SlideShare a Scribd company logo
13.2 การตรวจสอบวัสดุแบบไม่ทาลาย
การตรวจสอบวัสดุแบบไม่ทาลาย หมายถึง การนาวัสดุมาตรวจสอบวัสดุนั้นจะไม่เปลี่ยนรูปและสามารถนา
กลับมาใช้งานได้อีก ดังนั้น การตรวจวัสดุ แบบไม่ทาลายจึงนับว่ามีประโยชน์ การตรวจสอบประเภทนี้ต้องใช้อุปกรณ์และ
เครื่องมือที่มีราคาแพง เช่น
1. การตรวจสอบแบบเอ็กแรย์
2. การตรวจสอบแบบสังเกต
3. การตรวจสอบแบบเส้นแรงสนามแม่เหล็ก
4. การตรวจสอบแบบคลื่นความถี่
5. การตรวจสอบแบบจุ่มสารเคมี
13.2.1 การตรวจสอบด้วยเอกซเรย์ (X-Rays)
เอกซเรย์หรือรังสีเอกซ์ เป็นรังสีที่สามารถแล่นทะลุเนื้อโลหะ และวัสดุงานต่าง ๆ ได้เป็นส่วนมาก ลาแสง
ที่ผ่านชิ้นงานจะไปปรากฎที่ฉากรับภาพ คือ แผ่นฟิล์มหรือฉากเรืองแสง รอยตาหนิที่สามารถมองเห็นได้จากแผ่นฟิล์มคือ
ฟองอากาศแตก และจดยุบที่ไม่สามารถเห็นได้ด้วยตาเปล่า เพราะอยู่ในเนื้อโลหะงานเชื่อมที่ต้องการคุณภาพจะต้องตรวจ
ด้วยรังสีเอกซ์ทั้งนั้น
รูปที่ 13.1 ลักษณะตรวจสอบด้วยเอกซเรย์
13.2.2 การตรวจสอบแบบสังเกต
เป็นวิธีการตรวจสอบหาจุดบกพร่องบนชิ้นงาน โดยอาศัยการมองด้วยสายตา อาจจะใช้ไฟ แว่นขยายช่วย
ในการตรวจสอบ ดังนั้นวิธีการนี้จึงต้องอาศัยความชานาญของผู้ตรวจสอบที่จะต้องจดจาว่การชารุดขนาดไหนควรจะตัดทิ้ง
ขนาดไหนยอมให้ผ่านได้
ในสายตาการผลิตของโรงงานอุตสาหกรรม ชิ้นงานจะวิ่งผ่านผู้ทาการตรวจสอบผู้ตรวจสอบจะต้องทราบถึง
ข้อมูลที่บ่งบอกลักษณะการชารุด โดยปกติจะมีรูปภาพแสดงเปรียบเทียบเอาไว้ และผู้ตรวจสอบจะต้องทราบถึงระดับการ
ชารุดว่าขนาดไหน ยอมให้ผ่านได้ และระดับไหนต้องตัดทิ้ง เพื่อคัดชิ้นงานคุณภาพด้อยออไป
การตรวจสอบด้วยสายตานี้เป็นวิธีการตรวจสอบที่มีราคาถูก แต่จะตรวจสอบได้แต่ผิวภายนอกเท่านั้น ถ้า
หากการชารุดนั้นมีขนาดเล็กมาก ก็อาจจะยากต่อการมอง ผู้ตรวจสอบอาจจะมองผ่านไปโดยไม่เห็นข้อชารุดนั้นก็ได้
การตรวจสอบแบบเส้นแรงสนามแม่เหล็ก
วิธีตรวจสอบนี้อาศัยคุณสมบัติของแม่เหล็กเป็นเกณฑ์ เหมาะสาหรับใช้ทดสอบหาจุดตาหนิในชิ้นส่วน
เครื่องจักรกลที่สาคัญ ทาได้โดยการวางชิ้นงานที่จะทดสอบไว้ระหว่างขั้วแม่เหล็ก เส้นรแงแม่เหล็กจะแล่นผ่านชิ้นทดสอบ
