SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
หนังสือ
ก. ประเภทของหนังสือ
วิธีที่นิยมแบ่งกันคือ การแบ่งตามเนื้อหา และการแบ่งตามลักษณะการ
แต่ง
1. การแบ่งตามเนื้อหา
มักแบ่งย่อยเป็น 2 วิธีคือ แบ่งตามเนื้อหากว้างๆและแบ่งตามเนื้อหา
ย่อย(สุรัตน์ นุ่มนนท์, 2539 : 16-18)
การแบ่งตามเนื้อหากว้างๆ ได้แก่
1. หนังสือตาราและสารคดี
ตาราเป็นหนังสือที่เขียนขึ้นตามหลักสูตรการเรียนการสอน ในระดับและ
แขนงวิชาต่างๆมีเน้อหาวิชาการล้วน และมีลักษณะเหมือนหนังสือ สารคดี คือ
มุ่งให้ความรู้ ยังให้ความเพลิดเพลินจากสานวนภาษาลีลาการเขียน หรือ
เนื้อหาด้วย
2. หนังสือบันเทิงคดี
หรือหนังสือนวนิยาย คือ
หนังสือที่เขียนขึ้นจากประสบการณ์หรือ
จินตนาการของผู้ประพันธ์โดยอาศัย
เค้าโครงชีวิตจริงของชีวิตและ สังคม
มุ่งหมายให้ความเพลิดเพลินกระทบอารมณ์ผู้อ่าน ผู้อ่านจะได้รับข้อคิดคติชีวิต
ที่น่าสนใจซึ่งผู้เขียนแทรกไว้ในเรื่องด้วย
การแบ่งตามเนื้อหาย่อยๆ ได้แก่
1. หนังสือสารคดี (Non - Fiction)
หมายถึง หนังสือที่ให้ความรู้ในด้านต่างๆแบ่งเป็นหนังสือตารา หนังสือ
อ่านประกอบ หนังสือความรู้ทั่วไป และหนังสือทางด้านสันทนาการ ได้แก่
- หนังสือตารา (Text Book)
- หนังสืออ่านประกอบ (Externsl Reading)
- หนังสือความรู้ทั่วไป (General Book)
- หนังสือทางด้านสันทนาการ
2. หนังสือนวนิยาย (Fiction)
นวนิยายคือ เรื่องราวที่เกิดขึ้นจากจินตนาการของผู้เขียนเรียบเรียงขึ้น
เพื่อ ความเพลิดเพลิน
3. หนังสืออ้างอิง (Reference Book)
หมายถึง หนังสือที่ช่วยตอบปัญหาทั้งทาง
ด้านวิชาการและเรื่องทั่วไป ผู้อ่านใช้ประกอบหรือ
ค้นคว้า ซึ่งเป็นลักษณะเดียวกับการที่ห้องสมุด
จัดแบ่งหนังสือออกเป็นหมวดหมู่ต่างๆ เช่น
การศึกษา กฎหมาย วรรณคดี ศิลปะ เป็นต้น
2. การแบ่งตามลักษณะการแต่ง
1. ร้อยแก้ว (Prose)
คือ หนังสือที่ใช้ความเรียง ไม่มีการกาหนดลักษณะบังคับในการแต่งแต่
ประการใด
2. ร้อยกรอง (Verse)
ตาราเป็นหนังสือที่เขียนขึ้นตามหลักสูตร
การเรียนการสอน ในระดับและแขนงวิชาต่างๆ
มีเน้อหาวิชาการล้วน และมีลักษณะเหมือนหนังสือสารคดี คือ มุ่งให้
ความรู้ ความเพลิดเพลินจากสานวนภาษาลีลาการเขียน หรือเนื้อหาด้วย
ข. รายการทรัพยากรสารสนเทศ : หนังสือ
ค. ตัวอย่าง ภาพประกอบ
วิชาการหรือหนังสือตารา หนังสือสารคดี
หนังสือแบบเรียน หนังสืออ้างอิง
วิทยานิพนธ์หรือปริญญานิพนธ์ รายงานการวิจัย
รายงานการประชุมทางวิชาการ นวนิยายและเรื่องสั้น
ง. ลักษณะ และรายละเอียด
1. หนังสือ
หนังสือเป็นสิ่งพิมพ์ที่รวบรวมสารสนเทศทั้งทางด้านวิชาการ
สารคดีและบันเทิงคดี ให้เนื้อหาที่จบบริบูรณ์ในเล่มเดียวหรือหลาย เล่มที่
เรียกว่า หนังสือชุด ประเภทของหนังสือจัดแยกตามลักษณะเนื้อหา ได้
ดังนี้
1.1 หนังสือวิชาการหรือหนังสือตารา
(text book) หมายถึง หนังสือที่ให้
ความรู้ในสาขาวิชาใดวิชาหนึ่ง โดยผู้แต่ง
ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญเฉพาะสาขาวิชา
1.2 หนังสือสารคดี หมายถึงหนังสือ
ที่นาเสนอเรื่องราวกึ่งวิชาการเพื่อความเพลิดเพลิน
