SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
1.1 การออกแบบระบบท่อระบายอากาศ
1.1.1 หลักการระบาย
การระบายอากาศ หมายถึง การเปลี่ยนอากาศในที่ทางานหรือที่อยู่อาศัยที่ใดมีคนอยู่การหายใจของคนจะลด
ออกซิเจนโดยรอบทาให้เกิดมลภาวะขึ้นเพื่อรักษาสภาวะความรู้สึกสบายของคนจึงต้องมีวิธีนาอากาศภายนอกมา
ทดแทนอากาศเสียวิธีที่ดีที่สุดคือเปิดหน้าต่างในการปรับอากาศไม่อาจทาเช่นนี้ได้เพราะจะสูญความเย็นไปหมดปกติ
อากาศในบ้านจะลอยตัวขึ้นสูงและเล็ดลอดไปตมช่องต่างๆ ของบ้านออกภายนอกจะเข้ามาแทนที่ถ้าหากมีการปรับ
อากาศจะตรงข้าม กล่าวคือ อากาศเย็นในบ้านจะลอยต่าลงและเล็ดลอดออกตามช่องต่างๆ ส่วนล่างของบ้าน ส่วน
อากาศนอกบ้านที่ร้อนกว่าจะเข้ามาแทนที่ จากส่วนบนของบ้าน ในเรื่องของการปรับอากาศเพื่อให้คนในห้องปรับ
อากาศมีความรู้สึกสบายอากาศหมุนเวียนมาแทนที่อากาศเสียจะถูกปรับปรุง และทาให้สะอาด อากาศที่ถูกปรับปรุงนี้
เรียกว่า “อากาศปรุงแต่ง” (makeup air)
อากาศในห้องหรือสถานที่ใดๆ ที่มีความดันเหนือกว่าความดันบรรยากาศ(14.7 psi
หรือ 1 ก.ก. ต่อ ตร. ซม.) เรียกว่าความดันบวก ถ้าความดันต่ากว่าความดันบรรยากาศเรียกว่าความดันลบ
ภูมิอากาศ (Climate) หมายถึง สภาวะอากาศในประเทศ มีความหมายรวมถึงอุณหภูมิความชื้น แสงแดด ความ
ดันอากาศ และความเร็วลม
ในอากาศจึงต้องปรับให้อุณหภูมิตามที่ต้องการ
ลักษณะภูมิอากาศ (Weather) หมายถึง สภาวะในบรรยากาศ เช่น อุณหภูมิ ความเร็ว
ลม ทิศทาง ลมเมฆ ความชื้น และความดันบรรยากาศ
อุณหภูมิของอากาศ (Air Temperature) ไม่คงที่แปรเปลี่ยนไปตามฤดูกาล แต่อุณหภูมิในการปรับอากาศที่ดีคือ
72 ˚F (22 ˚C)
ตามปกติคนเรามีอุณหภูมิร่างกาย 98.6 ˚F (37˚C) อุณหภูมิที่มีผิวหนังต่ากว่าเล็กน้อย
คือประมาณ 91˚ (33˚C) คนเราจะรู้สึกร้อนหรือเย็นก็ขึ้นอยู่กับว่า เราเสียความร้อน ให้บรรยากาศหรือรับความร้อน
เข้ามา
ความร้อนจาเพาะของอากาศ (แห้ง) คือ 24 Btu ต่อ ปอนด์ ขีดที่เป็นอันตรายถึงตาย การหาขีดความ
ปลอดภัยของแต่ละชนิดจะต้องศึกษาถึงอันตรายทางเคมีโดยทดลองศึกษาผลทางสถิติและทดลองใช้ในระยะนับเป็น
การถ่ายเทอากาศและกระจายลม
การถ่ายเทอากาศและกระจายลมนับว่าเป็นเรื่องสาคัญอย่างหนึ่ง เพราะเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องโดยกับผู้อาศัยใน
บริเวณ ผู้คนจะรู้สึกสบายต่อเมื่อการถ่ายเทอากาศ และการ กระจายลมเป็นไปอย่างกลมกลืน ในบางครั้งอุณหภูมิใน
บริเวณห้องอาจไม่สูงแต่การถ่ายอากาศไม่ดีจะทาให้ผู้คนรู้สึกอึดอัด หรืออบอ้าวได้
ความเร็วลมภายในห้องนับว่ามีความสาคัญเป็นอย่างมากต่อการอยู่อาศัยของผู้คน ผู้อยูในห้องจะรู้สึกสบายเมื่อ
ลมเคลื่อนที่ผ่านด้วยความเร็ว 15-25 ฟุตต่อนาที แต่ถ้าความเร็วลมต่ากว่า 15 ฟุตต่อนาที การถ่ายเทความร้อนของร่างกาย
