SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
2.2.4 ความหนาแน่นของกระแสไฟฟ้ า
ความหนาแน่นของกระแสไฟฟ้า คือ ปริมาณของกระแสไฟฟ้ าต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่ โดยปกติแล้วจะแสดงหน่วยของ
แอมแปร์ต่อตารางเดซิเมตร หรือแอมแปร์ต่อตารางฟุต และถ้าไม่ระบุว่าเป็นความหนาแน่นของกระแสไฟฟ้ าที่ขั้วบวกหรือ
ขั้วลบ ก็มักจะหมายถึงความหนาแน่นของกระแสไฟฟ้ าที่ขั้วลบในน้ายาชุบเคลือบโลหะด้วยไฟฟ้ าในแต่ละชนิด จะกาหนด
ภาวะการทางานไว้อย่างชัดเจนว่าจะชุบที่ความหนาแน่นของกระแสไฟฟ้ าเท่าใด ฉะนั้น ก่อนจะทาการชุบ จึงต้องต้อง
คานวณพื้นที่ผิวของชิ้นงานหรือขั้วลบเสียก่อนแล้วนาค่าพื้นที่ไปคานวณดูว่าจะใช้กระแสไฟฟ้ าเท่าใดจึงจะทาให้ได้ความ
หนาแน่นของกระแสไฟฟ้าตามที่กาหนด ตัวอย่างเช่น ในการชุบเคลือบผิวด้วยโลหะโดยไฟฟ้าชนิดหนึ่งจะต้องทาการชุบ
ที่ความหนาแน่นของกระไฟฟ้า 8 แอมแปร์ตารางเดซิเมตร และปรากฏว่าพื้นที่ผิวหน้าของชิ้นงานที่จะทาการชุบทั้งหมด
เท่ากับ 5 ตารางเดซิเมตรฉะนั้น ในการชุบนี้จะต้องใช้กระแสไฟฟ้าเท่ากับ 8x5 = 40 แอมแปร์ จึงจะอยู่ในภาวะการทางานที่
ดี โดยปกติแล้ว ถ้าการชุบชนิดเดียวกันมีภาวะการทางานบางอย่างแตกต่างกันก็อาจจะใช้ความหนาแน่นของกระแสไฟฟ้ า
แตกต่างกันไป เช่น อุณหภูมิ สูงและมีการกวนน้ายาอย่างแรงก็ชุที่ความหนาแน่นของกระแสไฟฟ้ าสูงกว่าปกติได้ ซึ่งจะทา
ให้มีอัตราเร็วของการชุบเคลือบผิวเร็วขึ้นแต่ทางปฏิบัติทั่ว ๆ ไปแล้ว การชุบที่ความหนาแน่นของกระแสไฟฟ้ าต่าจะเคลือบ
ผิวได้เป็นระเบียบและสวยงามกว่า แต่เสียเวลาในการชุบมากขึ้น
2.2.5 การกระจายของกระแสไฟฟ้ า
เนื่องจากชิ้นงานที่จะทาการชุบมีรูปแตกต่างกันออกไป เช่น แบน กลม โค้ง แหลม ฯลฯ
จะพบว่าจุดต่าง ๆ บนชิ้นงานจะห่างจากขั้วลบไม่เท่ากัน จุดใดที่อยู่ใกล้ขั้วลบ กระไฟฟ้าจะเดินทางได้สะดวกทาให้มี
ลักษณะการกระจายของกระแสไฟฟ้าบริเวณจุดที่อยู่ใกล้มากกว่าที่อยู่ไกล
และยิ่งตรงบริเวณใดที่มีลักษณะเป็นมุมแหลมด้วยแล้ว ยิ่งมีการกระจายของกระแสไฟฟ้าในบริเวณนั้นหนาแน่นมากขึ้นไป
อีกเนื่องจากการกระจายของกระแสไฟฟ้า ก็คือการกระจายหรือการเคลื่อนที่ของอิออนของโลหะที่จะไปเกาะที่ขั้วลบ
ดังนั้น จุดใดของขั้วลบที่อยู่ใกล้ขั้วบวกหรือจุดที่เป็นมุมแหลมจะมีการเกาะเคลือบผิวของโลหะบริเวณนั้นมากกว่าบริเวณอื่น
ๆ จึงทาให้ผิวที่เคลือบบนชิ้นงานได้ดังรูปข้างล่างนี้
แสดงลักษณะของการกระจายของกระแสไฟฟ้ าและความหนาที่เคลือบในบริเวณต่าง ๆ ของชิ้นงาน
จากรูปจะเห็นได้ว่า บริเวณของชิ้นงานส่วนที่เป็นมุมแหลมหรือใกล้ขั้วบวกจะมีการกระจายของกระแสไฟฟ้า
หนาแน่นมากที่สุดและมีการเกาะเคลือบผิวหนาที่สุด ซึ่งถ้าต้องการชุบเคลือบออกมาในลักษณะเช่นนี้ ก็ไม่ต้องแก้ไขอะไร
แต่ถ้าต้องการให้มีลักษณะของการชุบเคลือบผิวที่มีความหนาแน่นเท่า ๆ กันตลอดทั้งชิ้นงาน ก็อาจจะแก้ไขได้โดยหาแผ่น
วัสดุที่ไม่ทาปฏิกิริยากับ น้ายาชุบมากั้นระหว่างขั้วบวกกับขั้วลบตรงบริเวณที่อยู่ใกล้กันเพื่อลดความหนาแน่นของกระแส
ไฟฟ้าให้เหลือเท่าๆ กันทุกบริเวณของขั้วลบ วัสดุที่ใช้ควรเป็นวัสดุที่ไม่นาไฟฟ้า เช่นโพลีเอทธิลีน พีวีซี หรือโพลี่โปรปี
ลีน เป็นต้น

