SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
7.1.3 อุปกรณ์ป้ องกันหู
เสียงเป็นปัญหาอันสาคัญอีกอย่างหนึ่งในโรงงานอุตสาหกรรม การกาหนดว่าเสียงระดับใดจะเป็นอันตรายต่อการ
ได้ยินนั้น เป็นเรื่องที่กาหนดได้ยาก แต่โดยทั่วๆ ไปถือว่าเสียงที่มีความดังเกินกว่า 90 เดซิเบล จะเป็นอันตรายต่อแก้วหูของ
มนุษย์(1 เดซิเบล เท่ากับการเปลี่ยนแปลงความดังของเสียงน้อยที่สุดที่ประสาทจะรับรู้ได้) ระดับเสียงขนาด 130 เดซิเบล
จะมีความรุนแรงมากสามารถทาให้ปวดแก้วหูได้
วิธีลดความดังของเสียงนอกจากจะอาศัยเทคนิคในการที่จะทาให้เสียงดังของเครื่องจักรลด
ลงแล้ว อีกวิธีหนึ่งก็คือ ใช้เครื่องป้ องกันหูซึ่งโดยทั่วๆ ไปสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด คือ ปลั๊กลดเสียงและครอบหู
1) ปลั๊กลดเสียง (Ear Plugs)
เป็นเครื่องป้ องกันอันตรายจากเสียงโดยใช้เสียบเข้าไปในรูหู วัสดุที่ใช้ทาปลั๊กลดเสียง
มีหลายชนิด เช่น ยาง พลาสติก ขี้ผึ้ง ฝ้าย หรือสาลี เป็นต้น
 ฝ้ายหรือสาลี เป็นแบบที่ง่ายที่สุด แต่สามารถลดเสียงลงได้ไม่มากนัก
คือ ประมาณ 10-15 เดซิเบล
 ปลั๊กยาง สามารถลดเสียงลงได้20-25 เดซิเบล แต่ในบางครั้งจะทาให้
เกิดการราคาญเนื่องจากความดันของยางที่เกิดขึ้นในรูหู
อุปกรณ์ป้ องกันหู
2) ครอบหู (Ear Muffs)
เป็นเครื่องป้ องกันอันตรายจากเสียงชนิดใช้ครอบที่ใบหู ใช้ลดเสียงที่จะผ่านเข้าหูได้ดี
กว่าชนิดปลั๊กเสียบ แต่ประสิทธิภาพในการลดเสียงขึ้นอยู่กับวัสดุที่ใช้ และขนาดของศรีษะของผู้ใช้ ชนิดที่ทาด้วยนวมบรรจุ
ของเหลวภายใน มีประสิทธิภาพในการลดเสียงได้ดีกว่าชนิดที่ทาด้วยพลาสติกหรือโฟม ตามปกติครอบหูสามารถลดเสียง
ได้ประมาณ 30-45 เดซิเบล เหมาะที่จะใช้ในสถานที่ที่มีระดับเสียง 130-135 เดซิเบล
ทั้งปลั๊กลดเสียงและครอบหู หากนามาใช้รวมกันจะสามารถลดเสียงลงได้อีก 3-5
เดซิเบล
ป้ องกันหูและตาเวลาปฏิบัติงาน
7.1.4 อุปกรณ์ป้ องกันใบหน้า (Face Protections)
อันตรายที่อาจเกิดขึ้นกับใบหน้าในขณะทางานนั้นมีหลายสาเหตุ ซึ่งเราไม่ต้องการที่จะให้
มันเกิดขึ้นอย่างแน่นอน เพราะมันอาจจะทาให้เรากลายเป็นมนุษย์หน้าผีได้วิธีป้ องกันอันตรายกับใบหน้าอีกวิธีหนึ่งก็คือ การ
ใช้อุปกรณ์ป้ องกันใบหน้าซึ่งมีด้วยกันหลายชนิด เช่น ใช้ป้ องกันแสง สารเคมี โลหะร้อน รังสี ความร้อน และอันตราย
อื่นๆ
1) กระบังหน้า (Face Shields)
มีลักษณะเป็นพลาสติกใส สามารถป้ องกันได้ทั้งใบหน้าและดวงตาของผู้สวมใส่ เช่น
ป้ องกันการกระเด็นของเม็ดทราย ป้ องกันประกายไฟจากการเจียระไน หรือใช้ในการขนย้ายสารเคมีวัสดุที่ใช้ทากระบังหน้า
ต้องเป็นวัสดุที่ติดไฟได้ยาก เมื่อพบว่าผิดปกติ หรือมีรอยขูดข่วน จะต้องเปลี่ยนใหม่ทันที
ป้ องใบหน้าเวลาปฏิบัติงาน

