SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
1.5 การกาหนดขนาด (Dimension)
การกาหนดขนาดที่เป็นมาตรฐานสากลมีหลักการดังนี้
1. เส้นกาหนดขนาดเส้นแรกห่างจากเส้นขอบรูปประมาณ 10 มม.
2. เส้นถัดไปห่างประมาณ 7 มม.
3. ตัวเลขบอกขนาดสูง 3 มม.
4. เส้นกาหนดขนาดต้องลากเลยหัวลูกศรประมาณ 2 มม.
5. หัวลูกศรปลายเล็กแหลมระบายทึบ
d = ขนาดของเส้นรอบรูปใช้กลุ่มของเส้นประมาณ 5 มม.
l = ความยาวของหัวลูกศรประมาณ 2.5-3 มม.
h = ความสูงของหัวลูกศรประมาณ 0.7-1.5 มม.
รูปที่ 1.7 แสดงการกาหนดขนาด
รูปที่ 1.8 แสดงระยะห่างของการกาหนดขนาด
รูปที่ 1.9 แสดงการกาหนดขนาดที่สั้น ยาว และการกาหนดค่าในแนวดิ่ง
6. ตัวเลขบอกขนาดในแนวนอนเขียนบนเส้นบอกขนาดในแนวดิ่งให้อ่านได้ทางขวามือและเขียนกึ่งกลางเส้นห่าง
จากเส้นบอกขนาดประมาณ 5 มม.
7. ขนาดที่สั้นจะอยู่ใกล้เส้นรอบรูปและขนาดที่โตกว่าจะอยู่ถัดมาตามลาดับ
รูปที่ 1.10 แสดงการบอกขนาดในพื้นที่เล็ก
8. การบอกขนาดพื้นที่เล็กกว่า 10 มม.ให้เขียนหัวลูกศรไว้ข้างนอก
รูปที่ 1.11 แสดงการบอกขนาดเป็นมุม
2
8
8
9. การบอกขนาดมุมเส้นบอกขนาดจะต้องเขียนเป็นเส้นโค้ง
รูปที่ 1.12 แสดงข้อห้ามในการกาหนดขนาด
10. การกาหนดขนาดไม่ควรใช้เส้นขอบรูปกาหนดขนาด
11. ไม่ควรเขียนเส้นบอกขนาดตัดกัน
รูปที่ 1.13 แสดงการกาหนดขนาดวงกลม
12.การให้ขนาดวงกลมขนาดเล็กไม่สามารถให้ขนาดภายในได้จะใช้วิธีใช้ลูกศรชี้บอกขนาด
รูปที่ 1.14 แสดงการกาหนดขนาดชิ้นงานโค้ง
13. ขอบของชิ้นงานที่เป็นส่วนโค้งที่ไม่สามารถมีจุดศูนย์กลางได้การบอกขนาดให้บอกค่ารัศมีโดยมีตัวอักษร R และ
ตามด้วยตัวเลขเช่น R5
14.การบอกขนาดความโค้งที่มีจุดศูนย์กลางให้เขียนตัวอักษร Rและตามด้วยตัวเลข เช่นR12
รูปที่ 1.15 แสดงการกาหนดรัศมีส่วนโค้ง
15. ส่วนโค้งที่มีรัศมีต้องเขียนตาแหน่งจุดศูนย์กลางถ้าพื้นที่ไม่พอต้องย่อส่วนลงและ
เขียนเส้นบอกขนาดเป็นมุมฉากเช่น R80
รูปที่ 1.16 แสดงการกาหนดสัญลักษณ์ของเส้นผ่าศูนย์กลาง
16.หมายถึงสัญลักษณ์เส้นผ่าศูนย์กลางโตประมาณ 35 มม. เส้นกึ่งกลางวงกลมลากผ่านเอียงเป็นมุม 75๐
ความหนา
ของเส้นเท่ากับความหนาของตัวเลขบอกขนาดและแสดงถึงชิ้นงาน มีพื้นที่หน้าตัดกลม
รูปที่ 1.27 แสดงทิศทางของการกาหนดขนาด
17. การเขียนตัวเลขบอกขนาดต้องอ่านได้ในแนวนอน จากซ้ายไปขวา หรือจากทางด้านขวามือตามแนวดิ่ง ควร
หลีกเลี่ยงการกาหนดขนาดบริเวณเส้นตัดมุม 30º ถ้าจาเป็นต้องให้ขนาดให้เขียนตัวเลขอ่านได้ทางด้านซ้ายมือ
รูปที่ 1.18 แสดงการกาหนดขนาดของมุม
18. การกาหนดขนาดมุมให้เขียนตัวเลขเหนือเส้นบอกขนาดอ่านได้จากซ้ายไปขวา
ตามแนวนอนและจากทางขวามือตามแนวดิ่งหลีกเลี่ยงการการกาหนดขนาดบริเวณเส้นตัดมุม 30º
ถ้าจาเป็นต้องให้ขนาดให้เขียนตัวเลขอ่านได้ทางด้านซ้ายมือ
รูปที่ 1.19 แสดงตัวอย่างของการกาหนดขนาด

More Related Content

More from Pannathat Champakul (20)

เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
 
505
505505
505
 
407
407407
407
 
603
603603
603
 
602
602602
602
 
601
601601
601
 
600
600600
600
 
504
504504
504
 
503
503503
503
 
502
502502
502
 
501
501501
501
 
500
500500
500
 
406
406406
406
 
405
405405
405
 
404
404404
404
 
403
403403
403
 
402
402402
402
 
401
401401
401
 
400
400400
400
 
305
305305
305
 

1 5

  • 1. 1.5 การกาหนดขนาด (Dimension) การกาหนดขนาดที่เป็นมาตรฐานสากลมีหลักการดังนี้ 1. เส้นกาหนดขนาดเส้นแรกห่างจากเส้นขอบรูปประมาณ 10 มม. 2. เส้นถัดไปห่างประมาณ 7 มม. 3. ตัวเลขบอกขนาดสูง 3 มม. 4. เส้นกาหนดขนาดต้องลากเลยหัวลูกศรประมาณ 2 มม. 5. หัวลูกศรปลายเล็กแหลมระบายทึบ d = ขนาดของเส้นรอบรูปใช้กลุ่มของเส้นประมาณ 5 มม. l = ความยาวของหัวลูกศรประมาณ 2.5-3 มม. h = ความสูงของหัวลูกศรประมาณ 0.7-1.5 มม. รูปที่ 1.7 แสดงการกาหนดขนาด รูปที่ 1.8 แสดงระยะห่างของการกาหนดขนาด
  • 2. รูปที่ 1.9 แสดงการกาหนดขนาดที่สั้น ยาว และการกาหนดค่าในแนวดิ่ง 6. ตัวเลขบอกขนาดในแนวนอนเขียนบนเส้นบอกขนาดในแนวดิ่งให้อ่านได้ทางขวามือและเขียนกึ่งกลางเส้นห่าง จากเส้นบอกขนาดประมาณ 5 มม. 7. ขนาดที่สั้นจะอยู่ใกล้เส้นรอบรูปและขนาดที่โตกว่าจะอยู่ถัดมาตามลาดับ รูปที่ 1.10 แสดงการบอกขนาดในพื้นที่เล็ก 8. การบอกขนาดพื้นที่เล็กกว่า 10 มม.ให้เขียนหัวลูกศรไว้ข้างนอก รูปที่ 1.11 แสดงการบอกขนาดเป็นมุม 2 8 8
  • 3. 9. การบอกขนาดมุมเส้นบอกขนาดจะต้องเขียนเป็นเส้นโค้ง รูปที่ 1.12 แสดงข้อห้ามในการกาหนดขนาด 10. การกาหนดขนาดไม่ควรใช้เส้นขอบรูปกาหนดขนาด 11. ไม่ควรเขียนเส้นบอกขนาดตัดกัน รูปที่ 1.13 แสดงการกาหนดขนาดวงกลม 12.การให้ขนาดวงกลมขนาดเล็กไม่สามารถให้ขนาดภายในได้จะใช้วิธีใช้ลูกศรชี้บอกขนาด รูปที่ 1.14 แสดงการกาหนดขนาดชิ้นงานโค้ง 13. ขอบของชิ้นงานที่เป็นส่วนโค้งที่ไม่สามารถมีจุดศูนย์กลางได้การบอกขนาดให้บอกค่ารัศมีโดยมีตัวอักษร R และ ตามด้วยตัวเลขเช่น R5
  • 4. 14.การบอกขนาดความโค้งที่มีจุดศูนย์กลางให้เขียนตัวอักษร Rและตามด้วยตัวเลข เช่นR12 รูปที่ 1.15 แสดงการกาหนดรัศมีส่วนโค้ง 15. ส่วนโค้งที่มีรัศมีต้องเขียนตาแหน่งจุดศูนย์กลางถ้าพื้นที่ไม่พอต้องย่อส่วนลงและ เขียนเส้นบอกขนาดเป็นมุมฉากเช่น R80 รูปที่ 1.16 แสดงการกาหนดสัญลักษณ์ของเส้นผ่าศูนย์กลาง 16.หมายถึงสัญลักษณ์เส้นผ่าศูนย์กลางโตประมาณ 35 มม. เส้นกึ่งกลางวงกลมลากผ่านเอียงเป็นมุม 75๐ ความหนา ของเส้นเท่ากับความหนาของตัวเลขบอกขนาดและแสดงถึงชิ้นงาน มีพื้นที่หน้าตัดกลม รูปที่ 1.27 แสดงทิศทางของการกาหนดขนาด 17. การเขียนตัวเลขบอกขนาดต้องอ่านได้ในแนวนอน จากซ้ายไปขวา หรือจากทางด้านขวามือตามแนวดิ่ง ควร หลีกเลี่ยงการกาหนดขนาดบริเวณเส้นตัดมุม 30º ถ้าจาเป็นต้องให้ขนาดให้เขียนตัวเลขอ่านได้ทางด้านซ้ายมือ
  • 5. รูปที่ 1.18 แสดงการกาหนดขนาดของมุม 18. การกาหนดขนาดมุมให้เขียนตัวเลขเหนือเส้นบอกขนาดอ่านได้จากซ้ายไปขวา ตามแนวนอนและจากทางขวามือตามแนวดิ่งหลีกเลี่ยงการการกาหนดขนาดบริเวณเส้นตัดมุม 30º ถ้าจาเป็นต้องให้ขนาดให้เขียนตัวเลขอ่านได้ทางด้านซ้ายมือ รูปที่ 1.19 แสดงตัวอย่างของการกาหนดขนาด