครั้ง จึงมีความแน่นอนในการใช้งาน
7. ใช้จานวนบุคลากรปฏิบติการเกี่ยวกับการเดินเครื่ องไม่มากนํา
         ํ                  ั
8. ราคาที่ดินถูก เพราะตั้งอยูห่างไกลจากชุมชน
                              ่
9. ไม่ตองเสี ยเวลาในการอุ่นเครื่ องก่อนที่จะจ่ายกําลังไฟฟ้ าเหมือนโรงไฟฟ้ า พลังไอนํ้า ซึ่งต้องการเวลาต้มนํ้าให้
           ้
ได้อุณหภูมิ และความกดดันตามกําหนด
                                    ่
10. ประสิ ทธิภาพของโรงไฟฟ้ าอยูในเกณฑ์ดี
ข้อเสียของโรงไฟฟาพลงงานนํา มีดงต่อไปนี้
                 ้ ั         ้ ั
1. การลงทุนในระยะแรกตอนสร้างโรงไฟฟ้าและเขื่อนสูงมาก
2. ใช้เวลานานประมาณ 4 – 5 ปี ในการสารวจหาบริเวณที่ต้ ง และระยะเวลาใน
                                             ํ                 ั
การก่อสร้าง
3. การผลิตไฟฟ้ าขึ้นอยูกบสภาวะของนํ้าฝนที่จะตกลงสู่อ่างเก็บนํ้า ซึ่งไม่ค่อย
                       ่ ั
แน่นอน ถาปีใดฝนนอย อาจมีปัญหาในการผลิตไฟฟ้าได้
          ้        ้
                                               ่
4. อาจกระทบต่อสิ่ งแวดล้อม เช่น ป่ าไม้ ที่อยูอาศัย ที่ทากิน โบราณวัตถุ ฯลฯ
                                                        ํ
5. ส่ วนมากโรงไฟฟ้ าจะอยูห่างไกลจากชุมชนอยูห่างไกล จากศูนย์กลางการใช้
                           ่                     ่
ไฟฟ้ า (load center) ทําให้ตองเสี ยค่าใช้จ่ายสู งในเรื่ องของสายส่ งไฟฟ้ า
                                 ้
นอกจากนี้ยงมีพลังงานสูญเสี ยในสายส่ งด้วย
            ั
ั
การใช้กงหันนํ้าแบบต่าง ๆ ของโรงไฟฟ้ าพลังนํ้าการไฟฟ้ าฝ่ ายผลิตแห่ งประเทศไทย
                                       ชนดก ังห ันนํา
                                         ิ          ้                      ชนิดแนวแกน                            ความสูงห ัวนํา
                                                                                                                              ้   ความเร็ว   ปี ทีเข้าระบบ
                                                                                                                                                  ่
โรงไฟฟาพล ังนํา
      ้       ้                                                                                                    ( เมตร)         รอบ /
                                                                                                                                    นาท ี

        ภูมพล            ิ               ฟรานซส                ิ               ตัง     ้                              100           150         2507
              นํ้าพง           ุ         ฟรานซสิ                               ตัง       ้                            185           750         2508
      อบลรัตน์ุ                          คาปลาน                                ตัง         ้                           16           160         2509
        สรนธร    ิ ิ                     คาปลาน                                ตัง           ้                         30           250         2515
      จฬาภรณ์
        ุ                                เพลตัน                                ตัง             ้                      366           428         2515
                  ิ ิ ิ
                สรกต ิ์                  ฟรานซส  ิ                             ตัง               ้                     75           425         2517
  แกงกระจาน
          ่                              คาปลาน                                ตัง                 ้                   43           250         2517
       บ ้านยาง                          ฟรานซส    ิ                          นอน                                      70          1,500        2517
    ศรนครนทร์
            ี                ิ           ฟรานซส      ิ                         ตัง
                                                                                 ้                                    105           166         2523
       บางลาง                            ฟรานซส        ิ                       ตัง                   ้                 82           274         2524
      ท่าทุงนา             ่             คาปลาน                                ตัง                     ้               15           125         2525
       ห ้วยกุม                  ่       ฟรานซส          ิ                    นอน                                      23           375         2525
      บ ้านสันต ิ                        ฟรานซส            ิ                  นอน                                     196          1,000        2525
  บ ้านชองกลํา         ่           ่     ฟรานซส              ิ                 ตัง ้                                   34           675         2526
  บ ้านขนกลาง        ุ                   เพลตัน                               นอน                                     100           750         2526
     ห ้วยกุยมั่ง                        ฟรานซส                        ิ       ตัง   ้                                 74          1,043        2527
     เขาแหลม                             ฟรานซส                      ิ         ตัง                       ้             53           150         2528
              แม่งัด                     คาปลาน                                ตัง                         ้           40           500         2528
     รัชชประภา                           ฟรานซส                  ิ             ตัง                           ้         69           176         2530
 บ ้านนํ้ าเพียงดิน                      ฟรานซส                    ิ          นอน                                      69          1,500        2531
การแบ่งชนิดของโรงไฟฟ้าเขื่อนพลงน้ าของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
                                 ั ํ
แบ่งตามขนาดและลกษณะของเขื่อน คือ ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเลก
                      ั                                          ็
ลกษณะโรงไฟฟ้าเขื่อนขนาดใหญ่ของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
  ั
     ํ
( มีกาลังผลิตสู งกว่า 100 เมกะวัตต์)
ลําด ับ     ชอ  ื่                 ทีตง
                                     ่ ั้                 กําล ังผลิต     แรงด ั   ต ัวเขือน
                                                                                          ่     ปี ที่
           เขือน
              ่                                          ( เมกะว ัตต) ์    น       ( เมตร)      เข้า
          เก็บก ัก                                                        (kv)                 ระบบ
            นํา    ้                                                                           ( พ.
                        ลํานํา
                             ้   อําเภอ      จ ังหว ัด   จํานว    รวม              สูง   ยาว
                                                                                                ศ.)
                                                           น
  1        ภมพล
            ู ิ         แม่ปิง   สามเงา       ตาก        6x       535     13.8     154   488   2507
                                                          70
  2           ิ ิ ิ
            สรกต ิ์     น่าน     ทาปลา อตรดตถ ์
                                   ่          ุ ิ        1x       375     13.8     113   800   2517
  3           ศร ี      นคร      ศรสวัสด ิ์ กาญจนบุร ี
                                     ี                   115      340     13.8     140   610   2523
          นครนทร ์
                 ิ      ใหญ่                             3x
  4         ( เจ ้า              ทองผา      กาญจนบุร ี   125      300     13.8     92    102   2528
  5         เณร)         แคว        ภม ิ
                                      ู      สราษฎร ์
                                              ุ          3x       240     13.8     94    761   2530
             เขา        น ้อย    บ ้านตา        ธานี     120
           แหลม         คลอง        ขุน                  1x
          รัชชประ        แสง                             180
             ภา                                          3x
           ( เชยว  ี่                                     10
หมายเหตุ
           กฟผ. กําลังดําเนินการติดตั้งเครื่ องกังหันระบบสูบนํ้ากลับ
             1. เขื่อนภูมิพล หน่วยที่ 8 ขนาด 180 เมกะวัตต์
             2. เขื่อนสิ ริกิต์ ิ หน่วยที่ 4 ขนาด 125 เมกะวัตต์
             3. เขื่อนศรีนครินทร์ หน่วยที่ 5 ขนาด 160 เมกะวัตต์
ลักษณะโรงไฟฟ้ าเขื่อนพลังนํ้าขนาดกลางของการไฟฟ้ าฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทย
ลําดั     ื่
         ชอเขอน
              ื่                      ทีตง
                                        ่ ั้                 กําลงผลต
                                                                 ั   ิ      แรงดั   ตัวเขือน
                                                                                          ่        ปีท ี่
 บ      เก็บกักนํ้ า                                        ( เมกะวัตต)์     น      ( เมตร)        เข ้า
                           ลํานํ้า    อําเภอ     จังหวัด    จํานวน รวม      (kv)    สง
                                                                                     ู   ยาว      ระบบ
                                                                                                   ( พ.
                                                                                                    ศ.)
  1     จฬาภรณ์
          ุ                นํ้าพรม   คอนสาน        ั
                                                  ชยภูม ิ   2 x 20   40     11.5    70   700 2515
        ( นํ้าพรม)
             ิ ิ
          สรนธร            ลําโดม    พิบลมัง -
                                          ู      อุบลราช 3 x 12 36          6.6     42   940 2515
         ( ลําโดม           น ้อย    สารหาร        ธานี
            น ้อย)                    นํ้าพอง                    3x   25.   10      35   880 2509
         อุบลรัตน์         นํ้าพอง    กุดบาก     ขอนแก่         8.4    2    3.3     41   172 2508
            นํ้าพง  ุ       นํ้าพง
                                 ุ                      น       2x3    6    11            0  2517
             แก่ง                       เกษตร    สกลนคร 1 x 19 19           3.3     35       2525
         กระจาน            นํ้าพรม    สมบรณ์
                                           ู     เพชรบร ี    ุ   1x   1.3   8.5     85   282 2524
          ห ้วยทม     ุ่   ปัตตานี   บนนังสดา
                                      ั             ั
                                                  ชยภูม ิ       1.3   72    6.6     59   422 2528
         บางลาง             แมงัด
                                ่     แม่แตง       ยะลา        3 x 24 9                  195
            แมงัด ่                                   ี
                                                 เชยงให          2x   12.                 0
              ี ี
            ศรธาร                                       ม่      4.5    2
                                                 จันทบร ี  ุ     2x
                                                                6.1

