SlideShare a Scribd company logo
1 of 50
Download to read offline
โดย พลเอก เอกชัย ศรีวิลาศ
ผู้อานวยการสานักสันติวิธีและธรรมาภิบาล
สถาบันพระปกเกล้า
www.elifesara.com ekkachais@hotmail.com
การขับเคลื่อนองค์กรด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและการนามาประยุกต์ใช้
2
สังคมไทยในปัจจุบัน
•เป็นนักบริโภคนิยม
•ไม่มีความประหยัด
•ขาดการออม
•นิยมแต่ของนอก
•วัตถุนิยมมากกว่าธรรมนิยม
•ขาดความอดทน
•ขาดความซื่อสัตย์สุจริต
3
สัญญาณของความยากจน
• ไม่มีการวางแผนทางการเงิน
• ไม่ประหยัด
• ขาดวินัยในการออม
• ชอบใช้เงินอนาคต (บัตรเครดิต ฯลฯ)
• ชอบเอาอย่าง
• ชอบเด่นดังและจมไม่ลง
• หลงไหลแต่การพนัน
• ชอบหาแต่หนี้นอกระบบ
• เกียจคร้าน
• มีแต่ความอยากและความโลภ
4
ใช้วิธีคิดแบบเดิมๆ •วิธีคิดแบบ “โง่ จน เจ็บ”
•ชอบ“ ปักป้าย ถ่ายรูป”
•ชอบเลียนแบบ
•คิดว่าเงินเนรมิตได้ทุกอย่าง
•มูลค่ามาก่อนคุณค่า
•เงินนาหน้า ปัญญาตามหลัง
•พรุ่งนี้รวย
5
6
เราจะเริ่มต้นเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงอย่างไร
เริ่มต้นที่ตัวเรา
7
ความหมายของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
•ชี้ถึง แนวการดารงอยู่
•ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ
•ดาเนินไปในทางสายกลาง
•เกิดความสมดุล
•พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลง
8
ใช้วิธีคิดแบบเดิมๆ •วิธีคิดแบบ “โง่ จน เจ็บ”
•ชอบ“ ปักป้ าย ถ่ายรูป”
•ชอบเลียนแบบ
•คิดว่าเงินเนรมิตได้ทุกอย่าง
•มูลค่ามาก่อนคุณค่า
•เงินนาหน้า ปัญญาตามหลัง
•พรุ่งนี้รวย
9
เราจะเริ่มต้นเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงอย่างไร
เริ่มต้นที่ตัวเรา
10
เราจะเริ่มต้นเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงอย่างไร
จัดระเบียบชีวิต
11
เราจะเริ่มต้นเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงอย่างไร
ปรับเปลี่ยนวิธีคิด
12
13
•เรียนรู้
•ประยุกต์ใช้
•สร้างให้กลายเป็นวัฒนธรรม
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงด้วย บันได ๓ ขั้น
เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม
เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม
ธรรมมาภิบาล
Good Governance
พระปฐมบรมราชโองการ ในพิธีบรม
ราชาภิเษก ณ พระที่นั่งไพศาลทักษิณ
ในพระบรมมหาราชวัง
(วันที่ 5 พฤษภาคม 2493)
ธรรมของผู้ปกครอง
ความเที่ยงธรรม(อวิโรธนะ)
การไม่เบียดเบียน(อวิหิงสา)
ความอดทน(ขันติ)
ทศพิธราชธรรม
ศีล
ความไม่โกรธ(อักโกธะ)
ความอ่อนโยน(มัททวะ)
ความซื่อตรง(อาชชวะ)
