SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
ความยาว
1 ความยาวที่ใช้ในงานอุตสาหกรรมหรืองานช่างเป็นการกาหนดระยะทางหรือความยาวของ
แบบในเชิงวิศวกรรมให้แน่นอน ช่วยให้ผู้สร้างงานสามารถเข้าใจ และผลิตวัสดุงานได้ตาม
วัตถุประสงค์ ความยาวจะกาหนดในระบบอังกฤษ ผู้สร้างจะไม่นิยมใช้ เนื่องจากความละเอียดของ
หน่วยวัดจะไม่ละเอียดเท่ากับระบบเมตริก หน่วยวัดที่ละเอียดที่สุดของระบบอังกฤษก็คือหุน หรือ
เศษส่วนของนิ้ว 1 นิ้ว จะมีค่าเท่ากับ 8 หุน แล้วก็ตาม
ความยาวที่ใช้จะแบ่งลักษณะตามความเหมาะสมอกเป็นส่วนใหญ่ๆ 2 ส่วน คือ ความยาว
เส้นตรงและความยาวเส้นโค้ง ความยาวเส้นตรงยังแบ่งลักษณะการคานวณออกเป็นความยาวที่มีเส้น
ศูนย์กลางและไม่มีเส้นศูนย์กลาง การพิจารณาจะต้องมีหลักเกณฑ์การคานวณที่แน่นอน
ในแต่ละลักษณะของงาน
1. การคานวณหาความยาวเส้นรอบรูป
การคานวณหาความยาวเส้นรอบรูป หมายถึง การคานวณหาความยาวเส้นรอบรูป
ทั้งหมด โดยการนาเอาค่าความยาวเส้นรอบรูปทั้งหมดมารวมกัน
1.1 ความยาวเส้นรอบรูปหลายเหลี่ยมด้านไม่เท่า ให้หาค่าผลบวกของความยาว
แต่ละด้าน
เมื่อกาหนด
L = ความยาวเส้นรอบรูป (มม.)
 = ความยาวด้าน (มม.)
1
สุรพล ศรีจารูญ . คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ. 2547.
หน้า 12.
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 2 ความยาว 2 คาบ
ใบความรู้ เรื่อง 2.1 ความยาวเส้นรอบรูป
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
L =  321  _ _ _ _ n
ความยาวที่ใช้จะแบ่งลักษณะตามความเหมาะสมออกเป็นส่วนใหญ่ ๆ 2 ส่วน คือ ความยาว
ตัวอย่างที่ 2.1 จากรูปที่ 1 จงคานวณหาค่าความยาวเส้นรอบรูป
รูปที่ 1
วิธีทา L = 4321  
= 50 + 20 + 20 + 25
= 115 มม. ตอบ
1.2 ความยาวเส้นรอบรูปหลาบเหลี่ยมด้านเท่า ให้หาโดยใช้สูตร
L = ความยาวเส้นรอบรูป (มม.)
N = จานวณด้านของรูปเหลี่ยม (ด้าน)
 = ความยาวด้าน (มม.)
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 2 ความยาว 2 คาบ
ใบความรู้ เรื่อง 2.1 ความยาวเส้นรอบรูป
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
1
2
3
4
L = N  
20
3
4
220
25
20
1
50
1.2 ความยาวเส้นรอบรูปหลายเหลี่ยมด้านเท่า ให้หาโดยใช้สูตร
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 2 ความยาว 2 คาบ
ใบความรู้ เรื่อง 2.1 ความยาวเส้นรอบรูป
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
ตัวอย่างที่ 2.2 จากรูปที่ 2 จงคานวณหาค่าความยาวเส้นรอบรูป
รูปที่ 2
วิธีทา L = N  
= 3  20
= 60 มม. ตอบ
ในกรณีเป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก พื้นที่ด้านตรงข้ามมุมฉาก จะเท่ากับผลรวมของ
พื้นที่ด้านประกอบมุมฉาก
C = 2B2A 
A = 2B2C 
B = 2A2C 
20 20
20
C2
= A2
+ B2 A
b
C a
B
c
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 2 ความยาว 2 คาบ
ใบความรู้ เรื่อง 2.1 ความยาวเส้นรอบรูป
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
ตัวอย่างที่ 2.3 จากรูปที่ 3 จงคานวณหาค่าความยาวด้าน C
วิธีทา C = 2B2A 
= 220215 
= 400225
= 625
= 25 มม. ตอบ
รูปที่ 3
ตัวอย่างที่ 2.4 จงคานวณหาค่าความยาวด้าน A
วิธีทา A = 2B2C 
= 224230 
= 576900
= 324
= 18 มม. ตอบ
รูปที่ 4
ตัวอย่างที่ 2.5 จากรูปที่ 5 จงคานวณหาค่าความยาวด้าน B
วิธีทา B = 2A2C 
= 29215 
= 81225
= 144
= 12 มม. ตอบ
C
15 a
20
b
c
30
A a
24
b
c
15
c
b
B
9 a
รูปที่ 5
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 2 ความยาว 2 คาบ
ใบความรู้ เรื่อง 2.1 ความยาวเส้นรอบรูป
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
ตัวอย่างที่ 2.6 จากรูปที่ 6 จงคานวณหาค่าความยาวเส้นรอบรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส
30
30
รูปที่ 6
ตัวอย่างที่ 2.7 จากรูปที่ 7 จงคานวณหาค่าความยาวเส้นรอบรูปแปดเหลี่ยมด้านเท่า
วิธีทา L = N  
= 8  10
= 80 มม. ตอบ
10
รูปที่ 7
วิธีทา L = N  
= 4  30
= 120 มม. ตอบ
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 2 ความยาว 2 คาบ
ใบความรู้ เรื่อง 2.1 ความยาวเส้นรอบรูป
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
1.3 ความยาวเส้นรอบรูปของวงกลม
เมื่อกาหนด
D = ความยาวเส้นผ่านศูนย์กลางของวงกลม (มม.)
R = ความยาวรัศมีของวงกลม (มม.)
ตัวอย่างที่ 2.8 จากรูปที่ 8 จงคานวณหาค่าความยาวเส้นรอบรูป
วิธีทา L = D
= 3.1416  30
= 94.25 มม. ตอบ
รูปที่ 8
1.4 ความยาวเส้นรอบรูปของวงรี
การคานวณหาเส้นรอบรูปของวงรี ใช้หลักการเดียวกับการหาเส้นรอบรูปวงกลม
คือ D แต่เนื่องจากวงรีมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่เท่ากัน ทุกส่วนจึงต้องใช้เส้นผ่านศูนย์กลาง
เฉลี่ย คือ
 
