SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
บทที่ 2
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงานเขียนและการอ่าน
ความหมายของงานเขียน
งานเขียน หมายถึง ข้อเขียน หนังสือ
หรือเนื้อเรื่องที่ผู้เขียนประสงค์จะถ่ายทอดให้ผู้อ่านได้รับรู้ตามที่ผู้เขียนต้องการ
หน้าที่อย่างหนึ่งของผู้อ่าน คือ
การทาความเข้าใจงานเขียนแต่ละชนิดก่อนเริ่มอ่าน
เนื่องจากหนังสือหรืองานเขียนมีความหลากหลายแตกต่างกันไป
ขึ้นอยู่กับจุดมุ่งหมายในการเขียนและวิธีนาเสนอ
หนังสือโดยทั่วไปมักมีส่วนประกอบ 3 ส่วนใหญ่ๆ ดังนี้
1. ส่วนประกอบต้อนต้น
2. ส่วนประกอบตอนกลาง
3. ส่วนประกอบตอนท้าย
1. ส่วนประกอบต้อนต้น ประกอบด้วย
1.1 ปกนอก เป็นส่วนที่มีชื่อหนังสือรายละเอียดเกี่ยวกับผู้แต่ง
ปกนอกช่วยห่อหุ้มเนื้อหนังสือซึ่งมีลักษณะและรูปแบบการออกแบบหน้าป
กที่แตกต่างกันไป
หนังสือบางเล่มอาจมีใบหุ้มปกอีกชั้นหนี่งเป็นกระดาหรือวัสดุอื่นที่มีชื่อหนัง
สือ ชื่อผู้เขียน
รวมทั้งการใช้ภาพประกอบเป็นส่วนที่ทาให้หนังสือมีความน่าสนใจมากขึ้น
ใบหุ้มปกนี้ทาให้ปกนอกของหนังสือลดความสกปรกเลอะเลือน
หรือเก่าช้าลง
1.2 ใบรองปก ในหนังสือทั่วๆ
ไปมักใช้กระดาษเปล่าที่มีความหนาน้อยกว่าปกนอกรองไว้อีกชั้นหนึ่ง
เป็นส่วนที่ช่วยทาให้หนังสือมีความทนทานมากขึ้น
ช่วยผนึกปกกับตัวเล่มให้ติดกัน
1.3 ปกใน อยู่ต่อจากใบรองปก
เป็นกระดาษที่มีคุณภาพเหมือนกับเนื้อของหนังสือโดยพิมพ์ข้อมูลเหมือนป
กนอกทุกประการ
1.4 หน้ารายละเอียดของหนังสือ ซึ่งเป็นส่วนที่มีความสาคัญ
เพราะมีข้อมูลต่างๆ ของหนังสือ ได้แก่ ชื่อเรื่อง ชื่อผู้เขียน
ส่วนขยายของชื่อเรื่อง เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจแนวเรื่องได้มากขึ้น
นอกจากนี้ยังเป็นส่วนที่แสดงรายละเอียดของหนังสือ เช่น ปีที่พิมพ์
ครั้งที่พิมพ์ จานวนพิมพ์ สานักพิมพ์ สถานที่พิมพ์
ข้อมูลของบรรณานุกรม ราคา ลิขสิทธิ์การพิมพ์ ฯลฯ
ซึ่งข้อมูลเหล่านี้มีความสาคัญต่อผู้อ่าน
1.5 คานา เป็นหน้าที่มีความสาคัญ
เพราะเป็นการแจ้งวัตถุประสงค์ของการเขียนหนังสือนั้น
รวมทั้งแนวของเรื่องที่เขียน ในหน้าคานาของหนังสือบนเล่มอาจรวม
คาขอบคุณไว้ด้วย และไม่ได้ใช้คาว่าคานาเสมอไป แต่อาจใช้คาว่า
ถ้อยแถลง คาปรารภ คาชี้แจง ก็ได้
1.6 สารบัญ เป็นหน้าที่ให้ข้อมูลด้านการลาดับเนื้อหา
โดยมีเลขหน้าแจ้งกากับไว้
สารบัญหนังสือบางเล่มก็ให้รายละเอียดของหัวข้อไว้มาก
ทาให้ผู้อ่านค้นเรื่องได้ง่าย
นอกจากนี้หนังสือบางเล่มอาจมีภาพประกอบและตารางประกอบเนื้อเรื่อง
รวมทั้งแผนที่ แผนภูมิ ต่างๆจานวนมาก เพราะมีความสาคัญต่อเรื่อง
ผู้เขียนจึงนามาจัดทาเป็นสารบัญไว้ด้วย เพื่อความสะดวกกของผู้อื่น
2. ส่วนประกอบตอนกลาง ประกอบด้วย
2.1 ส่วนเนื้อหา หรือเนื้อเรื่อง ซึ่งเป็นส่วนสาคัญของหนังสือ
ถ้ามีเนื้อหามากหรือมีความซับซ้อนอาจมีการแบ่งออกเป็นบท ตอน ตามลาดับ
2.2 ส่วนอ้างอิง
เป็นส่วนที่ช่วยให้ข้อมูลในหนังสือนั้นมีความน่าเชื่อถือมากขึ้น
โดยเฉพาะหนังสือหรือข้อเขียนทางวิชาการ ส่วนอ้างอิงนี้ได้แก่เชิงอรรถทุกชนิด
3. ส่วนประกอบตอนท้าย
เป็นส่วนที่ต่อเนื่องมาจากส่วนประกอบตอนกลางหรือเนื้อหา ได้แก่
3.1 บรรณานุกรม หรือเอกสารอ้างอิง หรือบางคนใช้คาอื่นๆ เช่น
เอกสาร ประกอบการค้นคว้า ซึ่งหมายถึง ส่วนที่รวบรวมรายชื่อหนังสือ
เอกสารต่างๆ
ที่ผู้เขียนนามาอ้างอิงไว้ในการเขียนและใส่ไว้เป็นเชิงอรรถโดยลาดับตามตัวอักษ
รของชื่อผู้แต่ง
โดยลาดับจากบรรรานุกรมหนังสือไทยก่อนหนังสือภาษาต่างประเทศ
บรรณานุกรมจะเป็นประโยชน์สาหรับผู้อ่าน
คือช่วยให้ผู้อ่านสามารถไปสือค้นหรืออ่านเพิ่มเติมได้
3.2 ภาคผนวก หมายถึง
รายละเอียดของข้อมูลที่ผู้เขียนนามาเขียนหนังสือนั้นและเห็นว่าผู้อ่านจะได้ประโ
ยชน์ยิ่งขึ้น อาทิ เอกสารสาเนาข้อมูลชั้นต้น ( Primary source )
ที่อาจจะเป็นส่วนหายาก ตัวเลข ต้นฉบับลายมือ ฯลฯ
ภาคผนวกจัดว่าเป็นส่วนเพิ่มเติมที่ผู้เขียนจะใส่ไว้หรือไม่ก็ได้
และไม่มีข้อจากัดว่าเรื่องในภาคผนวกจะต้องเป็นเรื่องใด
3.3 ดรรชนี
นับว่าเป็นส่วนประกอบที่เป็นส่วนเพิ่มเติมพิเศษของหนังสือที่จะมีหรือไม่มีก็ได้เช่
นเดียวกัน เพราะเป็นส่วนที่แสดงบัญชีคาสาคัญที่มาจากเนื้อเรื่องในเล่ม
เพื่อความสะดวกในการสืบค้นคาต่างๆ จากผู้อ่าน โดยจะลาดับตามอักษร
ทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ
3.4 อภิธานศัพท์ หมายถึง
การอธิบายศัพท์ยากหรือศัพท์เฉพาะในหนังสือเล่มนั้น
โดยนามาลาดับไว้ตามลาดับตัวอักษรของศัพท์เป็นส่วนเพิ่มเติมเช่นเดี๋ยวกับภาค
ผนวกและดรรชนี
3.5 ปกหลัง นับว่าเป็นส่วนห่อหุ้มเนื้อหนังสือเช่นเดียวกับปกหน้า
ก่อนถึงปกหลังหนังสือบางเล่มอาจมีใบรองปกหลังด้วย
และข้อมูลในปกหลังก็อาจจะเป็ นประวัติของผู้แต่ง
หรือถ้อยคาพิเศษที่ผู้เขียนยกมาไว้เพื่อทาให้เป็นที่น่าสนใจมากขึ้น
ส่วนการตกแต่งโดยใช้ภาพหรือศิลปะใดๆมาตกแต่งปกหลังก็ขึ้นอยู่กับการจัดทา
หนังสือเล่มนั้น
ที่กล่าวมานี้ เป็นส่วนประกอบหลักๆในหนังสือทั่วไปเท่านั้น
หนังสือหรือเอกสารข้อเขียนบางประเภทอาจมีรายละเอียดเพิ่มเติมแตกต่างกันออ
กไป เช่น งานวิจัย วิทยานิพนธ์ ก็ต้องมีส่วนประกอบต่างๆ
ตามระเบียบของสถาบันแต่ล่ะแห่ง เป็นต้น
ประเภทของงานเขียน
นับแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน กล่าวได้ว่า
งานเขียนของไทยมีพัฒนาการม่โดยตลอดและหลากหลายมากขึ้นทั้งด้านเนื้อหา
วิธีนาเสนอ และรูปแบบของเรื่อง
ผู้อ่านควรรู้จักคาที่เกี่ยวข้องกับงานเขียนชนิดต่างๆ ดังนี้
1) วรรณกรรม (Literary works หรือ General literature)
เป็นคาที่ใช้เรียกงานเขียนทุก
ประเภท ทุกรูปแบบ ซึ่ง กุหลาบ มัลลิกะมาส (2517 : 5) ได้ให้ความหมายไว้ว่า
“….หมายถึง สิ่งที่เขียนขึ้นทั้งหมด
ไม่ว่าจะเป็นรูปใดหรือเพื่อความมุ่งหมายอย่างใด เช่น
คาอธิบายวิธีใช้กล้องถ่ายรูป รวมทั้งใบปลิว หนังสือพิมพ์ นวนิยาย วรรณกรรม
จึงมีความหมายอย่างกว้างขว้างที่สุด...” ส่วน สิทธา พินิจภูวดล (2515 : 33)
กล่าวว่า “....หมายถึง งานเขียนในรูปบทกวีนิพนธ์ ร้อยกรอง
และข้อเขียนที่ใช้ภาษาร้อยแก้ว ได้แก่ บทความ สารคดี
นวนิยาย เรื่องสั้น เรียงความ บทละคร บทภาพยนตร์ บทโทรทัศน์
ตลอดจนคอลัมน์ต่างๆ ในหนังสือพิมพ์.... ” ดังนั้น
คาว่าวรรณกรรมจึงเป็นคาที่มีความหมายกว้าง
โดยครอบคลุมไปถึงงานเขียนทุกประเภท
2) วรรณคดี ( Literature) เป็นคาที่สร้างขึ้นจากศัพท์ วรณ กับ
คติ
เพื่อใช้เรียกหนังสือที่ได้รับคัดเลือกและยกย่องจากวรรณคดีโมสร
ใน พ.ศ. 2457 ว่าเป็น “ หนังสือแต่งดี ” คาว่า วรรณคดีนี้
เสฐียรโกเศศ ( 2514 : 2 - 3) ได้ให้คาอธิบายไว้ว่า หมายถึง
2.1 หนังสือดี คือ
เป็นเรื่องที่สมควรที่สาธารณชนจะอ่านได้โดยไม่เสียประโยชน์ คือ
ไม่เป็นเรื่องสุภาษิต
หรือเป็นเรื่องที่ชักจูงความคิดผู้อ่านไปในทางอันไม่เป็ นแก่นสารหรือซึ่งจะชวนใ
ห้คิดวุ่นวายทางการเมือง
อันจะเป็นเครื่องราคาญให้แก่รัฐบาลของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวดังนี้
เป็นต้น
2.2 เป็นหนังสือแต่งดี ใช้วิธีเรียบเรียงอย่างใดๆ ก็ตาม
แต่ต้องเป็นภาษาไทยอันดี ถูกต้องตามเยี่ยงอย่างที่ใช้ในโบราณกาล
หรือในปัจจุบันก็ได้ไม่ใช้ภาษาซึ่งเลียนภาษาต่างประเทศ
นอกจากนี้ วิทย์ ศิวะศริยานนท์ (2504 : 1) กล่าวว่า “
วรรณคดีเป็นคาที่เราบัญญัติขึ้นเพื่อใช้เทียบกับคา Literature ในภาษาอังกฤษ
หมายถึง บทประพันธ์ที่รัดรึวตรึงใจผู้อ่าน ปลุกมโนคติทาให้เพลิดเพลิน
และเกิดอารมณ์ต่างๆ วรรณคดีอาจสอนใจเราทางอ้อม…แต่วรรณคดีมิใช่ตารา… ”
จะเห็นได้ว่าวรรคดีมีความหมายเฉพาะหนังสือดีที่ได้รับคัดเลือกจากวรรณคดีสโ
มสร คือ วรรณคดีเป็นวรรณกรรมที่มีศิลปะในการแต่งหรือเรียกว่าวรรณศิลป์
ในความหมายดังกล่าวนี้จึงกล่าวได้ว่า วรรณคดีของไทยมีจานวนจากัด
เพราะเมื่อไม่มีวรรณคดีสโมสรเป็นผู้คัดเลือกหนังสือก็ไม่มีหนังสือใดที่จะเรียกว่า
เป็นวรรณคดีได้อีกหน่วยงานหรือองค์กรที่ตั้งขึ้นภายหลัง เช่น
คณะกรรมการรางวัลซีไรท์
ทาหน้าที่คัดเลือกหนังสือดีให้ได้รับรางวัลก็มิได้ใช้คาว่าวรรณคดีเรียกหนังสือเหล่
านั้น
3. นวนิยาย ( Novel ) หมายถึง
บันเทิงคดีที่แต่งขึ้นและมีขนาดยาว หากแปลตามตัวอักษร นว แปลใหม่
นิยาย คือ เรื่องเล่า นวนิยายจึงมีความหมายว่า “ เรื่องเล่าแบบใหม่ ” (
รื่นฤทัย สัจจพันธ์, 2523 : 49 ) ส่วนบุญเหลือ เทพยสุวรรณ ( 2517 :
113 ) กล่าวว่า “ ธรรมชาติของนวนิยายนั้นอย่างที่หนึ่งคือ เป็นเรื่องแต่ง
มีตัวละคร…
แม้จะแต่งเรื่องของบุคคลที่มีชีวิตอยู่จริงๆก็จะทาให้คนอ่านรู้ว่าไม่ได้เขียนเ
รื่องจริง…” องค์ประกอบของนวนิยายมีดังนี้
3.1 โครงเรื่อง ( Plot ) คือ
แนวที่ผู้แต่งประสงค์จะให้เรื่องดาเนินไปโดยมีเหตุการณ์ต่างๆและปูกปมเรื่องให้
ซับซ้อน นวนิยายประกอบด้วย โครงเรื่องหลัก ( Main Plot )
และโครงเรื่องย่อย (Sub Plot) การวางโครงเรื่องผู้เขียนจะต้องมีการเปิดเรื่อง
ดาเนินเรื่อง และปิดเรื่องให้น่าสนใจ
3.2 ฉากหรือบบรยากาศ ( Setting or atmosphere )
เป็นส่วนประกอบสาคัญที่ช่วยให้นวนิยายดาเนินเรื่องได้อย่างสมจริง
ซึ่งอาจได้แก่เหตุการณ์ บรรยากาศ สถานที่ ฯลฯ
ที่ปรากฏในแต่ล่ะตอนของเรื่อง ฉากต่างๆ มีทั้งฉากสมมุติ
ซึ่งผู้เแต่งจินตนาการขึ้นและฉากซึ่งจาลองมาจากภาพจริงในสังคม
หรือมีการดัดแปลงให้เหมาะกับเรื่อง
ผู้แต่งอาจใช้วิธีการอธิบายหรือพรรณนาฉากต่างๆ ให้ผู้อ่านจินตนาการตาม
ตัวอย่างเช่น
“…ตะวันคล้อยต่าลงมากแล้ว
กลุ่มเมฆดาเคลื่อนมาบดบังมันไว้จนเกิดเป็นเงาทึบทมึน
ฝนเหมือนจะตกอีกไม่ช้า ลมพัดแรงจัดขึ้นเป็นลาดับ
ฉันชอบน้องสาวกลับเข้าบ้านด้วยความเป็นห่วงพ่อไม่มีใครดูแล
ฝูงความยาวเหยียดย่ากลับเข้าหมู่บ้านตอนพลบค่า
บางตัวมีคนเลี้ยงนั่งอยู่บนหลังถึงสองคน
บางทีคนเลี้ยงเดินตามมันมาข้างๆเสียงกระดิ่งที่แขวนคอดังประสานกับเสียงก้าวเ
ดินในปลักโคลนที่เจิ่นนองด้วยน้า
ฟังดูคล้ายบทเพลงธรรมชาติที่เต็มไปด้วยพลังโดยแท้…” (คืนที่กลับบ้านของ
“อรไท”)
3.3 ตัวละคร ( Characters )
ซึ่งนับว่าเป็นส่วนประกอบที่มีความสาคัญอีกอย่างหนึ่งที่จะทาให้เรื่องนั้นๆดาเนิน
ต่อไปได้ นวนิยายจะมีตัวละครเท่าใดก็ได้
ซึ่งผู้แต่งมักวางบทบาทสาคัญไว้กับตัวละครเอก
ส่วนตัวละครประกอบนั้นช่วยเสริมเนื้อเรื่องให้มีรสชาติหรือเข้มข้นมากขึ้น
ตัวละครมี 2 ประเภทใหญ่ๆคือ ตัวละครที่มีบุคลิก อุปนิสัย อารมณ์ ความรู้สึก
ฯลฯ แบบเดียว (Flat characters) และตัวละครที่มีหลายอารมณ์ ความรู้สึก
หรือ หลายบุคลิก (Round Characters) เช่น ตัวละครเอกของเรื่อง
บางเรื่องมีอุปนิสัยอ่อนโยน แต่บางครั้งก็มีความแข็งกร้าว
เมื่อพบกับสิ่งที่ตนไม่พอใจ
ลักษณะของตัวละครประเภทนี้มีความเป็นมนุษย์ที่เป็นปุถุชนทั่วไป
ย่อมมีทั้งความรัก ความโกรธ ความร่าเริงสนุกสนาน ฯลฯ
การกาหนดบุคลิกของตัวละครต้องสอดคล้องกับโครงเรื่อง.
และมีความคงเส้นคงวา ไม่เปลี่ยนไปเรื่อยๆโดยไม่มีเหตุผล
3.4 บทสนทนา (Dialogue) หมายถึง
บทเจรจาหรือบทสนทนากันของตัวละครซึ่งทาให้ผู้อ่านได้อารมณ์ ความรู้สึก
รู้จักนิสัยใจคอของตัวละคร รวมทั้งช่วยให้เรื่องดาเนินไปด้วย
บทสนทนาที่ดีต้องมีความเหมาะสมกับตัวละคร และมีประโยชน์ต่อเเรื่อง
ลองสังเกตตัวอย่างบทสนทนาต่อไปนี้
“พี่…หนูจะออกจากงานสิ้นเดือนนี้ล่ะ….พี่จาผู้ชายที่มาออฟหนูสองครั้งติดๆ
กันนั่นได้ไหม…คนตัวเล็กๆท่าทางเฉยๆนั่นน่ะ”
“อ๋อ…จาได้ซิ…ทาไมมันถึงเร็วนักล่ะอ้อยเขาจะรับไปอยู่ด้วยหรือไง”
“เปล่าหรอกพี่…คือยังงี้…เขาออฟหนู…เขาถามหนู…หนูก็เล่าเรื่องของหนูให้เ
ขาฟัง… ก็เขาถามหนูนี่พี่ เขาบอกว่าเขาสงสารหนู
ถ้าหากหนูอยากเปลี่ยนงานจริงๆเขาจะหาทางฝากงานให้
เขาทางานอยู่กับบริษัทขนส่งที่วิ่งออกต่างจังหวัดพี่”
(มืดแล้วสว่าง – ศรีดาวเรือง)
แม้บทสนทนาจะสั้นๆ แต่ก็ทาให้ผู้อ่านเห็นบุคลิกของตัวละคร
และแนวเรื่องที่กาลังดาเนินไปว่าเป็นอย่างไร
ซึ่งนับว่าเป็นบทสนาที่มีประโยชน์ต่อเนื้อเรื่อง
3.5. แก่นเรื่อง (Theme) หรือสาระสาคัญ หรือสารัตถะของเรื่อง
หมายถึง ความคิดหลักที่ผู้แต่งประสงค์จะสื่อมายังผู้อ่าน
โดยกาหนดไว้เป็นความคิดหลักของเรื่อง และ ปรากฏอยู่ตั้งแต่ต้นจนจบเรื่อง
แก่นเรื่อจะเชื่อมโยงเรื่องทั้งหมดเข้าด้วยกัน (สุวรรณา เกรียงไกรเพ็ชร, 2518
: 7 ) เช่น นวนิยายเรื่อง “ปูนปิดทอง” ของ กฤษณา อโศกสิน
ต้องการส่งความคิดเรื่องการกนะทาของพ่อแม่ว่ามีผลไปถึงลูกและครอบครัว
ครอบครัวที่แตกร้าวส่งผลต่อสังคมอย่างใหญ่หลวง เป็นต้น
4 เรื่องสั้น ( Short story )
เป็นเรื่องแต่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับนวนิยายแต่มีขนาดสั้นกว่า คือ
ประกอบด้วย โครงเรื่อง แก่นเรื่อง ตัวละคร บทสนทนา ฉาก ฯลฯ เช่น เดียวกัน
แต่เรื่องสั้นจะมีจุดมุ่งหมายหลักเพียงอย่างเดียว เมื่อเรื่องดาเนินมาถึงจุดสุดยอด
(Climax) ของเรื่องแล้ว มักจะจบเรื่อง นอกจากนี้ยังมีตัวละครน้อย
แต่ละตัวมีบทบาทสาคัญต่อการดาเนินเรื่องทั้งสิ้น
เวลาที่กาหนดไว้ในเรื่องก็มีความกระชับ ไม่บรรยายหรือพรรณายืดยาว
ผู้อ่านสามารถอ่านเรื่องสั้นได้จบในระยะเวลาไม่มากนัก เจือ สตะเวทิน (2509
: 238 ) กล่าวถึงลักษณะของเรื่องสั้นว่า มีองค์ประกอบหลักดังนี้
4.1 มีโครงเรื่อง
4.2 มีจุดมุ่งหมายเพียงอย่างเดียว และมีผลอย่างเดียว
4.3 ใช้เวลาน้อย
4.4 ใช้ตัวละครน้อย
4.5 มีขนาดสั้น
โปรดอ่านตัวอย่างเรื่องสั้นต่อไปนี้เพื่อพิขารณาองค์ประกอบดังกล่าว
ตัวอย่างเรื่องสั้น
โจร
วิมล ไทรนิ่มนวล
1
มันกระชากคอเสื้ออย่างแรง
พร้อมกันนั้นกาปั้นอันหนาเตอะและหนักหน่วงก็พุ่งสวนกระแทกเข้าที่กรามของผ
มดังกร้วม แก้วหูของผมลั่นเปรี๊ยะ รู้สึกเหมือนร่วงผลอยลงจากที่สูง
ก้นกระแทกพื้นถนนอย่างจัง ยินเสียงร้องวี๊ดๆ ในแก้วหู นัยน์ตาพร่าลาย
ความรู้สึกรางเลือนเหมือนจะดับวูบ
ผมบอกตัวเองในความรู้สึกเวิ้งว้าง…ลิบลับว่า ต้องพยายามวิ่งหนีไปโดยเร็ว
แต่ร่างกายของผมขยับเขยื้อนไม่ได้เลย เหมือนกับว่า กล้ามเนื้อ เส้นเอ็น
และกระดูกได้ตายอย่างสนิทแล้ว วินาทีต่อมา ผมรู้สึกถึงความมืดรางเลือน
และแล้วจากนั้น ผมก็ไม่รู้สึกอะไรเลย
2
ผมไม่รู้ว่าเวลาผ่านไปนานเท่าไร… คงจะนานมาก…
หรืออาจจะไม่นาน…ผมไม่แน่ใจมีมือหนักๆ ตบหน้าผมเบาๆ
ผมพยายามปรับสายตาเพื่อจะมองเจ้าของมือ แต่ภาพที่ปรากฏพร่ามัวไปหมด
หูยังอื้อ สมองมึนงงหนักอึ้ง
ผมถูกดึงแขนให้ลุกขึ้น ร่างของผมโงนเงน คอและเข่าอ่อนปวกเปียก
แต่ผมก็พยายามช่วยตัวเอง สะบัดหัวไล่ความมึนงง อาการดีขึ้นบ้าง
