SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
Download to read offline
เขือนขุนด่านปราการชล โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ
    ่
 ทรงมีพระราชดาริ เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2536 เนื่องในโอกาสเฉลิมพระชนม์พรรษา
                            ่ ั
  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวได้พระราชทานพระราชดาริ ให้กรมชลประทานพิจารณา
  วางโครงการ และก่อสร้างเขื่อนคลองท่าด่าน ที่บานท่าด่าน ตาบลหินตั้ง อาเภอเมือง
                                               ้
  จังหวัดนครนายก ซึ่งเป็ นส่ วนหนึ่งของโครงการพัฒนาลุ่มน้ านครนายกตอนบน เพื่อช่วย
  ให้ราษฎรทางตอนล่างมีน้ าใช้ทาการเกษตร การอุปโภคบริ โภค รวมทั้งช่วยบรรเทา
  อุทกภัยที่มกจะเกิดขึ้นในเขตจังหวัดนครนายกเป็ นเป็ นประจาทุกปี เพื่อการอุตสาหกรรม
             ั
  และเพื่อการแก้ไขพื้นที่ดินเปรี้ ยวอีกด้วย
่ ้
 สถานที่ต้ง : ตั้งอยูท่ีบานท่าด่าน ตาบลหิ นตั้ง อาเภอเมือง จังหวัดนครนายก
           ั
วัตถุประสงค์
 1. เพื่อเป็ นแหล่งน้ าต้นทุน โดยสามารถจัดสรรน้ าให้พ้ืนที่ชลประทาน ได้ 185,000 ไร่
  ด้วยโครงการท่าด่านเดิม 6,000 ไร่ โครงการท่าด่านส่ วนขยาย 14,000 ไร่ โครงการส่ งน้ า
  และบารุ งรักษานครนายก 165,000 ไร่
 2. เพื่อเป็ นแหล่งน้ าสาหรับอุปโภคบริ โภค และอุตสาหกรรม
 3. เพื่อบรรเทาปั ญหาอุทกภัยในเขตจังหวัดนครนายก
 4. เพื่อแก้ไขปั ญหาดินเปรี้ ยวในเขตจังหวัดนครนายก
สภาพทั่วไป
 1. ลักษณะภูมประเทศ อ่างเก็บน้ าเขือนขุนด่านปราการชล อยูในลุมน้ านครนายก ซึงเป็ นลุมน้ าย่อย ของลุมน้ า
              ิ                    ่                     ่ ่                ่       ่              ่
    บางปะกง ลุมน้ านครนายกครอบคลุมพืนทีอาเภอเมือง อาเภอบ้านนา อาเภอปากพลี และอาเภอองครักษ์ของ
               ่                         ้ ่
    จังหวัดนครนายก มีเนื้อที่ 2,433 ตาราง-กิโลเมตร ต้นน้ าของแม่น้านครนยกเกิดจากเขตอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
    ซึงติดทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ มียอดเขาสูงประมาณ 1,000 - 1,300 เมตร
      ่

          2. สภาพภูมอากาศโดยทัวไปของลุมน้านครนายก ได้รบอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ระหว่าง
                      ิ          ่     ่               ั
    เดือนพฤษภาคม ถึง เดือนตุลาคม

            3. สภาพน้ าฝน เนื่องจากพืนทีลุมน้ามีเทือกเขาดงพญาเย็น (เขาใหญ่) อยูทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ
                                     ้ ่่                                       ่
    ซึงเป็ นแนวปะทะของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ทาให้มฝนตกชุก โดยเฉลียประมาณ2,600 ถึง 2,900 มม./ปี ิ
      ่                                                ี              ่

          4. สภาพน้ าท่า ของอ่างเก็บน้ าเขือนขุนด่านปราการชล ข้อมูลน้ าท่าเฉลียมากทีสดเดือนสิงหาคม มี
                                            ่                                  ่     ุ่
    ปริมาณ 70.87 ล้าน ลบ.ม. น้ าท่าเฉลียน้อยทีสดเดือนมีนาคม มีปริมาณ 0.66 ล้าน ลบ.ม.รวมปริมาณน้าเฉลีย
                                       ่      ุ่                                                    ่
    ทังหมด 292.45 ล้าน ลบ.ม.
      ้
ระยะเวลาดาเนินการ : 13 ปี (2540 - 2552)
รายละเอียดโครงการ
        เป็ นโครงการก่อสร้างเขื่อนหัวงานและอาคารประกอบพร้อม
    ส่ วนประกอบอื่น มีขนาดความจุอ่างเก็บน้ า 224 ล้านลูกบาศก์เมตร มีพ้ืนที่ผว
                                                                            ิ
    อ่างฯ ที่ระดับเก็บกักปกติรวม 3,087 ไร่
1)       เขื่อนหัวงานและอาคารประกอบ ประกอบด้วย
(1) เขื่อนหลัก (Main Dam)