2
dD
สูตรความยาวเส้นรอบรูปของวงรี จึงมีดังนี้
L = 2 R
หรือ = D เพราะ 2R = D
30
L =
 
2
dDπ
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 2 ความยาว 2 คาบ
ใบความรู้ เรื่อง 2.1 ความยาวเส้นรอบรูป
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
เมื่อกาหนด
L = ความยาวเส้นรอบรูป (มม.)
D = ความยาวเส้นผ่านศูนย์กลางใหญ่ (มม.)
d = ความยาวเส้นผ่านศูนย์กลางเล็ก (มม.)
ตัวอย่างที่ 2.9 จากรูปที่ 9 จงคานวณหาค่าความยาวเส้นรอบรูป
รูปที่ 9
วิธีทา L =
 
2
dDπ
L =
 
2
20301416.3 
= 78.54 มม. ตอบ
d
D
d = 20
D = 30
1.5 ความยาวเส้นรอบรูปของเซกเมนต์ (Segment)
หาได้ดังนี้
เส้นรอบรูปวงกลม 360° = πD หรือ = 2R
เส้นรอบรูปเซกเมนต์ °
= D 
360
θ
หรือ 2R 
360
θ
ตัวอย่างที่ 2.10 จากรูปที่ 10 จงคานวณหาค่าความยาวเส้นรอบรูป
วิธีทา L =
360
Dθπ
L =
360
200403.1416 
= 69.81 มม. ตอบ
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 2 ความยาว 2 คาบ
ใบความรู้ เรื่อง 2.1 ความยาวเส้นรอบรูป
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
L =
360
Dθπ
หรือ
360
R2 θπ
D
θ

200θ 
D = 40
รูปที่ 10
เซ็กเมนต์ (Segment)
θ
D
360 360
360 360
หาได้ดังนี้

360

360
θDπ
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 2 ความยาว 2 คาบ
ใบความรู้ เรื่อง 2.1 ความยาวเส้นรอบรูป
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
ตัวอย่างที่ 2.11 จากรูปที่ 11 จงคานวณหาค่าความยาวเส้นรอบรูป
รูปที่ 11
วิธีทา L = 43360
D
1  
θπ
=
360
1820)180201416.3(15 
= 84.42 มม. ตอบ
ตัวอย่างที่ 2.12 จากรูปที่ 12 จงคานวณหาค่าความยาวเส้นรอบรูป
;
1 = 15 2 = 20 3 =20
4 =18
รูปที่ 12
3 = 25
1 = 15 2 = 20
R10
L = 32R
360
R2
1  
θπ
=
 