มันสอวคนช่วยกันพยุงกึ่งลากแขนให้ผมขึ้นนั่งคร่อมบนรถมอเตอร์ไซค์
ผมพยายามขัดขืนเท่าที่เรี่ยวแรงจะมี
“อย่าเสือกลวดลาย”
ผมได้ยินเสียงอื้อๆ พร้อมกันนั้นมันก็สวมกุญแจฉับเข้าที่ข้อมือ
ผมอยากจะถามมันว่า ผมทาความผิดเรื่องอะไร แต่ก็พูดไม่ออก
อ้าปากไม่ค่อยขึ้น
เสียงเครื่องยนต์ติด ตัวรถกระชาก แล้ววิ่งไปตามถนน
ลมเย็นปะทะหน้าตลอดเวลา ทาให้อาการมึนงงสร่างขึ้นเรื่อยๆ
แต่ขณะเดียวกันก็รู้สึกเจ็บคางขึ้นทุกที
“จะพาผมไปไหน”
เสียงของผมสั่นพร่า ใจคอไม่ดี เมื่อนึกถึงเหตุการณ์ข้างหน้า
มันอาจจะพาผมไปที่ไหนสักแห่ง
จอดรถแล้วถีบผมลงไปนอนกลิ้งข้างถนน…ชักปืน…เหนี่ยวไกสักสองสามนัด…ผม
ก็จะกลานเป็นผีไม่มีญาติเหมือนกับที่ผู้ได้รับรู้มา
ชีวิตของผู้คนในประเทศนี้ราคาถูกกว่ากระสุนปืนมากนัก
หรือมันอาตจะพาผมไปโรงพัก
แล้วผมมีความผิดเรื่องอะไร แต่ก็ยังดีกว่าอย่างแรก
ผมปลอบใจตัวเองอย่างทุกข์วิตก ไม่แน่ใจตัวเองว่ากลัวตายหรือเปล่า
แต่ผมคิดว่าไม่ แต่ผมคิดว่าไม่
ผมเสียดายที่จะต้องมาตายอย่างทุเรศและสิ้นไร้ประโยชน์มากกว่า แต่ถ้าถึงคราว
มันก็ไม่มีทางเลือก
3
ความมึนงงเหือดหายแทบจะปกติ
แต่ความเจ็บปวดที่กรามและหัวใจกลับรุนแรงยิ่งขึ้นทุกที
ผมทนไม่ได้ที่จะต้องทนนั่งอยู่อย่างบอดใบ้
โดยไม่ได้รับรู้ชะตาชีวิตข้างหน้าผมจึงถามมันด้วยเสียงอันดัง
“จะพาผมไปไหน”
ไม่มีใครตอบ ผมถามอีกครั้ง แต่ก็ยังเหมือนเดิม
รถยังวิ่งฝ่าลมไปข้างหน้า….. ย่างไม่เปลี่ยนแปลง ข้อมือยังถูกพันธนาการ
ร่างกายถูกบีบขนาบจนขยับไม่ได้
“ผมผิดอะไร”
“เดี๋ยวก็รู้”
คนขับรถตอบด้วยน้าเสียงเย้ยหยัน สมองของผมเครียดขึ้นทุกที
นี่มันจะไม่ยอมให้ผมรับรู้อะไรเลยหรอ มันจะบังคับให้ผมนั่ง นั่ง นั่ง
ไปกับมันอย่างเดียวเท่านั้นหรือ ผมไม่มีสิทธิ์จะรับรู้อะไรเลยหรือ
ความคิดที่จะทาให้รถล้มแว่บขึ้นมา แต่แล้วผมก็เปลี่ยนความตั้งใจ
ถึงอย่างไรผมก็หนีมันไม่พ้น อาจจะมีใครสักคนบาดเจ็บ แต่ผมอาจจะต้องตาย
มจะไปสู้รบอะไรกะบมันได้มันมีอาวุธ แล้วผมล่ะ ผมมีแต่มือที่ไร้อิสรภาพ…
ไม่มีหลักประกันอะไรเลยกับชีวิตที่เกิดมาในประเทศนี้
ผมเริ่มคิดถึงความตายอีก บางที
ผมอาจจะต้องตายอย่างหมากลางถนนจริงๆและผมก็มั่นใจว่าคงไม่มีใครใส่ใจตา
มเอาคนที่ฆ่าผมมาลงโทษได้ เพราะวันเวลาที่ผ่านไปได้พิสูจน์แล้วว่า
ชีวิตคนดีๆ ต้องสูญเสียไปอย่างไร้ค่าและไร้ความหมายมากมายแล้ว
สมองและประสาทของผมเครียดขึ้นจนปวดหนึบๆในกระโหลก
และแทบจะลืมรู้สึกถึงความปวดร้าวที่กราม
4
คงจะห้าทุ่มหรือเที่ยงคืนแล้ว ผู้คนจึงแทบจะไม่มีเดินอยู่ตามถนน
รถราดูว่างตาจนรู้สึกว่าถนนจะกว้างขึ้น อากาศเย็นลง
แต่สาหรับผมเหงื่อยังซึมอยู่ตามผิวหนัง และใจก็เต้นแรงเพราะความวิตกกังวล
รถมอเตอร์ไซค์เข้าไปในสถานีตารวจ
ผมรู้สึกในชื้นขึ้นที่ไม่ต้องตายโหงฟรีอย่างไม่มีใครรู้ต้นสายปลายเหตุ
นอกจากคนที่ฆ่าผมเท่านั้น แต่ถึงอย่างไร ผมก็ยังทุกข์วิตกและสมองเครียดอยู่ดี
มันอาจจะใส่ความอะไรแก่ผมสักอย่าง หรืออาจจะแกล้งขับผมสักคืนสอง
พอลงจากรถ ไอ้คนอ้วนก็ดันหลังผมให้เดินขึ้นไปบนสถานีตารวจ
ผมทาตามที่มัรต้องการ เดินตามไอ้คนหนุ่มไปที่โต๊ะร้อยเวร
แต่มันกลับไม่ให้เข้าไปหา
“อยูที่นี่ จะนั่งก็ได้”
มันพยักหน้าไปที่ม้านั่ง ไอ้คนหนุ่มเข้าไปหาร้อยเวร
พูดกันอยู่สักครู่ก็เดินเข้ามาบอกกับไอ้คนอ้วนว่า
“หมวดสั่งให้ขังไว้ก่อน”
ผมใจหายวาบ คาดไม่ถึงว่าจะเป็นไปได้ถึงเพียงนี้
มันน่าจะสอบสวนผมให้รู้แล้วรู้รอดว่าผิดถูกอย่างไร หรือมันจะแกล้งขังผมจริงๆ
อย่างที่คิด ไอ้คนอ้วนดันหลังผมอีกดูเหมือนมันจะทาได้เพียงอย่างเดีนว
“ผมผิดอะไร”
“เดี๋ยวก็รู้”
“ผมขอพบหมวด”
“ลื้อไมมีสิทธิ์พบใครทั้งนั้น”
“แล้วตุณมีสิทธิ์อะไรมาขังผม ทั้งๆ ที่ผมไม่มีความผิด”
ผมพูดเสียงดังจนร้อยเวรมองหน้า แล้วก็พยักหน้าให้ผมเข้าไปหา
ร้อยเวรสั่งให้ผมนั่ง ไอ้สองคนออกไปยืนข้างหลัง
ร้อยเวรถามถึงชื่อและนามสกุล พอตอบเสร็จก็ซักต่อถึงอาชีพ
“ผมไม่มีอาชีพ”
ผมตอบอย่างไม่พอใจ
“งั้นก็มิจฉาชีพน่ะซิ”
เขามองหน้าผมด้วยสายตากวนๆ
“ผมเรียนหนังสือ”
“ที่ไหน”
ผมบอกสถานที่เรียน จากนั้นก็ถามที่อยู่ ถามชื่อพ่อ ชื่อแม่ และอาชีพ
ซึ่งผมก็บอกตามความจริงทุกอย่าง
“คุณออกมาทาอะไร ทั้งๆ ที่มันดึกแล้ว”
“ออกมาซื้อยาแก้ท้องเสียให้แม่”
“ไหนยาแก้ท้องเสีย”
“ผมยังไม่ได้ซื้อ”
“แล้วทาไมต้องขัดขืนการตรวจค้น”
“เขามีสิทธิ์อะไรมาค้นตัวผม”
“เขาเป็นตารวจ”
“ผมรู้ว่าเขาเป็นตารวจ แต่การมาค้นสุ่มสี่สุ่มห้ามันไม่ถูก
ถ้างั้นไม่พอใจจะค้นใครก็ค้นน่ะซิ”
“ก็คุณมีพิรุธ”
น้าเสียงเขาเรียบๆ
“ผมก็แสดงความบริสุทธิ์แล้วนี่นา
ผมควักกระเป๋าเสื้อกระเป๋ากางเกงให้ดูแล้ว….”
“ถ้าบริสุทธิ์จริง คุณก็ควรให้เขาค้น”
ผมะยายามระงับอารมณ์เดือด
“ทาไม”
“ผมไม่ชอบ”
“คุณไม่ถูกกับตารวจสองนายนั่นหรือไง”
“เปล่า ผมไม่ชอบตารวจ”
“ทั้งหมดเลยงั้นรึ”
“คงยังงั้น”
เขายิ้มเหยียดมุมปาก หยิบบุหรี่ขึ้นจุดสูบ เอนหลังพิงพนักเก้าอี้
พ้นควันบุหรี่แล้วจึงถามว่า
“เมื่อคุณไม่ชอบตารวจ พอตารวจค้นคุณ คุณก็เลยขัดขืน”
“ผมเพียงแต่ไม่ให้ค้น”
“นั่นแหละ…..ขัดขืน”
เขายืนยังกึ่งคาดคั้น ผมรู้สึกฉิวกับวิธีการสอบสวนแบบยัดเยียด
“แล้วคุณเองก็ชกตารวจ”
ผมตกใจอย่างคาดไม่ถึง
“ผมไม่ได้ชก!”
เขาย้าด้วยเสียงปกติ
“ผมตะหากที่ถูกมันชก”
ผมบอกอย่างโกรธแค้น
“เขาบอกว่าคุณชก”
“โกหก! มันชกผม ! หมวดเชื่อมันหรือไง”
“โปรดพูดให้สุภาพ”
น้าเสียวของเขาแสดงความไม่พอใจ ผมลุกขึ้น แล้วชี้ที่กรามตัวเอง
“ชกที่นี่ไง…ดูซิหมวด! ”
“ก็คุณทาร้ายเจ้าหน้าที่ก่อน เขาจาเป็นต้องป้องกันตัว”
ผมโกรธจนตัวสั่น อยากจะชกหน้าร้อยเวรสักกร้วมด้วย
“ผมไม่ได้ทา ผมไม่ให้มันค้น มันก็เลยชกผม…..”
ผมไม่รู้ว่าจะพูดออย่างไร อึดอัดจนทาอะไรไม่ถูก
“คุณไม่มีพยายานหลักฐานอะไร
ส่วนเจ้าหน้าที่มีพยานครบถ้วนว่าคุณขัดขืนจับกุมตรวจค้น ทาร้ายเจ้าหน้าที่
และมียาเสพติดในครอบครอง…. ตารวจค้นพบผงขาวในกระเป๋าของคุณ”
ผมใช้กาปั้นทุบโต๊ะอย่างลืมตัว
เลือดฉีดพล่านไปทั่วใบหน้าจนรู้สึกร้อนวูบวาบหัวใจเต้นแรงเร็วด้วยความโกรธแ
ค้น
“คุณไปเอาผงขาวมาจากไหน”
“เปล่า มัดยัดใส่กระเป๋าผมเองต่างหาก มัดยัดใส่ตอนที่ผมถูกชกหมดสติ”
ร้อยเวรจ้องหน้าผมด้วยสายตาอันดุดัน
แต่ผมหมดความอดทนที่จะระงับอารมณ์ไว้แล้ว
ดังนั้นพอผมจะระเบิดคาพูดต่อไป เขาก็ชิงตัดหน้าพูดขึ้นก่อนว่า
“ผมขังคุณไว้ก่อน พรุ่งนี้ถึงจะสอบสวนใหม่ก่อนจะส่งฟ้อนศาล
พูดจบเขาก็พยักหน้าเรียกตารวจนายหนึ่งเข้ามาหา “ไขกุญแจมือออก
แล้วเอาไปขังไว้ก่อน”
5
ผมนั่งลงบนพื้นห้องขังอย่างระงับสติอารมณ์
บอกตัวเองว่าไม่มีประโยชน์อะไรที่จะใช้เหตุผลอึกต่อไปแล้ว
ผมคลาที่กรามด้านขวา รู้สึกมันบวมขึ้น
พอลองกดดูก็ปวดแปลบขึ้นมาทันทีเหมือนกับว่ากรามหัก ซึ่งที่จริงไม่หัก
แต่คงอีกหลายวันกว่าจะหายเป็นปกติ
พรุ่งนี้มันคงจะบวมปูดจนพูดหรือกินอะไรไม่ได้
พอนึกถึงความทารุณที่มันทากับผมแล้ว หัวใจของผมก็เจ็บปวดขึ้รมาอีก
ผมคิดถึงแม่อย่างเป็นห่วง ป่านนี้แม่จะเป็นอย่างไรบ้าง
อาการจะดีขึ้นหรือหนักกว่าเก่า แต่ที่แน่ๆ แม่คงกระวนกระวายใจ
รอผมกลับเข้าบ้านพร้อมด้วยยา พ่อล่ะ…พ่อจะรู้บ้างไหมว่าเกิดอะไรขึ้นกับผม
จะมีใครบอกเล่าความเป็นไปของผมให้แม่รับรู้…
ผมนึกถึงเหตุการณ์ก่อนที่จะถูกจับมาขับในห้องนี้… เมื่อตอนสี่ทุ่มเศษ
ขณะที่ผมกาลังดูหนังสือเพื่อเตรียมสอบในวันพรุ่งนี้
แม่ก็เข้ามาวานให้ช่วยซื้อยาแก้ท้องเสีย
ปมไม่ได้สังเกตว่าแม่ท้องเสียตั้งแต่เมื่อไหร่และอาการรุนแรงหรือเปล่า
อต่ผมรับเงินแล้วก็รีบเดินออกจากบ้านทันที
ผมรีบเดินอย่างรีบเร่งเพราะดึกมากแล้ว กลัวว่าร้านขายยาจะปิดเสียก่อน
ร้านขายยาละแวกนี้ปิดกันแต่หัวค่า เพราะกลัวถูกปล้น
ร้ายขายยาที่ผมจะไปซื้อนั้นเคยถูกปล้นมาสามครั้งแล้ว
และไม่มีใครจับคนร้ายได้เลย ขณะที่ผนเดินอยู่นึกเสียวเหมือนกัน กลัวจะถูกจี้
แม้จะไม่มีอะไรให้คนร้าย
ก็อาจจะโดนเสียบด้วยมีดเหมือนกับที่หลายๆคนโดนกันมาแล้วก็ได้
ในซอยเงียบกริบ บางตอนมืดมัว
บางตอนมีแสงสว่างจากดวงไฟที่ประตูรั้วบ้านไม่มีคนเดินเหมือนเมื่อผมเข้ามาอยู่
ใหม่ๆ สี่ห้าปีมาแล้วที่เป็นอย่างนี้ก็เพราะกลัวถูกจี้ ถูกปล้น ถูกข่มขืนแล้วฆ่า
ผมจาไม่ได้ว่าเกิดเรื่อราวเลวร้ายในบริเวณที่ดินแบ่งขายชานเมืองแห่งนี้กี่ร้อยครั้
งแล้ว มันเกิดขึ้นแทบทุกคืน เพิ่งจะมาซาลงระยะหลังนี่เอง
เพราะไม่ค่อยมีใครออกจากบ้าน นอกจากจะจาเป็นกันจริงๆ บางทีก็วิ่งราว
บางทีก็ปล้น บางทีก็ยกเค้ากันกลางวันแสกๆ ก็มี
ผมจาได้ว่าตั้งแต่ต้นปีมานี้มีคนดีๆ ถูกฆ่าตายไปสามหรือสี่คน
ส่วนที่บาดเจ็บและสูญเสียทรัพย์นั้นผมจาไม่ได้
นี่เฉพาะที่เกิดขึ้นในซอยบ้านผมและบริเวณข้างเคียงเท่านั้น
ส่วนซอยที่อยู่ถัดออกไป ผมไม่รู้
แทบทุบ้านจะโดนงัดแงะ หรือไม่ก็โดนยกเค้า
บางบ้านโดนซ้ากันถึงสอวสามครั้งยิ่งบ้านคนมีฐานะดีด้วยแล้วโดนบ่อยกว่าเพื่อน
มีอยู่บ้านหนึ่งฐานะดีกว่าบ้านอื่นๆ โดนถึงห้าครั้ง
เจ้าของบ้านไปแจ้งตารวจทุกครั้ง แต่ตารวจจับมือใครดมไม่ได้
และดูเหมือนว่าตารวจไม่ได้ใส่ใจจะจัดการให้ด้วยซ้า ในที่สุด
เจ้าของบ้านหมดที่พึ่งจึงเขียนหนังสือตัวโตๆ ติดไว้ที่ประตูรั้วว่า
“บ้านนี้ถูกยกเค้าแล้ว….ได้โปรดอย่ารบกวนกันอีก”
ผมไม่แน่ใจว่าเจ้าของบ้านเขียนอ้อนวอนพวกโจร
หรือเขียนประชดตารวจกันแน่แต่ที่แน่ๆก็คือ มันเป็นเครื่องบอกกล่าวว่า
ประชาชนในประเทศนี้ดูหมดที่พึ่งแล้วจริงๆนอกจากจะพึ่งตัวเอง
บ้านผมเคยถูกงัดประตูถึงสองครั้ง ครั้งแรกไม่ทันเอาอะไรไป
แต่ครั้งที่สองเอาวิทยุกับโทรทัศน์ไปได้ ทุกคนในบ้านเสียดายมาก
เพราะกว่าจะได้สิ่งนี้มา พ่อต้องใช้เวลาขับแท็กซี่อยู่หลายปี
โดยเฉพาะโทรทัศน์นั้นยังผ่อนไม่หมดด้วยซ้า แต่เราก็ทาอะไรไม่ได้
พึ่งพาใครไม่ได้ จึงได้แต่ปลอบใจตัวเองว่าถึงเคาะห์
ตอนนั้นพ่อพูดปลอบใจทุกคนในบ้านว่า
“โจรปล้นน่ะยังดีกว่าไฟไหม้นะลูก มันยังเหลือบ้าน เหลือที่ดอนไว้ให้
แต่ถ้าไฟไหม้ละก็ ผ้าขี้ริ้วก็ไม่เหลือ”
ผมไม่เข้าใจเลยจริงๆ ว่าทาไมตารวจถึงยแมให้พวกโจรเหยียบหยามอยู่ได้
โดยไม่จัดการทาอะไรสักอย่าง
ผมเร่งฝีเท้าให้เร็วขึ้น…อีกเสาไฟฟเาเดียวก็จะถึงร้านขายยา
ตารวจสองนายกาลังสูบบุหรี่คุยกันอยู่หน้าป้อมยาม
คนที่ยืนรูปร่างอ้วนพุงยื่น อายุประมาณสามสิบ
ส่วนคนที่นั่งอยู่รถมอเตอร์ไซค์ยังหนุ่มแน่น
พอผมเดินเข้าไปใกล้ทั้งสองก็หันมามองผม
ผมรีบเดินเลี่ยงไปอีกฟากหนึ่ง กะจะเลี้ยวตรงหัวมุมถนน แต่ไม่ทัน
จะผ่านมันด้วยซ้า ผมก็ต้องสดุ้งเมื่อได้ยินเสียงเรียกอย่างข่มขู่
“เฮ้อ…ไอนั้นน่ะหยุดซิ!”
ผมแกล้งทาเป็นไม่ได้ยิน สาวเท้าอย่างรวดเร็ว
“เฮ้ย….หยุดก่อน….ไม่ได้ยินหรือไงวะ!”
ผมชะลอฝีเท้า และตัดสินใจหยุด
ถ้าผมหนีก็เหมือนกับผมได้ทาความผิดอะไรสักอย่าง ผมหันหลังกลับมามองมัน
“มานี่ซิ”
ผมเดินเข้าไปหามันอย่างไม่เต็มใจ
“ลื้ิอจะไปไหน”
คนอ้วน หน้าบวมฉุๆ ถาม
“ซื้อยา”
“ยาอะไรที่ไหน ดึกดื่นป่านนี้”
“ที่ร้านขายยา”
“มันปิดไปนมนานแล้ว…..ยาอะไรกันแน่วะ”
“แม่ผมท้องเสีย”
“บ้านที่ไหน”
“ก้นซอย”
มันมองหน้าผมพร้อมกับยิ้มอย่างมีเลศนัย ผมหันหลังกลับจะเดินออกไป
แต่ไม่ทันจะก้าวขาก็ถูกคว้าแขน
“ยังไปไม่ได้!”
มันตวาดราวกับว่าผมเป็นขี้ข้ามันมาแต่ชาติปางไหน
นี่ขนาดมันเป็นแค่หางแถวยังวางอานาจกันถึงเพียงนี้
ถ้ามันเป็นใหญ่เป็นโตจะไม่เห็นผู้คนเป็นหมูหมาไปหมดหรือ
ผมด่าแม่มันในใจก่อนที่จะพูดขึ้นด้วยน้าเสียงราบเรียบอย่างข่มอารมณ์
“ทาไมผมจะไปไม่ได้ คุณไม่มีอานาจอะไรมาหน่วงเหนี่ยวผม”
“อั๊วเป็นใคร มันตวาดเสียงถาม
ผมอยากจะตอบมันว่าก็ไอ้ตารวจเส็งเคร็งน่ะซิ”
“ทาไมอั๊วจะไม่มีสิทธิ์”
“ลองค้นตัวมันดูซิ”
คนหนุ่มที่นั่งอยู่บนรถบอก พร้อมกับมองหน้าผมด้วยสายตายียวน
“ผมไม่มีอะไรให้ค้น ถ้าอยากรู้ผมจะควักกระเป๋าให้ดู”
“ไม่ต้อง อั๊วค้นเอง เล่ห์เหลี่ยมลื้อมันไม่เบา”
มันทาท่าจะค้นจริงๆ ผมถอยหลังไปก้าวหนึ่ง
“ผมไม่ให้ค้น”
ผมชักยัวะ พยายามบังคับเสียงให้เป็นปกติ
“อั๊วจะค้น”
มันพูดเสียงดังด้วยความโกรธ พร้อมกับคว้าข้อมือผม
“คุณมีสิทธิ์อะไร!”
ผมสะบัดแขนจนหลุดออกจากมือมัน
แต่ฝ่ามืออันหนักหน่วงก็ฟาดเปรี้ยงเข้าที่ใบหน้าของผม ผมเซจะล้ม
โกรธวูบขึ้นมาทันที แต่ไม่ทันจะทาอะไร แม้แต่จะตั้งตัว
มันก็คว้าคอเสื้อของผมกระชากอย่างแรง พร้อมกันนั้นกาปั้นหนาเตอะและ
หนักหน่วงก็พุ่งสวนมากระแทกเข้าที่กรามของดังกร้วม
6.
คงจะประมาณสองโมงเช้าละมัง ผมเดาจากเสียงจ้อกแจ้กจอแจของผู้คน
และเสียงเครื่องยนต์ที่ถนน
พ่อกับแม่ของผมก็มาที่สถานีตารวจและมองมาที่ผมด้วยสายตาบอกถึงความห่วงใ
ย
พ่อเข้าไปพูดกับตารวจนายหนึ่ง
ผมคิดว่าพ่อคงไปขออนุญาตเข้ามาเยี่ยมผม
แล้วตารวจนายนั้นก็พาเข้าไปพูดกับตารวจอีกนายหนึ่ง ยศนายร้อย
พูดกันอยู่สักครู่ก็พากันเข้าไปในห้องสารวัตร และหายไปนานจึงออกมา
สีหน้าและแววตาของพ่อกับแม่ดูหมองเศร้ากว่าเก่าเสียอีก
แม่พูดกับร้อยเวรคนใหม่หรือไงผมมองไม่ถนัด ก่อนจะเดินเข้ามาหาผม
นัยน์ตาของแม่แดงช้า เมื่อเห็นหน้าผม
แม่ส่งถุงข้าวและผลไม้ผ่านซี่กรงเข้ามา แล้วใช้นิ้วเช็ดตา
“กินข้าวหรือยัง”
พ่อถามด้วยน้าเสียงราบเรียบอย่างเก็บความรู้สึก ผมส่ายหน้า
“ผมไม่หิว”
“หิวหรือไม่หิวก็กินก็เข้าไปก่อน” แม่บอกเสียงสั่นเครือ
“ตอนบ่ายเขาจะปล่อยตัวลูก แม่จะมารับ…..”
ผมดีใจที่จะได้เป็นอิสระ แต่ไม่ได้แสดงอาการอย่างไร
เพราะความเจ็บช้าน้าใจความคับแค้นยังอัดแน่นอยู่ในอก
ผมจะไม่มีวันลืมเหตุการณ์นี้เลย มันทาให้ผมสูญเสียอิสรภาพ พลาดการสอบ
และถูกทาร้ายอย่างป่าเถื่อน
พ่อกับแม่ถามถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นก่อนจะกลับไป
บ่ายมาก พ่อกับแม่จึงกลับมาอีกครั้ง
พูดกับตารวจที่เคาน์เตอร์สักสองสามประโยค
ก็พากันเข้าไปในห้องสารวัตรอีกครั้ง
สักพักจึงออกมาหาผมพร้อมกับตารวจอีกสองนาย
“เขาปล่อยลูกแล้ว”
แม่บอกด้วยสีหน้าหมองคล้า
ตารวจไขกุญแจประตูเปิดให้ผมเดินก้มหัวออกมาแม่เข้ากอดผม
เหมือนกับผมเป็นเด็กเล็ก ที่ถูกโจรจับไปเรียกค่าไถ่ แล้วกลับมาได้
กลับถึงบ้าน ผมถามพ่อว่า ทาไมตารวจจึงปล่อยตัวผม
ทั้งที่เมื่อคืนผมถูกตั้งข้อหาตั้งสามข้อหาและบอกว่าจะส่งฟ้องศาลอีกด้วย
พ่อมองหน้าแม่เหมือนจะขอความเห็น
ซึ่งทาให้ผมมั่นใจมากขึ้นว่าจะต้องมีบางสิ่งบางอย่างอยู่เบื้องหลังการไถ่ตัวออกมา
“พ่อเสียเงินให้มันใช่ไหม”
พ่อถอนใจ ผมรู้ว่าพ่อไม่ต้องการบอกเรื่องราวโสโครกแบบนี้ให้ผมรับรู้
“เราไม่มีทางเลือก”
พ่อพูดได้เท่านี้ก็เงียบไป
“พ่อเสียให้มันเท่าไหร่”
“สามหมื่น”
ผมตกใจกับจานวนเงิน……มันมากเกินไปสาหรับแลกกับความบริสุทธิ์ของผ
ม
“ที่แรกเขาจะตั้งห้าหมื่น…..” แม่พูดบ้าง ด้วยน้าเสียงเศร้าๆ