     · เป็ นเขื่อนคอนกรี ตบดอัด (Roller Compacted Concrete หรื อ RCC Dam) สู ง 93 เมตร ระดับสันเขื่อน+112 ม.รทก. ความยาว
2,594 เมตร ปริ มาตรคอนกรี ตบดอัด 5,470,000 ลูกบาศก์เมตร

  (2) อาคารระบายน้ าล้น (Spillway)

      · เป็ นอาคารคอนกรี ตเสริ มเหล็ก สามารถระบายน้ าได้สูงสุ ด 1,454 ลูกบาศก์เมตร/วินาที ผ่านช่องระบาย 4 ช่อง มีรูปลักษณะเป็ น
ฝายที่ระดับ +103.50 ม.รทก. ซึ่งควบคุมด้วย Radial Gate 4 ชุด ขนาดชุดละ 10.00 x 8.40 เมตร

  (3) อาคารระบายน้ าลงลาน้ าเดิม (River Outlet)

    · เป็ นอาคารคอนกรี ตเสริ มเหล็ก ควบคุมอัตราการไหลโดย Fixed Wheel Gate ขนาด 2.00 x 5.00 เมตร และ Butterfly Valve
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 2.0 เมตร โดยมีระดับธรณี ท่อ +28.50 ม.รทก. ระบายผ่านท่อเหล็ก ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 2.0 เมตร และควบคุม
การปล่อยลงท้ายน้ าด้วย Hollow Jet Valve Ø 1.80 เมตร สามารถระบายน้ าได้ 42 ลูกบาศก์เมตร/วินาที
(4) อาคารระบายน้ า (Bottom Outlet)

      · เป็ นอาคารคอนกรี ตเสริ มเหล็ก มีระดับธรณี +29.00 ม.รทก. ระบายน้ าผ่านช่องขนาดกว้าง 5.0 เมตร สู ง 3.0 เมตร ควบคุมการไหลโดย Fixed
Wheel Gate ขนาด 2.50 x 3.90 เมตร และ Radial Gate ขนาด 2.50 x 3.45 เมตร สามารถระบายน้ าได้ 182.0 ลูกบาศก์เมตร/วินาที ซึ่งสามารถลดระดับ
น้ าจากระดับเก็บกักที่ + 110.00 ม.รทก. ลงมาที่ระดับ +70.00 ม.รทก. ภายใน 10 วัน
 (5) อาคารส่ งน้ าเข้าคลองชลประทาน (lrrigation Outlet)

        · เป็ นอาคารคอนกรี ตเสริ มเหล็ก ระบายน้ าผ่านท่อสแตนเลส ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 0.90 เมตร จานวน 1 ท่อ มีระดับธรณี +38.45 ม.รทก.
ควบคุมการไหลโดย Fixed Wheel Gate และ Butterfly Valve ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 0.70 เมตร รวม 2 ชุด ระบายน้ าลงคลองชลประทานโดย
Hollow Jet Valve ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 0.70 เมตร (2 ชุด) สามารถส่ งน้ าเข้าคลองได้รวม 6.05 ลูกบาศก์เมตร/วินาที
  (6) อาคารผันน้ าระหว่างการก่อสร้างเขื่อน ประกอบด้วย

     · ทานบดินปิ ดกั้นลาน้ าเดิม ขนาดสู ง 12.00 เมตร ระดับสันทานบ +39.00 ม.รทก. กว้าง 5.00 เมตร ความยาวรวม 1,084 เมตร
     · อาคารคอนกรี ต Retaining Wall ด้านเหนือน้ าและท้ายน้ า ขนาดความสู ง 12.00 เมตร และ 13.00 เมตร ตามลาดับ
     · อาคารผันน้ าคอนกรี ตเสริ มเหล็กแบบ 2 ช่อง ขนาด 7.00 x 9.00 เมตร และ 6.00 x 9.00 เมตร สามารถระบายน้ าได้ 700 ลูกบาศก์เมตร/วินาที
(Return Period 20 ปี ) โดยมีระดับธรณี +27.00 ม.รทก.