ในการอ่าน และหลีกเลี่ยงการใช้คาศัพท์เฉพาะ
ทางวิชาการเพื่อให้เข้าใจเนื้อหาสาระได้โดยง่าย
1.3 หนังสือแบบเรียน หมายถึงหนังสือ
ที่จัดทาขึ้นตามหลักสูตรรายวิชาเพื่อใช้ประกอบการเรียน
1.4 หนังสืออ้างอิง (reference books)
หมายถึง หนังสือที่รวบรวมเรื่องราวข้อเท็จจริงใน
สาขาวิชาต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการศึกษาค้นคว้า
1.5 วิทยานิพนธ์หรือปริญญานิพนธ์
(thesis or dissertation) เป็นรายงานผล
การค้นคว้าวิจัยเพื่อขอรับปริญญาตามหลักสูตรใน
ระดับปริญญาโท (thesis) และ ปริญญาเอก
(dissertation)
1.6 รายงานการวิจัย (research report)
เสนอสารสนเทศที่เป็นผลผลิตจากการศึกษา
ค้นคว้าวิจัย
1.7 รายงานการประชุมทางวิชาการ
(proceedings) ให้สารสนเทศที่ได้
จากการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ของ
นักวิชาการที่เกี่ยวข้อง
1.8 นวนิยายและเรื่องสั้น (short story
collection) เป็นหนังสือที่แต่งขึ้นตาม
จินตนาการ เน้นความสนุกความเพลิดเพลิน
และความซาบซึ้งในอรรถรส
จ. จุดเด่น และข้อจากัด
จุดเด่น
1. อ่านที่ไหน เมื่อไหร่ ได้ตลอดเวลา เนื่องจากพกไปได้ตลอด
3. มีความรู้รอบด้าน
จุดด้อย
1. ต้องอาศัยพลังงานในการอ่านตลอดเวลา
2. ขาดความรู้สึก หรืออรรถรส
ฉ. ความสาคัญ ประโยชน์
หนังสือมีความสาคัญและมีประโยชน์กับชีวิตมากเพราะมนุษย์ต้องการ
แสวงหาคาตอบที่ตนอยากรู้อยากเห็นด้วยวิธีการต่างๆ แต่วิธีที่มนุษย์จะ
แสวงหาคาตอบได้ดีที่สุด คือ การแสวงหาคาตอบจากหนังสือ ดังนั้นหนังสือ
จึงเป็นแหล่งอ้างอิงที่ดีที่สุด
ประโยชน์ของหนังสือ มนุษย์ได้รับประโยชน์จากหนังสือด้วยการอ่าน แต่
หนังสือไม่มีอิทธิพลพอจะบังคับให้ใครอ่านได้ ฉะนั้น จึงต้องรู้จักเลือกอ่าน
เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการเฉพาะบุคคล หนังสือสามารถให้คาตอบแก่
ผู้ไม่รู้ในด้านต่าง ๆ
สรุปแล้วหนังสือจะให้ประโยชน์ต่อผู้อ่าน ดังต่อไปนี้
1. ส่งเสริมความใฝ่รู้ให้แก่ผู้อ่านจากภาษาที่เข้าใจง่าย และรูปเล่มที่
ดึงดูดความสนใจ
2. หนังสือจะบันทึกเรื่องราวในอดีตเป็นประวัติศาสตร์ สนับสนุนให้มี
การศึกษาค้นคว้าให้กว้างขวางต่อไป
3. ช่วยสร้างนิสัยรักการอ่าน และส่งเสริม
ให้การอ่านเป็นความจาเป็นของชีวิต เมื่อ
ต้องการทราบและแก้ปัญหาต่าง ๆ ด้วย
วิธีการแสวงหาคาตอบจากหนังสือ
ช. บทบาทในปัจจุบัน
ในปัจจุบันนี้ หนังสือเรียนเป็นสื่อที่มีบทบาทสาคัญต่อการจัดการเรียน
การสอนของทั้งผู้สอนและผู้เรียน หนังสือถือเป็นสิ่งที่ช่วยให้ผู้เรียนนั้นเกิด
การเรียนรู้ได้ง่ายขึ้น ประหยัดเวลา ช่วยถ่ายทอดความรู้สึกความคิดระหว่าง
ผู้สอนกับผู้เรียน ช่วยให้ความเข้าใจและจดจาได้อย่างรวดเร็ว แน่นอนว่า
หนังสือเรียนต้องมีอิทธิพลต่อทุกคนอยู่แล้ว ไม่ว่าจะเป็นผู้สอนหรือผู้เรียน
ขอบคุณค่ะ
สมาชิก
นางสาว เนตรนภา สกุลทอง รหัสนักศึกษา 405928019
นางสาว นูริตา แก้วสลา รหัสนักศึกษา 405928021
นางสาว ตัสนีม ดือรานิง รหัสนักศึกษา 405928027
นางสาว คอลีมาห์ ดือเระห์ รหัสนักศึกษา 405928032