“ต้องอ้อนวอนเขาเป็นชั่วโมงกว่าจะยอม…..”
ผมพูดอะไรไม่ออก มันไม่มีทางเลือกจริงๆ
แม้จะหวังอยู่ลึกๆว่าถ้าตารวจส่งตัวฟ้องศาลผมอาจจะได้รับการปล่อยตัว
แต่คิดดูอีกที พยานหลักฐานอะไรก็ไม่มี
นอกจากผลการตรวจเลือดที่แสดงว่าไม่มียาเสพติดแต่ศาลคงไม่เชื่อ
ผู้ฟ้องก็จะต้องกล่าวหาว่าผมนาไปขาย และในที่สุดผมก็คงจะต้องรับโทษจนได้
“พ่อเอาเงินมาจากไหน”
ผมรู้ว่าเรามีเงินติดบ้านไม่มากนัก
“พ่อเอาโฉนดกับบ้านไปจานอง”
มันเป็นความเจ็บปวดครั้งแรกในชีวิตของผม
และคงจะเป็นของพ่อและแม่ด้วยผมอดที่จะคิดถึงคาพูดของพ่อและใครต่อใครไม่
ได้ ว่าโจรปล้นนั้นดีกว่าไฟไหม้มากมายนะเพราะมันยังเหลือบ้านและที่ดินไว้ให้
ถ้าไฟไหม้ล่ะก็ ผ้าขี้ริ้วก็ไม่เหลือ แต่บัดนี้เมื่อเราถูกโจรในเครื่องแบบปล้น
เราก็แทบจะไม่เหลืออะไรเลย
แม้แต่บ้านและที่ดินที่พ่อกับแม่ช่วยกันสร้างสมขึ้นมาด้วยความเหนื่อยยาก
และด้วยระยะเวลาอันยาวนานเกือบตลอดอายุของผม
7
บัดนี้ผมรู้แล้วว่าทาไมโจรผู้ร้ายในแผ่นดินจึงชุกชุมเหมือนยุง
และตารวจทาไมไม่ใส่ใจที่จะทาหน้าที่อันถูกต้องดีงาม
ที่เป็นเช่นนี้ก็เพราะตารวจบางคนก็เป็นโจรได้เหมือนกันหากแตกต่างกันเพียงแต่
ว่า เป็นโจรกลับรับราชการ มีเงินเดือน มีอานาจ มีกฎหมาย มีอาวุธ
ได้และเป็นโจรที่ปล้นได้เจ็บแสบเลือดเย็นยิ่งกว่าโจรชนิดใดๆทั้งสิ้น
ผมภาวนาอยากให้ถึงวันที่ประชาชนจะพร้อมใจกันลุกขึ้นมาปราบโจรเหล่า
นี้ให้สิ้นซากเสียที โดยเฉพาะกับโจรใส่เครื่องแบบ ที่มีกฎหมายเป็นเครื่องมือ…..
5.บทละคร เป็นงานเขียนประเภทบันเทิงคดีอีกประเภทหนึ่ง
ซึ่งมีองค์ประกอบเช่นเดียวกับนวนิยายและเรื่องสั้น
แต่บทละครส่วนใหญ่มีจุดมุ่งหมายหลักคือ เพื่อแสดง
ดังนั้นจึงดาเนินเรื่องด้วยบทสนทนาของตัวละคร
ส่วนการบรรยายถึงฉากและตัวละครก็เป็นการให้รายละเอียดเพื่อนาไปจัดแสดง
ซึ่งแตกต่างไปจากการเขียนให้อ่าน ซึ่งผู้อ่านต้องหาใช้ความคิดและจินตนาการ
มีบทละครที่แต่งไว้เพื่ออ่านก็มีบ้าง แต่ผู้อ่านจะสนใจน้อยกว่าเรื่องแต่งชนิดอื่นๆ
6.สารคดี (Non- fiction) หมายถึง
งานเขียนหรือวรรณกรรมประเภทหนึ่งที่มีเนื้อหาสาระและจุดประสงค์เพื่อให้ควา
มรู้ความคิดแก่ผู้อ่าน
ในขณะที่ให้ความเพลิดเพลินหรือความบันเทิงใจแก่ผู้อ่านด้วยความสามารถในก
ารใช้ภาษาร้อยแก้วที่สละสลวยน่าอ่านของผู้แต่ง ชลธิรา กลัดอยู่ ( 2511 :
116 ) ให้ความหมายว่า หมายถึง
งานเขียนที่ผู้แต่งเจตนาให้สาระความรู้แก่ผู้อ่านเป็นเบื้องต้น
มีความเพลิดเพลินเป็นเบื้องหลัง ส่วน รื่นฤทัย สัจจพันธุ์ (2522 : 1-3)
มีความเห็นที่สอดคล้องกันว่า สารคดี หมายถึง
หนังสือที่มีเนื้อหาสาระและจุดประสงค์เพื่อให้ความรู้ ความคิดแก่ผู้อ่าน
ในขณะเดียวกันก็ให้ความบันเทิงแก่ผู้อ่านด้วย สารคดีมีหลายประเภท เช่น
สารคดีท่องเที่ยว สารคดีชีวประวัติ อัตชีวประวัติ เป็นต้น
7. บทความ (Articles) คือ ความเรียงร้อยแก้ว
ที่ผู้เขียนมุ้งแสดงความรู้ ความคิด
หลักการอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างรวมกัน บทความมีหลายประเภท เช่น
บทความทางวิชาการ บทความประเภทวิเคราะห์ หรือเสนอปัญหาโต้แย้ง
บทความเชิงวิจารณ์ บทความปกิณกะ เป็นต้น
บทความเป็นเรื่องที่เขียนขึ้นจากข้อเท็จจริง
มีหลักฐานที่เชื่อถือได้เป็นเรื่องที่กาลังอยู่ในความสนใจขณะนั้น
อาจมีทัศนะหรือข้อคิดเห็นของผู้เขียนแทรกอยู่บทความที่ดีต้องมีวิธีเขียนที่ชวนอ่
าน ชวนคิด การอ่านจะต้องพิจารณาความถูกต้อง ของเนื้อหา
การชี้ปัญหาและวิธีแก้ไขมีสานวนภาษาที่ชัดเจน
น่าอ่านและมีความสั้นยาวที่พอเหมาะ
วิธีอ่านหนังสือ
หนังสือแต่ละเรื่องมีวิธีอ่านแตกต่างกันออกไปตามความมุ่งหมายของผู้อ่าน
โดยทั่วไปผู้อ่านมักมีความมุ่งหมายดังนี้
1. อ่านเพื่อความบันเทิง หรือเพลิดเพลินใจ ได้แก่
การอ่านหนังสือประเภทบันเทิงคดี เช่น สารคดี วรรณคดี นวนิยาย ฯลฯ
2. อ่านเพื่อศึกษาหาความรู้ ได้แก่ การอ่านหนังสือที่ให้ความรู้ เช่น
ตาราวิชาการ งานศึกษาค้นคว้า วิจัย เป็นต้น
3. อ่านเพื่อหาคาตอบ เช่น การอ่านคาแนะนา
อ่านเพื่อค้นหาข้อมูลเพื่อการศึกษาวิจัย.
อ่านเพื่อหาคาตอบในปัญหาบางปัญหา เป็นต้น
วิธีการอ่านจึงขึ้นอยู่กับผู้อ่านว่าจะมุ่งหมายอย่างไร
ทาให้วิธีอ่านแตกต่างกันไป ซึ่งอาจแบ่งได้ 4 วิธีดังนี้
1. อ่านละเอียดถี่ถ้วน
จะใช้เมื่อต้องการอ่านเรื่องที่ต้องการทาความเข้าใจหรือต้องการพินิจพิเคราะ
ห์ในประเด็นต่างๆของเรื่องที่อ่าน เช่น อ่านเพื่อติชมหรือคัดค้าน
อ่านข้อความในสัญญา กฎหมายต่างๆ
การอ่านดังกล่าวจาเป็นต้องใช้ความถี่ถ้วนในการวิเคราะห์ อ่านทุกตัวอักษร
และทาความเข้าใจถ้อยคาต่างๆ เช่น คาว่า และ/ หรือ/ แต่/ การ
อ่านข้อความที่มีคาเหล่านี้ต้องระมัดระวัง
เพราะอาจทาให้มีความผิดพลาดได้เช่นเดียวกัน
2. อ่านเพื่อศึกษาทาความเข้าใจ ได้แก่ การอ่านตาราวิชาการต่างๆ
ซึ่งผู้อ่านต้องทบทวนประมวลความคิด และใช้ความพินิจพิเคราะห์มาก.
ทั้งอย่างต้องพยายามทาความเข้าใจทุกบททุกตอน
จึงต้องอ่านอย่างละเอียดลึกซึ้ง
3. อ่านอย่างเร็ว
การอ่านวิธีนี้ใช้กับหนังสือหรือเรื่องที่ไม่ต้องการศึกษาละเอียดมากนัก
เป็นการอ่านเพื่อทบทวนความจา หรืออาหารเรื่องที่เคยมีความรู้มาบ้างแล้ว
เช่น อ่านหนังสือพิมพ์ ข่าวต่างๆ
การที่ผู้อ่านมีประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่อ่านมาก่อนนี้ย่อมทาให้เข้าใจ
ได้เร็วขึ้น
4. อ่านกว้างๆหรืออ่านคร่าวๆ
ใช้ในกรณีที่ผู้อ่านมีจุดประสงค์ก็จะค้นหาคาตอบเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เช่น วัน
เดือน ปีจานวน สถานที่ที่เกิดเหตุการณ์ เค้าโครงเรื่อง สานวนโวหาร ฯลฯ
ผู้อ่านจึงเห็นอ่านคร่าวๆเพื่อสารวจข้อมูล
หรือพิจารณาดูว่าควรอ่านหรือไม่ควรอ่านเรื่องนั้น
จึงเป็นวิธีการที่ใช้เวลาน้อยกว่า การอ่านวิธีอื่นๆ
แต่ในขณะเดียวกันขณะผู้อ่านยังอ่านหนังสือไม่เป็น ไม่รู้จักวิธีการที่ถูกต้อง
ย่อมทาให้ได้รับผลเสียได้เช่นกัน
เพราะผู้อ่านย่อมนาวิธีไปใช้ผิดจากความมุ่งหมาย เช่น
หนังสือที่ต้องใช้วิธีอ่านอย่างศึกษา แต่ผู้อ่านกลับใช้วิธีอ่านคร่าว
หรืออ่านอย่างเร็วเหมือนวิธีอ่านหนังสือประเภทบันเทิง
ก็จะทาให้ไม่อาจเข้าใจเนื้อหารือเรื่องราวที่เป็ นประเด็นสาคัญต่าง ได้เลย
เป็นต้น การอ่านอย่างกว้าง หรืออย่างคร่าวๆนี้
ซึ่งเป็นการอ่านเพื่อสารวจเนื้อหาเบื้องต้น
ซึ่งผู้อ่านควรจะกลับมาอ่านให้ละเอียดอีกในโอกาสต่อไป
การเลือกวิธีอ่านหนังสือว่าเรื่องใดควรเลือกวิธีไหนนั้น
นอกจากจะขึ้นอยู่กับความมุ่งหมายของผู้อ่านเป็นสาคัญแล้ว
ยังขึ้นอยู่กับพื้นความรู้ของผู้อ่าน
ตลอดจนระดับความยากง่ายของหนังสือเรื่องนั้นด้วย
จึงจะทาให้ผู้อ่านบรรลุผลตามความมุ่งหมาย ผู้ที่มีความสามารถในการอ่านนั้น
จึงต้องเป็นผู้ที่อ่านได้เร็วและเข้าใจเรื่องที่อ่าน
สามารถจับใจความสาคัญของเรื่องได้อย่างถูกต้อง
การอ่านที่ดีจะต้องมีความตั้งใจ มีสมาธิและติดตามไปด้วย
ความเร็วในการอ่านเป็นสิ่งที่พัฒนาได้ เช่น
การกาหนดปริมาณหนังสือที่จะอ่านไว้ล่วงหน้า แล้วจับเวลาทุกครั้ง
ขณะที่อ่านควรฝึกกวาดสายตาไปตามตัวหนังสือ
จากซ้ายไปขวาของบรรทัดอย่างรวดเร็ว ไม่อ่านทีละคา
แต่อ่านเป็นประโยคต่อเนื่องกันไป
เมื่ออ่านจบแล้วลองทดสอบความเข้าใจในการอ่านทุกครั้ง
โดยตอบคาถามของตนให้ได้ว่าเรื่องนั้นกล่าวถึงอะไร มีสาระสาคัญอะไรบ้าง
สารวจข้อบกพร่องในการอ่านทุกครั้งว่าเข้าใจหรือรู้เรื่องมากน้อยเพียงใด
แล้วแก้ไขข้อบกพร่องนั้นให้ดีขึ้นในคราวต่อไป
ส่วนอัตราการอ่านหนังสือเร็วนั้นไม่อาจกาหนดตายตัวได้
แต่ควรพิจารณาจากจุดมุ่งหมายในการอ่านว่าอ่านเพื่ออะไร
หนังสือนั้นมีความยากง่ายเพียงใด หนังสือบางเล่มมีคาศัพท์ทางวิชาการมาก
มีสานวนโวหารลึกซึ้งเนื้อเรื่องมีความซับซ้อนก็ทาให้อ่านได้ช้า
ส่วนพื้นความรู้ของผู้อ่านก็เป็นตัวแปรอีกประการหนึ่งด้วย
ผู้อ่านที่มีพื้นความรู้ในเรื่องนั้นดีก็จะสามารถอ่านได้เร็วและเข้าใจเรื่องที่อ่านได้เ
ร็วและมากกว่าผู้อ่านที่ไม่มีพื้นความรู้
การอ่านช้าหรืออ่านไม่เข้าใจนั้นอาจมาจากสาเหตุหลายประการ ได้แก่
ความกังวลในเรื่องศัพท์ หรือข้อความบางตอนที่มีความแปลกใหม่
บางครั้งขาดสมาธิในการอ่าน ซึ่งมีสาเหตุมาจากสิ่งแวดล้อม
และตนขาดสติสมาธิเอง ผู้อ่านไม่เคยฝึกอ่านในใจมาก่อน
ทั้งอาจมีปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพอันเป็ นอุปสรรคของการอ่าน
ซึ่งสาเหตุเหล่านี้ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการอ่านทั้งสิ้น
ข้อแนะนาการก่อนอ่านหนังสือ
ก่อนอ่านหนังสืออย่างจริงจัง ควรอ่านกว้าง ๆ
ก่อนเพื่อให้เห็นเค้าโครงเรื่องว่าจะอ่านต่อไปหรือไม่ ทาให้ประหยัดเวลา
มีข้อแนะนาดังนี้
1. ตารา หนังสือทางวิชาการ ความอ่านข้อความข้อสาคัญของเรื่อง
หัวข้อย่อย สรุป ท้ายบท แล้วจึงเริ่มต้นอ่านให้ละเอียดอีกครั้ง
2. หนังสือทั่วไป ควรอ่านคานา สารบัญ บทสรุป ดรรชนี เสียก่อน
3. บทความ ให้อ่านชื่อเรื่อง ชื่อผู้เขียน อ่านสารวจย่อหน้าต่างๆ
บนย่อหน้าและย่อหน้าซึ่งเป็นบทสรุป แล้วจึงเริ่มต้นอ่านทั้งหมด
4. หนังสือบันเทิงอารมณ์ เช่น นวนิยาย เรื่องสั้น ไม่ควรอ่านคร่าวๆ
ก่อนเพราะจะทาให้เสียรสชาติในการอ่าน
ประสิทธิภาพในการอ่าน
ประสิทธิภาพในการอ่านนั้น ผู้อ่านจะต้องพัฒนาอยู่เสมอ
ดังนั้นผู้อ่านควรพิจารณาตนเองในประเด็นต่อไปนี้
1. อ่านแล้วได้เรื่องราว จับสาระได้ถูกต้องฉับไว
2. อ่านแล้วสามารถแปลความ ตีความ สรุปความ ขยายความ
จนกระทั่งอ่านตีบทได้
3. สามารถวิเคราะห์ความหมาย เข้าใจเจตนา ทัศนคติ อารมณ์
ความประสงค์ของผู้แต่งได้
4. ใช้วิจารณญาณการแสดงความคิดเห็นต่อสิ่งที่อ่านได้อย่างมีเหตุผลนะ
5. แยกแยะข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นได้คือ
บอกได้ว่ามีความคิดเห็นคล้อยตามหรือขัดแย้งในประเด็นใด
มีข้อคิดเห็นเพิ่มเติมเรื่องใด อย่างไร
6. ได้อรรถรส สามารถแสดงความรู้สึกนึกคิดต่อศิลปะการประพันธ์
สามารถวิเคราะห์กลวิธีการประพันธ์ วิเคราะห์แนวเขียนแต่ละชิ้นได้
รวมทั้งสามารถนามาเกี่ยวข้องกับงานเขียนชิ้นอื่นๆได้
7. ประเมินได้อย่างเที่ยงธรรม เปรียบเทียบกับหนังสือเล่มอื่นๆได้อย่างน่าสนใจ
8. เกิดจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์จากการอ่าน
ประเภทของการอ่าน
การอ่านแบ่งออกได้เป็นหลายชนิด
ขึ้นอยู่กับการใช้เกณฑ์ในการพิจารณา
การแบ่งประเภทของการอ่านมีความสัมพันธ์กับจุดมุ่งหมายของการอ่าน คือ
ขึ้นอยู่กับความต้องการและความสนใจในการอ่าน
มีผู้แบ่งประเภทของการอ่านไว้ดังนี้ พวา พันธุ์เมฆา ( 2518 : 38 )
แบ่งประเภทของการอ่านเป็น 3 ประเภท คือ
1. การอ่านออกเสียง
ใช้เมื่อต้องการให้ตัวเองหรือผู้อื่นได้ยินข้อความที่อ่านหรือใช้เมื่อต้องการศึกษาอ่
อมเสียงให้ถูกต้องชัดเจน หรือเพื่อให้เกิดความซาบซึ้งในข้อความที่อ่าน
2. การอ่านออกเสียงเงียบ
เป็นการอ่านที่เคลื่อนไหวริมฝีปากเหมือนการอ่านออกเสียง
เป็นการอ่านที่ไม่มีเจตนาให้ผู้อื่นได้ยินเสียงอ่าน
3. การอ่านในใจ การอ่านประเภทนี้จะไม่มีคลื่นไหวริมฝีปากเลย
แต่ใช้เฉพาะสายตากวาดไปตามตัวอักษรแล้วจดจาหรือตีความ
ซึ่งมักใช้ในการอ่านเพื่อศึกษาค้นคว้า
วลัยภรณ์ อาทิตย์เที่ยง ( 2529 : 19 ) แบ่งการอ่านออกเป็น 2 ประเภท
คือ
1. การอ่านในใจ (Silent reading ) เป็นการอ่านโดยไม่ออกเสียง
โดยมุ่งให้เข้าใจเรื่องและความคิดสาคัญๆ ในเรื่องที่อ่านเป็นสาคัญ
ซึ่งผู้อ่านจะต้องมีความรู้เรื่องศัพท์และโครงสร้างของประโยคพอสมควร
2. สอนการอ่านออกเสียง (Oral reading )
เป็นการอ่านออกเสียงให้ถูกต้องในเรื่อง เสียง (Sounds) การออกเสียงหนัก (
Stress) จังหวะ ( Rhythm ) ระดับเสียงสูงต่า ( Intonation )
การอ่านออกเสียงและจะมีจุดมุ่งหมายที่การอ่านออกเสียงให้ถูกต้องชัดเจนเพื่อให้
ผู้ฟังรับทราบเรื่องราวได้อย่างสะดวกและถูกต้องแล้ว
ยังต้องอาศัยความรู้ความเข้าใจ เรื่องราวที่เกิดจากการอ่านในใจเสียก่อน
จึงจาเป็นต้องคานึงถึงเรื่องคาศัพท์ โครงสร้างของประโยค
และความเข้าใจในเรื่องที่อ่าน
ส่วนสนิท สัตโยภาส ( 2542 : 144 -168 )
ได้แบ่งประเภทของการอ่านไว้ 2
ประเภทใหญ่ๆและกล่าวถึงรายละเอียดในแต่ละประเภทไว้ดังนี้
1. การอ่านออกเสียง เป็นกระบวนการอ่านที่ต่อเนื่องกันระหว่างสายตา
สมองและการเปล่งเสียง การอ่านออกเสียงนั้นมีอยู่ 3 ประเภท คือ
1.1 การอ่านออกเสียงร้อยแก้ว จะยึดหลักการเปล่งเสียงตามธรรมชาติ
ที่มนุษย์พูดกันในชีวิตจริง
โดยผู้อ่านต้องพยายามรักษาสารเดิมไว้ให้สมบูรณ์ที่สุด เพื่อให้ผู้ฟังได้รับความรู้
ความเข้าใจ และอรรถรสตามที่ผู้เขียนต้องการ
ด้วยการยึดหลักการอ่านและกระบวนการฝึกอ่าน
โดยฝึกเป็นเสียงอ่านอย่างชัดเจน น้าเสียงเหมือนพูด เสียงไม่ดัง
หรือค่อยเกินไป อ่านไม่ช้าหรือเร็วเกินไป เน้นคาให้เหมาะสมกับความหมาย
เปล่งเสียงคาทุกคาให้ถูกต้องตามอักขรวิธี
1.2 การอ่านออกเสียงร้อยกรองด้วยเสียงปกติ
จะปฏิบัติคล้ายกับการอ่านร้อยแก้ว
ต่างกันที่การอ่านร้อยกรองด้วยเสียงปกติจะต้องเว้นจังหวะการอ่านให้เป็นไปตาม
ฉันทลักษณ์ของคาประพันธ์ประเภทนั้น
1.3 การอ่านออกเสียงร้อยกรองทานองเสนาะ
เป็นการอ่านบทร้อยกรองที่มีสาเนียงสูงต่า หนักเบา ยาวสั้น มีเอื้อนเสียง
และเน้นเสียงสัมผัสอย่างไพเราะ ชัดเจน
จังหวะการอ่านและคลื่นเสียงเป็นกังวาน
ฟังแล้วเกิดความเพลิดเพลินและมีอารมณ์คล้อยตาม
2. การอ่านในใจ
เป็นกระบวนการที่ผู้อ่านมองดูตัวอักษรและถ่ายทอดเป็นความคิดอย่างเงียบๆในใ
จ
ความคิดที่ได้รับจากรวมเป็นความเข้าใจและประสบการณ์ที่ผู้อ่านจะสามารถนาไ
ปใช้ในเป็นประโยชน์เมื่อถึงเวลาอันสมควรต่อไป
กาอ่านในใจมีความสาคัญต่อบุคคลมาก
เพราะเป็นการอ่านที่จะใช้เป็นเครื่องมือแสวงหาความรู้ต่างๆ
และช่วยสร้างวิสัยทัศน์ได้อย่างกว้างไกล
สร้างบุคคลให้รู้เท่าทันในโลกยุคปัจจุบันได้
และยังเป็นการอ่านที่ให้ความบันเทิงอีกทางหนึ่งด้วย
ได้มีการแบ่งการอ่านออกเป็ นหลายลักษณะเช่น
แบ่งตามลักษณะเนื้อเรื่องที่อ่าน
1. การอ่านบันเทิงคดี (fiction)
2. การอ่านสารคดี (Non- fiction)
แบ่งตามลักษณะการประพันธ์
1. การอ่านร้อยแก้ว
2. การอ่านร้อยกรอง
แบ่งตามวัตถุประสงค์ของการอ่าน เช่น
1. การอ่านเพื่อจับใจความ
2. การอ่านเพื่อวิเคราะห์ พิจารณา- วิจารณ์
3. การอ่านอย่างมีวิจารณญาณ
4. การอ่านเพื่อตีความ
เมื่อพิจารณาการแบ่งประเภทของการอ่าน ก็จะเห็นว่า
ขึ้นอยู่กับเกณฑ์ที่นามาใช้แต่ส่วนใหญ่มักใช้วิธีการที่คล้ายคลึงและใกล้เคียงกันคื
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงานเขียนและการอ่าน