  (7) เขื่อนดินปิ ดช่องเขาต่า (Saddle Dam)

     · เป็ นเขื่อนดินสู ง 46.0 เมตร สันเขื่อนที่ระดับ +114 ม.รทก. กว้าง 8.0 เมตร ยาว 350 เมตร ปริ มาตรเขื่อน 1,220,000 ลูกบาศก์เมตร
2) ระบบส่ งน้ าและระบบระบายน้ า ประกอบด้วย

 (1) พื้นที่โครงการท่าด่านเดิมและส่ วนขยาย รวม 20,000 ไร่
 (2) พื้นที่โครงการส่ งน้ าและบารุ งรักษานครนายก 165,000 ไร่
ประโยชน์ ท่ ได้ รับ
                                        ี
1.   ส่ งน้ าเพื่อการเกษตรให้แก่พ้ืนที่ รวม 185,000 ไร่
2.   ส่ งน้ าเพื่อการอุปโภค - บริ โภค 16 ล้าน ลูกบาศก์เมตรต่อปี
3.   เกษตรกรได้รับผลประโยชน์ 5,400 ครัวเรื อน
4.   บรรเทาปั ญหาดินเปรี้ ยว
5.   ลดความเสี ยหายจากอุทกภัย ได้ร้อยละ 35
 การดาเนินงาน


 งานเขื่อนหัวงานและอาคารประกอบแล้วเสร็ จสมบูรณ์ และเริ่ มเก็บกักน้ า ตั้งแต่เดือน
  ตุลาคม 2547
เขื่อนขุนด่ านปราการชล
 ตาบลหินตั้ง อาเภอเมือง จังหวัดนครนายก
พระราชดาริ

                                                                                           ่ ั
      เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2536 เนื่องในโอกาสเฉลิมพระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวฯ ได้
พระราชทานพระราชดาริ ให้กรมชลประทานพิจารณาวางโครงการเพื่อก่อสร้างเขื่อนคลองท่าด่าน บริ เวณบ้านท่า
ด่าน ตาบลหิ นตั้ง อาเภอเมือง จังหวัดนครนายก เพื่อช่วยบรรเทาอุทกภัยในลุ่มน้ านครนายกที่เกิดเป็ นประจา ด้วย
ระบบชลประทาน ที่จะช่วยควบคุมปริ มาณน้ าไม่ให้ไหลเข้าท่วมพื้นที่ และยังสามารถช่วยราษฎรให้มีน้ าใช้ใน
                                                                                  ่
การเกษตร การอุปโภคบริ โภค ตลอดจนแก้ไขปั ญหาดินเปรี้ ยว ส่ งผลให้ชีวิตความเป็ นอยูของราษฎรดีข้ ึน
      กรมชลประทานได้รับสนองพระราชดาริ ในการดาเนินงาน โดยเริ่ มศึกษาความเหมาะสมและวิเคราะห์ผล
กระทบสิ่ งแวดล้อมของโครงการฯ ซึ่ งคณะกรรมการสิ่ งแวดล้อมแห่งชาติได้มีมติเห็นชอบต่อรายงานการวิเคราะห์
ผลกระทบสิ่ งแวดล้อม เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2539 และคณะรัฐมนตรี ได้มีมติเห็นชอบ ให้ก่อสร้างเขื่อนคลองท่า
ด่านเมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2539 กรมชลประทานได้ดาเนินการสารวจและออกแบบแล้วเสร็ จ เมื่อเดือนกันยายน
2541 และ เริ่ มดาเนินการก่อสร้างเมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน 2542
                           ่ ั
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวได้เสด็จพระราชดาเนินพร้อมด้วยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดาสยามบรมราชกุมารี ฯ
ทรงวางศิลาฤกษ์ เมื่อวันที่ 2 มิถุนายน 2544
ภาพโครงการ
ลักษณะโครงการ
ที่ต้ ง
      ั                                     :      ตาบลหินตั้ง อาเภอเมือง จังหวัดนครนายก
พิกด    ั                                  :       47 PQR 524829
ชนิดเขื่อน                                :       เขื่อนคอนกรี ตบดอัดแน่น
ความสูงเขื่อน                             :       93                เมตร
ความยาวสันเขื่อน                         :        2,720             เมตร
ระดับสันเขื่อน                           :        +112             ม.(รทก.)
ระดับเก็บกักน้ า                         :        +110             ม.(รทก.)
ความจุอ่างฯ ที่ระดับเก็บกัก               :       224                ล้าน ลบ.ม.
พื้นที่ผวอ่างฯ ที่ระดับเก็บกัก
          ิ                               :       3,087             ไร่
พื้นที่รับประโยชน์ 185,000 ไร่ ประกอบด้วย
โครงการส่ งน้ าและบารุ งรักษานครนายก :             165,000        ไร่
โครงการท่าด่านส่ วนขยาย                    :         14,000       ไร่
โครงการท่าด่านเดิม                           :         6,000       ไร่
อุปโภค-บริ โภค                               :    16,000,000        ลบ.ม./ปี
เกษตรกรได้รับผลประโยชน์                       :       5,400       ครัวเรื อน
 ระยะเวลาดาเนินการ
           เริ่ มดาเนินการในปี งบประมาณ พ.ศ. 2540 แล้วเสร็จในปี งบประมาณ พ.ศ. 2552