ที่ใดมีจุดตาหนิตรงนั้นเส้นแรงแม่เหล็กจะหลีกหนี เพราะเนื้อเหล็กไม่ต่อกัน ทาให้ทางเดินของเส้นแรงแม่เหล็ก ณ จุดนั้น
ไม่ขนานคงที่อย่างที่ควรเป็น ถ้าต้องการมองเห็นชัดเจนอาจใช้น้าม้นทาผิวงาแล้วโรยด้วยผงตะไบเหล็กจะมองเห็นทางเดิน
ของเส้นแรงแม่เหล็ก
รูปที่13.2 วิธีตรวจด้วยเส้นแรงแม่เหล็ก
13.2.3 การตรวจสอบด้วยคลื่นความถี่
เป็นการตรวจสอบด้วยคลื่นความถี่หรือยูที ใช้ตรวจสอบชิ้นงานที่ต้องการตรวจสอบดูการชารุดภายในรอย
แตกร้าว การพรุน การผุกร่อน การมีสารมลทินแปลกปลอมแทรกอยู่ โดยการปล่อยคลื่นเข้าไปทางปลายข้างหนึ่งของชิ้น
ตรวจสอบ เมื่อคลื่นเดินทางไปกระทบจุดขว้างจะสะท้อนกลับ
รูปที่13.3 การตรวจสอบโดยการใช้คลื่นความถี่สูง
รูปที่13.4 การตรวจสอบด้วยคลื่นเสียง
13.2.4 การตรวจสอบแบบจุมสารเคมี
เป็นการตรวจสอบโดยใช้สารแทรกซึมหรือพีที (PT) เป็นวิธีที่ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อให้สะดวกกับการสังเกตมาก
ยิ่งขึ้นถ้ากฃหากชิ้นงานมีรอยแตกหรือมีรูพรุนภายใน ซึ่งอาจจะมองด้วยตาไม่เห็นหรืออาจจะใช้แว่นขยายก็ช่วยตรวจสอบ
ไม่ได้ จาเป็นต้องหาบางอย่างมาช่วยให้มองเห็นสะดวกยิ่งขึ้น สิ่งที่จะนามาช่วยในการตรวจสอบวิธีนี้ ก็คือ ของเหลวที่มี
คุณสมบัติแทรกซึมเข้าและออกในรูเล็ก ๆ ได้สูงมาก กล่าวคือ ถ้ามีรูเล็ก ๆ เกิดขึ้นของเหลวชนิดนี้จะซึมเข้าไปอยู่ภายใน
เมื่อเราเอาน้ามาล้างผิวนอกของชิ้นงาน ของเหลวก็จะยังคงค้างอยู่ภายในรูปนั้นแต่พอเอาน้ายาอีกประเภทหนึ่งมาหาหรือพ่น
ลงบนชิ้นงานสีหรือของเหลวที่ซึมอยู่ในรู ก็จะไหลตัวออกมาข้างนอก แสดงจุดชารุดนั้นทันที
สารหรือน้ายาที่ใช้แทรกซึมนี้มีทั้งประเภทเป็นสี และประเภทเรืองแสงเป็นวิธีเหมาะสมในการตรวจสอบ
โลหะ แก้ว เซรามิคและวัสดุที่ไม่พรุน
รูปที่13.5 น้ายาตรวจสอบชนิดพ่น แทรกซึมหารอยแตกร้าวบนชิ้นงาน
ในการตรวจสอบวัสดุนั้นเป็นการตรวจสอบหาความบกพร่องของชิ้นงนหรือคุณสมบัติของชิ้น งานอย่าง
ประมาณไม่สามารถระบุค่าได้ ผู้ทาการตรวจสอบจะต้องมีความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ ตลอดจนการตัดสินใจว่า วัสดุที่
นามาใช้หรือที่ผลิตมีคุณสมบัติตามต้องการหรือไม่