More Related Content

What's hot

บทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความบทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความAj.Mallika Phongphaew
 
4.1 หนังสือและบัตรรายการ book
4.1 หนังสือและบัตรรายการ book4.1 หนังสือและบัตรรายการ book
4.1 หนังสือและบัตรรายการ bookPloykarn Lamdual
 
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญPiyarerk Bunkoson
 
ใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูง
ใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูงใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูง
ใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูงนาเดีย น่ารัก
 
การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560
การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560
การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560Supaporn Khiewwan
 
Ppt1ความเรียงขั้นสูง
Ppt1ความเรียงขั้นสูงPpt1ความเรียงขั้นสูง
Ppt1ความเรียงขั้นสูงAttaporn Saranoppakun
 
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
ใบความรู้ เรื่องอ้างอิง
ใบความรู้ เรื่องอ้างอิงใบความรู้ เรื่องอ้างอิง
ใบความรู้ เรื่องอ้างอิงSupaporn Khiewwan
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความพัน พัน
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมSupaporn Khiewwan
 
หน่วยที่ 6 การเขียนย่อหน้าคำนำ
หน่วยที่ 6  การเขียนย่อหน้าคำนำหน่วยที่ 6  การเขียนย่อหน้าคำนำ
หน่วยที่ 6 การเขียนย่อหน้าคำนำขนิษฐา ทวีศรี
 
2562 final-project -3-16
2562 final-project -3-162562 final-project -3-16
2562 final-project -3-16Tawanny Rawipon
 
ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60
ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60
ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60Supaporn Khiewwan
 