ความเพียร(ตบะ)
บริจาค
ทาน
ทศพิธราชธรรม
๑. ทาน ได้แก่ การให้ทาน
๒. ศีล ได้แก่ การรักษาศีล การมีศีล
๓. ปริจาคะ ได้แก่ การบริจาค และการเสียสละประโยชน์ส่วนตน
๔. อาชชวะ ได้แก่ ความซื่อตรง ความจริงใจ ความเที่ยงธรรม
๕. มัททวะ ได้แก่ ความสุภาพ อ่อนโยน
๖. ตบะ ได้แก่ ความเพียร
๗. อโกธะ ได้แก่ การระงับความโกรธ
๘. อวิหิงสา ได้แก่ ความไม่เบียดเบียน
๙. ขันติ ได้แก่ ความอดทน
๑๐. อวิโรธนะ ได้แก่ การหนักแน่นในธรรมและความถูกต้อง
“..คุณธรรมที่ทุกคนควรจะศึกษาและน้อมนามาปฏิบัติ
• การรักษาความสัตย์ ความจริงใจต่อตัวเอง ที่จะประพฤติปฏิบัติแต่สิ่งที่เป็นประโยชน์และเป็น
ธรรม
• การรู้จักข่มใจตนเอง ฝึกใจตนเองให้ประพฤติปฏิบัติอยู่ในความสัตย์ความดี อดทน อดกลั้น
และอดออม ที่จะไม่ประพฤติล่วงความสัตย์สุจริต ไม่ว่าด้วยเหตุประการใด
• การรู้จักละวางความชั่ว ความทุจริต และรู้จักเสียสละประโยชน์ส่วนน้อยของตน เพื่อ
ประโยชน์ส่วนใหญ่ของบ้านเมือง...”
พระราชดารัสพระราชทานในพิธีบวงสรวง สมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราชเจ้า เมษายน ๒๕๒๕
18
พระราชดารัสพระบาทสมเด็จประเจ้าอยู่หัวฯ จากวารสารชัยพัฒนา
ฉบับประจาเดือนสิงหาคม ๒๕๔๒
“... เศรษฐกิจพอเพียง เป็นเสมือนรากฐานของชีวิต รากฐานความ
มั่นคงของแผ่นดิน เปรียบเสมือนเสาเข็มที่ถูกตอกรองรับบ้านเรือน
ตัวอาคารไว้นั่นเอง สิ่งก่อสร้างจะมั่นคงได้ก็อยู่ที่เสาเข็ม แต่คน
ส่วนมากมองไม่เห็นเสาเข็ม และลืมเสาเข็มเสียด้วยซ้าไป...”
19
“...คนเราถ้าพอในความต้องการ ก็มีความโลภน้อย เมื่อมีความโลภน้อย
ก็เบียดเบียนคนอื่นน้อย ถ้าทุกประเทศมีความคิดอันนี้ไม่ใช่เศรษฐกิจ
มีความคิดว่าทาอะไรต้องพอเพียง หมายความว่าพอประมาณ ไม่สุดโต่ง
ไม่โลภอย่างมากคนเราก็อยู่เป็นสุข...
พระราชดารัส เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2541 ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต
20
• เน้นการพัฒนาคน
• ระเบิดจากข้างใน
• ปลุกจิตสานึก
• พึ่งตนเองได้
• ความพอเพียง
• ขาดทุนคือกาไร
• ทางานอย่างมีความสุข
• คุ้มค่ามากกว่าคุ้มทุน
• บริการรวมที่จุดเดียว
• ปลูกป่าในใจคน
• การให้
• รู้ รัก สามัคคี
หลักการทรงงาน  ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
 ศึกษาข้อมูลอย่างเป็นระบบ
 แก้ปัญหาเริ่มจากจุดเล็ก
 คานึงภูมิสังคม
 พัฒนาอย่างองค์รวม ครบวงจร / บูรณาการ
 ไม่ติดตารา ทาให้ง่าย มีลาดับขั้นตอน
 มุ่งประโยชน์คนส่วนใหญ่เป็นหลัก
 ประหยัด เรียบง่ายได้ประโยชน์
 ใช้ธรรมชาติช่วยธรรมชาติ
 การมีส่วนร่วม
 ซื่อสัตย์สุจริต จริงใจต่อกัน
34
21