หมายเหตุ เขือนห้ วยกุ่ม สร้ างตามความต้ องการทางชลประทานท้ ายนําของเขือนจุฬาภรณ์ จังหวัดชัยภูมิ
            ่                                                  ้      ่
ลักษณะโรงไฟฟ้ าเขื่อนพลังนํ้าขนาดเล็กของการไฟฟ้ าฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทย
                            ํ
                       ( มีกาลังผลิตตํ่ากว่า 5 เมกะวัตต์)
ลําด ับ    ื่
          ชอเขือน ่                    ทีตง
                                         ่ ั้                 กําล ังผลิต     แรงด ั    ต ัว   ปี ที่
          เก็บก ัก                                           ( เมกะว ัตต) ์    น      เขือน
                                                                                         ่     เข้า
              นํา
                ้                                                             (kv) ( เมตร) ระบบ
                                                                                               ( พ.
                                                                                               ศ.)
                         ลํานํา
                              ้   อําเภอ         จ ังหว ัด   จํานว    รวม            สูง ยา
                                                               น                             ว


          ทาทงนา
             ่ ุ่        แคว      ศรสวัสด ิ์
                                    ี           กาญจนบุร ี   2x190 3800       13.8             2525
                  ั
          บ ้านสนติ      ใหญ่                     ยะลา         00    0        3.3              2525
                                                              1x1   127
           บ ้านยาง                            ี
                                          เชยงราย              1x    5        0.40             2517
           บ ้านขุน                          ี
                                  จอมทอง เชยงใหม่            1.275 112        0.42             2526
             กลาง                  วัฒนา   สระแก ้ว          2 x 56 180       0.40             2526
              ่
          ชองกลํา    ่              นคร     ่ ่
                                         แมฮองสอน            2 x 90 16        0.40             2531
           บ ้านนํ้ า                    กาญจนบุร ี          1 x 16 40        0.40              อยู่
          เพียงดิน                                           1 x 40 70                         นอก
          ห ้วยกุยมั่ง                                                                         ระบบ
                                                                                               2537

More Related Content

What's hot

การวัดปริมาณน้ำฝน
การวัดปริมาณน้ำฝนการวัดปริมาณน้ำฝน
การวัดปริมาณน้ำฝน
dnavaroj
 
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
Thanyamon Chat.
 
แม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าแม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้า
Theerawat Duangsin
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
Chok Ke
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
supreechafkk
 
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
Peangjit Chamnan
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
masaya_32
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
Thanyamon Chat.
 
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพบทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
narongsakday
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
Anana Anana
 

What's hot (20)

บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
 
การวัดปริมาณน้ำฝน
การวัดปริมาณน้ำฝนการวัดปริมาณน้ำฝน
การวัดปริมาณน้ำฝน
 
Astronomy VI
Astronomy VIAstronomy VI
Astronomy VI
 
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
 
แม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าแม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้า
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5  เอกภพบทที่ 5  เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
 
บทที่ 3 พลังงานทดแทน
บทที่  3 พลังงานทดแทนบทที่  3 พลังงานทดแทน
บทที่ 3 พลังงานทดแทน
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพบทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
 
ราก (T)
ราก (T)ราก (T)
ราก (T)
 

Viewers also liked

พลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน
พลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนพลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน
พลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน
nuchida suwapaet
 
เศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลัง
เศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลังเศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลัง
เศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลัง
nuchida suwapaet
 
Hydro power ppt
Hydro power pptHydro power ppt
Hydro power ppt
srgirlsdk
 
Design and fabrication of hydro electric power
Design and fabrication of hydro electric powerDesign and fabrication of hydro electric power
Design and fabrication of hydro electric power
kannan42
 
Basics of Hydro power plant
Basics of  Hydro power plant Basics of  Hydro power plant
Basics of Hydro power plant
Prasad Vejendla
 
คุณสมบัติคอนกรีตสด
คุณสมบัติคอนกรีตสดคุณสมบัติคอนกรีตสด
คุณสมบัติคอนกรีตสด
J'b Htfl
 
การทดสอบหาปฏิภาคส่วนผสมของคอนกรีต
การทดสอบหาปฏิภาคส่วนผสมของคอนกรีตการทดสอบหาปฏิภาคส่วนผสมของคอนกรีต
การทดสอบหาปฏิภาคส่วนผสมของคอนกรีต
Vai2eene K
 
Water Resources Management Financing in Lao PDR
Water Resources Management Financing in Lao PDRWater Resources Management Financing in Lao PDR
Water Resources Management Financing in Lao PDR
GWP SOUTHEAST ASIA
 
PUMPED STORAGE PLANT
PUMPED STORAGE PLANTPUMPED STORAGE PLANT
PUMPED STORAGE PLANT
Nilanjana Sen
 
Chapter 4 synchronous machine
Chapter 4 synchronous machineChapter 4 synchronous machine
Chapter 4 synchronous machine
mkazree
 

Viewers also liked (20)

พลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน
พลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนพลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน
พลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน
 
วิชาป่าหรือเขื่อน 101 บทสุดท้าย 4 มูลค่าของเขื่อน มูลค่าของป่า
วิชาป่าหรือเขื่อน 101 บทสุดท้าย 4 มูลค่าของเขื่อน มูลค่าของป่าวิชาป่าหรือเขื่อน 101 บทสุดท้าย 4 มูลค่าของเขื่อน มูลค่าของป่า
วิชาป่าหรือเขื่อน 101 บทสุดท้าย 4 มูลค่าของเขื่อน มูลค่าของป่า
 
เศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลัง
เศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลังเศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลัง
เศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลัง
 
Hydro power ppt
Hydro power pptHydro power ppt
Hydro power ppt
 
Slump test
Slump testSlump test
Slump test
 
Design and fabrication of hydro electric power
Design and fabrication of hydro electric powerDesign and fabrication of hydro electric power
Design and fabrication of hydro electric power
 
Basics of Hydro power plant
Basics of  Hydro power plant Basics of  Hydro power plant
Basics of Hydro power plant
 
คุณสมบัติคอนกรีตสด
คุณสมบัติคอนกรีตสดคุณสมบัติคอนกรีตสด
คุณสมบัติคอนกรีตสด
 
วิชาป่าหรือเขื่อน 101 บทที่ 1 ป่า ที่เก็บน้ำถาวร เขื่อน ที่เก็บน้ำชั่วคราว
วิชาป่าหรือเขื่อน 101 บทที่ 1 ป่า ที่เก็บน้ำถาวร เขื่อน ที่เก็บน้ำชั่วคราววิชาป่าหรือเขื่อน 101 บทที่ 1 ป่า ที่เก็บน้ำถาวร เขื่อน ที่เก็บน้ำชั่วคราว
วิชาป่าหรือเขื่อน 101 บทที่ 1 ป่า ที่เก็บน้ำถาวร เขื่อน ที่เก็บน้ำชั่วคราว
 
การทดสอบหาปฏิภาคส่วนผสมของคอนกรีต
การทดสอบหาปฏิภาคส่วนผสมของคอนกรีตการทดสอบหาปฏิภาคส่วนผสมของคอนกรีต
การทดสอบหาปฏิภาคส่วนผสมของคอนกรีต
 
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
 
Water Resources Management Financing in Lao PDR
Water Resources Management Financing in Lao PDRWater Resources Management Financing in Lao PDR
Water Resources Management Financing in Lao PDR
 
Hydropower in Mekong countries: implications and opportunities
Hydropower in Mekong countries: implications and opportunitiesHydropower in Mekong countries: implications and opportunities
Hydropower in Mekong countries: implications and opportunities
 
Hydropower Sustainability Assessment Protocol
Hydropower Sustainability Assessment ProtocolHydropower Sustainability Assessment Protocol
Hydropower Sustainability Assessment Protocol
 
รายงานผลการทดสอบซีเมนต์ ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา และการทดสอบ
รายงานผลการทดสอบซีเมนต์ ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา และการทดสอบรายงานผลการทดสอบซีเมนต์ ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา และการทดสอบ
รายงานผลการทดสอบซีเมนต์ ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา และการทดสอบ
 
Qcc facilitator
Qcc facilitatorQcc facilitator
Qcc facilitator
 
PUMPED STORAGE PLANT
PUMPED STORAGE PLANTPUMPED STORAGE PLANT
PUMPED STORAGE PLANT
 
Micro hydro power plant
Micro hydro power plantMicro hydro power plant
Micro hydro power plant
 
Hydroelectric Power Plant (and Pumped Storage Power Plant)
Hydroelectric Power Plant (and Pumped Storage Power Plant)Hydroelectric Power Plant (and Pumped Storage Power Plant)
Hydroelectric Power Plant (and Pumped Storage Power Plant)
 
Chapter 4 synchronous machine
Chapter 4 synchronous machineChapter 4 synchronous machine
Chapter 4 synchronous machine
 

Similar to โรงไฟฟ้าพลังน้ำ (Hydro power plant)

เศษรฐกิจพอเพียง สุภาวดี
เศษรฐกิจพอเพียง สุภาวดีเศษรฐกิจพอเพียง สุภาวดี
เศษรฐกิจพอเพียง สุภาวดี
fernsupawade
 
โครงการแก้มลิง
โครงการแก้มลิงโครงการแก้มลิง
โครงการแก้มลิง
kpdbutter
 
โครงการเขื่อนแควน้อย
โครงการเขื่อนแควน้อยโครงการเขื่อนแควน้อย
โครงการเขื่อนแควน้อย
natsuda_naey
 
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
narunart
 
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปู
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปูโครงการพัฒนาแหล่งน้ำปู
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปู
poo_28088
 
แก้มลิง
แก้มลิงแก้มลิง
แก้มลิง
sweetynuizy
 
แก้มลิง
แก้มลิงแก้มลิง
แก้มลิง
nuizy
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
savokclash
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
makechix
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
Powergift_vip
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
Powergift_vip
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำ
nunticha
 