หน่วยที่ 9
หน่วยที่ 9หน่วยที่ 9
หน่วยที่ 9Yui Siriwararat
 
หนังสืออ้างอิง
หนังสืออ้างอิงหนังสืออ้างอิง
หนังสืออ้างอิงSupaporn Khiewwan
 

What's hot (18)

บทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความบทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความ
 
4.1 หนังสือและบัตรรายการ book
4.1 หนังสือและบัตรรายการ book4.1 หนังสือและบัตรรายการ book
4.1 หนังสือและบัตรรายการ book
 
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
 
ใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูง
ใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูงใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูง
ใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูง
 
การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560
การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560
การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560
 
Ppt1ความเรียงขั้นสูง
Ppt1ความเรียงขั้นสูงPpt1ความเรียงขั้นสูง
Ppt1ความเรียงขั้นสูง
 
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษา
 
ใบความรู้ เรื่องอ้างอิง
ใบความรู้ เรื่องอ้างอิงใบความรู้ เรื่องอ้างอิง
ใบความรู้ เรื่องอ้างอิง
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความ
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรม
 
การเขียน 1
การเขียน  1การเขียน  1
การเขียน 1
 
หน่วยที่ 6 การเขียนย่อหน้าคำนำ
หน่วยที่ 6  การเขียนย่อหน้าคำนำหน่วยที่ 6  การเขียนย่อหน้าคำนำ
หน่วยที่ 6 การเขียนย่อหน้าคำนำ
 
2562 final-project -3-16
2562 final-project -3-162562 final-project -3-16
2562 final-project -3-16
 
ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60
ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60
ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60
 
หน่วยที่ 9
หน่วยที่ 9หน่วยที่ 9
หน่วยที่ 9
 
หนังสืออ้างอิง
หนังสืออ้างอิงหนังสืออ้างอิง
หนังสืออ้างอิง
 
การเขียน
การเขียนการเขียน
การเขียน
 

Similar to ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงานเขียนและการอ่าน

Similar to ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงานเขียนและการอ่าน (12)

เธšเธ—เธ„เธงเธ
เธšเธ—เธ„เธงเธเธšเธ—เธ„เธงเธ
เธšเธ—เธ„เธงเธ
 
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมายวรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
 
หนังสือ
หนังสือหนังสือ
หนังสือ
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน
 
ห้องสมุด 3 ดี
ห้องสมุด 3 ดีห้องสมุด 3 ดี
ห้องสมุด 3 ดี
 
Reference resources
Reference resources Reference resources
Reference resources
 
การเขียน 1
การเขียน  1การเขียน  1
การเขียน 1
 
การเขียน 1
การเขียน  1การเขียน  1
การเขียน 1
 
การเขียน 1
การเขียน  1การเขียน  1
การเขียน 1
 
Is2ขั้นตอนการเขียรายงาน
Is2ขั้นตอนการเขียรายงานIs2ขั้นตอนการเขียรายงาน
Is2ขั้นตอนการเขียรายงาน
 
บทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่านบทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่าน
 