13 2

  • 1. 13.2 การตรวจสอบวัสดุแบบไม่ทาลาย การตรวจสอบวัสดุแบบไม่ทาลาย หมายถึง การนาวัสดุมาตรวจสอบวัสดุนั้นจะไม่เปลี่ยนรูปและสามารถนา กลับมาใช้งานได้อีก ดังนั้น การตรวจวัสดุ แบบไม่ทาลายจึงนับว่ามีประโยชน์ การตรวจสอบประเภทนี้ต้องใช้อุปกรณ์และ เครื่องมือที่มีราคาแพง เช่น 1. การตรวจสอบแบบเอ็กแรย์ 2. การตรวจสอบแบบสังเกต 3. การตรวจสอบแบบเส้นแรงสนามแม่เหล็ก 4. การตรวจสอบแบบคลื่นความถี่ 5. การตรวจสอบแบบจุ่มสารเคมี 13.2.1 การตรวจสอบด้วยเอกซเรย์ (X-Rays) เอกซเรย์หรือรังสีเอกซ์ เป็นรังสีที่สามารถแล่นทะลุเนื้อโลหะ และวัสดุงานต่าง ๆ ได้เป็นส่วนมาก ลาแสง ที่ผ่านชิ้นงานจะไปปรากฎที่ฉากรับภาพ คือ แผ่นฟิล์มหรือฉากเรืองแสง รอยตาหนิที่สามารถมองเห็นได้จากแผ่นฟิล์มคือ ฟองอากาศแตก และจดยุบที่ไม่สามารถเห็นได้ด้วยตาเปล่า เพราะอยู่ในเนื้อโลหะงานเชื่อมที่ต้องการคุณภาพจะต้องตรวจ ด้วยรังสีเอกซ์ทั้งนั้น รูปที่ 13.1 ลักษณะตรวจสอบด้วยเอกซเรย์ 13.2.2 การตรวจสอบแบบสังเกต เป็นวิธีการตรวจสอบหาจุดบกพร่องบนชิ้นงาน โดยอาศัยการมองด้วยสายตา อาจจะใช้ไฟ แว่นขยายช่วย ในการตรวจสอบ ดังนั้นวิธีการนี้จึงต้องอาศัยความชานาญของผู้ตรวจสอบที่จะต้องจดจาว่การชารุดขนาดไหนควรจะตัดทิ้ง ขนาดไหนยอมให้ผ่านได้ ในสายตาการผลิตของโรงงานอุตสาหกรรม ชิ้นงานจะวิ่งผ่านผู้ทาการตรวจสอบผู้ตรวจสอบจะต้องทราบถึง ข้อมูลที่บ่งบอกลักษณะการชารุด โดยปกติจะมีรูปภาพแสดงเปรียบเทียบเอาไว้ และผู้ตรวจสอบจะต้องทราบถึงระดับการ ชารุดว่าขนาดไหน ยอมให้ผ่านได้ และระดับไหนต้องตัดทิ้ง เพื่อคัดชิ้นงานคุณภาพด้อยออไป การตรวจสอบด้วยสายตานี้เป็นวิธีการตรวจสอบที่มีราคาถูก แต่จะตรวจสอบได้แต่ผิวภายนอกเท่านั้น ถ้า หากการชารุดนั้นมีขนาดเล็กมาก ก็อาจจะยากต่อการมอง ผู้ตรวจสอบอาจจะมองผ่านไปโดยไม่เห็นข้อชารุดนั้นก็ได้