ฝายชะลอน้ำ
ฝายชะลอน้ำฝายชะลอน้ำ
ฝายชะลอน้ำ
dk_161154
 
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 1
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 1โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 1
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 1
nuchida suwapaet
 

Similar to โรงไฟฟ้าพลังน้ำ (Hydro power plant) (19)

10.น้ำ
10.น้ำ10.น้ำ
10.น้ำ
 
การสร้างเขื่อนแม่วงก์คุ้มค่าต่อการลงทุนหรือไม่
การสร้างเขื่อนแม่วงก์คุ้มค่าต่อการลงทุนหรือไม่การสร้างเขื่อนแม่วงก์คุ้มค่าต่อการลงทุนหรือไม่
การสร้างเขื่อนแม่วงก์คุ้มค่าต่อการลงทุนหรือไม่
 
เศษรฐกิจพอเพียง สุภาวดี
เศษรฐกิจพอเพียง สุภาวดีเศษรฐกิจพอเพียง สุภาวดี
เศษรฐกิจพอเพียง สุภาวดี
 
โครงการแก้มลิง
โครงการแก้มลิงโครงการแก้มลิง
โครงการแก้มลิง
 
โครงการเขื่อนแควน้อย
โครงการเขื่อนแควน้อยโครงการเขื่อนแควน้อย
โครงการเขื่อนแควน้อย
 
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
 
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปู
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปูโครงการพัฒนาแหล่งน้ำปู
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปู
 
แก้มลิง
แก้มลิงแก้มลิง
แก้มลิง
 
แก้มลิง
แก้มลิงแก้มลิง
แก้มลิง
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำ
 
ประเภทพลังงานไฟฟ้า
ประเภทพลังงานไฟฟ้าประเภทพลังงานไฟฟ้า
ประเภทพลังงานไฟฟ้า
 
ฝายชะลอน้ำ
ฝายชะลอน้ำฝายชะลอน้ำ
ฝายชะลอน้ำ
 
11.ลม
11.ลม11.ลม
11.ลม
 
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 1
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 1โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 1
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 1
 

โรงไฟฟ้าพลังน้ำ (Hydro power plant)