360
25201090101416.3215 
= 85.71 มม. ตอบ
วิธีทา

More Related Content

What's hot

คู่มือการใช้ Igetweb
คู่มือการใช้ Igetwebคู่มือการใช้ Igetweb
คู่มือการใช้ IgetwebPariwat Beangpetch
 
งานโลหะแผ่น4 2
งานโลหะแผ่น4 2งานโลหะแผ่น4 2
งานโลหะแผ่น4 2Pannathat Champakul
 
บทที่ 3 การวัดระยะทาง 2
บทที่ 3 การวัดระยะทาง 2บทที่ 3 การวัดระยะทาง 2
บทที่ 3 การวัดระยะทาง 2Chattichai
 
บทที่ 12 การสำรวจแผนที่ภูมิประเทศ
บทที่ 12 การสำรวจแผนที่ภูมิประเทศบทที่ 12 การสำรวจแผนที่ภูมิประเทศ
บทที่ 12 การสำรวจแผนที่ภูมิประเทศChattichai
 
บทที่ 7 E D M Total Station
บทที่ 7  E D M  Total  Stationบทที่ 7  E D M  Total  Station
บทที่ 7 E D M Total StationChattichai
 
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบมาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบPeerapong Veluwanaruk
 
หน่วย1 รูปแบบงานทัศนศิลป์
หน่วย1 รูปแบบงานทัศนศิลป์หน่วย1 รูปแบบงานทัศนศิลป์
หน่วย1 รูปแบบงานทัศนศิลป์Preeda Chanlutin
 
Building construction 5หลังคา แบบฝึกหัด
Building construction 5หลังคา แบบฝึกหัดBuilding construction 5หลังคา แบบฝึกหัด
Building construction 5หลังคา แบบฝึกหัดRungnapa Rungnapa
 
สถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยสถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยNU
 
ปฏิบัติงานการวัดระยะด้วยการนับก้าว
ปฏิบัติงานการวัดระยะด้วยการนับก้าวปฏิบัติงานการวัดระยะด้วยการนับก้าว
ปฏิบัติงานการวัดระยะด้วยการนับก้าวNut Seraphim
 
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_3
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_3เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_3
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_3mathawee wattana
 
เรื่องที่ 4 มาตราส่วนและการกำหนดขนาด
เรื่องที่ 4  มาตราส่วนและการกำหนดขนาดเรื่องที่ 4  มาตราส่วนและการกำหนดขนาด
เรื่องที่ 4 มาตราส่วนและการกำหนดขนาดkruood
 

What's hot (20)

3 1
3 13 1
3 1
 
1 4
1 41 4
1 4
 
คู่มือการใช้ Igetweb
คู่มือการใช้ Igetwebคู่มือการใช้ Igetweb
คู่มือการใช้ Igetweb
 
3 2
3 23 2
3 2
 
งานโลหะแผ่น4 2
งานโลหะแผ่น4 2งานโลหะแผ่น4 2
งานโลหะแผ่น4 2
 
6 2
6 26 2
6 2
 
บทที่ 3 การวัดระยะทาง 2
บทที่ 3 การวัดระยะทาง 2บทที่ 3 การวัดระยะทาง 2
บทที่ 3 การวัดระยะทาง 2
 
ทัศนียภาพ
ทัศนียภาพทัศนียภาพ
ทัศนียภาพ
 
บทที่ 12 การสำรวจแผนที่ภูมิประเทศ
บทที่ 12 การสำรวจแผนที่ภูมิประเทศบทที่ 12 การสำรวจแผนที่ภูมิประเทศ
บทที่ 12 การสำรวจแผนที่ภูมิประเทศ
 
บทที่ 1
บทที่ 1 บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 7 E D M Total Station
บทที่ 7  E D M  Total  Stationบทที่ 7  E D M  Total  Station
บทที่ 7 E D M Total Station
 
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบมาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
 
3 3
3 33 3
3 3
 
หน่วย1 รูปแบบงานทัศนศิลป์
หน่วย1 รูปแบบงานทัศนศิลป์หน่วย1 รูปแบบงานทัศนศิลป์
หน่วย1 รูปแบบงานทัศนศิลป์
 