 งบประมาณในการดาเนินงาน
10,193 ล้านบาท


 ผลประโยชน์ ของโครงการ
           1.ใช้เป็ นแหล่งเก็บกักน้ าเพื่อช่วยเหลือพื้นที่เพาะปลูกของราษฎรในเขตโครงการฯ รวม 185,000 ไร่
           2.ใช้เป็ นแหล่งน้ าสาหรับการอุปโภค – บริ โภค ปริ มาณ 16 ล้าน ลูกบาศก์เมตรต่อปี
           3.ช่วยบรรเทาปัญหาดินเปรี้ ยว ในเขตพื้นที่จงหวัดนครนายก
                                                           ั
           4.เป็ นแหล่งเพาะและขยายพันธุ์ปลาน้ าจืด
           5.ช่วยบรรเทาความเสี ยหายเนื่องจากอุทกภัยได้ร้อยละ 35
นางสาว นฤนาถ จันทร์แก้ว
นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๔/๑๐ เลขที่ ๒๔
                    เสนอ
            คุณครู อารี ย ์ บุญรักษษ

More Related Content

Similar to โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ

โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยแม่ประจันต์
โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยแม่ประจันต์โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยแม่ประจันต์
โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยแม่ประจันต์
Nutchy'zz Sunisa
 
โครงการชลประทาน
โครงการชลประทานโครงการชลประทาน
โครงการชลประทาน
Chanapun Kongsomnug
 
โครงการชลประทาน ใหม่
โครงการชลประทาน ใหม่โครงการชลประทาน ใหม่
โครงการชลประทาน ใหม่
Chanapun Kongsomnug
 
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
Moddang Tampoem
 
โครงการเขื่อนแควน้อย
โครงการเขื่อนแควน้อยโครงการเขื่อนแควน้อย
โครงการเขื่อนแควน้อย
natsuda_naey
 
เศษรฐกิจพอเพียง สุภาวดี
เศษรฐกิจพอเพียง สุภาวดีเศษรฐกิจพอเพียง สุภาวดี
เศษรฐกิจพอเพียง สุภาวดี
fernsupawade
 
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำโครงการพัฒนาแหล่งน้ำ
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ
Babymook Juku
 
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำโครงการพัฒนาแหล่งน้ำ
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ
Babymook Juku
 
โครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคตโครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคต
mook_suju411
 
โรงไฟฟ้าพลังน้ำ (Hydro power plant)
โรงไฟฟ้าพลังน้ำ     (Hydro power plant)โรงไฟฟ้าพลังน้ำ     (Hydro power plant)
โรงไฟฟ้าพลังน้ำ (Hydro power plant)
Duckthth Duck
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
makechix
 
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปู
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปูโครงการพัฒนาแหล่งน้ำปู
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปู
poo_28088
 
โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยแม่ประจันต์2
โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยแม่ประจันต์2โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยแม่ประจันต์2
โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยแม่ประจันต์2
Nutchy'zz Sunisa
 
โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยแม่ประจันต์1
โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยแม่ประจันต์1โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยแม่ประจันต์1
โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยแม่ประจันต์1
Nutchy'zz Sunisa
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
amloveyou
 
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์2
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์2โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์2
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์2
Thitapa1996
 
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ใหม่
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ใหม่โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ใหม่
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ใหม่
Thitapa1996
 