  • 2. ลกษณะการทางาน ั ํ โรงไฟฟ้ าพลังงานนํ้า เป็ นแหล่งผลิตไฟฟ้ าที่สาคัญอีกชนิดหนึ่งของ ํ ประเทศไทย โรงไฟฟ้ าชนิดนี้ใช้น้ าในลํานํ้าธรรมชาติเป็ นพลังงาน ในการเดินเครื่ อง ํ ่ โดยวิธีสร้างเขื่อนปิ ดกั้นแม่น้ าไว้ เป็ นอ่างเก็บนํ้า ให้มีระดับอยูในที่สูงจนมีปริ มาณ ํ นํ้า และแรงดันเพียงพอที่จะนํามาหมุนเครื่ องกังหันนํ้าและเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าซึ่งอยู่ ในโรงไฟฟ้ าท้ายนํ้าที่มีระดับตํ่ากว่าได้ กําลังผลิตติดตั้งและพลังงานไฟฟ้ าที่ผลิตได้ จากโรงไฟฟ้ าชนิดนี้ จะเพิ่มเป็ นสัดส่ วนโดยตรงกับแรงดันและปริ มาณนํ้าที่ไหลผ่าน เครื่ องกังหันนํ้า
  • 3. 1. นํา (Hydro) ้ เป็ นทรัพยากรที่สาคัญที่สุดอย่างหนึ่งต่อการดํารงชีวิตของสิ่ งมีชีวิตทั้งหลาย มนุษย์ ํ จําเป็ นต้องใช้น้ าเพื่อการอุปโภคและบริ โภค นอกจากนี้ นํ้ายังเป็ นแหล่งอาหารที่ ํ สําคัญ เป็ นเส้นทางคมนาคม เป็ นแหล่งสันทนาการ รวมทั้งยังสามารถพัฒนาให้เป็ น แหล่งพลังงานอีกด้วย น้ าจะเกิดข้ ึนตามธรรมชาติมีวฏจกรหมุนเวียนไปอยางไมมีวนหมด น้ าจากแหล่งน้ า ํ ั ั ่ ่ ั ํ ํ ธรรมชาติ ทะเล มหาสมุทร จะถูกดวงอาทิตย์เผากลายเป็ นไอลอยขึ้นไปบนอากาศ และเกาะตัวเป็ นกลุ่มก้อนคือ เมฆฝน ตกลงมาบนพื้นโลก และนํานํ้ามาใช้ประโยชน์ ในแบบต่าง ๆ กัน การพัฒนาแหล่งนํ้าเพื่อนํามาใช้ประโยชน์ ส่ วนใหญ่จะก่อสร้างเขื่อนหรื ออ่างเก็บนํ้า ั ํ เป็นหลก โดยการสร้างจะกาหนดวตถุประสงคไวเ้ ป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ ั ์
  • 4. 1. เพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะเพียงอย่างเดียว (Single Purpose) เช่น สร้างเพื่อ - การชลประทาน - การอุปโภค บริโภค - การผลิตกระแสไฟฟ้ า 2. เพื่อการอเนกประสงค์ (Multipurpose) คือการสร้างเพื่อให้ได้ประโยชน์หลาย ๆ อยางพร้อมกน เช่น ่ ั - การชลประทาน (Irrigation) - การระบายนํ้า (Drainage) - การบรรเทาอุทกภย (Flood Control) - การคมนาคม (Navigation) ั - การรักษาคุณภาพนํ้า (Water Quality Control) - การประมง (Fishery) - การไล่น้ าเค็ม (Salinity Control) ํ - การท่องเที่ยว (Tourism) - การผลิตกระแสไฟฟ้ าพลังนํ้า (Hydro Power Generation) - การอุปโภค บริโภค (Domestic or Industrial Water Supply) ประโยชน์ที่ได้รับหลาย ๆ อย่างนี้ การสร้างเขื่อนส่ วนมากจึงจําเป็ นต้องตั้งวัตถุประสงค์ไว้ เพื่อให้เป็ นเขื่อนแบบอเนกประสงค์
  • 5. 2. การวางแผนสร้างเขื่อน การวางแผนสร้างเขื่อน จะต้องพยายามใช้ประโยชน์จากแหล่งนํ้าบริ เวณที่สร้างเขื่อนให้ได้ ประโยชน์มากที่สุด โดยศึกษาและสารวจหาความสามารถสูงสุดของแหล่งน้ าดงต่อไปน้ ี ํ ํ ั 1. ลกษณะภมิประเทศ (Topography) ั ู 2. อุทกวิทยา และอุตุนิยมวทยา (Hydrology and Meteorology) ิ 3. ธรณี วิทยา และฐานราก (Geology and Foundation) 4. วสดุก่อสร้าง (Construction Materials) ั 5. ระบบไฟฟ้าที่มีอยู่ (Existing Power System) 6. ผลกระทบต่อสิ่งแวดลอม (Environment Impact) ้ เมื่อไดรวบรวมขอมูลและทาการศึกษารายละเอียดตามรายการท้ ง 6 ข้อที่กล่าวมาแล้ว ก็สามารถ ้ ้ ํ ั จะประมวลเป็นโครงการแลวทาการศึกษาต่อทางดานวศวกรรมเศรษฐศาสตร์ และการเงินของ ้ ํ ้ ิ โครงการ เพื่อการติดสิ นใจดําเนินการเป็ นขั้น ๆ ต่อไป
  • 6. 3. ชนิดของเขื่อน แบ่งตามวัสดุที่ใช้ในการก่อสร้าง แบ่งเป็ น 3.1 เขื่อนคอนกรี ต มีอยู่ 3 แบบ คือ 1. แบบฐานแผ่ (Gravity) เป็นเขื่อนที่ออกแบบใหมีความมนคงแขงแรงโดย ้ ั่ ็ อาศัยนํ้าหนักคอนกรี ตของตัวเขื่อนรับแรงต่าง ๆ เขื่อนประเภทนี้ได้แก่ เขื่อนกิ่วลม เป็นตน้ 2. แบบโค้ง (Arch) อาศัยความโค้งรับแรงที่กระทําต่อเขื่อน โดยถ่ายแรงดันของ นํ้าไปสู่ ไหล่เขาทั้งสองข้าง ตัวเขื่อนมีลกษณะบางใช้คอนกรี ตไม่มาก เขื่อนแบบนี้ ั ได้แก่ เขื่อนภูมิพล ซึ่งเป็ นเขื่อนเดียวในประเทศไทย 3. แบบกลวงหรื อครี บ (Hollow or Buttress) ดานหนาเขื่อนเป็นแผน ้ ้ ่ คอนกรี ต มีโครงสร้างคอนกรี ตคํ้ายันเป็ นช่วง ๆ ทางด้านหลัง เขื่อนแบบนี้ไม่มีใน ประเทศไทย และปัจจุบนไม่ค่อยได้รับความนิยม ั
  • 7. 3.2 เขื่อนถม ั ู่ เขื่อนถม คือเขื่อนที่สร้างข้ ึนจากวสดุตามธรรมชาติที่มีอยในบริเวณใกลเ้ คียง รวมท้ งวสดุที่ได้ ั ั จากการขดหรือสร้างจากวสดุที่เหลือทิ้งจากกระบวนการทางอุตสาหกรรม สามารถแยกออกได้ ุ ั ตามลักษณะองค์ประกอบ และวิธีการก่อสร้างดังนี้ 1. เขื่อนดินถม หรื อเขื่อนดิน (Earthfill Dam) คือเขื่อนที่ก่อสร้างข้ ึนโดยมีปริมาตรของ วสดุทึบน้ า ( ดิน) มากกว่าร้อยละ 50 ของปริ มาตรตัวเขื่อน มักจะมีแกนกลางเป็ นดินเหนียว ั ํ และเป็ นเขื่อนที่พบมากที่สุดเนื่องจากง่ายต่อการก่อสร้าง สามารถใช้วสดุก่อสร้างซึ่ งหาได้ง่าย ั จากบริ เวณใกล้เคียง ได้แก่ เขื่อนสิ ริกิต์ เขื่อนแก่งกระจาน เขื่อนแม่งดสมบูรณ์ชล ฯลฯ ั 2. เขื่อนหิ นถม หรื อหิ นทิ้ง (Rockfill Dam) คือเขื่อนที่ก่อสร้างข้ ึน โดยมีปริมาตรของ วสดุที่ไม่ทึบน้ า ( หิ น กรวด ทราย) มากกว่าร้อยละ 50 ของปริมาตรตวเขื่อน ส่วนใหญ่มีแกน ั ํ ั เป็ นดินเหนี ยว ได้แก่ เขื่อนศรี นคริ นทร์ เขื่อนอุบลรัตน์ เขื่อนสิ รินธร เขื่อนจุฬาภรณ์ เขื่องบาง ลาง ฯลฯ เป็ นต้น สําหรับส่ วนที่แตกต่างกว่าที่เคยสร้างมา คือ เขื่อนเขาแหลม ไม่มีแกนดิน เหนียว แต่เป็ นหิ นถมดาดหน้าด้วยคอนกรี ต นอกจากนี้ ยังมีเขื่อนชนิดอื่น ๆ อีก เช่น เขื่อนไม้ ซึ่ งใช้ไม้มาทับถมกัน เขื่อนโครงเหล็ก ใช้เหล็ก เป็ นวัสดุก่อสร้าง และเขื่อนผสมเป็ นการนําแบบของเขื่อนชนิดต่าง ๆ มาผสมผสานกัน
  • 8. 4. ชนิดของเขื่อนแบ่ งตามลักษณะการใช้ งาน แบ่งออกไดดงน้ ี ้ั 1. เขื่อนรับนํ้า (Intake Dam) สร้างเพื่อยกระดับนํ้าให้สูงขึ้น และรับนํ้าจากลํานํ้าเข้าสู่ โรงไฟฟ้าเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า แลวไหลลงสู่ ลาน้ าตามเดิม ไดแก่ เขื่อนปากมูล และเขื่อนหรือ ้ ํ ํ ้ ฝายของโรงไฟฟ้ าพลังนํ้าขนาดเล็กต่าง ๆ เช่น บ้านยาง บ้านขุนกลาง บ้านสันติ ฯลฯ เป็ นต้น 2. เขื่อนเก็บกักนํ้า (Storage Dam) ใช้วธีการเก็บกักนํ้าไว้ในอ่าง แล้วควบคุมการ ิ ปล่อยนํ้าให้เป็ นไปตามที่ตองการ เช่น เขื่อนภูมิพล เขื่อนสิ ริกิต์ ิ เขื่อนศรี นคริ นทร์ เขื่อนอุบลรัตน์ ้ เขื่อนเขาแหลม เขื่อนรัชชประภา เขื่อนบางลาง ฯลฯ เป็นตน ้ 3. เขื่อนบังคับนํ้า (Regulating Dam) สร้างขึ้นเพื่อควบคุมปริ มาณนํ้าทางด้านนํ้าให้ เพียงพอที่เขื่อนรับน้ าจะยกระดบผนเขาคลองส่งน้ าสาหรับการชลประทาน เช่น เขื่อนวชิราลง ํ ั ั ้ ํ ํ กรณ์ เขื่อนเพชรบุรี เขื่อนเจ้าพระยา เขื่อนนเรศวร ฯลฯ เป็ นต้น สําหรับเขื่อนบังคับนํ้าแห่งแรกที่ สามารถผลิตไฟฟ้ าได้ คือ เขื่อนท่าทุ่งนา 4. เขื่อนเก็บกักนํ้าเพื่อสูบนํ้ากลับ (Pumped Storage Dam) สร้างขึ้นเพื่อทําอ่าง เกบน้ าเมื่อปล่อยน้ าออกแลวสูบกลบ เขื่อนประเภทน้ ี อาจจะไม่ตองสร้างขวางทางน้ า หนาที่ที่ ็ ํ ํ ้ ั ้ ํ ้ สาคญกคือคอยเกบน้ าไวปล่อยเพื่อผลิตไฟฟ้าในช่วงที่มีความตองการสูง และในช่วงที่มีความ ํ ั ็ ํ ้ ้ ต้องการไฟฟ้ าตํ่า ก็จะสูบนํ้าจากอ่างเก็บนํ้าตอนล่างขึ้นไปเก็บไว้ยงอ่างเก็บนํ้าตอนบนตามเดิม ั และนํานํ้านั้นมาใช้ผลิตกระแสไฟฟ้ าอีกครั้งในช่วงที่มีความต้องการสู งสุ ดของแต่ละวัน