ตามผิวหนังโดยการระเหยจะเป็นไปในอัตราต่าจึงทาให้ผู้คนรู้สึกอึดอัดและอบอ้าว ในทางกลับกัน ถ้าความเร็วลมเกิน 50
ฟุตต่อนาที จะทาให้รู้สึกว่ามีลมพัดแรง ถ้าอุณหภูมิในห้องเย็นพอจะทาให้รู้สึกเย็นที่เท้า คอเยือกที่หลัง และถ้าความเร็ว
ลมสูงเกิน 50 ฟุตต่อนาที กระดาษอาจปลิว
การระบายอากาศ หมายถึง การขจัดอากาศเสียหรือของเสียที่คอยปะปนอยู่ในอากาศซึ่งจะเป็นอันตรายต่อ
สุขภาพ ให้ออกไปจากบริเวณที่อาศัย
คาว่า “อากาศเสีย” หมายถึง ควัน ฝุ่นละออง ผง แก๊สพิษ กลิ่นเหม็น และอื่นๆ ที่
สามารถลอยอยู่ในอากาศ สิ่งเหล่านี้รวมเรียกว่า “มลภาวะ” (Contaninanis)
การระบายอากาศเป็นวิธีที่นิยมมากในการลดความเข้มข้นของมลภาวะ ที่ลอยปนอยู่ในอากาศในบริเวณที่อยู่
อาศัยซึ่งเป็นอันตราย
“อันตราย” หมายถึง เป็นอันตรายต่อสุขภาพและอันตรายที่จะทาให้เกิดการระเบิดและติดไฟ
การระบายอากาศเจือปนในอากาศ
เมื่อมีมลภาวะถูกปล่อยออกมาเจือปนกับอากาศในห้องในที่ 1.1 อาจให้ลมหรือการ ไหลเวียนของอากาศตาม
ธรรมชาติเพื่อให้มลภาวะเจือจางลง จนอยู่ในระดับที่ไม่เป็นอันตราย แต่ในการระบายอากาศต้องพิจารณาดังนี้
1. ปริมาณมลภาวะที่ถูกปล่อยออกมาในห้องทางานนั้นมีอัตราคงที่หรือไม่
2. คนงานต้องอยู่ห่างจากแหล่งกาเนิดมลภาวะในระยะที่ปลอดภัย (กรณีที่จะมีการ
ระเบิดและการติดไฟ)
3. มลภาวะที่ปล่อยออกมามีอัตราความเป็นพิษ หรืออัตราการติดไฟสูงต่าเพียงใด
4. เลือกเครื่องกรองอากาศให้เหมาะสมกับชนิดของมลภาวะ เพื่อกรองเก็บมลภาวะ
เสียก่อนที่จะระบายออกสู่บรรยากาศภายนอก
5. มลภาวะนั้นๆ เป็นสารพวกกัดกร่อนหรือไม่
รูปที่ 1.1 ลักษณะการกระจายของมลภาวะในห้อง
จากรูปที่ 1.1 จะเห็นได้ว่าปัญหาการระบายอากาศก็เนื่องจากปริมาณของมลภาวะมาก
และบริเวณกว้างเกินไป ไม่สามารถระบายออกทันตามความต้องการ จึงทาให้มลภาวะไหลวนอยู่ในห้อง ซึ่งเป็นอันตราย
ต่อคนงานมาก
ดังนั้น จึงจาเป็นต้องใช้ระบบระบายที่มีช่องทางเข้า (Hood) ท่อลม (Duct) เครื่อง
กรองอากาศ (Air Cleaner) และพัดลม (fan) ประกอบเข้าด้วยกัน ประโยชน์ที่จะได้รับการติดตั้งระบบระบายอากาศที่
ประกอบด้วยอุปกรณ์ดังกล่าว คือสามารถระบายมลภาวะออกไปได้ก่อนที่จะทาให้อากาศสกปรก ดังในรูปที่ 5.2 ดังนั้น จึง
มีขั้นตอนในการออกแบบ คือ
1. จะต้องหาปริมาณของมลภาวะ
2. หาปริมาณอากาศที่ระบายออก เพื่อลดความเป็นพิษของมลภาวะให้อยู่ในระดับที่ดี
3. การออกแบบทุกครั้งเสียค่าใช้จ่ายน้อยที่สุด
รูปที่ 1.2 ระยะระบายที่ครบองค์ประกอบ
การป้ องกันสภาพแวดล้อมเป็นพิษ
เครื่องกรองอากาศจะทาหน้าที่จับมลภาวะไว้มิให้ไปปนกับอากาศที่ระบายออกสู่
สภาพแวดล้อม ซึ่งจะเป็นเหตุให้บรรยากาศภายนอกเป็นพิษ แต่อย่างไรก็ตามจะมีการกรองอากาศหรือไม่นั้นขึ้นอยู่กับอัตรา
ความเป็นพิษของมลภาวะนั้นๆ หรือบางครั้งจะต้องคานึงถึงกฎกระทรวงที่จะบังคับให้โรงงานอุตสาหกรรมกรองอากาศให้
ได้ตามมาตรฐาน เพื่อความปลอดภัยต่อชุมชนที่แท้จริง