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
Moddang Tampoem
 

Similar to โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ (20)

โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยแม่ประจันต์
โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยแม่ประจันต์โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยแม่ประจันต์
โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยแม่ประจันต์
 
โครงการชลประทาน
โครงการชลประทานโครงการชลประทาน
โครงการชลประทาน
 
โครงการชลประทาน ใหม่
โครงการชลประทาน ใหม่โครงการชลประทาน ใหม่
โครงการชลประทาน ใหม่
 
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
 
โครงการเขื่อนแควน้อย
โครงการเขื่อนแควน้อยโครงการเขื่อนแควน้อย
โครงการเขื่อนแควน้อย
 
สถานที่ท่องเที่ยวในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำบางปะกง (เขื่อนขุนด่านปราการชล)
สถานที่ท่องเที่ยวในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำบางปะกง (เขื่อนขุนด่านปราการชล)สถานที่ท่องเที่ยวในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำบางปะกง (เขื่อนขุนด่านปราการชล)
สถานที่ท่องเที่ยวในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำบางปะกง (เขื่อนขุนด่านปราการชล)
 
เศษรฐกิจพอเพียง สุภาวดี
เศษรฐกิจพอเพียง สุภาวดีเศษรฐกิจพอเพียง สุภาวดี
เศษรฐกิจพอเพียง สุภาวดี
 
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำโครงการพัฒนาแหล่งน้ำ
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ
 
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำโครงการพัฒนาแหล่งน้ำ
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ
 
โครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคตโครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคต
 
โรงไฟฟ้าพลังน้ำ (Hydro power plant)
โรงไฟฟ้าพลังน้ำ     (Hydro power plant)โรงไฟฟ้าพลังน้ำ     (Hydro power plant)
โรงไฟฟ้าพลังน้ำ (Hydro power plant)
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปู
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปูโครงการพัฒนาแหล่งน้ำปู
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปู
 
โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยแม่ประจันต์2
โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยแม่ประจันต์2โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยแม่ประจันต์2
โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยแม่ประจันต์2
 
โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยแม่ประจันต์1
โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยแม่ประจันต์1โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยแม่ประจันต์1
โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยแม่ประจันต์1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์2
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์2โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์2
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์2
 
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ใหม่
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ใหม่โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ใหม่
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ใหม่
 
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
 
1 - เสวนาสมาคมอุทกวิทยา ดร ทองเปลว กองจันทร์
1 - เสวนาสมาคมอุทกวิทยา ดร ทองเปลว กองจันทร์1 - เสวนาสมาคมอุทกวิทยา ดร ทองเปลว กองจันทร์
1 - เสวนาสมาคมอุทกวิทยา ดร ทองเปลว กองจันทร์
 

โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ

  • 1.
  • 2. เขือนขุนด่านปราการชล โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ ่  ทรงมีพระราชดาริ เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2536 เนื่องในโอกาสเฉลิมพระชนม์พรรษา ่ ั พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวได้พระราชทานพระราชดาริ ให้กรมชลประทานพิจารณา วางโครงการ และก่อสร้างเขื่อนคลองท่าด่าน ที่บานท่าด่าน ตาบลหินตั้ง อาเภอเมือง ้ จังหวัดนครนายก ซึ่งเป็ นส่ วนหนึ่งของโครงการพัฒนาลุ่มน้ านครนายกตอนบน เพื่อช่วย ให้ราษฎรทางตอนล่างมีน้ าใช้ทาการเกษตร การอุปโภคบริ โภค รวมทั้งช่วยบรรเทา อุทกภัยที่มกจะเกิดขึ้นในเขตจังหวัดนครนายกเป็ นเป็ นประจาทุกปี เพื่อการอุตสาหกรรม ั และเพื่อการแก้ไขพื้นที่ดินเปรี้ ยวอีกด้วย
  • 3. ่ ้  สถานที่ต้ง : ตั้งอยูท่ีบานท่าด่าน ตาบลหิ นตั้ง อาเภอเมือง จังหวัดนครนายก ั
  • 4. วัตถุประสงค์  1. เพื่อเป็ นแหล่งน้ าต้นทุน โดยสามารถจัดสรรน้ าให้พ้ืนที่ชลประทาน ได้ 185,000 ไร่ ด้วยโครงการท่าด่านเดิม 6,000 ไร่ โครงการท่าด่านส่ วนขยาย 14,000 ไร่ โครงการส่ งน้ า และบารุ งรักษานครนายก 165,000 ไร่  2. เพื่อเป็ นแหล่งน้ าสาหรับอุปโภคบริ โภค และอุตสาหกรรม  3. เพื่อบรรเทาปั ญหาอุทกภัยในเขตจังหวัดนครนายก  4. เพื่อแก้ไขปั ญหาดินเปรี้ ยวในเขตจังหวัดนครนายก
  • 5. สภาพทั่วไป  1. ลักษณะภูมประเทศ อ่างเก็บน้ าเขือนขุนด่านปราการชล อยูในลุมน้ านครนายก ซึงเป็ นลุมน้ าย่อย ของลุมน้ า ิ ่ ่ ่ ่ ่ ่ บางปะกง ลุมน้ านครนายกครอบคลุมพืนทีอาเภอเมือง อาเภอบ้านนา อาเภอปากพลี และอาเภอองครักษ์ของ ่ ้ ่ จังหวัดนครนายก มีเนื้อที่ 2,433 ตาราง-กิโลเมตร ต้นน้ าของแม่น้านครนยกเกิดจากเขตอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ซึงติดทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ มียอดเขาสูงประมาณ 1,000 - 1,300 เมตร ่  2. สภาพภูมอากาศโดยทัวไปของลุมน้านครนายก ได้รบอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ระหว่าง ิ ่ ่ ั เดือนพฤษภาคม ถึง เดือนตุลาคม  3. สภาพน้ าฝน เนื่องจากพืนทีลุมน้ามีเทือกเขาดงพญาเย็น (เขาใหญ่) อยูทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ้ ่่ ่ ซึงเป็ นแนวปะทะของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ทาให้มฝนตกชุก โดยเฉลียประมาณ2,600 ถึง 2,900 มม./ปี ิ ่ ี ่  4. สภาพน้ าท่า ของอ่างเก็บน้ าเขือนขุนด่านปราการชล ข้อมูลน้ าท่าเฉลียมากทีสดเดือนสิงหาคม มี ่ ่ ุ่ ปริมาณ 70.87 ล้าน ลบ.ม. น้ าท่าเฉลียน้อยทีสดเดือนมีนาคม มีปริมาณ 0.66 ล้าน ลบ.ม.รวมปริมาณน้าเฉลีย ่ ุ่ ่ ทังหมด 292.45 ล้าน ลบ.ม. ้
  • 7. รายละเอียดโครงการ  เป็ นโครงการก่อสร้างเขื่อนหัวงานและอาคารประกอบพร้อม ส่ วนประกอบอื่น มีขนาดความจุอ่างเก็บน้ า 224 ล้านลูกบาศก์เมตร มีพ้ืนที่ผว ิ อ่างฯ ที่ระดับเก็บกักปกติรวม 3,087 ไร่