  • 9. 5. ชนิดของโรงไฟฟาพลังนําแบ่ งตามปริมาณนํา ้ ้ ้ 1. แบบไม่มีอ่างเกบน้ า (Run of River) โรงไฟฟ้าชนิดน้ ี ใชประโยชน์ของน้ าที่ไหล ็ ํ ้ ํ ตามลําห้วย ลําธาร สร้างเขื่อนเล็ก ๆ หรื อฝายขวางลํานํ้า บังคับนํ้าให้ไหลไปตามท่อ หรื อทําราง ส่ งนํ้า ใช้ความดันของนํ้าจากที่สูงหมุนกังหันซึ่ งต่อแกนกับเครื่ องกําเนิด ผลิตไฟฟ้ าขนาดเล็ก ปริมาณน้ าไม่แน่นอน ข้ ึนอยกบฤดูกาล ํ ู่ ั 2. แบบมีอ่างเกบน้ า (Storage Regulation Development) เป็ นโรงไฟฟ้ า ็ ํ ขนาดกลาง หรื อขนาดใหญ่ และพัฒนาให้เป็ นแบบอเนกประสงค์ โรงไฟฟ้ าชนิดใช้เป็ นหลักใน การผลิตไฟฟ้ า นํ้าจะถูกเก็บไว้ในอ่างเก็บนํ้าเหนือเขื่อนให้มีปริ มาณเพียงพอที่จะผลิตไฟฟ้ าได้ ่ ํ อยางสม่าเสมอ 3. แบบสูบน้ ากลบ (Pumped Storage Plant ) โรงไฟฟ้าแบบสูบน้ ากลบเป็น ํ ั ํ ั โรงไฟฟ้าที่มีอ่างเกบน้ าสองส่วน คืออ่างเกบน้ าบนและล่าง โรงไฟฟ้าจะเป็นตวเชื่อม ในขณะที่ ็ ํ ็ ํ ั ผลิตไฟฟ้ าในช่วงที่มีความต้องการไฟฟ้ าสูงก็จะปล่อยนํ้าให้หมุนกังหันและเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ า ํ และเมื่อใดที่มีความต้องการใช้ไฟฟ้ าตํ่าหรื อลดลง ก็จะใช้กาลังงานไฟฟ้ าที่เหลือจ่าย ั กระแสไฟฟ้ าให้กบปั้ มนํ้าขนาดใหญ่เพื่อสูบนํ้าจากอ่างล่างกลับขึ้นไปเก็บไว้ที่ดานบน เพื่อใช้ ้ ประโยชน์อยางมีประสิทธิภาพสูงสุดต่อไป ่
  • 10. 3. แบบสู บนํ้ากลับ (Pumped Storage Plant ) โรงไฟฟ้ าแบบสูบ นํ้ากลับเป็ นโรงไฟฟ้ าที่มีอ่างเก็บนํ้าสองส่ วน คืออ่างเก็บนํ้าบนและล่าง โรงไฟฟ้ าจะ เป็ นตัวเชื่อม ในขณะที่ผลิตไฟฟ้ าในช่วงที่มีความต้องการไฟฟ้ าสูงก็จะปล่อยนํ้าให้ หมุนกังหันและเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ า และเมื่อใดที่มีความต้องการใช้ไฟฟ้ าตํ่าหรื อ ํ ั ลดลง ก็จะใช้กาลังงานไฟฟ้ าที่เหลือจ่ายกระแสไฟฟ้ าให้กบปั้มนํ้าขนาดใหญ่เพื่อสูบ นํ้าจากอ่างล่างกลับขึ้นไปเก็บไว้ที่ดานบน เพื่อใช้ประโยชน์อย่างมีประสิ ทธิภาพ ้ สูงสุดต่อไป ตัวอย่ าง รูปภาพ เครื่องสู บนํากลับ ้
  • 11. 6. ส่ วนประกอบของโรงไฟฟาพลังนํา ้ ้ 1. อาคารรับน้ า (Power Intake) คืออาคารที่อยดานล่างหลงเขื่อน ตวอาคารจะมีท่อส่ง ํ ู่ ้ ั ั นํ้าจากอ่างเก็บนํ้าไปดันกังหันและหมุนเครื่ องกําเนิดภายในอาคารจะมีหองควบคุมนํ้าและ ้ ควบคุมระบบการผลิตไฟฟ้า ํ ํ ่ 2. อุโมงคเ์ หนือน้ า (Headrace) เป็ นช่องทางที่น้ าไหลเข้ามายังท่อส่ งนํ้าอยูภายในตัว เขื่อน 3. ตะแกรง (Screen) เป็ นตะแกรงเหล็ก มีไว้สาหรับป้ องกันท่อนไม้ เศษไม้ หรื อวัตถุอื่น ํ ใดที่จะเข้าไปอุดตันท่อนํานํ้า หรื อทําความเสี ยหายให้กบกังหัน ตะแกรงนี้จะต้องมีช่องให้พอดีที่ ั ่ ้ ่ จะทาใหปริมาณน้ าไหลผานไดอยางมีประสิทธิภาพ ํ ้ ํ 4. ท่อส่ งนํ้า (Penstack) เป็นท่อรับน้ าอยในตวเขื่อนหรือรับน้ าจากเขื่อน แลวลดระดบ ํ ู่ ั ํ ้ ั ให้ต่าลงเพื่อทําให้น้ ามีแรงดันหมุนกังหัน ํ ํ 5. ท่อรับน้ า (Draft Tube) เป็ นท่อรับนํ้าที่อยูส่วนหลังของกังหัน เพื่อนํานํ้าที่ผานกังหัน ํ ่ ่ ส่งออกไปยงทายน้ า ั ้ ํ 6. อาคารลดแรงดนน้ า (Surge Tank) เป็ นอาคารหรื อถังนํ้าขนาดใหญ่ สร้างขึ้นอยู่ ั ํ ระหวางตวเขื่อนกบอาคารรับน้ าเพื่อลดแรงดน หรือแรงดนของน้ าไม่ใหเ้ กิดอนตรายกบท่อหรือ ่ ั ั ํ ั ั ํ ั ั ั ั หัวฉี ดนํ้า แต่โรงไฟฟ้ าบางชนิดที่ต้ งใกล้กบตัวเขื่อนก็ไม่ตองมีอาคารลดแรงดันนํ้า ้
  • 12. 7. ประตูน้ า (Wicket Gate) เป็ นบานประตูที่ควบคุมการไหลของนํ้า ํ สามารถปิดหรือเปิดใหน้ าไหลผานเขาไปยงท่อส่งน้ าเพื่อใหมีแรงดนไปหมุนกงหน ้ ํ ่ ้ ั ํ ้ ั ั ั
  • 13. กงหนน้ าจาแนกออกเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ 2 ประเภท คือ Reaction กับ ั ั ํ ํ Impulse กังหันนํ้าทั้ง 2 ประเภทมีคุณสมบัติแตกต่างกัน คุณสมบัติทแตกต่ างกันของโรงไฟฟาพลังนํา ี่ ้ ้ ประเภทของก ังห ันนํา ้ Reaction Impulse 1. นํ้าทเข ้าไปหมน Runner ี่ ุ ท่วม ไมทวม ่ ่ 2. ความกดดันของนํ้ าทีเข ้าไปดัน ่ สงกวาบรรยากาศ ู ่ เทาบรรยากาศ ่ ใบกังหันของ Runner 3. นํ้าทเข ้าไปสู่ Runner ี่ ่ เต็มทุกชองพร ้อมกัน เป็ นจุด ๆ 4. พลงงานทนํ้าถายเทให ้แก่ Runner ั ี่ ่ เป็ นพลังงานจลน์และเป็ นพลังงานจลน์ เป็นพลงงานจลนอยางเดยว ั ์ ่ ี ั และพลงงานศกย ์ ั
  • 14. กังหันนํ้าประเภท Reaction ที่ใชกนแพร่หลายอยทวไป คือ แบบ Francis และ Kaplan ้ ั ู่ ั่ ั ั ่ ็ ั ั ํ ส่ วนกังหันนํ้าประเภทImpulse น้ นแบบที่สาคญและเป็นที่รู้จกกนดีวาแบบอื่น ๆ กคือ กงหนน้ า ั ํ ั ั ั ํ แบบ Pelton การพิจารณาเลือกสรรประเภท และแบบของกงหนน้ าเพื่อใหเ้ หมาะสมกบสภาพ ั ของงานนั้นอาศัยหลักเกณฑ์กว้างๆพอเป็ นแนวทางได้ดงนี้ั Head กังหันนํ้าแบบ (เมตร) Kaplan (Fixed - blade) 1 ถึง 30 Kaplan (Adjustable - blade) 1 ถึง 60 Francis 25 ถึง 450 Pelton 250 ขึ้นไป ่ ้ ในกรณี น้ ี น้ าซึ่ งใช้หมุนกังหันนํ้า มีกรวดทรายปนอยูดวย และกังหันมีแรงม้าไม่สูงนักแล้ว ํ ั กังหันนํ้าแบบ Pelton เป็ นดีที่สุด ซึ่ งอาจใช้กบ Head ตํ่าลงมาถึง 120 หรือ 150 เมตร ได้ ่ ้ เครื่ องกําเนิดไฟฟ้ า(Generator) จาแนกตามความเร็วรอบและขนาดอยางกวางๆได้ ํ ดังต่อไปนี้ (ความถี่มาตรฐาน 50 ไซเกิลวนาที) ิ เครื่องความเร็วรอบสูง ขนาดเลก คือ ขนาด 200 – 2,000 เควี เอ.หมุน 1,000 – 750 รอบต่อนาที ็ ํ ่ (หรื ออาจต่ากวาน้ ี)