More Related Content

Viewers also liked (20)

13 2
13 213 2
13 2
 
2 1
2 12 1
2 1
 
1 4
1 41 4
1 4
 
1 4
1 41 4
1 4
 
2 10
2 102 10
2 10
 
งานโลหะแผ่น7 6
งานโลหะแผ่น7 6งานโลหะแผ่น7 6
งานโลหะแผ่น7 6
 
งานโลหะแผ่น6 2
งานโลหะแผ่น6 2งานโลหะแผ่น6 2
งานโลหะแผ่น6 2
 
6 4
6 46 4
6 4
 
งานโลหะแผ่น7 3
งานโลหะแผ่น7 3งานโลหะแผ่น7 3
งานโลหะแผ่น7 3
 
2 4โครงสร้างผังงานทำซ้ำ
2 4โครงสร้างผังงานทำซ้ำ2 4โครงสร้างผังงานทำซ้ำ
2 4โครงสร้างผังงานทำซ้ำ
 
งานโลหะแผ่น1 6
งานโลหะแผ่น1 6งานโลหะแผ่น1 6
งานโลหะแผ่น1 6
 
1 1
1 11 1
1 1
 
งานโลหะแผ่น5 3
งานโลหะแผ่น5 3งานโลหะแผ่น5 3
งานโลหะแผ่น5 3
 
งานโลหะแผ่น6 3
งานโลหะแผ่น6 3งานโลหะแผ่น6 3
งานโลหะแผ่น6 3
 
1 5
1 51 5
1 5
 
2 3
2 32 3
2 3
 
1 3
1 31 3
1 3
 
1 2
1 21 2
1 2
 
1 4
1 41 4
1 4
 
Ppt 02-flowchart
Ppt 02-flowchartPpt 02-flowchart
Ppt 02-flowchart
 

More from Pannathat Champakul (20)

เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
 
505
505505
505
 
407
407407
407
 
603
603603
603
 
602
602602
602
 
601
601601
601
 
600
600600
600
 
504
504504
504
 
503
503503
503
 
502
502502
502
 
501
501501
501
 
500
500500
500
 
406
406406
406
 
405
405405
405
 
404
404404
404
 
403
403403
403
 
402
402402
402
 
401
401401
401
 
400
400400
400
 
305
305305
305
 

งานโลหะแผ่น2 7 8

  • 1. 2.2.4 ความหนาแน่นของกระแสไฟฟ้ า ความหนาแน่นของกระแสไฟฟ้า คือ ปริมาณของกระแสไฟฟ้ าต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่ โดยปกติแล้วจะแสดงหน่วยของ แอมแปร์ต่อตารางเดซิเมตร หรือแอมแปร์ต่อตารางฟุต และถ้าไม่ระบุว่าเป็นความหนาแน่นของกระแสไฟฟ้ าที่ขั้วบวกหรือ ขั้วลบ ก็มักจะหมายถึงความหนาแน่นของกระแสไฟฟ้ าที่ขั้วลบในน้ายาชุบเคลือบโลหะด้วยไฟฟ้ าในแต่ละชนิด จะกาหนด ภาวะการทางานไว้อย่างชัดเจนว่าจะชุบที่ความหนาแน่นของกระแสไฟฟ้ าเท่าใด ฉะนั้น ก่อนจะทาการชุบ จึงต้องต้อง คานวณพื้นที่ผิวของชิ้นงานหรือขั้วลบเสียก่อนแล้วนาค่าพื้นที่ไปคานวณดูว่าจะใช้กระแสไฟฟ้ าเท่าใดจึงจะทาให้ได้ความ หนาแน่นของกระแสไฟฟ้าตามที่กาหนด ตัวอย่างเช่น ในการชุบเคลือบผิวด้วยโลหะโดยไฟฟ้าชนิดหนึ่งจะต้องทาการชุบ ที่ความหนาแน่นของกระไฟฟ้า 8 แอมแปร์ตารางเดซิเมตร และปรากฏว่าพื้นที่ผิวหน้าของชิ้นงานที่จะทาการชุบทั้งหมด เท่ากับ 5 ตารางเดซิเมตรฉะนั้น ในการชุบนี้จะต้องใช้กระแสไฟฟ้าเท่ากับ 8x5 = 40 แอมแปร์ จึงจะอยู่ในภาวะการทางานที่ ดี โดยปกติแล้ว ถ้าการชุบชนิดเดียวกันมีภาวะการทางานบางอย่างแตกต่างกันก็อาจจะใช้ความหนาแน่นของกระแสไฟฟ้ า แตกต่างกันไป เช่น อุณหภูมิ สูงและมีการกวนน้ายาอย่างแรงก็ชุที่ความหนาแน่นของกระแสไฟฟ้ าสูงกว่าปกติได้ ซึ่งจะทา ให้มีอัตราเร็วของการชุบเคลือบผิวเร็วขึ้นแต่ทางปฏิบัติทั่ว ๆ ไปแล้ว การชุบที่ความหนาแน่นของกระแสไฟฟ้ าต่าจะเคลือบ ผิวได้เป็นระเบียบและสวยงามกว่า แต่เสียเวลาในการชุบมากขึ้น 2.2.5 การกระจายของกระแสไฟฟ้ า เนื่องจากชิ้นงานที่จะทาการชุบมีรูปแตกต่างกันออกไป เช่น แบน กลม โค้ง แหลม ฯลฯ จะพบว่าจุดต่าง ๆ บนชิ้นงานจะห่างจากขั้วลบไม่เท่ากัน จุดใดที่อยู่ใกล้ขั้วลบ กระไฟฟ้าจะเดินทางได้สะดวกทาให้มี ลักษณะการกระจายของกระแสไฟฟ้าบริเวณจุดที่อยู่ใกล้มากกว่าที่อยู่ไกล และยิ่งตรงบริเวณใดที่มีลักษณะเป็นมุมแหลมด้วยแล้ว ยิ่งมีการกระจายของกระแสไฟฟ้าในบริเวณนั้นหนาแน่นมากขึ้นไป อีกเนื่องจากการกระจายของกระแสไฟฟ้า ก็คือการกระจายหรือการเคลื่อนที่ของอิออนของโลหะที่จะไปเกาะที่ขั้วลบ ดังนั้น จุดใดของขั้วลบที่อยู่ใกล้ขั้วบวกหรือจุดที่เป็นมุมแหลมจะมีการเกาะเคลือบผิวของโลหะบริเวณนั้นมากกว่าบริเวณอื่น ๆ จึงทาให้ผิวที่เคลือบบนชิ้นงานได้ดังรูปข้างล่างนี้ แสดงลักษณะของการกระจายของกระแสไฟฟ้ าและความหนาที่เคลือบในบริเวณต่าง ๆ ของชิ้นงาน
  • 2. จากรูปจะเห็นได้ว่า บริเวณของชิ้นงานส่วนที่เป็นมุมแหลมหรือใกล้ขั้วบวกจะมีการกระจายของกระแสไฟฟ้า หนาแน่นมากที่สุดและมีการเกาะเคลือบผิวหนาที่สุด ซึ่งถ้าต้องการชุบเคลือบออกมาในลักษณะเช่นนี้ ก็ไม่ต้องแก้ไขอะไร แต่ถ้าต้องการให้มีลักษณะของการชุบเคลือบผิวที่มีความหนาแน่นเท่า ๆ กันตลอดทั้งชิ้นงาน ก็อาจจะแก้ไขได้โดยหาแผ่น วัสดุที่ไม่ทาปฏิกิริยากับ น้ายาชุบมากั้นระหว่างขั้วบวกกับขั้วลบตรงบริเวณที่อยู่ใกล้กันเพื่อลดความหนาแน่นของกระแส ไฟฟ้าให้เหลือเท่าๆ กันทุกบริเวณของขั้วลบ วัสดุที่ใช้ควรเป็นวัสดุที่ไม่นาไฟฟ้า เช่นโพลีเอทธิลีน พีวีซี หรือโพลี่โปรปี ลีน เป็นต้น