More Related Content

Viewers also liked

ประมวลภาพ โครงการแข่งขันทักษะมาตรวิทยาด้านมิติ ครั้งที่ 1
ประมวลภาพ โครงการแข่งขันทักษะมาตรวิทยาด้านมิติ ครั้งที่ 1ประมวลภาพ โครงการแข่งขันทักษะมาตรวิทยาด้านมิติ ครั้งที่ 1
ประมวลภาพ โครงการแข่งขันทักษะมาตรวิทยาด้านมิติ ครั้งที่ 1Rapin Polsongkram
 
Domestic / foreign Investment in Pakistan
Domestic / foreign Investment in PakistanDomestic / foreign Investment in Pakistan
Domestic / foreign Investment in PakistanSheikh Hasnain
 
Intermediate Nebenthema
Intermediate NebenthemaIntermediate Nebenthema
Intermediate NebenthemaMara Siegel
 
Drupal 8, tricks and tips learned from the first 6 months
Drupal 8, tricks and tips learned from the first 6 monthsDrupal 8, tricks and tips learned from the first 6 months
Drupal 8, tricks and tips learned from the first 6 monthsIztok Smolic
 
What is Drupal? An Introduction to Drupal 8
What is Drupal? An Introduction to Drupal 8What is Drupal? An Introduction to Drupal 8
What is Drupal? An Introduction to Drupal 8Suzanne Dergacheva
 
Felvilágosodás, klasszicizmus
Felvilágosodás, klasszicizmusFelvilágosodás, klasszicizmus
Felvilágosodás, klasszicizmusKazasE
 
Bi23 pecha kucha-4
Bi23 pecha kucha-4Bi23 pecha kucha-4
Bi23 pecha kucha-4Arlayun Imo
 
Responsive Design in Drupal with Zen and Zen Grids
Responsive Design in Drupal with Zen and Zen GridsResponsive Design in Drupal with Zen and Zen Grids
Responsive Design in Drupal with Zen and Zen GridsSuzanne Dergacheva
 
Factors affecting foreign direct investment
Factors affecting foreign direct investmentFactors affecting foreign direct investment
Factors affecting foreign direct investmentPremium Essays
 
La immunitat
La  immunitatLa  immunitat
La immunitatAnna Giro
 

Viewers also liked (14)