  • 15. ส่ วนมากเป็ นชนิ ดเพลานอน (Horizontal Shaft) ต่อตรงกับกังหันนํ้าประเภท Impulse บางทีก็ เป็ นชนิดเพลาตั้ง(Vertical Shaft) ต่อตรงหรือขบดวยเกียร์จากกงหนรอบชา ในบางโอกาสที่ใช้ ั ้ ั ั ้ ้ ็ กับกังหันนํ้าประเภท Reaction ดวยกมี เครื่องความเร็วรอบสูง ขนาดใหญ่ คือขนาด 3,000 – 100,000 เควี เอ. หรือสูงกวาน้ ีหมุน ่ 750 – 333 รอบต่อนาที มีท้ งชนิ ดเพลานอนและเพลาตั้ง เหมาะกับกังหันนํ้าประเภท Impulse หรือ Reaction ั เครื่องความเร็วรอบต่า ขนาดเลก คือ ขนาด 200 – 2,00 เควี. หมุน 250 รอบต่อนาทีลงมา ํ ็ จนถึงขนาด 5,000 หรือ 10,000 เควี หมุน 125 รอบต่อนาทีลงมา ส่วนมากเป็นชนิดเพลาต้ ง เหมาะกบกงหนน้ าแบบ Francis และ ั ั ั ั ํ Kaplan เครื่องความเร็วรอบต่า ขนาดใหญ่ คือ ขนาด 5,000 – 250,000 เควีเอ. หมุนหรือสูงกวาน้ ี ํ ่ หมุน 250 – 75 รอบต่อนาที ั ั ั ํ เป็นเครื่องชนิดเพลาต้ ง เหมาะกบกงหนน้ าแบบ Francis และ Kaplan 2.6.3 ค่าลงทุนขั้นแรกและ ั ต้นทุนการผลิตไฟฟ้ า
  • 16. 8. กังหัน (Turbine) เป็นตวรับแรงกระทาของน้ าที่ใชแรงดนมาฉีดหรือผลกดนให้ ั ํ ํ ้ ั ั ั ่ ั หมุน และต่อแกนอยูกบเครื่ องกําเนิด ผลิตไฟฟ้ าออกมา 9. เครื่ องกําเนิดไฟฟ้ า (Generator) เป็ นเครื่ องกลไฟฟ้ าที่เปลี่ยนพลังงานกล ที่ได้รับ จากตนกาลงมาเป็นพลงงานไฟฟ้า โดยใชหลกการของขดลวดตดผานสนามแม่เหลก ้ ํ ั ั ้ ั ั ่ ็ 10. ทางนํ้าล้น (Spillway) คือทางระบายนํ้าออกในอ่างเก็บนํ้าในกรณี ที่น้ ามีระดับสูง ํ มาก เพื่อป้ องกันไม่ให้น้ าท่วมล้นตัวเขื่อน ํ 11. หมอแปลง (Transformer) เป็ นอุปกรณ์ไฟฟ้ าที่แปลงแรงดันไฟฟ้ าที่ผลิตได้จาก ้ เครื่องกาเนิดใหเ้ ป็นแรงดนสูงส่งเขาระบบส่งจ่ายไฟฟ้าเป็นระยะทางไกลไปใหกบ ํ ั ้ ้ ั ศูนย์กลางผูใช้ไฟฟ้ า ้
  • 18. 7. กังหันนํา (Water Turbine) ้ กังหันเป็ นส่ วนประกอบที่สาคัญที่สุดของโรงไฟฟ้ า เพราะกังหันจะเป็ นตัวรับการกระทําจากต้น ํ กําลังมาเป็ นพลังงานกลเพื่อหมุนเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าผลิตไฟฟ้ าออกมา กังหันนํ้าแบ่งออกได้เป็ น 2 ชนิ ดคือ ั ั 1. กงหนแบบแรงกระแทก (Impulse Turbine) กงหนแบบแรงกระแทกเป็นกงหนที่หมุนโดยอาศยแรงฉีดของน้ าจากท่อส่งน้ าที่รับน้ าจากที่สูง ั ั ั ั ั ํ ํ ํ หรือหวน้ าสูง ไหลลงมาตามท่อที่ลดขนาดลงมายงหวฉีดกระแทกถงหนไม่หมุน และต่อแกนกบ ั ํ ั ั ั ั ั เครื่องกาเนิดผลิตไฟฟ้าออกไป กงหนแบบแรงกระแทกแบ่งออกเป็น 3 ชนิด คือ ํ ั ั 1. แบบใชกบหวน้ าต่ากาลงผลิตนอยใชแบบแบงกี (Banki Type) ้ ั ั ํ ํ ํ ั ้ ้ ้ ั ั ํ 2. แบบใชกบหวน้ าปานกลาง ใชแบบเทอร์โก (Turgo Type) ้ ้ ั ั ํ ํ ั 3. แบบใชกบหวน้ าสูงกาลงผลิตมาก ใชแบบเพลตน (Pelton Type) ้ ั กังหันเพลตัน ใช้กนมากในกรณี ที่หวนํ้ามีแรงดันสู ง ด้วยเหตุน้ ี ส่วนมากจึงใช้แกนนอนแต่ยงมี ั ั ั ู่ ั ั บางส่ วนที่ใช้ในแกนตั้ง ที่ใบพัดจะมีถวย (Bucket) หลาย ๆ ใบติดอยกบตวแกนแผนจาน ้ ่ (Disk) ถ้วยเหล่านี้จะรับนํ้าจากหัวฉี ด
  • 19. โดยแบ่งนํ้าไปทางซ้ายและขวาด้วยสันแนวที่อยูตรงกลางของถ้วย ถ้วยที่ใช้กนอยู่ ่ ั ่ ้ ั ่ ทัวไปมี 2 แบบ แบบหน่ ึงใชติดกบแผนจาน โดยการยดไวดวยสลกเกลียว อีกแบบ ึ ้้ ั หนึ่งใช้วิธีหล่อติดกับแผ่นจาน ที่ท่อส่ งนํ้าตรงหัวฉี ดจะมีเข็ม (Needle) สําหรับปรับ ปริ มาตรของนํ้าให้มีความดันมากขึ้นหรื อลดลง ทําให้สามารถปรับความเร็ วการ ั ั หมุนของกงหนได้ ั ั 7.2 กงหนแบบแรงสะทอน (Reaction Turbine) ้ กงหนแบบแรงสะทอนเป็นกงหนที่หมุนโดยใชแรงดนของน้ าที่เกิดจากความต่าง ั ั ้ ั ั ้ ั ํ ระดับของนํ้าด้านหน้าและด้านท้ายของกังหันกระทําต่อใบพัด ระดับด้านท้ายนํ้าจะ ่ อยูสูงกว่าระดับบนของปลายท่อปล่อยนํ้าออกเสมอ กังหันชนิดนี้เหมาะกับอ่างเก็บ นํ้าที่มีความสู งปานกลางและตํ่า กังหันแรงสะท้อน แบ่งได้เป็ น 3 แบบ คือ 1. กังหันฟรานซิส (Francis Turbine) เป็ นกังหันแบบที่ใช้การไหลช้าของปริ มาณนํ้า ั ในใบพดเป็นแบบแฉกและไหลออกขนานกบแกน ซ่ ึงแสดงวามีการเปลี่ยนทิศ ั ่ ่ ั ั ั ทางการไหลในขณะผานใบพด กงหนฟรานซิสมีท้ งแบบแกนนอนและแกนต้ ง ั ั
  • 21. แกนตั้ง แกนนอน 1. ต้องการพื้นที่นอยการติดตั้งสามารถ ้ 1. เป็ นเครื่ องกังหันนํ้าขนาดเล็กแต่ใช้ ่ วางเครื่ องกังหันให้อยูในระดับตํ่า เพื่อ กับกังหันหัวนํ้าสูง มีความ ลดปั ญหาการกัดกร่ อนและโพรง เหมาะสมทางเศรษฐศาสตร์ ใน สูญญากาศที่เกิดกบใบพดเครื่องกงหน ั ั ั ั เครื่ องกังหันแกนนอนขนาดใหญ่ ั ั ํ ู่ 2. อุปกรณ์ของเครื่องกงหนน้ าอยในฐาน จะมีท่อนํานํ้าเข้ากังหันใหญ่มากจึง และโครงสร้างอาคารที่เป็นคอนกรีต ่ ยุงยากในการก่อสร้างโครงสร้างที่ รับแรงสันสะเทือนไดดี ่ ้ จะมารองรับ 3. เหมาะกบเครื่องกงหนน้ าขนาดใหญ่ที่ ั ั ั ํ 2. การซ่อมแซม และการบารุงรักษา ํ ต้องการพื้นที่โรงไฟฟ้ าไม่มาก และมี ทาไดง่าย ํ ้ ่ ประสิทธิภาพสูงกวาแกนนอน ั ั ํ 3. ประสิทธิภาพของเครื่องกงหนน้ า แกนนอนตํ่ากว่าแกนตั้งประมาณ 1-2 เปอร์เซ็นต์
  • 22. ั ั 2. กังหันเดเรี ยซ (Deriaz Turbine) หรือกงหนแบบที่มีการไหลของน้ าในทิศทาง ํ ทแยงมุมกบแกน กงหนแบบน้ ีใชกบกรณีที่มีหวน้ าสูง ส่วนของใบพดจะเคลื่อนที่ไดเ้ มื่อมีน้ า ั ั ั ้ั ั ํ ั ํ ไหลผ่าน และมีลกษณะคล้าย ๆ กับกังหันฟรานซิ ส ั ั ั 3. กังหันคาปลาน (Kaplan Turbine) หรือกงหนแบบใบพด น้ าจะไหลผานใบพดใน ั ํ ่ ั ั ั ั ้ ั ั ั ทิศทางขนานกบแกนของกงหน ใชกบงานที่มีหวน้ าต่า ใบพดของกงหนคาปลานเป็นใบพดที่ ั ํ ํ ั ั สามารถปรับไดตามมุมของซี่ใบพดโดยอตโนมติตามแรงอดหรือแรงฉีดแรงน้ า โดยจะสัมพนธ์ ้ ั ั ั ั ํ ั ั กบความแรงที่หวฉีดน้ าซ่ ึ งประกอบดวยลกเบ้ ียว (Cam) ชุดควบคุมความเร็ ว (Speed ั ํ ้ ู Governor) ช่องนํานํ้า (Guide Vane) และมุมของซี่ใบพด (Runner ั Blade) เช่นเดียวกันกับกังหันชนิ ดอื่น ๆ ถ้าต้องการเพิ่มความเร็ วและความแรงของนํ้า ก็ทาท่อป้ อนนํ้า ํ เป็ นรู ปหอยโข่ง โดยทําท่อด้านรับนํ้าเข้าให้ใหญ่และเรี ยวเล็กลงตามลําดับ กังหันนํ้าเดเรี ยซ และกังหันนํ้ากระเปาะ ( Bulb ) (โรงไฟฟ้ าพลังนํ้าเขื่อนปากมูล)
  • 23. ั ั ํ 8. การเลือกแบบของเครื่องกงหนน้ า การเลือกแบบของเครื่ องกังหันนํ้าในขั้นต้น พิจารณาได้จากความสัมพันธ์ ของหัวนํ้าและกําลังผลิตของกังหันแบบต่าง ๆ แต่ท้ งนี้ ต้องคํานึงถึงความ ั เหมาะสมทางด้านเศรษฐศาสตร์ดวย โดยทัวไปเครื่ องกังหันนํ้าแบบฟราน ้ ่ ซิส ก่อสร้างได้ง่าย มีความเชื่อถือสูง จึงนิยมใช้กนมาก ในกรณี ที่หวนํ้าสู ง ั ั มากโดยทัว ๆ ไปใช้แบบเพลตัน และถ้าหัวนํ้าตํ่า ก็ใช้เครื่ องกังหันแบบคา ่ ปลาน เครื่ องกันหันนํ้า ความสู งหัวนํ้า ( เมตร) กังหันคาปลาน 1 – 70 กังหันฟรานซิส 15 – 450 กังหันเพลตัน 150