  • 8. 1) เขื่อนหัวงานและอาคารประกอบ ประกอบด้วย (1) เขื่อนหลัก (Main Dam) · เป็ นเขื่อนคอนกรี ตบดอัด (Roller Compacted Concrete หรื อ RCC Dam) สู ง 93 เมตร ระดับสันเขื่อน+112 ม.รทก. ความยาว 2,594 เมตร ปริ มาตรคอนกรี ตบดอัด 5,470,000 ลูกบาศก์เมตร (2) อาคารระบายน้ าล้น (Spillway) · เป็ นอาคารคอนกรี ตเสริ มเหล็ก สามารถระบายน้ าได้สูงสุ ด 1,454 ลูกบาศก์เมตร/วินาที ผ่านช่องระบาย 4 ช่อง มีรูปลักษณะเป็ น ฝายที่ระดับ +103.50 ม.รทก. ซึ่งควบคุมด้วย Radial Gate 4 ชุด ขนาดชุดละ 10.00 x 8.40 เมตร (3) อาคารระบายน้ าลงลาน้ าเดิม (River Outlet) · เป็ นอาคารคอนกรี ตเสริ มเหล็ก ควบคุมอัตราการไหลโดย Fixed Wheel Gate ขนาด 2.00 x 5.00 เมตร และ Butterfly Valve ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 2.0 เมตร โดยมีระดับธรณี ท่อ +28.50 ม.รทก. ระบายผ่านท่อเหล็ก ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 2.0 เมตร และควบคุม การปล่อยลงท้ายน้ าด้วย Hollow Jet Valve Ø 1.80 เมตร สามารถระบายน้ าได้ 42 ลูกบาศก์เมตร/วินาที
  • 9. (4) อาคารระบายน้ า (Bottom Outlet) · เป็ นอาคารคอนกรี ตเสริ มเหล็ก มีระดับธรณี +29.00 ม.รทก. ระบายน้ าผ่านช่องขนาดกว้าง 5.0 เมตร สู ง 3.0 เมตร ควบคุมการไหลโดย Fixed Wheel Gate ขนาด 2.50 x 3.90 เมตร และ Radial Gate ขนาด 2.50 x 3.45 เมตร สามารถระบายน้ าได้ 182.0 ลูกบาศก์เมตร/วินาที ซึ่งสามารถลดระดับ น้ าจากระดับเก็บกักที่ + 110.00 ม.รทก. ลงมาที่ระดับ +70.00 ม.รทก. ภายใน 10 วัน (5) อาคารส่ งน้ าเข้าคลองชลประทาน (lrrigation Outlet) · เป็ นอาคารคอนกรี ตเสริ มเหล็ก ระบายน้ าผ่านท่อสแตนเลส ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 0.90 เมตร จานวน 1 ท่อ มีระดับธรณี +38.45 ม.รทก. ควบคุมการไหลโดย Fixed Wheel Gate และ Butterfly Valve ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 0.70 เมตร รวม 2 ชุด ระบายน้ าลงคลองชลประทานโดย Hollow Jet Valve ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 0.70 เมตร (2 ชุด) สามารถส่ งน้ าเข้าคลองได้รวม 6.05 ลูกบาศก์เมตร/วินาที (6) อาคารผันน้ าระหว่างการก่อสร้างเขื่อน ประกอบด้วย · ทานบดินปิ ดกั้นลาน้ าเดิม ขนาดสู ง 12.00 เมตร ระดับสันทานบ +39.00 ม.รทก. กว้าง 5.00 เมตร ความยาวรวม 1,084 เมตร · อาคารคอนกรี ต Retaining Wall ด้านเหนือน้ าและท้ายน้ า ขนาดความสู ง 12.00 เมตร และ 13.00 เมตร ตามลาดับ · อาคารผันน้ าคอนกรี ตเสริ มเหล็กแบบ 2 ช่อง ขนาด 7.00 x 9.00 เมตร และ 6.00 x 9.00 เมตร สามารถระบายน้ าได้ 700 ลูกบาศก์เมตร/วินาที (Return Period 20 ปี ) โดยมีระดับธรณี +27.00 ม.รทก. (7) เขื่อนดินปิ ดช่องเขาต่า (Saddle Dam) · เป็ นเขื่อนดินสู ง 46.0 เมตร สันเขื่อนที่ระดับ +114 ม.รทก. กว้าง 8.0 เมตร ยาว 350 เมตร ปริ มาตรเขื่อน 1,220,000 ลูกบาศก์เมตร
  • 10. 2) ระบบส่ งน้ าและระบบระบายน้ า ประกอบด้วย  (1) พื้นที่โครงการท่าด่านเดิมและส่ วนขยาย รวม 20,000 ไร่  (2) พื้นที่โครงการส่ งน้ าและบารุ งรักษานครนายก 165,000 ไร่
  • 11. ประโยชน์ ท่ ได้ รับ ี 1. ส่ งน้ าเพื่อการเกษตรให้แก่พ้ืนที่ รวม 185,000 ไร่ 2. ส่ งน้ าเพื่อการอุปโภค - บริ โภค 16 ล้าน ลูกบาศก์เมตรต่อปี 3. เกษตรกรได้รับผลประโยชน์ 5,400 ครัวเรื อน 4. บรรเทาปั ญหาดินเปรี้ ยว 5. ลดความเสี ยหายจากอุทกภัย ได้ร้อยละ 35