More Related Content

What's hot

เฉลยแบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
เฉลยแบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docxเฉลยแบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
เฉลยแบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.DocxSupaporn Khiewwan
 
ส่วนประกอบหนังสือและสิ่งพิมพ์
ส่วนประกอบหนังสือและสิ่งพิมพ์ส่วนประกอบหนังสือและสิ่งพิมพ์
ส่วนประกอบหนังสือและสิ่งพิมพ์krujee
 
ความหมายของห้องสมุด
ความหมายของห้องสมุดความหมายของห้องสมุด
ความหมายของห้องสมุดพัน พัน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์yuyjanpen
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานSAKANAN ANANTASOOK
 
เฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิง
เฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิงเฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิง
เฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิงSupaporn Khiewwan
 
การเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหา
การเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหาการเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหา
การเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหาkrujee
 
แผนการจัดการาเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการาเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการาเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการาเรียนรู้ที่ 1kruruttika
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
แบบทดสอบเรื่อง ประวัติห้องสมุด
แบบทดสอบเรื่อง ประวัติห้องสมุดแบบทดสอบเรื่อง ประวัติห้องสมุด
แบบทดสอบเรื่อง ประวัติห้องสมุดSupaporn Khiewwan
 
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดChuleekorn Rakchart
 
3.2 การจัดหมวดหมู่ในระบบทศนิยมดิวอี้ dewey classification
3.2 การจัดหมวดหมู่ในระบบทศนิยมดิวอี้ dewey classification3.2 การจัดหมวดหมู่ในระบบทศนิยมดิวอี้ dewey classification
3.2 การจัดหมวดหมู่ในระบบทศนิยมดิวอี้ dewey classificationPloykarn Lamdual
 
3.3 การจัดเรียงหนังสือ
3.3 การจัดเรียงหนังสือ3.3 การจัดเรียงหนังสือ
3.3 การจัดเรียงหนังสือPloykarn Lamdual
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุดความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุดพัน พัน
 
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55Nun'Top Lovely LoveLove
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมSupaporn Khiewwan
 
ทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศSupaporn Khiewwan
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้Sutthiluck Kaewboonrurn
 
ใบความรู้ เรื่องอ้างอิง
ใบความรู้ เรื่องอ้างอิงใบความรู้ เรื่องอ้างอิง
ใบความรู้ เรื่องอ้างอิงSupaporn Khiewwan
 

What's hot (20)

เฉลยแบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
เฉลยแบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docxเฉลยแบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
เฉลยแบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
 
ส่วนประกอบหนังสือและสิ่งพิมพ์
ส่วนประกอบหนังสือและสิ่งพิมพ์ส่วนประกอบหนังสือและสิ่งพิมพ์
ส่วนประกอบหนังสือและสิ่งพิมพ์
 
ความหมายของห้องสมุด
ความหมายของห้องสมุดความหมายของห้องสมุด
ความหมายของห้องสมุด
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
 
เฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิง
เฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิงเฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิง
เฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิง
 
การเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหา
การเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหาการเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหา
การเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหา
 
แผนการจัดการาเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการาเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการาเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการาเรียนรู้ที่ 1
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
 
แบบทดสอบเรื่อง ประวัติห้องสมุด
แบบทดสอบเรื่อง ประวัติห้องสมุดแบบทดสอบเรื่อง ประวัติห้องสมุด
แบบทดสอบเรื่อง ประวัติห้องสมุด
 