  • 24. ในการเลือกใช้เครื่ องกังหันนํ้าอาจเลือกใช้แบบใดแบบหนึ่งก็ได้ ซึ่งควรจะนํามา พิจารณาประกอบได้ดงนี้ ั ในกรณี หวนํ้าสูง การเลือกกังหันเพลตันหรื อฟรานซิ ส ควรพิจารณาประกอบ คือ ั 1. ค่าระดับนํ้าหลากทางท้ายนํ้าสู ง กังหันเพลตันไม่สามารถใช้หวนํ้า ใต้ระดับของ ั ั ั เครื่องกงหนใหเ้ ป็นประโยชน์ได้ 2. เมื่อตองการเดินเครื่องที่มีโหลดต่ออยมาก กงหนเพลตนแบบใชหวฉีดหลายอน ้ ู่ ั ั ั ้ ั ั จะให้ประสิ ทธิภาพสูงกว่า 3. กังหันฟรานซิส มีความเร็ วรอบสู ง และสามารถปรับความเร็ วรอบตามขนาดของ เครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าได้ ทําให้เลือกใช้เครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าที่มีราคาตํ่าได้ 4. ถ้าท่อส่ งนํ้ามีความยาวและลาดชัดน้อย ควรใช้กงหันเพลตันเพราะค่าใช้จ่ายใน ั การก่อสร้างท่อส่ งนํ้าตํ่า เนื่องจากความดันดันในขณะปิ ดท่อส่ งนํ้าในทันที่ที่ต่า ํ (Sudden Shut Down)
  • 25. ั 5. ในกรณี ที่น้ าไหลช้า มักจะนิยมใช้กงหันเพลตัน เพราะสามารถตรวจสอบใบพัด ํ และบารุงรักษาไดง่าย ํ ้ ่ 6. กังหันฟรานซิสจะมีคาก่อสร้างโรงไฟฟ้ าสู งกว่า เพราะต้องเพิ่มงานชุดมากกว่า แต่ราคาของกังหันฟรานซิสจะถูกกว่ากังหันเพลตัน ในกรณี หวนํ้าตํ่า การเลือกกังหันคาปลาน หรื อกังหันฟราสซิ ส ควรพิจารณา ั ประกอบคือ ั 1. เมื่อหัวนํ้าเปลี่ยนแปลงบ่อย ๆ ควรเลือกใช้กงหันคาปลาน 2. กังหันคาปลานความเร็ วสู ง ทําให้ราคาของเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าตํ่า แต่ตองลด ้ ระดับท่อปล่อยนํ้าให้ต่า ซึ่งทั้งนี้ท่อนํ้าเข้ากังหันจะต้องใหญ่ข้ ึน จึงทําให้ค่าใช้จ่าย ํ ด้านงานโยธาสูงขึ้น 3. การบํารุ งรักษา กังหันฟรานซิ ส ง่ายและสะดวกเพราะก่อสร้างแบบง่าย ๆ ราคา ของเครื่ องกังหันก็ถูกกว่ากังหันคาปลาน
  • 26. 9. หัวนํา (Head) ้ การใช้เครื่ องกังหันนํ้าจะต้องคํานึงถึงกําลังผลิตและหัวนํ้า รวมทั้งความเหมาะสมทางด้าน ั ั ํ เศรษฐศาสตร์ เพื่อพิจารณาเลือกเครื่องกงหนน้ าที่เหมาะสม ( จากรูปที่ 2.17) แสดงความสูง หัวนํ้าของเครื่ องกังหันฟรานซิ สในระยะต่าง ๆ กัน 1. หัวนํ้ารวม (Gross Head) คือความสู งแตกต่างระหว่างระดับนํ้าในอ่างเก็บนํ้าและ ระดับนํ้าท้ายโรงไฟฟ้ า 2. หัวนํ้าสุ ทธิ (Net Head) คือหัวนํ้ารวมที่หกค่าความสู ญเสี ยทางด้านชลศาสตร์ท้ ง ั ั หมดแลว ้ 3. หวน้ าออกแบบ (Design Head) คือหัวนํ้าสุ ทธิที่เครื่ องกังหันนํ้าเดินเครื่ องด้วย ั ํ ประสิทธิภาพสูงสุดในความเร็วที่ออกแบบโดยปกติ หวน้ าออกแบบจะมีค่าใกลกบหวน้ าเฉลี่ย ั ํ ้ั ั ํ ํ 4. หัวนํ้าควบคุม (Rated Head) คือหัวนํ้าที่เครื่ องกังหันนํ้าเดินเครื่ องให้กาลังไฟฟ้ า เท่าที่ออกแบบในขณะที่บานประตูเครื่องกงหนน้ าเปิดใหน้ าไหลผานเตมที่ ั ั ํ ้ ํ ่ ็ 5. หัวนํ้าตํ่าสุ ด (Minimum Head) คือความสู งแตกต่างของระดับนํ้าตํ่าในอ่างเก็บนํ้า ั ํ ้ ั ั ํ และระดบน้ าทายโรงไฟฟ้าเมื่อเปิดเครื่องกงหนน้ าทุกเครื่องเตมที่ ็ 6. หัวนํ้าเฉลี่ย (Weight Average Head) คือความสูงแตกต่างของระดบน้ าเฉลี่ย ั ํ ในอ่างเก็บนํ้าและระดับนํ้าท้ายโรงไฟฟ้ า ซึ่ งค่าระดับนํ้าดังกล่าวเป็ นผลจากการเดินเครื่ องกังหัน นํ้าในระยะยาว
  • 27. 10. หัวฉีดนํา (Jet Water) ้ หัวฉี ดนํ้า เป็ นปลายทางของท่อส่ งนํ้าที่ไปยังกังหัน หัวฉี ดนํ้าจะทําให้น้ าที่ไหลตามท่อมีแรงดัน ํ สูงขึ้นลักษณะของหัวฉี ดนํ้าจะประกอบด้วยหัว และเข็มฉี ดนํ้าประกอบกันเหมือนกรวยซ้อนกัน เมื่อปลายหวฉีดเลื่อนมาใกลปากท่อ รูจะเลก เมื่อถอยหวเขมออกมา รูหวฉีดจะโตข้ ึน ั ้ ็ ั ็ ั
  • 28. 1. พลงงานนํา ั ้ น้ าเป็นสารประกอบที่เกิดจากไฮโดรเจนและออกซิเจนมีสถานะเป็นของเหลวมีมาก ํ ในทะเลและมหาสมุทร เมื่อได้รับพลังงานความร้อนจากแสงอาทิตย์ จะเปลี่ยน สถานะเป็นไอน้ า และลอยตวสูงข้ ึนกลายเป็นเมฆซ่ ึงจะถูกลมหอยเขาสู่ แผนดิน เมื่อ ํ ั ้ ่ เมฆน้ ีลอยข้ ึนสูงสู่ ยอดเขา ไอน้ าน้ ีจะขยายตวและเยนตวลงทาใหเ้ กิดการกลนตวเป็น ํ ั ็ ั ํ ่ั ั หยดนํ้า ตกสู่ผวดินไหลไปตามร่ องนํ้าธรรมชาติของผิวดิน จนกลับลงสู่ ทะเล และ ิ มหาสมุทรต่อไปจนครบวงจร แต่จะมีน้ าบางส่วนไหลซึมลงดิน แลวไหลต่อไป ํ ้ ่ จนถึงทะเล นํ้าที่ไหลตามผิวดินจะมีพลังงานอยูในตัว 3 รู ปแบบ คือ ก) พลังงานศักย์ เกิดจากระดับความสู งของนํ้าระหว่างจุดที่น้ าพักอยู่ กับจุดที่น้ าจะ ํ ํ ไหลลงสู่เบื้องล่าง ่ ข) พลังงานความดัน เป็ นพลังงานที่น้ าต้องมีเพื่อให้สามารถเคลื่อนที่ผานบริ เวณที่มี ํ ความดันได้ ค) พลังงานจลน์ เป็ นพลังงานที่เกิดขึ้นเมื่อมีการเคลื่อนไหวของนํ้าด้วยความเร็ วค่า หน่ ึง
  • 29. การไหลของนํ้าจากที่สูงลงสู่ ที่ต่า เราจะสังเกตได้วา นํ้าจะมีการไหลเร็ ว และไหล ํ ่ เชี่ยวขึ้น ซึ่งเราสามารถใช้ประโยชน์จากพลังงานจลน์ที่เกิดขึ้นนี้ได้โดยเปลี่ยนเป็ น พลังงานกล หรื อพลังงานไฟฟ้ าโดยจะต้องมีเครื่ องจักรกลที่เหมาะสม และมีวิธีการที่ ถูกต้องจึงจะสามารถนําพลังงานนี้มาใช้ประโยชน์ได้ การพัฒนาแหล่งพลังนํ้าขนาด ใหญ่ในประเทศไทยเกิดข้ ึนคร้ ังแรก เมื่อปี พ. ศ. 2507 โดยการสร้างเขื่อนภูมิพล ํ ที่จงหวัดตาก ซึ่งออกแบบให้มีกาลังผลิตพลังงานไฟฟ้ าทั้งหมด 535 เมกกะวัตต์ ั มีพ้ืนที่อ่างเก็บนํ้า 316 ตารางกิโลเมตร และมีพ้ืนที่รับนํ้า 26,386 ตาราง กิโลเมตร ต่อมาปี พ. ศ. 2517 ได้สร้างเขื่อนสิ ริกิต์ ิ ที่จงหวัดอุตรดิตถ์ มีกาลังผลิต ั ํ ไฟฟ้ าทั้งหมด 375 เมกกะวัตต์ มีพ้ืนที่ของอ่างเก็บนํ้า 259.6 ตารางกิโลเมตร และมีพ้ืนที่รับนํ้า 13,130 ตารางกิโลเมตร นอกจากนี้ยงมีแหล่งพลังนํ้าขนาด ั ่ ั่ กลาง และขนาดเล็กกระจายอยูทวประเทศไทย โดยเฉพาะในบริ เวณพื้นที่ซ่ ึงเป็ น ภูเขามีลานํ้าไหลผ่านตามหุ บเขา ซึ่งถ้าท้องนํ้ามีการเปลี่ยนระดับได้มากในช่วง ํ ระยะทางสั้น ๆ ก็จะเป็ นพื้นที่ที่มีศกยภาพสู งในการที่จะพัฒนาเป็ นแหล่งนํ้าต่อไป ั