Building construction 5หลังคา แบบฝึกหัด
Building construction 5หลังคา แบบฝึกหัดBuilding construction 5หลังคา แบบฝึกหัด
Building construction 5หลังคา แบบฝึกหัด
 
สถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยสถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัย
 
ปฏิบัติงานการวัดระยะด้วยการนับก้าว
ปฏิบัติงานการวัดระยะด้วยการนับก้าวปฏิบัติงานการวัดระยะด้วยการนับก้าว
ปฏิบัติงานการวัดระยะด้วยการนับก้าว
 
6 4
6 46 4
6 4
 
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_3
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_3เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_3
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_3
 
เรื่องที่ 4 มาตราส่วนและการกำหนดขนาด
เรื่องที่ 4  มาตราส่วนและการกำหนดขนาดเรื่องที่ 4  มาตราส่วนและการกำหนดขนาด
เรื่องที่ 4 มาตราส่วนและการกำหนดขนาด
 

Viewers also liked

Viewers also liked (17)

Все об обучении за рубежом, № 13. Январь, 2015
Все об обучении за рубежом, № 13. Январь, 2015Все об обучении за рубежом, № 13. Январь, 2015
Все об обучении за рубежом, № 13. Январь, 2015
 
Analyzing dialogue
Analyzing dialogueAnalyzing dialogue
Analyzing dialogue
 
8 1 2
8 1 28 1 2
8 1 2
 
English Composition Portfolio
English Composition PortfolioEnglish Composition Portfolio
English Composition Portfolio
 
งานโลหะแผ่น7 6
งานโลหะแผ่น7 6งานโลหะแผ่น7 6
งานโลหะแผ่น7 6
 
Tantsy
TantsyTantsy
Tantsy
 
Chinese Academy of Sciences and Tribhuvan University Cooperation
Chinese Academy of Sciences and Tribhuvan University CooperationChinese Academy of Sciences and Tribhuvan University Cooperation
Chinese Academy of Sciences and Tribhuvan University Cooperation
 
از پارسی جو بیشتر بدانید
از پارسی جو بیشتر بدانیداز پارسی جو بیشتر بدانید
از پارسی جو بیشتر بدانید
 
CURRICULUM VITAE
CURRICULUM VITAECURRICULUM VITAE
CURRICULUM VITAE
 
1 görög építészet
1 görög építészet1 görög építészet
1 görög építészet
 
UF3 La salud y la enfermedad
UF3 La salud y la enfermedadUF3 La salud y la enfermedad
UF3 La salud y la enfermedad
 
5 1
5 15 1
5 1
 
1 1 2
1 1 21 1 2
1 1 2
 
Registering Joint Venture Company in Myanmar
Registering Joint Venture Company in MyanmarRegistering Joint Venture Company in Myanmar
Registering Joint Venture Company in Myanmar
 
The Social Value Chain Ytzik Aranov Feb 2010 V2
The Social Value Chain   Ytzik Aranov   Feb 2010 V2The Social Value Chain   Ytzik Aranov   Feb 2010 V2
The Social Value Chain Ytzik Aranov Feb 2010 V2
 
Literary Devices
Literary DevicesLiterary Devices
Literary Devices
 
The human body and interaction
The human body and interactionThe human body and interaction
The human body and interaction
 

Similar to 2 1 (9)

1 5
1 51 5
1 5
 
1 3
1 31 3
1 3
 
แผนการสอนการวัดต่อหน่วย
แผนการสอนการวัดต่อหน่วยแผนการสอนการวัดต่อหน่วย
แผนการสอนการวัดต่อหน่วย
 
การวัด
การวัดการวัด
การวัด
 
การปฏิบัติงาน
การปฏิบัติงานการปฏิบัติงาน
การปฏิบัติงาน
 
การประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกล
การประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกลการประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกล
การประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกล
 
Basic m2-1-chapter2
Basic m2-1-chapter2Basic m2-1-chapter2
Basic m2-1-chapter2
 
ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1
ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1
ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1
 
Ex13
Ex13Ex13
Ex13
 

More from Pannathat Champakul (20)

เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
 
505
505505
505
 
407
407407
407
 
603
603603
603
 
602
602602
602
 
601
601601
601
 
600
600600
600
 
504
504504
504
 
503
503503
503
 
502
502502
502
 
501
501501
501
 
500
500500
500
 
406
406406
406
 
405
405405
405
 
404
404404
404
 
403
403403
403
 
402
402402
402
 
401
401401
401
 
400
400400
400
 
305
305305
305
 

2 1

  • 1. ความยาว 1 ความยาวที่ใช้ในงานอุตสาหกรรมหรืองานช่างเป็นการกาหนดระยะทางหรือความยาวของ แบบในเชิงวิศวกรรมให้แน่นอน ช่วยให้ผู้สร้างงานสามารถเข้าใจ และผลิตวัสดุงานได้ตาม วัตถุประสงค์ ความยาวจะกาหนดในระบบอังกฤษ ผู้สร้างจะไม่นิยมใช้ เนื่องจากความละเอียดของ หน่วยวัดจะไม่ละเอียดเท่ากับระบบเมตริก หน่วยวัดที่ละเอียดที่สุดของระบบอังกฤษก็คือหุน หรือ เศษส่วนของนิ้ว 1 นิ้ว จะมีค่าเท่ากับ 8 หุน แล้วก็ตาม ความยาวที่ใช้จะแบ่งลักษณะตามความเหมาะสมอกเป็นส่วนใหญ่ๆ 2 ส่วน คือ ความยาว เส้นตรงและความยาวเส้นโค้ง ความยาวเส้นตรงยังแบ่งลักษณะการคานวณออกเป็นความยาวที่มีเส้น ศูนย์กลางและไม่มีเส้นศูนย์กลาง การพิจารณาจะต้องมีหลักเกณฑ์การคานวณที่แน่นอน ในแต่ละลักษณะของงาน 1. การคานวณหาความยาวเส้นรอบรูป การคานวณหาความยาวเส้นรอบรูป หมายถึง การคานวณหาความยาวเส้นรอบรูป ทั้งหมด โดยการนาเอาค่าความยาวเส้นรอบรูปทั้งหมดมารวมกัน 1.1 ความยาวเส้นรอบรูปหลายเหลี่ยมด้านไม่เท่า ให้หาค่าผลบวกของความยาว แต่ละด้าน เมื่อกาหนด L = ความยาวเส้นรอบรูป (มม.)  = ความยาวด้าน (มม.) 1 สุรพล ศรีจารูญ . คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ. 2547. หน้า 12. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 2 ความยาว 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 2.1 ความยาวเส้นรอบรูป  ผู้สอน  ผู้เรียน L =  321  _ _ _ _ n ความยาวที่ใช้จะแบ่งลักษณะตามความเหมาะสมออกเป็นส่วนใหญ่ ๆ 2 ส่วน คือ ความยาว
  • 2. ตัวอย่างที่ 2.1 จากรูปที่ 1 จงคานวณหาค่าความยาวเส้นรอบรูป รูปที่ 1 วิธีทา L = 4321   = 50 + 20 + 20 + 25 = 115 มม. ตอบ 1.2 ความยาวเส้นรอบรูปหลาบเหลี่ยมด้านเท่า ให้หาโดยใช้สูตร L = ความยาวเส้นรอบรูป (มม.) N = จานวณด้านของรูปเหลี่ยม (ด้าน)  = ความยาวด้าน (มม.) วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 2 ความยาว 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 2.1 ความยาวเส้นรอบรูป  ผู้สอน  ผู้เรียน 1 2 3 4 L = N   20 3 4 220 25 20 1 50 1.2 ความยาวเส้นรอบรูปหลายเหลี่ยมด้านเท่า ให้หาโดยใช้สูตร
  • 3. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 2 ความยาว 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 2.1 ความยาวเส้นรอบรูป  ผู้สอน  ผู้เรียน ตัวอย่างที่ 2.2 จากรูปที่ 2 จงคานวณหาค่าความยาวเส้นรอบรูป รูปที่ 2 วิธีทา L = N   = 3  20 = 60 มม. ตอบ ในกรณีเป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก พื้นที่ด้านตรงข้ามมุมฉาก จะเท่ากับผลรวมของ พื้นที่ด้านประกอบมุมฉาก C = 2B2A  A = 2B2C  B = 2A2C  20 20 20 C2 = A2 + B2 A b C a B c