  • 2. การตรวจสอบแบบเส้นแรงสนามแม่เหล็ก วิธีตรวจสอบนี้อาศัยคุณสมบัติของแม่เหล็กเป็นเกณฑ์ เหมาะสาหรับใช้ทดสอบหาจุดตาหนิในชิ้นส่วน เครื่องจักรกลที่สาคัญ ทาได้โดยการวางชิ้นงานที่จะทดสอบไว้ระหว่างขั้วแม่เหล็ก เส้นรแงแม่เหล็กจะแล่นผ่านชิ้นทดสอบ ที่ใดมีจุดตาหนิตรงนั้นเส้นแรงแม่เหล็กจะหลีกหนี เพราะเนื้อเหล็กไม่ต่อกัน ทาให้ทางเดินของเส้นแรงแม่เหล็ก ณ จุดนั้น ไม่ขนานคงที่อย่างที่ควรเป็น ถ้าต้องการมองเห็นชัดเจนอาจใช้น้าม้นทาผิวงาแล้วโรยด้วยผงตะไบเหล็กจะมองเห็นทางเดิน ของเส้นแรงแม่เหล็ก รูปที่13.2 วิธีตรวจด้วยเส้นแรงแม่เหล็ก 13.2.3 การตรวจสอบด้วยคลื่นความถี่ เป็นการตรวจสอบด้วยคลื่นความถี่หรือยูที ใช้ตรวจสอบชิ้นงานที่ต้องการตรวจสอบดูการชารุดภายในรอย แตกร้าว การพรุน การผุกร่อน การมีสารมลทินแปลกปลอมแทรกอยู่ โดยการปล่อยคลื่นเข้าไปทางปลายข้างหนึ่งของชิ้น ตรวจสอบ เมื่อคลื่นเดินทางไปกระทบจุดขว้างจะสะท้อนกลับ รูปที่13.3 การตรวจสอบโดยการใช้คลื่นความถี่สูง รูปที่13.4 การตรวจสอบด้วยคลื่นเสียง
  • 3. 13.2.4 การตรวจสอบแบบจุมสารเคมี เป็นการตรวจสอบโดยใช้สารแทรกซึมหรือพีที (PT) เป็นวิธีที่ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อให้สะดวกกับการสังเกตมาก ยิ่งขึ้นถ้ากฃหากชิ้นงานมีรอยแตกหรือมีรูพรุนภายใน ซึ่งอาจจะมองด้วยตาไม่เห็นหรืออาจจะใช้แว่นขยายก็ช่วยตรวจสอบ ไม่ได้ จาเป็นต้องหาบางอย่างมาช่วยให้มองเห็นสะดวกยิ่งขึ้น สิ่งที่จะนามาช่วยในการตรวจสอบวิธีนี้ ก็คือ ของเหลวที่มี คุณสมบัติแทรกซึมเข้าและออกในรูเล็ก ๆ ได้สูงมาก กล่าวคือ ถ้ามีรูเล็ก ๆ เกิดขึ้นของเหลวชนิดนี้จะซึมเข้าไปอยู่ภายใน เมื่อเราเอาน้ามาล้างผิวนอกของชิ้นงาน ของเหลวก็จะยังคงค้างอยู่ภายในรูปนั้นแต่พอเอาน้ายาอีกประเภทหนึ่งมาหาหรือพ่น ลงบนชิ้นงานสีหรือของเหลวที่ซึมอยู่ในรู ก็จะไหลตัวออกมาข้างนอก แสดงจุดชารุดนั้นทันที สารหรือน้ายาที่ใช้แทรกซึมนี้มีทั้งประเภทเป็นสี และประเภทเรืองแสงเป็นวิธีเหมาะสมในการตรวจสอบ โลหะ แก้ว เซรามิคและวัสดุที่ไม่พรุน รูปที่13.5 น้ายาตรวจสอบชนิดพ่น แทรกซึมหารอยแตกร้าวบนชิ้นงาน ในการตรวจสอบวัสดุนั้นเป็นการตรวจสอบหาความบกพร่องของชิ้นงนหรือคุณสมบัติของชิ้น งานอย่าง ประมาณไม่สามารถระบุค่าได้ ผู้ทาการตรวจสอบจะต้องมีความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ ตลอดจนการตัดสินใจว่า วัสดุที่ นามาใช้หรือที่ผลิตมีคุณสมบัติตามต้องการหรือไม่