  • 30. ข้ อดีของโรงไฟฟ้ าพลังงานนํา มีดงต่ อไปนี้ ้ ั 1. ค่าใช้จ่ายในการดําเนินงานตํ่า สามารถผลิตพลังงานไฟฟ้ าได้ดวยราคาถูก ค่าใช้จ่ายในการซ่อมแซม ้ บํารุ งรักษาตํ่า 2. สามารถเดินเครื่ องจ่ายกระแสไฟฟ้ าได้ทนที ใช้เวลาจ่ายไฟฟ้ าเข้าระบบได้ ภายในเวลา 4 – 5 นาที การเพิ่มหรื อ ั ลดพลังงานทําให้รวดเร็ว สามารถจัดให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลง โดยไม่เสี ยประสิ ทธิภาพ 3. เป็ นโครงการเอนกประสงค์ สามารถใช้ประโยชน์ได้มากมาย เช่น ผลิตพลังงานไฟฟ้ า การชลประทาน การ ป้ องกันนํ้าท่วม การคมนาคมทางนํ้า การเลี้ยงสัตว์น้ า และสัตว์ป่า ฯลฯ ํ 4. ไม่สิ้นเปลืองเชื้อเพลิง ไม่มีควันเสี ย, เขม่า หรื อก๊าซพิษ ค่าเก็บรักษาเชื้อเพลิง ค่าจํากัดของเสี ยจึงไม่มี 5. ไม่มีพลังงานสูญเสี ยในการสํารองใช้งาน 6. มีความแน่นอนในการใช้งาน ประสิ ทธิภาพของโรงจักรไฟฟ้ าไม่เปลี่ยนแปลงมากตามอายุการใช้งาน เพราะ ุ่ เครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าหมุนด้วยความเร็วตํ่า อุณหภูมิใช้งานตํ่า การออกแบบอุปกรณ์ไฟฟ้ าไม่ยงยาก ข้อขัดข้องที่ เกิดขึ้นน้อย ในแต่ละปี จะหยุดเครื่ องเพื่อตรวจซ่อมน้อยครั้ง จึงมีความแน่นอนในการใช้งาน 7. ใช้จานวนบุคลากรปฏิบติการเกี่ยวกับการเดินเครื่ องไม่มากนํา ํ ั 8. ราคาที่ดินถูก เพราะตั้งอยูห่างไกลจากชุมชน ่ 9. ไม่ตองเสี ยเวลาในการอุ่นเครื่ องก่อนที่จะจ่ายกําลังไฟฟ้ าเหมือนโรงไฟฟ้ า พลังไอนํ้า ซึ่งต้องการเวลาต้มนํ้าให้ ้ ได้อุณหภูมิ และความกดดันตามกําหนด ่ 10. ประสิ ทธิภาพของโรงไฟฟ้ าอยูในเกณฑ์ดี
  • 31. ข้อเสียของโรงไฟฟาพลงงานนํา มีดงต่อไปนี้ ้ ั ้ ั 1. การลงทุนในระยะแรกตอนสร้างโรงไฟฟ้าและเขื่อนสูงมาก 2. ใช้เวลานานประมาณ 4 – 5 ปี ในการสารวจหาบริเวณที่ต้ ง และระยะเวลาใน ํ ั การก่อสร้าง 3. การผลิตไฟฟ้ าขึ้นอยูกบสภาวะของนํ้าฝนที่จะตกลงสู่อ่างเก็บนํ้า ซึ่งไม่ค่อย ่ ั แน่นอน ถาปีใดฝนนอย อาจมีปัญหาในการผลิตไฟฟ้าได้ ้ ้ ่ 4. อาจกระทบต่อสิ่ งแวดล้อม เช่น ป่ าไม้ ที่อยูอาศัย ที่ทากิน โบราณวัตถุ ฯลฯ ํ 5. ส่ วนมากโรงไฟฟ้ าจะอยูห่างไกลจากชุมชนอยูห่างไกล จากศูนย์กลางการใช้ ่ ่ ไฟฟ้ า (load center) ทําให้ตองเสี ยค่าใช้จ่ายสู งในเรื่ องของสายส่ งไฟฟ้ า ้ นอกจากนี้ยงมีพลังงานสูญเสี ยในสายส่ งด้วย ั
  • 32. ั การใช้กงหันนํ้าแบบต่าง ๆ ของโรงไฟฟ้ าพลังนํ้าการไฟฟ้ าฝ่ ายผลิตแห่ งประเทศไทย ชนดก ังห ันนํา ิ ้ ชนิดแนวแกน ความสูงห ัวนํา ้ ความเร็ว ปี ทีเข้าระบบ ่ โรงไฟฟาพล ังนํา ้ ้ ( เมตร) รอบ / นาท ี ภูมพล ิ ฟรานซส ิ ตัง ้ 100 150 2507 นํ้าพง ุ ฟรานซสิ ตัง ้ 185 750 2508 อบลรัตน์ุ คาปลาน ตัง ้ 16 160 2509 สรนธร ิ ิ คาปลาน ตัง ้ 30 250 2515 จฬาภรณ์ ุ เพลตัน ตัง ้ 366 428 2515 ิ ิ ิ สรกต ิ์ ฟรานซส ิ ตัง ้ 75 425 2517 แกงกระจาน ่ คาปลาน ตัง ้ 43 250 2517 บ ้านยาง ฟรานซส ิ นอน 70 1,500 2517 ศรนครนทร์ ี ิ ฟรานซส ิ ตัง ้ 105 166 2523 บางลาง ฟรานซส ิ ตัง ้ 82 274 2524 ท่าทุงนา ่ คาปลาน ตัง ้ 15 125 2525 ห ้วยกุม ่ ฟรานซส ิ นอน 23 375 2525 บ ้านสันต ิ ฟรานซส ิ นอน 196 1,000 2525 บ ้านชองกลํา ่ ่ ฟรานซส ิ ตัง ้ 34 675 2526 บ ้านขนกลาง ุ เพลตัน นอน 100 750 2526 ห ้วยกุยมั่ง ฟรานซส ิ ตัง ้ 74 1,043 2527 เขาแหลม ฟรานซส ิ ตัง ้ 53 150 2528 แม่งัด คาปลาน ตัง ้ 40 500 2528 รัชชประภา ฟรานซส ิ ตัง ้ 69 176 2530 บ ้านนํ้ าเพียงดิน ฟรานซส ิ นอน 69 1,500 2531
  • 33. การแบ่งชนิดของโรงไฟฟ้าเขื่อนพลงน้ าของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ั ํ แบ่งตามขนาดและลกษณะของเขื่อน คือ ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเลก ั ็ ลกษณะโรงไฟฟ้าเขื่อนขนาดใหญ่ของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ั ํ ( มีกาลังผลิตสู งกว่า 100 เมกะวัตต์) ลําด ับ ชอ ื่ ทีตง ่ ั้ กําล ังผลิต แรงด ั ต ัวเขือน ่ ปี ที่ เขือน ่ ( เมกะว ัตต) ์ น ( เมตร) เข้า เก็บก ัก (kv) ระบบ นํา ้ ( พ. ลํานํา ้ อําเภอ จ ังหว ัด จํานว รวม สูง ยาว ศ.) น 1 ภมพล ู ิ แม่ปิง สามเงา ตาก 6x 535 13.8 154 488 2507 70 2 ิ ิ ิ สรกต ิ์ น่าน ทาปลา อตรดตถ ์ ่ ุ ิ 1x 375 13.8 113 800 2517 3 ศร ี นคร ศรสวัสด ิ์ กาญจนบุร ี ี 115 340 13.8 140 610 2523 นครนทร ์ ิ ใหญ่ 3x 4 ( เจ ้า ทองผา กาญจนบุร ี 125 300 13.8 92 102 2528 5 เณร) แคว ภม ิ ู สราษฎร ์ ุ 3x 240 13.8 94 761 2530 เขา น ้อย บ ้านตา ธานี 120 แหลม คลอง ขุน 1x รัชชประ แสง 180 ภา 3x ( เชยว ี่ 10
  • 34. หมายเหตุ กฟผ. กําลังดําเนินการติดตั้งเครื่ องกังหันระบบสูบนํ้ากลับ 1. เขื่อนภูมิพล หน่วยที่ 8 ขนาด 180 เมกะวัตต์ 2. เขื่อนสิ ริกิต์ ิ หน่วยที่ 4 ขนาด 125 เมกะวัตต์ 3. เขื่อนศรีนครินทร์ หน่วยที่ 5 ขนาด 160 เมกะวัตต์
  • 35. ลักษณะโรงไฟฟ้ าเขื่อนพลังนํ้าขนาดกลางของการไฟฟ้ าฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทย ลําดั ื่ ชอเขอน ื่ ทีตง ่ ั้ กําลงผลต ั ิ แรงดั ตัวเขือน ่ ปีท ี่ บ เก็บกักนํ้ า ( เมกะวัตต)์ น ( เมตร) เข ้า ลํานํ้า อําเภอ จังหวัด จํานวน รวม (kv) สง ู ยาว ระบบ ( พ. ศ.) 1 จฬาภรณ์ ุ นํ้าพรม คอนสาน ั ชยภูม ิ 2 x 20 40 11.5 70 700 2515 ( นํ้าพรม) ิ ิ สรนธร ลําโดม พิบลมัง - ู อุบลราช 3 x 12 36 6.6 42 940 2515 ( ลําโดม น ้อย สารหาร ธานี น ้อย) นํ้าพอง 3x 25. 10 35 880 2509 อุบลรัตน์ นํ้าพอง กุดบาก ขอนแก่ 8.4 2 3.3 41 172 2508 นํ้าพง ุ นํ้าพง ุ น 2x3 6 11 0 2517 แก่ง เกษตร สกลนคร 1 x 19 19 3.3 35 2525 กระจาน นํ้าพรม สมบรณ์ ู เพชรบร ี ุ 1x 1.3 8.5 85 282 2524 ห ้วยทม ุ่ ปัตตานี บนนังสดา ั ั ชยภูม ิ 1.3 72 6.6 59 422 2528 บางลาง แมงัด ่ แม่แตง ยะลา 3 x 24 9 195 แมงัด ่ ี เชยงให 2x 12. 0 ี ี ศรธาร ม่ 4.5 2 จันทบร ี ุ 2x 6.1 หมายเหตุ เขือนห้ วยกุ่ม สร้ างตามความต้ องการทางชลประทานท้ ายนําของเขือนจุฬาภรณ์ จังหวัดชัยภูมิ ่ ้ ่
  • 36. ลักษณะโรงไฟฟ้ าเขื่อนพลังนํ้าขนาดเล็กของการไฟฟ้ าฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทย ํ ( มีกาลังผลิตตํ่ากว่า 5 เมกะวัตต์) ลําด ับ ื่ ชอเขือน ่ ทีตง ่ ั้ กําล ังผลิต แรงด ั ต ัว ปี ที่ เก็บก ัก ( เมกะว ัตต) ์ น เขือน ่ เข้า นํา ้ (kv) ( เมตร) ระบบ ( พ. ศ.) ลํานํา ้ อําเภอ จ ังหว ัด จํานว รวม สูง ยา น ว ทาทงนา ่ ุ่ แคว ศรสวัสด ิ์ ี กาญจนบุร ี 2x190 3800 13.8 2525 ั บ ้านสนติ ใหญ่ ยะลา 00 0 3.3 2525 1x1 127 บ ้านยาง ี เชยงราย 1x 5 0.40 2517 บ ้านขุน ี จอมทอง เชยงใหม่ 1.275 112 0.42 2526 กลาง วัฒนา สระแก ้ว 2 x 56 180 0.40 2526 ่ ชองกลํา ่ นคร ่ ่ แมฮองสอน 2 x 90 16 0.40 2531 บ ้านนํ้ า กาญจนบุร ี 1 x 16 40 0.40 อยู่ เพียงดิน 1 x 40 70 นอก ห ้วยกุยมั่ง ระบบ 2537