  • 4. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 2 ความยาว 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 2.1 ความยาวเส้นรอบรูป  ผู้สอน  ผู้เรียน ตัวอย่างที่ 2.3 จากรูปที่ 3 จงคานวณหาค่าความยาวด้าน C วิธีทา C = 2B2A  = 220215  = 400225 = 625 = 25 มม. ตอบ รูปที่ 3 ตัวอย่างที่ 2.4 จงคานวณหาค่าความยาวด้าน A วิธีทา A = 2B2C  = 224230  = 576900 = 324 = 18 มม. ตอบ รูปที่ 4 ตัวอย่างที่ 2.5 จากรูปที่ 5 จงคานวณหาค่าความยาวด้าน B วิธีทา B = 2A2C  = 29215  = 81225 = 144 = 12 มม. ตอบ C 15 a 20 b c 30 A a 24 b c 15 c b B 9 a รูปที่ 5
  • 5. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 2 ความยาว 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 2.1 ความยาวเส้นรอบรูป  ผู้สอน  ผู้เรียน ตัวอย่างที่ 2.6 จากรูปที่ 6 จงคานวณหาค่าความยาวเส้นรอบรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส 30 30 รูปที่ 6 ตัวอย่างที่ 2.7 จากรูปที่ 7 จงคานวณหาค่าความยาวเส้นรอบรูปแปดเหลี่ยมด้านเท่า วิธีทา L = N   = 8  10 = 80 มม. ตอบ 10 รูปที่ 7 วิธีทา L = N   = 4  30 = 120 มม. ตอบ
  • 6. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 2 ความยาว 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 2.1 ความยาวเส้นรอบรูป  ผู้สอน  ผู้เรียน 1.3 ความยาวเส้นรอบรูปของวงกลม เมื่อกาหนด D = ความยาวเส้นผ่านศูนย์กลางของวงกลม (มม.) R = ความยาวรัศมีของวงกลม (มม.) ตัวอย่างที่ 2.8 จากรูปที่ 8 จงคานวณหาค่าความยาวเส้นรอบรูป วิธีทา L = D = 3.1416  30 = 94.25 มม. ตอบ รูปที่ 8 1.4 ความยาวเส้นรอบรูปของวงรี การคานวณหาเส้นรอบรูปของวงรี ใช้หลักการเดียวกับการหาเส้นรอบรูปวงกลม คือ D แต่เนื่องจากวงรีมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่เท่ากัน ทุกส่วนจึงต้องใช้เส้นผ่านศูนย์กลาง เฉลี่ย คือ   2 dD สูตรความยาวเส้นรอบรูปของวงรี จึงมีดังนี้ L = 2 R หรือ = D เพราะ 2R = D 30 L =   2 dDπ
  • 7. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 2 ความยาว 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 2.1 ความยาวเส้นรอบรูป  ผู้สอน  ผู้เรียน เมื่อกาหนด L = ความยาวเส้นรอบรูป (มม.) D = ความยาวเส้นผ่านศูนย์กลางใหญ่ (มม.) d = ความยาวเส้นผ่านศูนย์กลางเล็ก (มม.) ตัวอย่างที่ 2.9 จากรูปที่ 9 จงคานวณหาค่าความยาวเส้นรอบรูป รูปที่ 9 วิธีทา L =   2 dDπ L =   2 20301416.3  = 78.54 มม. ตอบ d D d = 20 D = 30
  • 8. 1.5 ความยาวเส้นรอบรูปของเซกเมนต์ (Segment) หาได้ดังนี้ เส้นรอบรูปวงกลม 360° = πD หรือ = 2R เส้นรอบรูปเซกเมนต์ ° = D  360 θ หรือ 2R  360 θ ตัวอย่างที่ 2.10 จากรูปที่ 10 จงคานวณหาค่าความยาวเส้นรอบรูป วิธีทา L = 360 Dθπ L = 360 200403.1416  = 69.81 มม. ตอบ วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 2 ความยาว 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 2.1 ความยาวเส้นรอบรูป  ผู้สอน  ผู้เรียน L = 360 Dθπ หรือ 360 R2 θπ D θ  200θ  D = 40 รูปที่ 10 เซ็กเมนต์ (Segment) θ D 360 360 360 360 หาได้ดังนี้  360  360 θDπ
  • 9. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 2 ความยาว 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 2.1 ความยาวเส้นรอบรูป  ผู้สอน  ผู้เรียน ตัวอย่างที่ 2.11 จากรูปที่ 11 จงคานวณหาค่าความยาวเส้นรอบรูป รูปที่ 11 วิธีทา L = 43360 D 1   θπ = 360 1820)180201416.3(15  = 84.42 มม. ตอบ ตัวอย่างที่ 2.12 จากรูปที่ 12 จงคานวณหาค่าความยาวเส้นรอบรูป ; 1 = 15 2 = 20 3 =20 4 =18 รูปที่ 12 3 = 25 1 = 15 2 = 20 R10 L = 32R 360 R2 1   θπ =   360 25201090101416.3215  = 85.71 มม. ตอบ วิธีทา