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงานเขียนและการอ่าน

  • 1. บทที่ 2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงานเขียนและการอ่าน ความหมายของงานเขียน งานเขียน หมายถึง ข้อเขียน หนังสือ หรือเนื้อเรื่องที่ผู้เขียนประสงค์จะถ่ายทอดให้ผู้อ่านได้รับรู้ตามที่ผู้เขียนต้องการ หน้าที่อย่างหนึ่งของผู้อ่าน คือ การทาความเข้าใจงานเขียนแต่ละชนิดก่อนเริ่มอ่าน เนื่องจากหนังสือหรืองานเขียนมีความหลากหลายแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับจุดมุ่งหมายในการเขียนและวิธีนาเสนอ หนังสือโดยทั่วไปมักมีส่วนประกอบ 3 ส่วนใหญ่ๆ ดังนี้ 1. ส่วนประกอบต้อนต้น 2. ส่วนประกอบตอนกลาง 3. ส่วนประกอบตอนท้าย 1. ส่วนประกอบต้อนต้น ประกอบด้วย 1.1 ปกนอก เป็นส่วนที่มีชื่อหนังสือรายละเอียดเกี่ยวกับผู้แต่ง ปกนอกช่วยห่อหุ้มเนื้อหนังสือซึ่งมีลักษณะและรูปแบบการออกแบบหน้าป กที่แตกต่างกันไป หนังสือบางเล่มอาจมีใบหุ้มปกอีกชั้นหนี่งเป็นกระดาหรือวัสดุอื่นที่มีชื่อหนัง สือ ชื่อผู้เขียน รวมทั้งการใช้ภาพประกอบเป็นส่วนที่ทาให้หนังสือมีความน่าสนใจมากขึ้น ใบหุ้มปกนี้ทาให้ปกนอกของหนังสือลดความสกปรกเลอะเลือน หรือเก่าช้าลง 1.2 ใบรองปก ในหนังสือทั่วๆ ไปมักใช้กระดาษเปล่าที่มีความหนาน้อยกว่าปกนอกรองไว้อีกชั้นหนึ่ง เป็นส่วนที่ช่วยทาให้หนังสือมีความทนทานมากขึ้น ช่วยผนึกปกกับตัวเล่มให้ติดกัน 1.3 ปกใน อยู่ต่อจากใบรองปก เป็นกระดาษที่มีคุณภาพเหมือนกับเนื้อของหนังสือโดยพิมพ์ข้อมูลเหมือนป กนอกทุกประการ 1.4 หน้ารายละเอียดของหนังสือ ซึ่งเป็นส่วนที่มีความสาคัญ เพราะมีข้อมูลต่างๆ ของหนังสือ ได้แก่ ชื่อเรื่อง ชื่อผู้เขียน ส่วนขยายของชื่อเรื่อง เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจแนวเรื่องได้มากขึ้น นอกจากนี้ยังเป็นส่วนที่แสดงรายละเอียดของหนังสือ เช่น ปีที่พิมพ์
  • 2. ครั้งที่พิมพ์ จานวนพิมพ์ สานักพิมพ์ สถานที่พิมพ์ ข้อมูลของบรรณานุกรม ราคา ลิขสิทธิ์การพิมพ์ ฯลฯ ซึ่งข้อมูลเหล่านี้มีความสาคัญต่อผู้อ่าน 1.5 คานา เป็นหน้าที่มีความสาคัญ เพราะเป็นการแจ้งวัตถุประสงค์ของการเขียนหนังสือนั้น รวมทั้งแนวของเรื่องที่เขียน ในหน้าคานาของหนังสือบนเล่มอาจรวม คาขอบคุณไว้ด้วย และไม่ได้ใช้คาว่าคานาเสมอไป แต่อาจใช้คาว่า ถ้อยแถลง คาปรารภ คาชี้แจง ก็ได้ 1.6 สารบัญ เป็นหน้าที่ให้ข้อมูลด้านการลาดับเนื้อหา โดยมีเลขหน้าแจ้งกากับไว้ สารบัญหนังสือบางเล่มก็ให้รายละเอียดของหัวข้อไว้มาก ทาให้ผู้อ่านค้นเรื่องได้ง่าย นอกจากนี้หนังสือบางเล่มอาจมีภาพประกอบและตารางประกอบเนื้อเรื่อง รวมทั้งแผนที่ แผนภูมิ ต่างๆจานวนมาก เพราะมีความสาคัญต่อเรื่อง ผู้เขียนจึงนามาจัดทาเป็นสารบัญไว้ด้วย เพื่อความสะดวกกของผู้อื่น 2. ส่วนประกอบตอนกลาง ประกอบด้วย 2.1 ส่วนเนื้อหา หรือเนื้อเรื่อง ซึ่งเป็นส่วนสาคัญของหนังสือ ถ้ามีเนื้อหามากหรือมีความซับซ้อนอาจมีการแบ่งออกเป็นบท ตอน ตามลาดับ 2.2 ส่วนอ้างอิง เป็นส่วนที่ช่วยให้ข้อมูลในหนังสือนั้นมีความน่าเชื่อถือมากขึ้น โดยเฉพาะหนังสือหรือข้อเขียนทางวิชาการ ส่วนอ้างอิงนี้ได้แก่เชิงอรรถทุกชนิด 3. ส่วนประกอบตอนท้าย เป็นส่วนที่ต่อเนื่องมาจากส่วนประกอบตอนกลางหรือเนื้อหา ได้แก่ 3.1 บรรณานุกรม หรือเอกสารอ้างอิง หรือบางคนใช้คาอื่นๆ เช่น เอกสาร ประกอบการค้นคว้า ซึ่งหมายถึง ส่วนที่รวบรวมรายชื่อหนังสือ เอกสารต่างๆ ที่ผู้เขียนนามาอ้างอิงไว้ในการเขียนและใส่ไว้เป็นเชิงอรรถโดยลาดับตามตัวอักษ รของชื่อผู้แต่ง โดยลาดับจากบรรรานุกรมหนังสือไทยก่อนหนังสือภาษาต่างประเทศ บรรณานุกรมจะเป็นประโยชน์สาหรับผู้อ่าน คือช่วยให้ผู้อ่านสามารถไปสือค้นหรืออ่านเพิ่มเติมได้ 3.2 ภาคผนวก หมายถึง รายละเอียดของข้อมูลที่ผู้เขียนนามาเขียนหนังสือนั้นและเห็นว่าผู้อ่านจะได้ประโ
  • 3. ยชน์ยิ่งขึ้น อาทิ เอกสารสาเนาข้อมูลชั้นต้น ( Primary source ) ที่อาจจะเป็นส่วนหายาก ตัวเลข ต้นฉบับลายมือ ฯลฯ ภาคผนวกจัดว่าเป็นส่วนเพิ่มเติมที่ผู้เขียนจะใส่ไว้หรือไม่ก็ได้ และไม่มีข้อจากัดว่าเรื่องในภาคผนวกจะต้องเป็นเรื่องใด 3.3 ดรรชนี นับว่าเป็นส่วนประกอบที่เป็นส่วนเพิ่มเติมพิเศษของหนังสือที่จะมีหรือไม่มีก็ได้เช่ นเดียวกัน เพราะเป็นส่วนที่แสดงบัญชีคาสาคัญที่มาจากเนื้อเรื่องในเล่ม เพื่อความสะดวกในการสืบค้นคาต่างๆ จากผู้อ่าน โดยจะลาดับตามอักษร ทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ 3.4 อภิธานศัพท์ หมายถึง การอธิบายศัพท์ยากหรือศัพท์เฉพาะในหนังสือเล่มนั้น โดยนามาลาดับไว้ตามลาดับตัวอักษรของศัพท์เป็นส่วนเพิ่มเติมเช่นเดี๋ยวกับภาค ผนวกและดรรชนี 3.5 ปกหลัง นับว่าเป็นส่วนห่อหุ้มเนื้อหนังสือเช่นเดียวกับปกหน้า ก่อนถึงปกหลังหนังสือบางเล่มอาจมีใบรองปกหลังด้วย และข้อมูลในปกหลังก็อาจจะเป็ นประวัติของผู้แต่ง หรือถ้อยคาพิเศษที่ผู้เขียนยกมาไว้เพื่อทาให้เป็นที่น่าสนใจมากขึ้น ส่วนการตกแต่งโดยใช้ภาพหรือศิลปะใดๆมาตกแต่งปกหลังก็ขึ้นอยู่กับการจัดทา หนังสือเล่มนั้น ที่กล่าวมานี้ เป็นส่วนประกอบหลักๆในหนังสือทั่วไปเท่านั้น หนังสือหรือเอกสารข้อเขียนบางประเภทอาจมีรายละเอียดเพิ่มเติมแตกต่างกันออ กไป เช่น งานวิจัย วิทยานิพนธ์ ก็ต้องมีส่วนประกอบต่างๆ ตามระเบียบของสถาบันแต่ล่ะแห่ง เป็นต้น ประเภทของงานเขียน นับแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน กล่าวได้ว่า งานเขียนของไทยมีพัฒนาการม่โดยตลอดและหลากหลายมากขึ้นทั้งด้านเนื้อหา วิธีนาเสนอ และรูปแบบของเรื่อง ผู้อ่านควรรู้จักคาที่เกี่ยวข้องกับงานเขียนชนิดต่างๆ ดังนี้ 1) วรรณกรรม (Literary works หรือ General literature) เป็นคาที่ใช้เรียกงานเขียนทุก ประเภท ทุกรูปแบบ ซึ่ง กุหลาบ มัลลิกะมาส (2517 : 5) ได้ให้ความหมายไว้ว่า “….หมายถึง สิ่งที่เขียนขึ้นทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นรูปใดหรือเพื่อความมุ่งหมายอย่างใด เช่น
  • 4. คาอธิบายวิธีใช้กล้องถ่ายรูป รวมทั้งใบปลิว หนังสือพิมพ์ นวนิยาย วรรณกรรม จึงมีความหมายอย่างกว้างขว้างที่สุด...” ส่วน สิทธา พินิจภูวดล (2515 : 33) กล่าวว่า “....หมายถึง งานเขียนในรูปบทกวีนิพนธ์ ร้อยกรอง และข้อเขียนที่ใช้ภาษาร้อยแก้ว ได้แก่ บทความ สารคดี นวนิยาย เรื่องสั้น เรียงความ บทละคร บทภาพยนตร์ บทโทรทัศน์ ตลอดจนคอลัมน์ต่างๆ ในหนังสือพิมพ์.... ” ดังนั้น คาว่าวรรณกรรมจึงเป็นคาที่มีความหมายกว้าง โดยครอบคลุมไปถึงงานเขียนทุกประเภท 2) วรรณคดี ( Literature) เป็นคาที่สร้างขึ้นจากศัพท์ วรณ กับ คติ เพื่อใช้เรียกหนังสือที่ได้รับคัดเลือกและยกย่องจากวรรณคดีโมสร ใน พ.ศ. 2457 ว่าเป็น “ หนังสือแต่งดี ” คาว่า วรรณคดีนี้ เสฐียรโกเศศ ( 2514 : 2 - 3) ได้ให้คาอธิบายไว้ว่า หมายถึง 2.1 หนังสือดี คือ เป็นเรื่องที่สมควรที่สาธารณชนจะอ่านได้โดยไม่เสียประโยชน์ คือ ไม่เป็นเรื่องสุภาษิต หรือเป็นเรื่องที่ชักจูงความคิดผู้อ่านไปในทางอันไม่เป็ นแก่นสารหรือซึ่งจะชวนใ ห้คิดวุ่นวายทางการเมือง อันจะเป็นเครื่องราคาญให้แก่รัฐบาลของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวดังนี้ เป็นต้น 2.2 เป็นหนังสือแต่งดี ใช้วิธีเรียบเรียงอย่างใดๆ ก็ตาม แต่ต้องเป็นภาษาไทยอันดี ถูกต้องตามเยี่ยงอย่างที่ใช้ในโบราณกาล หรือในปัจจุบันก็ได้ไม่ใช้ภาษาซึ่งเลียนภาษาต่างประเทศ นอกจากนี้ วิทย์ ศิวะศริยานนท์ (2504 : 1) กล่าวว่า “ วรรณคดีเป็นคาที่เราบัญญัติขึ้นเพื่อใช้เทียบกับคา Literature ในภาษาอังกฤษ หมายถึง บทประพันธ์ที่รัดรึวตรึงใจผู้อ่าน ปลุกมโนคติทาให้เพลิดเพลิน และเกิดอารมณ์ต่างๆ วรรณคดีอาจสอนใจเราทางอ้อม…แต่วรรณคดีมิใช่ตารา… ” จะเห็นได้ว่าวรรคดีมีความหมายเฉพาะหนังสือดีที่ได้รับคัดเลือกจากวรรณคดีสโ มสร คือ วรรณคดีเป็นวรรณกรรมที่มีศิลปะในการแต่งหรือเรียกว่าวรรณศิลป์ ในความหมายดังกล่าวนี้จึงกล่าวได้ว่า วรรณคดีของไทยมีจานวนจากัด เพราะเมื่อไม่มีวรรณคดีสโมสรเป็นผู้คัดเลือกหนังสือก็ไม่มีหนังสือใดที่จะเรียกว่า เป็นวรรณคดีได้อีกหน่วยงานหรือองค์กรที่ตั้งขึ้นภายหลัง เช่น
  • 5. คณะกรรมการรางวัลซีไรท์ ทาหน้าที่คัดเลือกหนังสือดีให้ได้รับรางวัลก็มิได้ใช้คาว่าวรรณคดีเรียกหนังสือเหล่ านั้น 3. นวนิยาย ( Novel ) หมายถึง บันเทิงคดีที่แต่งขึ้นและมีขนาดยาว หากแปลตามตัวอักษร นว แปลใหม่ นิยาย คือ เรื่องเล่า นวนิยายจึงมีความหมายว่า “ เรื่องเล่าแบบใหม่ ” ( รื่นฤทัย สัจจพันธ์, 2523 : 49 ) ส่วนบุญเหลือ เทพยสุวรรณ ( 2517 : 113 ) กล่าวว่า “ ธรรมชาติของนวนิยายนั้นอย่างที่หนึ่งคือ เป็นเรื่องแต่ง มีตัวละคร… แม้จะแต่งเรื่องของบุคคลที่มีชีวิตอยู่จริงๆก็จะทาให้คนอ่านรู้ว่าไม่ได้เขียนเ รื่องจริง…” องค์ประกอบของนวนิยายมีดังนี้ 3.1 โครงเรื่อง ( Plot ) คือ แนวที่ผู้แต่งประสงค์จะให้เรื่องดาเนินไปโดยมีเหตุการณ์ต่างๆและปูกปมเรื่องให้ ซับซ้อน นวนิยายประกอบด้วย โครงเรื่องหลัก ( Main Plot ) และโครงเรื่องย่อย (Sub Plot) การวางโครงเรื่องผู้เขียนจะต้องมีการเปิดเรื่อง ดาเนินเรื่อง และปิดเรื่องให้น่าสนใจ 3.2 ฉากหรือบบรยากาศ ( Setting or atmosphere ) เป็นส่วนประกอบสาคัญที่ช่วยให้นวนิยายดาเนินเรื่องได้อย่างสมจริง ซึ่งอาจได้แก่เหตุการณ์ บรรยากาศ สถานที่ ฯลฯ ที่ปรากฏในแต่ล่ะตอนของเรื่อง ฉากต่างๆ มีทั้งฉากสมมุติ ซึ่งผู้เแต่งจินตนาการขึ้นและฉากซึ่งจาลองมาจากภาพจริงในสังคม หรือมีการดัดแปลงให้เหมาะกับเรื่อง ผู้แต่งอาจใช้วิธีการอธิบายหรือพรรณนาฉากต่างๆ ให้ผู้อ่านจินตนาการตาม ตัวอย่างเช่น “…ตะวันคล้อยต่าลงมากแล้ว กลุ่มเมฆดาเคลื่อนมาบดบังมันไว้จนเกิดเป็นเงาทึบทมึน ฝนเหมือนจะตกอีกไม่ช้า ลมพัดแรงจัดขึ้นเป็นลาดับ ฉันชอบน้องสาวกลับเข้าบ้านด้วยความเป็นห่วงพ่อไม่มีใครดูแล ฝูงความยาวเหยียดย่ากลับเข้าหมู่บ้านตอนพลบค่า บางตัวมีคนเลี้ยงนั่งอยู่บนหลังถึงสองคน บางทีคนเลี้ยงเดินตามมันมาข้างๆเสียงกระดิ่งที่แขวนคอดังประสานกับเสียงก้าวเ
  • 6. ดินในปลักโคลนที่เจิ่นนองด้วยน้า ฟังดูคล้ายบทเพลงธรรมชาติที่เต็มไปด้วยพลังโดยแท้…” (คืนที่กลับบ้านของ “อรไท”) 3.3 ตัวละคร ( Characters ) ซึ่งนับว่าเป็นส่วนประกอบที่มีความสาคัญอีกอย่างหนึ่งที่จะทาให้เรื่องนั้นๆดาเนิน ต่อไปได้ นวนิยายจะมีตัวละครเท่าใดก็ได้ ซึ่งผู้แต่งมักวางบทบาทสาคัญไว้กับตัวละครเอก ส่วนตัวละครประกอบนั้นช่วยเสริมเนื้อเรื่องให้มีรสชาติหรือเข้มข้นมากขึ้น ตัวละครมี 2 ประเภทใหญ่ๆคือ ตัวละครที่มีบุคลิก อุปนิสัย อารมณ์ ความรู้สึก ฯลฯ แบบเดียว (Flat characters) และตัวละครที่มีหลายอารมณ์ ความรู้สึก หรือ หลายบุคลิก (Round Characters) เช่น ตัวละครเอกของเรื่อง บางเรื่องมีอุปนิสัยอ่อนโยน แต่บางครั้งก็มีความแข็งกร้าว เมื่อพบกับสิ่งที่ตนไม่พอใจ ลักษณะของตัวละครประเภทนี้มีความเป็นมนุษย์ที่เป็นปุถุชนทั่วไป ย่อมมีทั้งความรัก ความโกรธ ความร่าเริงสนุกสนาน ฯลฯ การกาหนดบุคลิกของตัวละครต้องสอดคล้องกับโครงเรื่อง. และมีความคงเส้นคงวา ไม่เปลี่ยนไปเรื่อยๆโดยไม่มีเหตุผล 3.4 บทสนทนา (Dialogue) หมายถึง บทเจรจาหรือบทสนทนากันของตัวละครซึ่งทาให้ผู้อ่านได้อารมณ์ ความรู้สึก รู้จักนิสัยใจคอของตัวละคร รวมทั้งช่วยให้เรื่องดาเนินไปด้วย บทสนทนาที่ดีต้องมีความเหมาะสมกับตัวละคร และมีประโยชน์ต่อเเรื่อง ลองสังเกตตัวอย่างบทสนทนาต่อไปนี้ “พี่…หนูจะออกจากงานสิ้นเดือนนี้ล่ะ….พี่จาผู้ชายที่มาออฟหนูสองครั้งติดๆ กันนั่นได้ไหม…คนตัวเล็กๆท่าทางเฉยๆนั่นน่ะ” “อ๋อ…จาได้ซิ…ทาไมมันถึงเร็วนักล่ะอ้อยเขาจะรับไปอยู่ด้วยหรือไง” “เปล่าหรอกพี่…คือยังงี้…เขาออฟหนู…เขาถามหนู…หนูก็เล่าเรื่องของหนูให้เ ขาฟัง… ก็เขาถามหนูนี่พี่ เขาบอกว่าเขาสงสารหนู ถ้าหากหนูอยากเปลี่ยนงานจริงๆเขาจะหาทางฝากงานให้ เขาทางานอยู่กับบริษัทขนส่งที่วิ่งออกต่างจังหวัดพี่” (มืดแล้วสว่าง – ศรีดาวเรือง)
  • 7. แม้บทสนทนาจะสั้นๆ แต่ก็ทาให้ผู้อ่านเห็นบุคลิกของตัวละคร และแนวเรื่องที่กาลังดาเนินไปว่าเป็นอย่างไร ซึ่งนับว่าเป็นบทสนาที่มีประโยชน์ต่อเนื้อเรื่อง 3.5. แก่นเรื่อง (Theme) หรือสาระสาคัญ หรือสารัตถะของเรื่อง หมายถึง ความคิดหลักที่ผู้แต่งประสงค์จะสื่อมายังผู้อ่าน โดยกาหนดไว้เป็นความคิดหลักของเรื่อง และ ปรากฏอยู่ตั้งแต่ต้นจนจบเรื่อง แก่นเรื่อจะเชื่อมโยงเรื่องทั้งหมดเข้าด้วยกัน (สุวรรณา เกรียงไกรเพ็ชร, 2518 : 7 ) เช่น นวนิยายเรื่อง “ปูนปิดทอง” ของ กฤษณา อโศกสิน ต้องการส่งความคิดเรื่องการกนะทาของพ่อแม่ว่ามีผลไปถึงลูกและครอบครัว ครอบครัวที่แตกร้าวส่งผลต่อสังคมอย่างใหญ่หลวง เป็นต้น 4 เรื่องสั้น ( Short story ) เป็นเรื่องแต่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับนวนิยายแต่มีขนาดสั้นกว่า คือ ประกอบด้วย โครงเรื่อง แก่นเรื่อง ตัวละคร บทสนทนา ฉาก ฯลฯ เช่น เดียวกัน แต่เรื่องสั้นจะมีจุดมุ่งหมายหลักเพียงอย่างเดียว เมื่อเรื่องดาเนินมาถึงจุดสุดยอด (Climax) ของเรื่องแล้ว มักจะจบเรื่อง นอกจากนี้ยังมีตัวละครน้อย แต่ละตัวมีบทบาทสาคัญต่อการดาเนินเรื่องทั้งสิ้น เวลาที่กาหนดไว้ในเรื่องก็มีความกระชับ ไม่บรรยายหรือพรรณายืดยาว ผู้อ่านสามารถอ่านเรื่องสั้นได้จบในระยะเวลาไม่มากนัก เจือ สตะเวทิน (2509 : 238 ) กล่าวถึงลักษณะของเรื่องสั้นว่า มีองค์ประกอบหลักดังนี้ 4.1 มีโครงเรื่อง 4.2 มีจุดมุ่งหมายเพียงอย่างเดียว และมีผลอย่างเดียว 4.3 ใช้เวลาน้อย 4.4 ใช้ตัวละครน้อย 4.5 มีขนาดสั้น โปรดอ่านตัวอย่างเรื่องสั้นต่อไปนี้เพื่อพิขารณาองค์ประกอบดังกล่าว ตัวอย่างเรื่องสั้น
  • 8. โจร วิมล ไทรนิ่มนวล 1 มันกระชากคอเสื้ออย่างแรง พร้อมกันนั้นกาปั้นอันหนาเตอะและหนักหน่วงก็พุ่งสวนกระแทกเข้าที่กรามของผ มดังกร้วม แก้วหูของผมลั่นเปรี๊ยะ รู้สึกเหมือนร่วงผลอยลงจากที่สูง ก้นกระแทกพื้นถนนอย่างจัง ยินเสียงร้องวี๊ดๆ ในแก้วหู นัยน์ตาพร่าลาย ความรู้สึกรางเลือนเหมือนจะดับวูบ ผมบอกตัวเองในความรู้สึกเวิ้งว้าง…ลิบลับว่า ต้องพยายามวิ่งหนีไปโดยเร็ว แต่ร่างกายของผมขยับเขยื้อนไม่ได้เลย เหมือนกับว่า กล้ามเนื้อ เส้นเอ็น และกระดูกได้ตายอย่างสนิทแล้ว วินาทีต่อมา ผมรู้สึกถึงความมืดรางเลือน และแล้วจากนั้น ผมก็ไม่รู้สึกอะไรเลย 2 ผมไม่รู้ว่าเวลาผ่านไปนานเท่าไร… คงจะนานมาก… หรืออาจจะไม่นาน…ผมไม่แน่ใจมีมือหนักๆ ตบหน้าผมเบาๆ ผมพยายามปรับสายตาเพื่อจะมองเจ้าของมือ แต่ภาพที่ปรากฏพร่ามัวไปหมด หูยังอื้อ สมองมึนงงหนักอึ้ง ผมถูกดึงแขนให้ลุกขึ้น ร่างของผมโงนเงน คอและเข่าอ่อนปวกเปียก แต่ผมก็พยายามช่วยตัวเอง สะบัดหัวไล่ความมึนงง อาการดีขึ้นบ้าง มันสอวคนช่วยกันพยุงกึ่งลากแขนให้ผมขึ้นนั่งคร่อมบนรถมอเตอร์ไซค์ ผมพยายามขัดขืนเท่าที่เรี่ยวแรงจะมี “อย่าเสือกลวดลาย” ผมได้ยินเสียงอื้อๆ พร้อมกันนั้นมันก็สวมกุญแจฉับเข้าที่ข้อมือ ผมอยากจะถามมันว่า ผมทาความผิดเรื่องอะไร แต่ก็พูดไม่ออก อ้าปากไม่ค่อยขึ้น เสียงเครื่องยนต์ติด ตัวรถกระชาก แล้ววิ่งไปตามถนน ลมเย็นปะทะหน้าตลอดเวลา ทาให้อาการมึนงงสร่างขึ้นเรื่อยๆ แต่ขณะเดียวกันก็รู้สึกเจ็บคางขึ้นทุกที