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
 
3.2 การจัดหมวดหมู่ในระบบทศนิยมดิวอี้ dewey classification
3.2 การจัดหมวดหมู่ในระบบทศนิยมดิวอี้ dewey classification3.2 การจัดหมวดหมู่ในระบบทศนิยมดิวอี้ dewey classification
3.2 การจัดหมวดหมู่ในระบบทศนิยมดิวอี้ dewey classification
 
3.3 การจัดเรียงหนังสือ
3.3 การจัดเรียงหนังสือ3.3 การจัดเรียงหนังสือ
3.3 การจัดเรียงหนังสือ
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุดความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด
 
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
 
สื่อผังมโนทัศน์
สื่อผังมโนทัศน์สื่อผังมโนทัศน์
สื่อผังมโนทัศน์
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรม
 
ทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศ
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
 
ใบความรู้ เรื่องอ้างอิง
ใบความรู้ เรื่องอ้างอิงใบความรู้ เรื่องอ้างอิง
ใบความรู้ เรื่องอ้างอิง
 

Similar to หนังสือ

4.1 หนังสือและบัตรรายการ book
4.1 หนังสือและบัตรรายการ book4.1 หนังสือและบัตรรายการ book
4.1 หนังสือและบัตรรายการ bookPloykarn Lamdual
 
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่อง
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่องหน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่อง
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่องขนิษฐา ทวีศรี
 
หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7ssuserfd9042
 
งานนำเสนอIs3
งานนำเสนอIs3งานนำเสนอIs3
งานนำเสนอIs3ohm11007
 
ประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีRuangrat Watthanasaowalak
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงานเขียนและการอ่าน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงานเขียนและการอ่าน ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงานเขียนและการอ่าน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงานเขียนและการอ่าน Amm Orawanp
 
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมายวรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมายchontee55
 
G.14 (25.หนังสือ)
G.14 (25.หนังสือ)G.14 (25.หนังสือ)
G.14 (25.หนังสือ)ILyas Waeyakoh
 
ทรัพยากรสารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศทรัพยากรสารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศอิ่' เฉิ่ม
 
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลังวรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลังchontee55
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1พัน พัน
 
ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์Supaporn Khiewwan
 
I 30291 หน่วย1 เรื่อง 3 ทรัพยากรสารสนเทศ
I 30291  หน่วย1 เรื่อง 3 ทรัพยากรสารสนเทศI 30291  หน่วย1 เรื่อง 3 ทรัพยากรสารสนเทศ
I 30291 หน่วย1 เรื่อง 3 ทรัพยากรสารสนเทศK-Vi Wijittra
 
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษหลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษBhayubhong
 
ห้องสมุด 3 ดี
ห้องสมุด 3 ดีห้องสมุด 3 ดี
ห้องสมุด 3 ดีteerasak04
 

Similar to หนังสือ (18)

4.1 หนังสือและบัตรรายการ book
4.1 หนังสือและบัตรรายการ book4.1 หนังสือและบัตรรายการ book
4.1 หนังสือและบัตรรายการ book
 
Nuntanakan2
Nuntanakan2Nuntanakan2
Nuntanakan2
 
Nuntanakan2
Nuntanakan2Nuntanakan2
Nuntanakan2
 
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่อง
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่องหน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่อง
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่อง
 
หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7
 
งานนำเสนอIs3
งานนำเสนอIs3งานนำเสนอIs3
งานนำเสนอIs3
 
ประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดี
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงานเขียนและการอ่าน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงานเขียนและการอ่าน ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงานเขียนและการอ่าน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงานเขียนและการอ่าน
 
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมายวรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
 
G.14 (25.หนังสือ)
G.14 (25.หนังสือ)G.14 (25.หนังสือ)
G.14 (25.หนังสือ)
 
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
 
ทรัพยากรสารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศทรัพยากรสารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศ
 
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลังวรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลัง
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
 
ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
 
I 30291 หน่วย1 เรื่อง 3 ทรัพยากรสารสนเทศ
I 30291  หน่วย1 เรื่อง 3 ทรัพยากรสารสนเทศI 30291  หน่วย1 เรื่อง 3 ทรัพยากรสารสนเทศ
I 30291 หน่วย1 เรื่อง 3 ทรัพยากรสารสนเทศ
 
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษหลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
 
ห้องสมุด 3 ดี
ห้องสมุด 3 ดีห้องสมุด 3 ดี
ห้องสมุด 3 ดี
 

หนังสือ