ประมวลภาพ โครงการแข่งขันทักษะมาตรวิทยาด้านมิติ ครั้งที่ 1
ประมวลภาพ โครงการแข่งขันทักษะมาตรวิทยาด้านมิติ ครั้งที่ 1ประมวลภาพ โครงการแข่งขันทักษะมาตรวิทยาด้านมิติ ครั้งที่ 1
ประมวลภาพ โครงการแข่งขันทักษะมาตรวิทยาด้านมิติ ครั้งที่ 1
 
Domestic / foreign Investment in Pakistan
Domestic / foreign Investment in PakistanDomestic / foreign Investment in Pakistan
Domestic / foreign Investment in Pakistan
 
Intermediate Nebenthema
Intermediate NebenthemaIntermediate Nebenthema
Intermediate Nebenthema
 
Drupal 8, tricks and tips learned from the first 6 months
Drupal 8, tricks and tips learned from the first 6 monthsDrupal 8, tricks and tips learned from the first 6 months
Drupal 8, tricks and tips learned from the first 6 months
 
What is Drupal? An Introduction to Drupal 8
What is Drupal? An Introduction to Drupal 8What is Drupal? An Introduction to Drupal 8
What is Drupal? An Introduction to Drupal 8
 
Felvilágosodás, klasszicizmus
Felvilágosodás, klasszicizmusFelvilágosodás, klasszicizmus
Felvilágosodás, klasszicizmus
 
Bi23 pecha kucha-4
Bi23 pecha kucha-4Bi23 pecha kucha-4
Bi23 pecha kucha-4
 
Responsive Design in Drupal with Zen and Zen Grids
Responsive Design in Drupal with Zen and Zen GridsResponsive Design in Drupal with Zen and Zen Grids
Responsive Design in Drupal with Zen and Zen Grids
 
3 1
3 13 1
3 1
 
6 1
6 16 1
6 1
 
2 5
2 52 5
2 5
 
Factors affecting foreign direct investment
Factors affecting foreign direct investmentFactors affecting foreign direct investment
Factors affecting foreign direct investment
 
La immunitat
La  immunitatLa  immunitat
La immunitat
 
Discourse Analysis ppt
Discourse Analysis pptDiscourse Analysis ppt
Discourse Analysis ppt
 

More from Pannathat Champakul (20)

เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
 
505
505505
505
 
407
407407
407
 
603
603603
603
 
602
602602
602
 
601
601601
601
 
600
600600
600
 
504
504504
504
 
503
503503
503
 
502
502502
502
 
501
501501
501
 
500
500500
500
 
406
406406
406
 
405
405405
405
 
404
404404
404
 
403
403403
403
 
402
402402
402
 
401
401401
401
 
400
400400
400
 
305
305305
305
 

งานโลหะแผ่น1 1

  • 1. 1.1 การออกแบบระบบท่อระบายอากาศ 1.1.1 หลักการระบาย การระบายอากาศ หมายถึง การเปลี่ยนอากาศในที่ทางานหรือที่อยู่อาศัยที่ใดมีคนอยู่การหายใจของคนจะลด ออกซิเจนโดยรอบทาให้เกิดมลภาวะขึ้นเพื่อรักษาสภาวะความรู้สึกสบายของคนจึงต้องมีวิธีนาอากาศภายนอกมา ทดแทนอากาศเสียวิธีที่ดีที่สุดคือเปิดหน้าต่างในการปรับอากาศไม่อาจทาเช่นนี้ได้เพราะจะสูญความเย็นไปหมดปกติ อากาศในบ้านจะลอยตัวขึ้นสูงและเล็ดลอดไปตมช่องต่างๆ ของบ้านออกภายนอกจะเข้ามาแทนที่ถ้าหากมีการปรับ อากาศจะตรงข้าม กล่าวคือ อากาศเย็นในบ้านจะลอยต่าลงและเล็ดลอดออกตามช่องต่างๆ ส่วนล่างของบ้าน ส่วน อากาศนอกบ้านที่ร้อนกว่าจะเข้ามาแทนที่ จากส่วนบนของบ้าน ในเรื่องของการปรับอากาศเพื่อให้คนในห้องปรับ อากาศมีความรู้สึกสบายอากาศหมุนเวียนมาแทนที่อากาศเสียจะถูกปรับปรุง และทาให้สะอาด อากาศที่ถูกปรับปรุงนี้ เรียกว่า “อากาศปรุงแต่ง” (makeup air) อากาศในห้องหรือสถานที่ใดๆ ที่มีความดันเหนือกว่าความดันบรรยากาศ(14.7 psi หรือ 1 ก.ก. ต่อ ตร. ซม.) เรียกว่าความดันบวก ถ้าความดันต่ากว่าความดันบรรยากาศเรียกว่าความดันลบ ภูมิอากาศ (Climate) หมายถึง สภาวะอากาศในประเทศ มีความหมายรวมถึงอุณหภูมิความชื้น แสงแดด ความ ดันอากาศ และความเร็วลม ในอากาศจึงต้องปรับให้อุณหภูมิตามที่ต้องการ ลักษณะภูมิอากาศ (Weather) หมายถึง สภาวะในบรรยากาศ เช่น อุณหภูมิ ความเร็ว ลม ทิศทาง ลมเมฆ ความชื้น และความดันบรรยากาศ อุณหภูมิของอากาศ (Air Temperature) ไม่คงที่แปรเปลี่ยนไปตามฤดูกาล แต่อุณหภูมิในการปรับอากาศที่ดีคือ 72 ˚F (22 ˚C) ตามปกติคนเรามีอุณหภูมิร่างกาย 98.6 ˚F (37˚C) อุณหภูมิที่มีผิวหนังต่ากว่าเล็กน้อย คือประมาณ 91˚ (33˚C) คนเราจะรู้สึกร้อนหรือเย็นก็ขึ้นอยู่กับว่า เราเสียความร้อน ให้บรรยากาศหรือรับความร้อน เข้ามา ความร้อนจาเพาะของอากาศ (แห้ง) คือ 24 Btu ต่อ ปอนด์ ขีดที่เป็นอันตรายถึงตาย การหาขีดความ ปลอดภัยของแต่ละชนิดจะต้องศึกษาถึงอันตรายทางเคมีโดยทดลองศึกษาผลทางสถิติและทดลองใช้ในระยะนับเป็น การถ่ายเทอากาศและกระจายลม การถ่ายเทอากาศและกระจายลมนับว่าเป็นเรื่องสาคัญอย่างหนึ่ง เพราะเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องโดยกับผู้อาศัยใน บริเวณ ผู้คนจะรู้สึกสบายต่อเมื่อการถ่ายเทอากาศ และการ กระจายลมเป็นไปอย่างกลมกลืน ในบางครั้งอุณหภูมิใน บริเวณห้องอาจไม่สูงแต่การถ่ายอากาศไม่ดีจะทาให้ผู้คนรู้สึกอึดอัด หรืออบอ้าวได้ ความเร็วลมภายในห้องนับว่ามีความสาคัญเป็นอย่างมากต่อการอยู่อาศัยของผู้คน ผู้อยูในห้องจะรู้สึกสบายเมื่อ ลมเคลื่อนที่ผ่านด้วยความเร็ว 15-25 ฟุตต่อนาที แต่ถ้าความเร็วลมต่ากว่า 15 ฟุตต่อนาที การถ่ายเทความร้อนของร่างกาย ตามผิวหนังโดยการระเหยจะเป็นไปในอัตราต่าจึงทาให้ผู้คนรู้สึกอึดอัดและอบอ้าว ในทางกลับกัน ถ้าความเร็วลมเกิน 50 ฟุตต่อนาที จะทาให้รู้สึกว่ามีลมพัดแรง ถ้าอุณหภูมิในห้องเย็นพอจะทาให้รู้สึกเย็นที่เท้า คอเยือกที่หลัง และถ้าความเร็ว ลมสูงเกิน 50 ฟุตต่อนาที กระดาษอาจปลิว