  • 9. “จะพาผมไปไหน” เสียงของผมสั่นพร่า ใจคอไม่ดี เมื่อนึกถึงเหตุการณ์ข้างหน้า มันอาจจะพาผมไปที่ไหนสักแห่ง จอดรถแล้วถีบผมลงไปนอนกลิ้งข้างถนน…ชักปืน…เหนี่ยวไกสักสองสามนัด…ผม ก็จะกลานเป็นผีไม่มีญาติเหมือนกับที่ผู้ได้รับรู้มา ชีวิตของผู้คนในประเทศนี้ราคาถูกกว่ากระสุนปืนมากนัก หรือมันอาตจะพาผมไปโรงพัก แล้วผมมีความผิดเรื่องอะไร แต่ก็ยังดีกว่าอย่างแรก ผมปลอบใจตัวเองอย่างทุกข์วิตก ไม่แน่ใจตัวเองว่ากลัวตายหรือเปล่า แต่ผมคิดว่าไม่ แต่ผมคิดว่าไม่ ผมเสียดายที่จะต้องมาตายอย่างทุเรศและสิ้นไร้ประโยชน์มากกว่า แต่ถ้าถึงคราว มันก็ไม่มีทางเลือก 3 ความมึนงงเหือดหายแทบจะปกติ แต่ความเจ็บปวดที่กรามและหัวใจกลับรุนแรงยิ่งขึ้นทุกที ผมทนไม่ได้ที่จะต้องทนนั่งอยู่อย่างบอดใบ้ โดยไม่ได้รับรู้ชะตาชีวิตข้างหน้าผมจึงถามมันด้วยเสียงอันดัง “จะพาผมไปไหน” ไม่มีใครตอบ ผมถามอีกครั้ง แต่ก็ยังเหมือนเดิม รถยังวิ่งฝ่าลมไปข้างหน้า….. ย่างไม่เปลี่ยนแปลง ข้อมือยังถูกพันธนาการ ร่างกายถูกบีบขนาบจนขยับไม่ได้ “ผมผิดอะไร” “เดี๋ยวก็รู้” คนขับรถตอบด้วยน้าเสียงเย้ยหยัน สมองของผมเครียดขึ้นทุกที นี่มันจะไม่ยอมให้ผมรับรู้อะไรเลยหรอ มันจะบังคับให้ผมนั่ง นั่ง นั่ง ไปกับมันอย่างเดียวเท่านั้นหรือ ผมไม่มีสิทธิ์จะรับรู้อะไรเลยหรือ
  • 10. ความคิดที่จะทาให้รถล้มแว่บขึ้นมา แต่แล้วผมก็เปลี่ยนความตั้งใจ ถึงอย่างไรผมก็หนีมันไม่พ้น อาจจะมีใครสักคนบาดเจ็บ แต่ผมอาจจะต้องตาย มจะไปสู้รบอะไรกะบมันได้มันมีอาวุธ แล้วผมล่ะ ผมมีแต่มือที่ไร้อิสรภาพ… ไม่มีหลักประกันอะไรเลยกับชีวิตที่เกิดมาในประเทศนี้ ผมเริ่มคิดถึงความตายอีก บางที ผมอาจจะต้องตายอย่างหมากลางถนนจริงๆและผมก็มั่นใจว่าคงไม่มีใครใส่ใจตา มเอาคนที่ฆ่าผมมาลงโทษได้ เพราะวันเวลาที่ผ่านไปได้พิสูจน์แล้วว่า ชีวิตคนดีๆ ต้องสูญเสียไปอย่างไร้ค่าและไร้ความหมายมากมายแล้ว สมองและประสาทของผมเครียดขึ้นจนปวดหนึบๆในกระโหลก และแทบจะลืมรู้สึกถึงความปวดร้าวที่กราม 4 คงจะห้าทุ่มหรือเที่ยงคืนแล้ว ผู้คนจึงแทบจะไม่มีเดินอยู่ตามถนน รถราดูว่างตาจนรู้สึกว่าถนนจะกว้างขึ้น อากาศเย็นลง แต่สาหรับผมเหงื่อยังซึมอยู่ตามผิวหนัง และใจก็เต้นแรงเพราะความวิตกกังวล รถมอเตอร์ไซค์เข้าไปในสถานีตารวจ ผมรู้สึกในชื้นขึ้นที่ไม่ต้องตายโหงฟรีอย่างไม่มีใครรู้ต้นสายปลายเหตุ นอกจากคนที่ฆ่าผมเท่านั้น แต่ถึงอย่างไร ผมก็ยังทุกข์วิตกและสมองเครียดอยู่ดี มันอาจจะใส่ความอะไรแก่ผมสักอย่าง หรืออาจจะแกล้งขับผมสักคืนสอง พอลงจากรถ ไอ้คนอ้วนก็ดันหลังผมให้เดินขึ้นไปบนสถานีตารวจ ผมทาตามที่มัรต้องการ เดินตามไอ้คนหนุ่มไปที่โต๊ะร้อยเวร แต่มันกลับไม่ให้เข้าไปหา “อยูที่นี่ จะนั่งก็ได้” มันพยักหน้าไปที่ม้านั่ง ไอ้คนหนุ่มเข้าไปหาร้อยเวร พูดกันอยู่สักครู่ก็เดินเข้ามาบอกกับไอ้คนอ้วนว่า “หมวดสั่งให้ขังไว้ก่อน” ผมใจหายวาบ คาดไม่ถึงว่าจะเป็นไปได้ถึงเพียงนี้ มันน่าจะสอบสวนผมให้รู้แล้วรู้รอดว่าผิดถูกอย่างไร หรือมันจะแกล้งขังผมจริงๆ อย่างที่คิด ไอ้คนอ้วนดันหลังผมอีกดูเหมือนมันจะทาได้เพียงอย่างเดีนว
  • 11. “ผมผิดอะไร” “เดี๋ยวก็รู้” “ผมขอพบหมวด” “ลื้อไมมีสิทธิ์พบใครทั้งนั้น” “แล้วตุณมีสิทธิ์อะไรมาขังผม ทั้งๆ ที่ผมไม่มีความผิด” ผมพูดเสียงดังจนร้อยเวรมองหน้า แล้วก็พยักหน้าให้ผมเข้าไปหา ร้อยเวรสั่งให้ผมนั่ง ไอ้สองคนออกไปยืนข้างหลัง ร้อยเวรถามถึงชื่อและนามสกุล พอตอบเสร็จก็ซักต่อถึงอาชีพ “ผมไม่มีอาชีพ” ผมตอบอย่างไม่พอใจ “งั้นก็มิจฉาชีพน่ะซิ” เขามองหน้าผมด้วยสายตากวนๆ “ผมเรียนหนังสือ” “ที่ไหน” ผมบอกสถานที่เรียน จากนั้นก็ถามที่อยู่ ถามชื่อพ่อ ชื่อแม่ และอาชีพ ซึ่งผมก็บอกตามความจริงทุกอย่าง “คุณออกมาทาอะไร ทั้งๆ ที่มันดึกแล้ว” “ออกมาซื้อยาแก้ท้องเสียให้แม่” “ไหนยาแก้ท้องเสีย” “ผมยังไม่ได้ซื้อ” “แล้วทาไมต้องขัดขืนการตรวจค้น” “เขามีสิทธิ์อะไรมาค้นตัวผม” “เขาเป็นตารวจ”
  • 12. “ผมรู้ว่าเขาเป็นตารวจ แต่การมาค้นสุ่มสี่สุ่มห้ามันไม่ถูก ถ้างั้นไม่พอใจจะค้นใครก็ค้นน่ะซิ” “ก็คุณมีพิรุธ” น้าเสียงเขาเรียบๆ “ผมก็แสดงความบริสุทธิ์แล้วนี่นา ผมควักกระเป๋าเสื้อกระเป๋ากางเกงให้ดูแล้ว….” “ถ้าบริสุทธิ์จริง คุณก็ควรให้เขาค้น” ผมะยายามระงับอารมณ์เดือด “ทาไม” “ผมไม่ชอบ” “คุณไม่ถูกกับตารวจสองนายนั่นหรือไง” “เปล่า ผมไม่ชอบตารวจ” “ทั้งหมดเลยงั้นรึ” “คงยังงั้น” เขายิ้มเหยียดมุมปาก หยิบบุหรี่ขึ้นจุดสูบ เอนหลังพิงพนักเก้าอี้ พ้นควันบุหรี่แล้วจึงถามว่า “เมื่อคุณไม่ชอบตารวจ พอตารวจค้นคุณ คุณก็เลยขัดขืน” “ผมเพียงแต่ไม่ให้ค้น” “นั่นแหละ…..ขัดขืน” เขายืนยังกึ่งคาดคั้น ผมรู้สึกฉิวกับวิธีการสอบสวนแบบยัดเยียด “แล้วคุณเองก็ชกตารวจ” ผมตกใจอย่างคาดไม่ถึง “ผมไม่ได้ชก!” เขาย้าด้วยเสียงปกติ
  • 13. “ผมตะหากที่ถูกมันชก” ผมบอกอย่างโกรธแค้น “เขาบอกว่าคุณชก” “โกหก! มันชกผม ! หมวดเชื่อมันหรือไง” “โปรดพูดให้สุภาพ” น้าเสียวของเขาแสดงความไม่พอใจ ผมลุกขึ้น แล้วชี้ที่กรามตัวเอง “ชกที่นี่ไง…ดูซิหมวด! ” “ก็คุณทาร้ายเจ้าหน้าที่ก่อน เขาจาเป็นต้องป้องกันตัว” ผมโกรธจนตัวสั่น อยากจะชกหน้าร้อยเวรสักกร้วมด้วย “ผมไม่ได้ทา ผมไม่ให้มันค้น มันก็เลยชกผม…..” ผมไม่รู้ว่าจะพูดออย่างไร อึดอัดจนทาอะไรไม่ถูก “คุณไม่มีพยายานหลักฐานอะไร ส่วนเจ้าหน้าที่มีพยานครบถ้วนว่าคุณขัดขืนจับกุมตรวจค้น ทาร้ายเจ้าหน้าที่ และมียาเสพติดในครอบครอง…. ตารวจค้นพบผงขาวในกระเป๋าของคุณ” ผมใช้กาปั้นทุบโต๊ะอย่างลืมตัว เลือดฉีดพล่านไปทั่วใบหน้าจนรู้สึกร้อนวูบวาบหัวใจเต้นแรงเร็วด้วยความโกรธแ ค้น “คุณไปเอาผงขาวมาจากไหน” “เปล่า มัดยัดใส่กระเป๋าผมเองต่างหาก มัดยัดใส่ตอนที่ผมถูกชกหมดสติ” ร้อยเวรจ้องหน้าผมด้วยสายตาอันดุดัน แต่ผมหมดความอดทนที่จะระงับอารมณ์ไว้แล้ว ดังนั้นพอผมจะระเบิดคาพูดต่อไป เขาก็ชิงตัดหน้าพูดขึ้นก่อนว่า “ผมขังคุณไว้ก่อน พรุ่งนี้ถึงจะสอบสวนใหม่ก่อนจะส่งฟ้อนศาล พูดจบเขาก็พยักหน้าเรียกตารวจนายหนึ่งเข้ามาหา “ไขกุญแจมือออก แล้วเอาไปขังไว้ก่อน” 5
  • 14. ผมนั่งลงบนพื้นห้องขังอย่างระงับสติอารมณ์ บอกตัวเองว่าไม่มีประโยชน์อะไรที่จะใช้เหตุผลอึกต่อไปแล้ว ผมคลาที่กรามด้านขวา รู้สึกมันบวมขึ้น พอลองกดดูก็ปวดแปลบขึ้นมาทันทีเหมือนกับว่ากรามหัก ซึ่งที่จริงไม่หัก แต่คงอีกหลายวันกว่าจะหายเป็นปกติ พรุ่งนี้มันคงจะบวมปูดจนพูดหรือกินอะไรไม่ได้ พอนึกถึงความทารุณที่มันทากับผมแล้ว หัวใจของผมก็เจ็บปวดขึ้รมาอีก ผมคิดถึงแม่อย่างเป็นห่วง ป่านนี้แม่จะเป็นอย่างไรบ้าง อาการจะดีขึ้นหรือหนักกว่าเก่า แต่ที่แน่ๆ แม่คงกระวนกระวายใจ รอผมกลับเข้าบ้านพร้อมด้วยยา พ่อล่ะ…พ่อจะรู้บ้างไหมว่าเกิดอะไรขึ้นกับผม จะมีใครบอกเล่าความเป็นไปของผมให้แม่รับรู้… ผมนึกถึงเหตุการณ์ก่อนที่จะถูกจับมาขับในห้องนี้… เมื่อตอนสี่ทุ่มเศษ ขณะที่ผมกาลังดูหนังสือเพื่อเตรียมสอบในวันพรุ่งนี้ แม่ก็เข้ามาวานให้ช่วยซื้อยาแก้ท้องเสีย ปมไม่ได้สังเกตว่าแม่ท้องเสียตั้งแต่เมื่อไหร่และอาการรุนแรงหรือเปล่า อต่ผมรับเงินแล้วก็รีบเดินออกจากบ้านทันที ผมรีบเดินอย่างรีบเร่งเพราะดึกมากแล้ว กลัวว่าร้านขายยาจะปิดเสียก่อน ร้านขายยาละแวกนี้ปิดกันแต่หัวค่า เพราะกลัวถูกปล้น ร้ายขายยาที่ผมจะไปซื้อนั้นเคยถูกปล้นมาสามครั้งแล้ว และไม่มีใครจับคนร้ายได้เลย ขณะที่ผนเดินอยู่นึกเสียวเหมือนกัน กลัวจะถูกจี้ แม้จะไม่มีอะไรให้คนร้าย ก็อาจจะโดนเสียบด้วยมีดเหมือนกับที่หลายๆคนโดนกันมาแล้วก็ได้ ในซอยเงียบกริบ บางตอนมืดมัว บางตอนมีแสงสว่างจากดวงไฟที่ประตูรั้วบ้านไม่มีคนเดินเหมือนเมื่อผมเข้ามาอยู่ ใหม่ๆ สี่ห้าปีมาแล้วที่เป็นอย่างนี้ก็เพราะกลัวถูกจี้ ถูกปล้น ถูกข่มขืนแล้วฆ่า ผมจาไม่ได้ว่าเกิดเรื่อราวเลวร้ายในบริเวณที่ดินแบ่งขายชานเมืองแห่งนี้กี่ร้อยครั้ งแล้ว มันเกิดขึ้นแทบทุกคืน เพิ่งจะมาซาลงระยะหลังนี่เอง เพราะไม่ค่อยมีใครออกจากบ้าน นอกจากจะจาเป็นกันจริงๆ บางทีก็วิ่งราว บางทีก็ปล้น บางทีก็ยกเค้ากันกลางวันแสกๆ ก็มี ผมจาได้ว่าตั้งแต่ต้นปีมานี้มีคนดีๆ ถูกฆ่าตายไปสามหรือสี่คน ส่วนที่บาดเจ็บและสูญเสียทรัพย์นั้นผมจาไม่ได้
  • 15. นี่เฉพาะที่เกิดขึ้นในซอยบ้านผมและบริเวณข้างเคียงเท่านั้น ส่วนซอยที่อยู่ถัดออกไป ผมไม่รู้ แทบทุบ้านจะโดนงัดแงะ หรือไม่ก็โดนยกเค้า บางบ้านโดนซ้ากันถึงสอวสามครั้งยิ่งบ้านคนมีฐานะดีด้วยแล้วโดนบ่อยกว่าเพื่อน มีอยู่บ้านหนึ่งฐานะดีกว่าบ้านอื่นๆ โดนถึงห้าครั้ง เจ้าของบ้านไปแจ้งตารวจทุกครั้ง แต่ตารวจจับมือใครดมไม่ได้ และดูเหมือนว่าตารวจไม่ได้ใส่ใจจะจัดการให้ด้วยซ้า ในที่สุด เจ้าของบ้านหมดที่พึ่งจึงเขียนหนังสือตัวโตๆ ติดไว้ที่ประตูรั้วว่า “บ้านนี้ถูกยกเค้าแล้ว….ได้โปรดอย่ารบกวนกันอีก” ผมไม่แน่ใจว่าเจ้าของบ้านเขียนอ้อนวอนพวกโจร หรือเขียนประชดตารวจกันแน่แต่ที่แน่ๆก็คือ มันเป็นเครื่องบอกกล่าวว่า ประชาชนในประเทศนี้ดูหมดที่พึ่งแล้วจริงๆนอกจากจะพึ่งตัวเอง บ้านผมเคยถูกงัดประตูถึงสองครั้ง ครั้งแรกไม่ทันเอาอะไรไป แต่ครั้งที่สองเอาวิทยุกับโทรทัศน์ไปได้ ทุกคนในบ้านเสียดายมาก เพราะกว่าจะได้สิ่งนี้มา พ่อต้องใช้เวลาขับแท็กซี่อยู่หลายปี โดยเฉพาะโทรทัศน์นั้นยังผ่อนไม่หมดด้วยซ้า แต่เราก็ทาอะไรไม่ได้ พึ่งพาใครไม่ได้ จึงได้แต่ปลอบใจตัวเองว่าถึงเคาะห์ ตอนนั้นพ่อพูดปลอบใจทุกคนในบ้านว่า “โจรปล้นน่ะยังดีกว่าไฟไหม้นะลูก มันยังเหลือบ้าน เหลือที่ดอนไว้ให้ แต่ถ้าไฟไหม้ละก็ ผ้าขี้ริ้วก็ไม่เหลือ” ผมไม่เข้าใจเลยจริงๆ ว่าทาไมตารวจถึงยแมให้พวกโจรเหยียบหยามอยู่ได้ โดยไม่จัดการทาอะไรสักอย่าง ผมเร่งฝีเท้าให้เร็วขึ้น…อีกเสาไฟฟเาเดียวก็จะถึงร้านขายยา ตารวจสองนายกาลังสูบบุหรี่คุยกันอยู่หน้าป้อมยาม คนที่ยืนรูปร่างอ้วนพุงยื่น อายุประมาณสามสิบ ส่วนคนที่นั่งอยู่รถมอเตอร์ไซค์ยังหนุ่มแน่น พอผมเดินเข้าไปใกล้ทั้งสองก็หันมามองผม ผมรีบเดินเลี่ยงไปอีกฟากหนึ่ง กะจะเลี้ยวตรงหัวมุมถนน แต่ไม่ทัน จะผ่านมันด้วยซ้า ผมก็ต้องสดุ้งเมื่อได้ยินเสียงเรียกอย่างข่มขู่
  • 16. “เฮ้อ…ไอนั้นน่ะหยุดซิ!” ผมแกล้งทาเป็นไม่ได้ยิน สาวเท้าอย่างรวดเร็ว “เฮ้ย….หยุดก่อน….ไม่ได้ยินหรือไงวะ!” ผมชะลอฝีเท้า และตัดสินใจหยุด ถ้าผมหนีก็เหมือนกับผมได้ทาความผิดอะไรสักอย่าง ผมหันหลังกลับมามองมัน “มานี่ซิ” ผมเดินเข้าไปหามันอย่างไม่เต็มใจ “ลื้ิอจะไปไหน” คนอ้วน หน้าบวมฉุๆ ถาม “ซื้อยา” “ยาอะไรที่ไหน ดึกดื่นป่านนี้” “ที่ร้านขายยา” “มันปิดไปนมนานแล้ว…..ยาอะไรกันแน่วะ” “แม่ผมท้องเสีย” “บ้านที่ไหน” “ก้นซอย” มันมองหน้าผมพร้อมกับยิ้มอย่างมีเลศนัย ผมหันหลังกลับจะเดินออกไป แต่ไม่ทันจะก้าวขาก็ถูกคว้าแขน “ยังไปไม่ได้!” มันตวาดราวกับว่าผมเป็นขี้ข้ามันมาแต่ชาติปางไหน นี่ขนาดมันเป็นแค่หางแถวยังวางอานาจกันถึงเพียงนี้ ถ้ามันเป็นใหญ่เป็นโตจะไม่เห็นผู้คนเป็นหมูหมาไปหมดหรือ ผมด่าแม่มันในใจก่อนที่จะพูดขึ้นด้วยน้าเสียงราบเรียบอย่างข่มอารมณ์ “ทาไมผมจะไปไม่ได้ คุณไม่มีอานาจอะไรมาหน่วงเหนี่ยวผม”
  • 17. “อั๊วเป็นใคร มันตวาดเสียงถาม ผมอยากจะตอบมันว่าก็ไอ้ตารวจเส็งเคร็งน่ะซิ” “ทาไมอั๊วจะไม่มีสิทธิ์” “ลองค้นตัวมันดูซิ” คนหนุ่มที่นั่งอยู่บนรถบอก พร้อมกับมองหน้าผมด้วยสายตายียวน “ผมไม่มีอะไรให้ค้น ถ้าอยากรู้ผมจะควักกระเป๋าให้ดู” “ไม่ต้อง อั๊วค้นเอง เล่ห์เหลี่ยมลื้อมันไม่เบา” มันทาท่าจะค้นจริงๆ ผมถอยหลังไปก้าวหนึ่ง “ผมไม่ให้ค้น” ผมชักยัวะ พยายามบังคับเสียงให้เป็นปกติ “อั๊วจะค้น” มันพูดเสียงดังด้วยความโกรธ พร้อมกับคว้าข้อมือผม “คุณมีสิทธิ์อะไร!” ผมสะบัดแขนจนหลุดออกจากมือมัน แต่ฝ่ามืออันหนักหน่วงก็ฟาดเปรี้ยงเข้าที่ใบหน้าของผม ผมเซจะล้ม โกรธวูบขึ้นมาทันที แต่ไม่ทันจะทาอะไร แม้แต่จะตั้งตัว มันก็คว้าคอเสื้อของผมกระชากอย่างแรง พร้อมกันนั้นกาปั้นหนาเตอะและ หนักหน่วงก็พุ่งสวนมากระแทกเข้าที่กรามของดังกร้วม 6. คงจะประมาณสองโมงเช้าละมัง ผมเดาจากเสียงจ้อกแจ้กจอแจของผู้คน และเสียงเครื่องยนต์ที่ถนน พ่อกับแม่ของผมก็มาที่สถานีตารวจและมองมาที่ผมด้วยสายตาบอกถึงความห่วงใ ย พ่อเข้าไปพูดกับตารวจนายหนึ่ง ผมคิดว่าพ่อคงไปขออนุญาตเข้ามาเยี่ยมผม แล้วตารวจนายนั้นก็พาเข้าไปพูดกับตารวจอีกนายหนึ่ง ยศนายร้อย พูดกันอยู่สักครู่ก็พากันเข้าไปในห้องสารวัตร และหายไปนานจึงออกมา
  • 18. สีหน้าและแววตาของพ่อกับแม่ดูหมองเศร้ากว่าเก่าเสียอีก แม่พูดกับร้อยเวรคนใหม่หรือไงผมมองไม่ถนัด ก่อนจะเดินเข้ามาหาผม นัยน์ตาของแม่แดงช้า เมื่อเห็นหน้าผม แม่ส่งถุงข้าวและผลไม้ผ่านซี่กรงเข้ามา แล้วใช้นิ้วเช็ดตา “กินข้าวหรือยัง” พ่อถามด้วยน้าเสียงราบเรียบอย่างเก็บความรู้สึก ผมส่ายหน้า “ผมไม่หิว” “หิวหรือไม่หิวก็กินก็เข้าไปก่อน” แม่บอกเสียงสั่นเครือ “ตอนบ่ายเขาจะปล่อยตัวลูก แม่จะมารับ…..” ผมดีใจที่จะได้เป็นอิสระ แต่ไม่ได้แสดงอาการอย่างไร เพราะความเจ็บช้าน้าใจความคับแค้นยังอัดแน่นอยู่ในอก ผมจะไม่มีวันลืมเหตุการณ์นี้เลย มันทาให้ผมสูญเสียอิสรภาพ พลาดการสอบ และถูกทาร้ายอย่างป่าเถื่อน พ่อกับแม่ถามถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นก่อนจะกลับไป บ่ายมาก พ่อกับแม่จึงกลับมาอีกครั้ง พูดกับตารวจที่เคาน์เตอร์สักสองสามประโยค ก็พากันเข้าไปในห้องสารวัตรอีกครั้ง สักพักจึงออกมาหาผมพร้อมกับตารวจอีกสองนาย “เขาปล่อยลูกแล้ว” แม่บอกด้วยสีหน้าหมองคล้า ตารวจไขกุญแจประตูเปิดให้ผมเดินก้มหัวออกมาแม่เข้ากอดผม เหมือนกับผมเป็นเด็กเล็ก ที่ถูกโจรจับไปเรียกค่าไถ่ แล้วกลับมาได้ กลับถึงบ้าน ผมถามพ่อว่า ทาไมตารวจจึงปล่อยตัวผม ทั้งที่เมื่อคืนผมถูกตั้งข้อหาตั้งสามข้อหาและบอกว่าจะส่งฟ้องศาลอีกด้วย พ่อมองหน้าแม่เหมือนจะขอความเห็น ซึ่งทาให้ผมมั่นใจมากขึ้นว่าจะต้องมีบางสิ่งบางอย่างอยู่เบื้องหลังการไถ่ตัวออกมา “พ่อเสียเงินให้มันใช่ไหม”