More Related Content

Viewers also liked

1 görög építészet
1 görög építészet1 görög építészet
1 görög építészetbicbara
 
UF3 La salud y la enfermedad
UF3 La salud y la enfermedadUF3 La salud y la enfermedad
UF3 La salud y la enfermedadMónica
 
Registering Joint Venture Company in Myanmar
Registering Joint Venture Company in MyanmarRegistering Joint Venture Company in Myanmar
Registering Joint Venture Company in MyanmarLawPlus Ltd.
 
The Social Value Chain Ytzik Aranov Feb 2010 V2
The Social Value Chain   Ytzik Aranov   Feb 2010 V2The Social Value Chain   Ytzik Aranov   Feb 2010 V2
The Social Value Chain Ytzik Aranov Feb 2010 V2Ytzik Aranov
 
Literary Devices
Literary DevicesLiterary Devices
Literary Devicesnawalnader
 

Viewers also liked (10)

Analyzing dialogue
Analyzing dialogueAnalyzing dialogue
Analyzing dialogue
 
2 1
2 12 1
2 1
 
CURRICULUM VITAE
CURRICULUM VITAECURRICULUM VITAE
CURRICULUM VITAE
 
1 görög építészet
1 görög építészet1 görög építészet
1 görög építészet
 
UF3 La salud y la enfermedad
UF3 La salud y la enfermedadUF3 La salud y la enfermedad
UF3 La salud y la enfermedad
 
5 1
5 15 1
5 1
 
Registering Joint Venture Company in Myanmar
Registering Joint Venture Company in MyanmarRegistering Joint Venture Company in Myanmar
Registering Joint Venture Company in Myanmar
 
The Social Value Chain Ytzik Aranov Feb 2010 V2
The Social Value Chain   Ytzik Aranov   Feb 2010 V2The Social Value Chain   Ytzik Aranov   Feb 2010 V2
The Social Value Chain Ytzik Aranov Feb 2010 V2
 
Literary Devices
Literary DevicesLiterary Devices
Literary Devices
 
The human body and interaction
The human body and interactionThe human body and interaction
The human body and interaction
 

More from Pannathat Champakul (20)

เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
 
505
505505
505
 
407
407407
407
 
603
603603
603
 
602
602602
602
 
601
601601
601
 
600
600600
600
 
504
504504
504
 
503
503503
503
 
502
502502
502
 
501
501501
501
 
500
500500
500
 
406
406406
406
 
405
405405
405
 
404
404404
404
 
403
403403
403
 
402
402402
402
 
401
401401
401
 
400
400400
400
 
305
305305
305
 

งานโลหะแผ่น7 6

  • 1. 7.1.3 อุปกรณ์ป้ องกันหู เสียงเป็นปัญหาอันสาคัญอีกอย่างหนึ่งในโรงงานอุตสาหกรรม การกาหนดว่าเสียงระดับใดจะเป็นอันตรายต่อการ ได้ยินนั้น เป็นเรื่องที่กาหนดได้ยาก แต่โดยทั่วๆ ไปถือว่าเสียงที่มีความดังเกินกว่า 90 เดซิเบล จะเป็นอันตรายต่อแก้วหูของ มนุษย์(1 เดซิเบล เท่ากับการเปลี่ยนแปลงความดังของเสียงน้อยที่สุดที่ประสาทจะรับรู้ได้) ระดับเสียงขนาด 130 เดซิเบล จะมีความรุนแรงมากสามารถทาให้ปวดแก้วหูได้ วิธีลดความดังของเสียงนอกจากจะอาศัยเทคนิคในการที่จะทาให้เสียงดังของเครื่องจักรลด ลงแล้ว อีกวิธีหนึ่งก็คือ ใช้เครื่องป้ องกันหูซึ่งโดยทั่วๆ ไปสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด คือ ปลั๊กลดเสียงและครอบหู 1) ปลั๊กลดเสียง (Ear Plugs) เป็นเครื่องป้ องกันอันตรายจากเสียงโดยใช้เสียบเข้าไปในรูหู วัสดุที่ใช้ทาปลั๊กลดเสียง มีหลายชนิด เช่น ยาง พลาสติก ขี้ผึ้ง ฝ้าย หรือสาลี เป็นต้น  ฝ้ายหรือสาลี เป็นแบบที่ง่ายที่สุด แต่สามารถลดเสียงลงได้ไม่มากนัก คือ ประมาณ 10-15 เดซิเบล  ปลั๊กยาง สามารถลดเสียงลงได้20-25 เดซิเบล แต่ในบางครั้งจะทาให้ เกิดการราคาญเนื่องจากความดันของยางที่เกิดขึ้นในรูหู อุปกรณ์ป้ องกันหู 2) ครอบหู (Ear Muffs) เป็นเครื่องป้ องกันอันตรายจากเสียงชนิดใช้ครอบที่ใบหู ใช้ลดเสียงที่จะผ่านเข้าหูได้ดี กว่าชนิดปลั๊กเสียบ แต่ประสิทธิภาพในการลดเสียงขึ้นอยู่กับวัสดุที่ใช้ และขนาดของศรีษะของผู้ใช้ ชนิดที่ทาด้วยนวมบรรจุ ของเหลวภายใน มีประสิทธิภาพในการลดเสียงได้ดีกว่าชนิดที่ทาด้วยพลาสติกหรือโฟม ตามปกติครอบหูสามารถลดเสียง ได้ประมาณ 30-45 เดซิเบล เหมาะที่จะใช้ในสถานที่ที่มีระดับเสียง 130-135 เดซิเบล
  • 2. ทั้งปลั๊กลดเสียงและครอบหู หากนามาใช้รวมกันจะสามารถลดเสียงลงได้อีก 3-5 เดซิเบล ป้ องกันหูและตาเวลาปฏิบัติงาน 7.1.4 อุปกรณ์ป้ องกันใบหน้า (Face Protections) อันตรายที่อาจเกิดขึ้นกับใบหน้าในขณะทางานนั้นมีหลายสาเหตุ ซึ่งเราไม่ต้องการที่จะให้ มันเกิดขึ้นอย่างแน่นอน เพราะมันอาจจะทาให้เรากลายเป็นมนุษย์หน้าผีได้วิธีป้ องกันอันตรายกับใบหน้าอีกวิธีหนึ่งก็คือ การ ใช้อุปกรณ์ป้ องกันใบหน้าซึ่งมีด้วยกันหลายชนิด เช่น ใช้ป้ องกันแสง สารเคมี โลหะร้อน รังสี ความร้อน และอันตราย อื่นๆ 1) กระบังหน้า (Face Shields) มีลักษณะเป็นพลาสติกใส สามารถป้ องกันได้ทั้งใบหน้าและดวงตาของผู้สวมใส่ เช่น ป้ องกันการกระเด็นของเม็ดทราย ป้ องกันประกายไฟจากการเจียระไน หรือใช้ในการขนย้ายสารเคมีวัสดุที่ใช้ทากระบังหน้า ต้องเป็นวัสดุที่ติดไฟได้ยาก เมื่อพบว่าผิดปกติ หรือมีรอยขูดข่วน จะต้องเปลี่ยนใหม่ทันที ป้ องใบหน้าเวลาปฏิบัติงาน