  • 2. การระบายอากาศ หมายถึง การขจัดอากาศเสียหรือของเสียที่คอยปะปนอยู่ในอากาศซึ่งจะเป็นอันตรายต่อ สุขภาพ ให้ออกไปจากบริเวณที่อาศัย คาว่า “อากาศเสีย” หมายถึง ควัน ฝุ่นละออง ผง แก๊สพิษ กลิ่นเหม็น และอื่นๆ ที่ สามารถลอยอยู่ในอากาศ สิ่งเหล่านี้รวมเรียกว่า “มลภาวะ” (Contaninanis) การระบายอากาศเป็นวิธีที่นิยมมากในการลดความเข้มข้นของมลภาวะ ที่ลอยปนอยู่ในอากาศในบริเวณที่อยู่ อาศัยซึ่งเป็นอันตราย “อันตราย” หมายถึง เป็นอันตรายต่อสุขภาพและอันตรายที่จะทาให้เกิดการระเบิดและติดไฟ การระบายอากาศเจือปนในอากาศ เมื่อมีมลภาวะถูกปล่อยออกมาเจือปนกับอากาศในห้องในที่ 1.1 อาจให้ลมหรือการ ไหลเวียนของอากาศตาม ธรรมชาติเพื่อให้มลภาวะเจือจางลง จนอยู่ในระดับที่ไม่เป็นอันตราย แต่ในการระบายอากาศต้องพิจารณาดังนี้ 1. ปริมาณมลภาวะที่ถูกปล่อยออกมาในห้องทางานนั้นมีอัตราคงที่หรือไม่ 2. คนงานต้องอยู่ห่างจากแหล่งกาเนิดมลภาวะในระยะที่ปลอดภัย (กรณีที่จะมีการ ระเบิดและการติดไฟ) 3. มลภาวะที่ปล่อยออกมามีอัตราความเป็นพิษ หรืออัตราการติดไฟสูงต่าเพียงใด 4. เลือกเครื่องกรองอากาศให้เหมาะสมกับชนิดของมลภาวะ เพื่อกรองเก็บมลภาวะ เสียก่อนที่จะระบายออกสู่บรรยากาศภายนอก 5. มลภาวะนั้นๆ เป็นสารพวกกัดกร่อนหรือไม่ รูปที่ 1.1 ลักษณะการกระจายของมลภาวะในห้อง จากรูปที่ 1.1 จะเห็นได้ว่าปัญหาการระบายอากาศก็เนื่องจากปริมาณของมลภาวะมาก และบริเวณกว้างเกินไป ไม่สามารถระบายออกทันตามความต้องการ จึงทาให้มลภาวะไหลวนอยู่ในห้อง ซึ่งเป็นอันตราย ต่อคนงานมาก
  • 3. ดังนั้น จึงจาเป็นต้องใช้ระบบระบายที่มีช่องทางเข้า (Hood) ท่อลม (Duct) เครื่อง กรองอากาศ (Air Cleaner) และพัดลม (fan) ประกอบเข้าด้วยกัน ประโยชน์ที่จะได้รับการติดตั้งระบบระบายอากาศที่ ประกอบด้วยอุปกรณ์ดังกล่าว คือสามารถระบายมลภาวะออกไปได้ก่อนที่จะทาให้อากาศสกปรก ดังในรูปที่ 5.2 ดังนั้น จึง มีขั้นตอนในการออกแบบ คือ 1. จะต้องหาปริมาณของมลภาวะ 2. หาปริมาณอากาศที่ระบายออก เพื่อลดความเป็นพิษของมลภาวะให้อยู่ในระดับที่ดี 3. การออกแบบทุกครั้งเสียค่าใช้จ่ายน้อยที่สุด รูปที่ 1.2 ระยะระบายที่ครบองค์ประกอบ การป้ องกันสภาพแวดล้อมเป็นพิษ เครื่องกรองอากาศจะทาหน้าที่จับมลภาวะไว้มิให้ไปปนกับอากาศที่ระบายออกสู่ สภาพแวดล้อม ซึ่งจะเป็นเหตุให้บรรยากาศภายนอกเป็นพิษ แต่อย่างไรก็ตามจะมีการกรองอากาศหรือไม่นั้นขึ้นอยู่กับอัตรา ความเป็นพิษของมลภาวะนั้นๆ หรือบางครั้งจะต้องคานึงถึงกฎกระทรวงที่จะบังคับให้โรงงานอุตสาหกรรมกรองอากาศให้ ได้ตามมาตรฐาน เพื่อความปลอดภัยต่อชุมชนที่แท้จริง