  • 19. พ่อถอนใจ ผมรู้ว่าพ่อไม่ต้องการบอกเรื่องราวโสโครกแบบนี้ให้ผมรับรู้ “เราไม่มีทางเลือก” พ่อพูดได้เท่านี้ก็เงียบไป “พ่อเสียให้มันเท่าไหร่” “สามหมื่น” ผมตกใจกับจานวนเงิน……มันมากเกินไปสาหรับแลกกับความบริสุทธิ์ของผ ม “ที่แรกเขาจะตั้งห้าหมื่น…..” แม่พูดบ้าง ด้วยน้าเสียงเศร้าๆ “ต้องอ้อนวอนเขาเป็นชั่วโมงกว่าจะยอม…..” ผมพูดอะไรไม่ออก มันไม่มีทางเลือกจริงๆ แม้จะหวังอยู่ลึกๆว่าถ้าตารวจส่งตัวฟ้องศาลผมอาจจะได้รับการปล่อยตัว แต่คิดดูอีกที พยานหลักฐานอะไรก็ไม่มี นอกจากผลการตรวจเลือดที่แสดงว่าไม่มียาเสพติดแต่ศาลคงไม่เชื่อ ผู้ฟ้องก็จะต้องกล่าวหาว่าผมนาไปขาย และในที่สุดผมก็คงจะต้องรับโทษจนได้ “พ่อเอาเงินมาจากไหน” ผมรู้ว่าเรามีเงินติดบ้านไม่มากนัก “พ่อเอาโฉนดกับบ้านไปจานอง” มันเป็นความเจ็บปวดครั้งแรกในชีวิตของผม และคงจะเป็นของพ่อและแม่ด้วยผมอดที่จะคิดถึงคาพูดของพ่อและใครต่อใครไม่ ได้ ว่าโจรปล้นนั้นดีกว่าไฟไหม้มากมายนะเพราะมันยังเหลือบ้านและที่ดินไว้ให้ ถ้าไฟไหม้ล่ะก็ ผ้าขี้ริ้วก็ไม่เหลือ แต่บัดนี้เมื่อเราถูกโจรในเครื่องแบบปล้น เราก็แทบจะไม่เหลืออะไรเลย แม้แต่บ้านและที่ดินที่พ่อกับแม่ช่วยกันสร้างสมขึ้นมาด้วยความเหนื่อยยาก และด้วยระยะเวลาอันยาวนานเกือบตลอดอายุของผม 7 บัดนี้ผมรู้แล้วว่าทาไมโจรผู้ร้ายในแผ่นดินจึงชุกชุมเหมือนยุง และตารวจทาไมไม่ใส่ใจที่จะทาหน้าที่อันถูกต้องดีงาม
  • 20. ที่เป็นเช่นนี้ก็เพราะตารวจบางคนก็เป็นโจรได้เหมือนกันหากแตกต่างกันเพียงแต่ ว่า เป็นโจรกลับรับราชการ มีเงินเดือน มีอานาจ มีกฎหมาย มีอาวุธ ได้และเป็นโจรที่ปล้นได้เจ็บแสบเลือดเย็นยิ่งกว่าโจรชนิดใดๆทั้งสิ้น ผมภาวนาอยากให้ถึงวันที่ประชาชนจะพร้อมใจกันลุกขึ้นมาปราบโจรเหล่า นี้ให้สิ้นซากเสียที โดยเฉพาะกับโจรใส่เครื่องแบบ ที่มีกฎหมายเป็นเครื่องมือ….. 5.บทละคร เป็นงานเขียนประเภทบันเทิงคดีอีกประเภทหนึ่ง ซึ่งมีองค์ประกอบเช่นเดียวกับนวนิยายและเรื่องสั้น แต่บทละครส่วนใหญ่มีจุดมุ่งหมายหลักคือ เพื่อแสดง ดังนั้นจึงดาเนินเรื่องด้วยบทสนทนาของตัวละคร ส่วนการบรรยายถึงฉากและตัวละครก็เป็นการให้รายละเอียดเพื่อนาไปจัดแสดง ซึ่งแตกต่างไปจากการเขียนให้อ่าน ซึ่งผู้อ่านต้องหาใช้ความคิดและจินตนาการ มีบทละครที่แต่งไว้เพื่ออ่านก็มีบ้าง แต่ผู้อ่านจะสนใจน้อยกว่าเรื่องแต่งชนิดอื่นๆ 6.สารคดี (Non- fiction) หมายถึง งานเขียนหรือวรรณกรรมประเภทหนึ่งที่มีเนื้อหาสาระและจุดประสงค์เพื่อให้ควา มรู้ความคิดแก่ผู้อ่าน ในขณะที่ให้ความเพลิดเพลินหรือความบันเทิงใจแก่ผู้อ่านด้วยความสามารถในก ารใช้ภาษาร้อยแก้วที่สละสลวยน่าอ่านของผู้แต่ง ชลธิรา กลัดอยู่ ( 2511 : 116 ) ให้ความหมายว่า หมายถึง งานเขียนที่ผู้แต่งเจตนาให้สาระความรู้แก่ผู้อ่านเป็นเบื้องต้น มีความเพลิดเพลินเป็นเบื้องหลัง ส่วน รื่นฤทัย สัจจพันธุ์ (2522 : 1-3) มีความเห็นที่สอดคล้องกันว่า สารคดี หมายถึง หนังสือที่มีเนื้อหาสาระและจุดประสงค์เพื่อให้ความรู้ ความคิดแก่ผู้อ่าน ในขณะเดียวกันก็ให้ความบันเทิงแก่ผู้อ่านด้วย สารคดีมีหลายประเภท เช่น สารคดีท่องเที่ยว สารคดีชีวประวัติ อัตชีวประวัติ เป็นต้น 7. บทความ (Articles) คือ ความเรียงร้อยแก้ว ที่ผู้เขียนมุ้งแสดงความรู้ ความคิด หลักการอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างรวมกัน บทความมีหลายประเภท เช่น บทความทางวิชาการ บทความประเภทวิเคราะห์ หรือเสนอปัญหาโต้แย้ง บทความเชิงวิจารณ์ บทความปกิณกะ เป็นต้น บทความเป็นเรื่องที่เขียนขึ้นจากข้อเท็จจริง มีหลักฐานที่เชื่อถือได้เป็นเรื่องที่กาลังอยู่ในความสนใจขณะนั้น
  • 21. อาจมีทัศนะหรือข้อคิดเห็นของผู้เขียนแทรกอยู่บทความที่ดีต้องมีวิธีเขียนที่ชวนอ่ าน ชวนคิด การอ่านจะต้องพิจารณาความถูกต้อง ของเนื้อหา การชี้ปัญหาและวิธีแก้ไขมีสานวนภาษาที่ชัดเจน น่าอ่านและมีความสั้นยาวที่พอเหมาะ วิธีอ่านหนังสือ หนังสือแต่ละเรื่องมีวิธีอ่านแตกต่างกันออกไปตามความมุ่งหมายของผู้อ่าน โดยทั่วไปผู้อ่านมักมีความมุ่งหมายดังนี้ 1. อ่านเพื่อความบันเทิง หรือเพลิดเพลินใจ ได้แก่ การอ่านหนังสือประเภทบันเทิงคดี เช่น สารคดี วรรณคดี นวนิยาย ฯลฯ 2. อ่านเพื่อศึกษาหาความรู้ ได้แก่ การอ่านหนังสือที่ให้ความรู้ เช่น ตาราวิชาการ งานศึกษาค้นคว้า วิจัย เป็นต้น 3. อ่านเพื่อหาคาตอบ เช่น การอ่านคาแนะนา อ่านเพื่อค้นหาข้อมูลเพื่อการศึกษาวิจัย. อ่านเพื่อหาคาตอบในปัญหาบางปัญหา เป็นต้น วิธีการอ่านจึงขึ้นอยู่กับผู้อ่านว่าจะมุ่งหมายอย่างไร ทาให้วิธีอ่านแตกต่างกันไป ซึ่งอาจแบ่งได้ 4 วิธีดังนี้ 1. อ่านละเอียดถี่ถ้วน จะใช้เมื่อต้องการอ่านเรื่องที่ต้องการทาความเข้าใจหรือต้องการพินิจพิเคราะ ห์ในประเด็นต่างๆของเรื่องที่อ่าน เช่น อ่านเพื่อติชมหรือคัดค้าน อ่านข้อความในสัญญา กฎหมายต่างๆ การอ่านดังกล่าวจาเป็นต้องใช้ความถี่ถ้วนในการวิเคราะห์ อ่านทุกตัวอักษร และทาความเข้าใจถ้อยคาต่างๆ เช่น คาว่า และ/ หรือ/ แต่/ การ อ่านข้อความที่มีคาเหล่านี้ต้องระมัดระวัง เพราะอาจทาให้มีความผิดพลาดได้เช่นเดียวกัน 2. อ่านเพื่อศึกษาทาความเข้าใจ ได้แก่ การอ่านตาราวิชาการต่างๆ ซึ่งผู้อ่านต้องทบทวนประมวลความคิด และใช้ความพินิจพิเคราะห์มาก. ทั้งอย่างต้องพยายามทาความเข้าใจทุกบททุกตอน จึงต้องอ่านอย่างละเอียดลึกซึ้ง 3. อ่านอย่างเร็ว การอ่านวิธีนี้ใช้กับหนังสือหรือเรื่องที่ไม่ต้องการศึกษาละเอียดมากนัก เป็นการอ่านเพื่อทบทวนความจา หรืออาหารเรื่องที่เคยมีความรู้มาบ้างแล้ว
  • 22. เช่น อ่านหนังสือพิมพ์ ข่าวต่างๆ การที่ผู้อ่านมีประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่อ่านมาก่อนนี้ย่อมทาให้เข้าใจ ได้เร็วขึ้น 4. อ่านกว้างๆหรืออ่านคร่าวๆ ใช้ในกรณีที่ผู้อ่านมีจุดประสงค์ก็จะค้นหาคาตอบเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เช่น วัน เดือน ปีจานวน สถานที่ที่เกิดเหตุการณ์ เค้าโครงเรื่อง สานวนโวหาร ฯลฯ ผู้อ่านจึงเห็นอ่านคร่าวๆเพื่อสารวจข้อมูล หรือพิจารณาดูว่าควรอ่านหรือไม่ควรอ่านเรื่องนั้น จึงเป็นวิธีการที่ใช้เวลาน้อยกว่า การอ่านวิธีอื่นๆ แต่ในขณะเดียวกันขณะผู้อ่านยังอ่านหนังสือไม่เป็น ไม่รู้จักวิธีการที่ถูกต้อง ย่อมทาให้ได้รับผลเสียได้เช่นกัน เพราะผู้อ่านย่อมนาวิธีไปใช้ผิดจากความมุ่งหมาย เช่น หนังสือที่ต้องใช้วิธีอ่านอย่างศึกษา แต่ผู้อ่านกลับใช้วิธีอ่านคร่าว หรืออ่านอย่างเร็วเหมือนวิธีอ่านหนังสือประเภทบันเทิง ก็จะทาให้ไม่อาจเข้าใจเนื้อหารือเรื่องราวที่เป็ นประเด็นสาคัญต่าง ได้เลย เป็นต้น การอ่านอย่างกว้าง หรืออย่างคร่าวๆนี้ ซึ่งเป็นการอ่านเพื่อสารวจเนื้อหาเบื้องต้น ซึ่งผู้อ่านควรจะกลับมาอ่านให้ละเอียดอีกในโอกาสต่อไป การเลือกวิธีอ่านหนังสือว่าเรื่องใดควรเลือกวิธีไหนนั้น นอกจากจะขึ้นอยู่กับความมุ่งหมายของผู้อ่านเป็นสาคัญแล้ว ยังขึ้นอยู่กับพื้นความรู้ของผู้อ่าน ตลอดจนระดับความยากง่ายของหนังสือเรื่องนั้นด้วย จึงจะทาให้ผู้อ่านบรรลุผลตามความมุ่งหมาย ผู้ที่มีความสามารถในการอ่านนั้น จึงต้องเป็นผู้ที่อ่านได้เร็วและเข้าใจเรื่องที่อ่าน สามารถจับใจความสาคัญของเรื่องได้อย่างถูกต้อง การอ่านที่ดีจะต้องมีความตั้งใจ มีสมาธิและติดตามไปด้วย ความเร็วในการอ่านเป็นสิ่งที่พัฒนาได้ เช่น การกาหนดปริมาณหนังสือที่จะอ่านไว้ล่วงหน้า แล้วจับเวลาทุกครั้ง ขณะที่อ่านควรฝึกกวาดสายตาไปตามตัวหนังสือ จากซ้ายไปขวาของบรรทัดอย่างรวดเร็ว ไม่อ่านทีละคา แต่อ่านเป็นประโยคต่อเนื่องกันไป เมื่ออ่านจบแล้วลองทดสอบความเข้าใจในการอ่านทุกครั้ง โดยตอบคาถามของตนให้ได้ว่าเรื่องนั้นกล่าวถึงอะไร มีสาระสาคัญอะไรบ้าง
  • 23. สารวจข้อบกพร่องในการอ่านทุกครั้งว่าเข้าใจหรือรู้เรื่องมากน้อยเพียงใด แล้วแก้ไขข้อบกพร่องนั้นให้ดีขึ้นในคราวต่อไป ส่วนอัตราการอ่านหนังสือเร็วนั้นไม่อาจกาหนดตายตัวได้ แต่ควรพิจารณาจากจุดมุ่งหมายในการอ่านว่าอ่านเพื่ออะไร หนังสือนั้นมีความยากง่ายเพียงใด หนังสือบางเล่มมีคาศัพท์ทางวิชาการมาก มีสานวนโวหารลึกซึ้งเนื้อเรื่องมีความซับซ้อนก็ทาให้อ่านได้ช้า ส่วนพื้นความรู้ของผู้อ่านก็เป็นตัวแปรอีกประการหนึ่งด้วย ผู้อ่านที่มีพื้นความรู้ในเรื่องนั้นดีก็จะสามารถอ่านได้เร็วและเข้าใจเรื่องที่อ่านได้เ ร็วและมากกว่าผู้อ่านที่ไม่มีพื้นความรู้ การอ่านช้าหรืออ่านไม่เข้าใจนั้นอาจมาจากสาเหตุหลายประการ ได้แก่ ความกังวลในเรื่องศัพท์ หรือข้อความบางตอนที่มีความแปลกใหม่ บางครั้งขาดสมาธิในการอ่าน ซึ่งมีสาเหตุมาจากสิ่งแวดล้อม และตนขาดสติสมาธิเอง ผู้อ่านไม่เคยฝึกอ่านในใจมาก่อน ทั้งอาจมีปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพอันเป็ นอุปสรรคของการอ่าน ซึ่งสาเหตุเหล่านี้ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการอ่านทั้งสิ้น ข้อแนะนาการก่อนอ่านหนังสือ ก่อนอ่านหนังสืออย่างจริงจัง ควรอ่านกว้าง ๆ ก่อนเพื่อให้เห็นเค้าโครงเรื่องว่าจะอ่านต่อไปหรือไม่ ทาให้ประหยัดเวลา มีข้อแนะนาดังนี้ 1. ตารา หนังสือทางวิชาการ ความอ่านข้อความข้อสาคัญของเรื่อง หัวข้อย่อย สรุป ท้ายบท แล้วจึงเริ่มต้นอ่านให้ละเอียดอีกครั้ง 2. หนังสือทั่วไป ควรอ่านคานา สารบัญ บทสรุป ดรรชนี เสียก่อน 3. บทความ ให้อ่านชื่อเรื่อง ชื่อผู้เขียน อ่านสารวจย่อหน้าต่างๆ บนย่อหน้าและย่อหน้าซึ่งเป็นบทสรุป แล้วจึงเริ่มต้นอ่านทั้งหมด 4. หนังสือบันเทิงอารมณ์ เช่น นวนิยาย เรื่องสั้น ไม่ควรอ่านคร่าวๆ ก่อนเพราะจะทาให้เสียรสชาติในการอ่าน ประสิทธิภาพในการอ่าน ประสิทธิภาพในการอ่านนั้น ผู้อ่านจะต้องพัฒนาอยู่เสมอ ดังนั้นผู้อ่านควรพิจารณาตนเองในประเด็นต่อไปนี้ 1. อ่านแล้วได้เรื่องราว จับสาระได้ถูกต้องฉับไว
  • 24. 2. อ่านแล้วสามารถแปลความ ตีความ สรุปความ ขยายความ จนกระทั่งอ่านตีบทได้ 3. สามารถวิเคราะห์ความหมาย เข้าใจเจตนา ทัศนคติ อารมณ์ ความประสงค์ของผู้แต่งได้ 4. ใช้วิจารณญาณการแสดงความคิดเห็นต่อสิ่งที่อ่านได้อย่างมีเหตุผลนะ 5. แยกแยะข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นได้คือ บอกได้ว่ามีความคิดเห็นคล้อยตามหรือขัดแย้งในประเด็นใด มีข้อคิดเห็นเพิ่มเติมเรื่องใด อย่างไร 6. ได้อรรถรส สามารถแสดงความรู้สึกนึกคิดต่อศิลปะการประพันธ์ สามารถวิเคราะห์กลวิธีการประพันธ์ วิเคราะห์แนวเขียนแต่ละชิ้นได้ รวมทั้งสามารถนามาเกี่ยวข้องกับงานเขียนชิ้นอื่นๆได้ 7. ประเมินได้อย่างเที่ยงธรรม เปรียบเทียบกับหนังสือเล่มอื่นๆได้อย่างน่าสนใจ 8. เกิดจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์จากการอ่าน ประเภทของการอ่าน การอ่านแบ่งออกได้เป็นหลายชนิด ขึ้นอยู่กับการใช้เกณฑ์ในการพิจารณา การแบ่งประเภทของการอ่านมีความสัมพันธ์กับจุดมุ่งหมายของการอ่าน คือ ขึ้นอยู่กับความต้องการและความสนใจในการอ่าน มีผู้แบ่งประเภทของการอ่านไว้ดังนี้ พวา พันธุ์เมฆา ( 2518 : 38 ) แบ่งประเภทของการอ่านเป็น 3 ประเภท คือ 1. การอ่านออกเสียง ใช้เมื่อต้องการให้ตัวเองหรือผู้อื่นได้ยินข้อความที่อ่านหรือใช้เมื่อต้องการศึกษาอ่ อมเสียงให้ถูกต้องชัดเจน หรือเพื่อให้เกิดความซาบซึ้งในข้อความที่อ่าน 2. การอ่านออกเสียงเงียบ เป็นการอ่านที่เคลื่อนไหวริมฝีปากเหมือนการอ่านออกเสียง เป็นการอ่านที่ไม่มีเจตนาให้ผู้อื่นได้ยินเสียงอ่าน 3. การอ่านในใจ การอ่านประเภทนี้จะไม่มีคลื่นไหวริมฝีปากเลย แต่ใช้เฉพาะสายตากวาดไปตามตัวอักษรแล้วจดจาหรือตีความ ซึ่งมักใช้ในการอ่านเพื่อศึกษาค้นคว้า
  • 25. วลัยภรณ์ อาทิตย์เที่ยง ( 2529 : 19 ) แบ่งการอ่านออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. การอ่านในใจ (Silent reading ) เป็นการอ่านโดยไม่ออกเสียง โดยมุ่งให้เข้าใจเรื่องและความคิดสาคัญๆ ในเรื่องที่อ่านเป็นสาคัญ ซึ่งผู้อ่านจะต้องมีความรู้เรื่องศัพท์และโครงสร้างของประโยคพอสมควร 2. สอนการอ่านออกเสียง (Oral reading ) เป็นการอ่านออกเสียงให้ถูกต้องในเรื่อง เสียง (Sounds) การออกเสียงหนัก ( Stress) จังหวะ ( Rhythm ) ระดับเสียงสูงต่า ( Intonation ) การอ่านออกเสียงและจะมีจุดมุ่งหมายที่การอ่านออกเสียงให้ถูกต้องชัดเจนเพื่อให้ ผู้ฟังรับทราบเรื่องราวได้อย่างสะดวกและถูกต้องแล้ว ยังต้องอาศัยความรู้ความเข้าใจ เรื่องราวที่เกิดจากการอ่านในใจเสียก่อน จึงจาเป็นต้องคานึงถึงเรื่องคาศัพท์ โครงสร้างของประโยค และความเข้าใจในเรื่องที่อ่าน ส่วนสนิท สัตโยภาส ( 2542 : 144 -168 ) ได้แบ่งประเภทของการอ่านไว้ 2 ประเภทใหญ่ๆและกล่าวถึงรายละเอียดในแต่ละประเภทไว้ดังนี้ 1. การอ่านออกเสียง เป็นกระบวนการอ่านที่ต่อเนื่องกันระหว่างสายตา สมองและการเปล่งเสียง การอ่านออกเสียงนั้นมีอยู่ 3 ประเภท คือ 1.1 การอ่านออกเสียงร้อยแก้ว จะยึดหลักการเปล่งเสียงตามธรรมชาติ ที่มนุษย์พูดกันในชีวิตจริง โดยผู้อ่านต้องพยายามรักษาสารเดิมไว้ให้สมบูรณ์ที่สุด เพื่อให้ผู้ฟังได้รับความรู้ ความเข้าใจ และอรรถรสตามที่ผู้เขียนต้องการ ด้วยการยึดหลักการอ่านและกระบวนการฝึกอ่าน โดยฝึกเป็นเสียงอ่านอย่างชัดเจน น้าเสียงเหมือนพูด เสียงไม่ดัง หรือค่อยเกินไป อ่านไม่ช้าหรือเร็วเกินไป เน้นคาให้เหมาะสมกับความหมาย เปล่งเสียงคาทุกคาให้ถูกต้องตามอักขรวิธี 1.2 การอ่านออกเสียงร้อยกรองด้วยเสียงปกติ จะปฏิบัติคล้ายกับการอ่านร้อยแก้ว ต่างกันที่การอ่านร้อยกรองด้วยเสียงปกติจะต้องเว้นจังหวะการอ่านให้เป็นไปตาม ฉันทลักษณ์ของคาประพันธ์ประเภทนั้น
  • 26. 1.3 การอ่านออกเสียงร้อยกรองทานองเสนาะ เป็นการอ่านบทร้อยกรองที่มีสาเนียงสูงต่า หนักเบา ยาวสั้น มีเอื้อนเสียง และเน้นเสียงสัมผัสอย่างไพเราะ ชัดเจน จังหวะการอ่านและคลื่นเสียงเป็นกังวาน ฟังแล้วเกิดความเพลิดเพลินและมีอารมณ์คล้อยตาม 2. การอ่านในใจ เป็นกระบวนการที่ผู้อ่านมองดูตัวอักษรและถ่ายทอดเป็นความคิดอย่างเงียบๆในใ จ ความคิดที่ได้รับจากรวมเป็นความเข้าใจและประสบการณ์ที่ผู้อ่านจะสามารถนาไ ปใช้ในเป็นประโยชน์เมื่อถึงเวลาอันสมควรต่อไป กาอ่านในใจมีความสาคัญต่อบุคคลมาก เพราะเป็นการอ่านที่จะใช้เป็นเครื่องมือแสวงหาความรู้ต่างๆ และช่วยสร้างวิสัยทัศน์ได้อย่างกว้างไกล สร้างบุคคลให้รู้เท่าทันในโลกยุคปัจจุบันได้ และยังเป็นการอ่านที่ให้ความบันเทิงอีกทางหนึ่งด้วย ได้มีการแบ่งการอ่านออกเป็ นหลายลักษณะเช่น แบ่งตามลักษณะเนื้อเรื่องที่อ่าน 1. การอ่านบันเทิงคดี (fiction) 2. การอ่านสารคดี (Non- fiction) แบ่งตามลักษณะการประพันธ์ 1. การอ่านร้อยแก้ว 2. การอ่านร้อยกรอง แบ่งตามวัตถุประสงค์ของการอ่าน เช่น 1. การอ่านเพื่อจับใจความ 2. การอ่านเพื่อวิเคราะห์ พิจารณา- วิจารณ์ 3. การอ่านอย่างมีวิจารณญาณ 4. การอ่านเพื่อตีความ เมื่อพิจารณาการแบ่งประเภทของการอ่าน ก็จะเห็นว่า ขึ้นอยู่กับเกณฑ์ที่นามาใช้แต่ส่วนใหญ่มักใช้วิธีการที่คล้ายคลึงและใกล้เคียงกันคื