  • 12.  การดาเนินงาน  งานเขื่อนหัวงานและอาคารประกอบแล้วเสร็ จสมบูรณ์ และเริ่ มเก็บกักน้ า ตั้งแต่เดือน ตุลาคม 2547
  • 13. เขื่อนขุนด่ านปราการชล ตาบลหินตั้ง อาเภอเมือง จังหวัดนครนายก พระราชดาริ ่ ั เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2536 เนื่องในโอกาสเฉลิมพระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวฯ ได้ พระราชทานพระราชดาริ ให้กรมชลประทานพิจารณาวางโครงการเพื่อก่อสร้างเขื่อนคลองท่าด่าน บริ เวณบ้านท่า ด่าน ตาบลหิ นตั้ง อาเภอเมือง จังหวัดนครนายก เพื่อช่วยบรรเทาอุทกภัยในลุ่มน้ านครนายกที่เกิดเป็ นประจา ด้วย ระบบชลประทาน ที่จะช่วยควบคุมปริ มาณน้ าไม่ให้ไหลเข้าท่วมพื้นที่ และยังสามารถช่วยราษฎรให้มีน้ าใช้ใน ่ การเกษตร การอุปโภคบริ โภค ตลอดจนแก้ไขปั ญหาดินเปรี้ ยว ส่ งผลให้ชีวิตความเป็ นอยูของราษฎรดีข้ ึน กรมชลประทานได้รับสนองพระราชดาริ ในการดาเนินงาน โดยเริ่ มศึกษาความเหมาะสมและวิเคราะห์ผล กระทบสิ่ งแวดล้อมของโครงการฯ ซึ่ งคณะกรรมการสิ่ งแวดล้อมแห่งชาติได้มีมติเห็นชอบต่อรายงานการวิเคราะห์ ผลกระทบสิ่ งแวดล้อม เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2539 และคณะรัฐมนตรี ได้มีมติเห็นชอบ ให้ก่อสร้างเขื่อนคลองท่า ด่านเมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2539 กรมชลประทานได้ดาเนินการสารวจและออกแบบแล้วเสร็ จ เมื่อเดือนกันยายน 2541 และ เริ่ มดาเนินการก่อสร้างเมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน 2542 ่ ั พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวได้เสด็จพระราชดาเนินพร้อมด้วยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดาสยามบรมราชกุมารี ฯ ทรงวางศิลาฤกษ์ เมื่อวันที่ 2 มิถุนายน 2544
  • 15. ลักษณะโครงการ ที่ต้ ง ั : ตาบลหินตั้ง อาเภอเมือง จังหวัดนครนายก พิกด ั : 47 PQR 524829 ชนิดเขื่อน : เขื่อนคอนกรี ตบดอัดแน่น ความสูงเขื่อน : 93 เมตร ความยาวสันเขื่อน : 2,720 เมตร ระดับสันเขื่อน : +112 ม.(รทก.) ระดับเก็บกักน้ า : +110 ม.(รทก.) ความจุอ่างฯ ที่ระดับเก็บกัก : 224 ล้าน ลบ.ม. พื้นที่ผวอ่างฯ ที่ระดับเก็บกัก ิ : 3,087 ไร่ พื้นที่รับประโยชน์ 185,000 ไร่ ประกอบด้วย โครงการส่ งน้ าและบารุ งรักษานครนายก : 165,000 ไร่ โครงการท่าด่านส่ วนขยาย : 14,000 ไร่ โครงการท่าด่านเดิม : 6,000 ไร่ อุปโภค-บริ โภค : 16,000,000 ลบ.ม./ปี เกษตรกรได้รับผลประโยชน์ : 5,400 ครัวเรื อน
  • 16.  ระยะเวลาดาเนินการ เริ่ มดาเนินการในปี งบประมาณ พ.ศ. 2540 แล้วเสร็จในปี งบประมาณ พ.ศ. 2552  งบประมาณในการดาเนินงาน 10,193 ล้านบาท  ผลประโยชน์ ของโครงการ 1.ใช้เป็ นแหล่งเก็บกักน้ าเพื่อช่วยเหลือพื้นที่เพาะปลูกของราษฎรในเขตโครงการฯ รวม 185,000 ไร่ 2.ใช้เป็ นแหล่งน้ าสาหรับการอุปโภค – บริ โภค ปริ มาณ 16 ล้าน ลูกบาศก์เมตรต่อปี 3.ช่วยบรรเทาปัญหาดินเปรี้ ยว ในเขตพื้นที่จงหวัดนครนายก ั 4.เป็ นแหล่งเพาะและขยายพันธุ์ปลาน้ าจืด 5.ช่วยบรรเทาความเสี ยหายเนื่องจากอุทกภัยได้ร้อยละ 35
  • 17. นางสาว นฤนาถ จันทร์แก้ว นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๔/๑๐ เลขที่ ๒๔ เสนอ คุณครู อารี ย ์ บุญรักษษ