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การพัฒนาใด ๆ ต้องคานึงสภาพภูมิประเทศของบริเวณนั้น
ว่าเป็นอย่างไร และสังคมวิทยาเกี่ยวกับลักษณะนิสัยใจคอ
ของคน ตลอดจนวัฒนธรรมประเพณีในแต่ละท้องถิ่นที่มี
ความแตกต่างกัน
ภูมิสังคม
ทรงมีวิธีคิดอย่างองค์รวมครบวงจร
ในพระราชดาริเกี่ยวกับโครงการหนึ่งๆนั้น
จะทรงมองเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นและมีแนวทางแก้ไขอย่าง
เชื่อมโยง เช่นกรณีของ “ทฤษฎีใหม่”
องค์รวม
การพัฒนาตามแนวพระราชดารินั้นมีลักษณะของการพัฒนาที่อนุโลม และรอมชอมกับสภาพธรรมชาติสิ่งแวดล้อม
และสภาพของสังคมจิตวิทยาแห่งชุมชน คือ “ ไม่ติดตารา ”
ทรงเลือกวิชาการและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับสภาพชีวิตความเป็นอยู่ที่แท้จริงของคนไทย
ไม่ติดตารา
22
ปรัชญาฯแนวคิด : ประหยัด เรียบง่าย ได้ประโยชน์
การพัฒนาและช่วยเหลือราษฎรทรงใช้หลักในการแก้ไขปัญหาด้วยความเรียบง่าย
และประหยัด ราษฎรสามารถทาเองได้ หาได้ในท้องถิ่น
ดังพระราชดารัสความตอนหนึ่งว่า
“..ให้ปลูกป่า โดยไม่ต้องปลูก โดยปล่อยให้ขึ้นเองตามธรรมชาติจะได้ประหยัดงบประมาณ..”
23
หลักการแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง
ทาให้ง่าย
การมีส่วนร่วม
บริการรวมที่จุดเดียว
แนวทางตามพระราชดาริดาเนินไปได้โดยง่าย ไม่ยุ่งยากซับซ้อน การคิดค้น ดัดแปลง
ปรับปรุง และงานแก้ไข การพัฒนาประเทศสอดคล้องกับสภาพความเป็นอยู่และระบบนิเวศ
โดยรวม
ทรงเป็นนักประชาธิปไตย จึงทรงนา “ประชาพิจารณ์” มาใช้ในการบริหาร เพื่อเปิดโอกาสให้
สาธารณชน ประชาชนหรือเจ้าหน้าที่ทุกระดับร่วมกันแสดงความคิดเห็น
การบริการแบบเบ็ดเสร็จ หรือ “One Stop Services” ที่เกิดขึ้นเป็นครั้งแรกในระบบบริหาร
ราชการแผ่นดินของประเทศไทย โดยทรงให้ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดาริ
เป็นต้นแบบในการบริการรวมที่จุดเดียว
24
ประโยชน์ส่วนรวม
การปฏิบัติพระราชกรณียกิจและช่วยเหลือพสกนิกรของพระองค์
ทรงระลึกถึงประโยชน์ของส่วนรวมเป็นสาคัญ
ดังพระราชดารัสตอนหนึ่งว่า
“... ใครต่อใครบอกว่า ขอให้เสียสละส่วนตัวเพื่อส่วนรวม อันนี้ฟังจนเบื่อ
อาจร้าคาญด้วยซ้้าว่า ใครต่อใครมาก็บอกว่าขอให้คิดถึงประโยชน์ส่วนรวม
อาจมานึกในใจว่า ให้ ๆ อยู่เรื่อย ๆ แล้วส่วนตัวจะได้อะไร ขอให้คิดว่าคนที่ให้เพื่อส่วนรวมนั้น
มิได้ให้ส่วนรวมแต่อย่างเดียว เป็นการให้เพื่อตัวเองสามารถที่จะมีส่วนรวมที่จะอาศัยได้...”
ขาดทุนคือกาไร
“... ขาดทุน คือกาไร … การเสียคือ การได้ ประเทศชาติก็จะก้าวหน้า และ
การที่คนอยู่ดีมีสุขนั้น เป็นการนับที่เป็นมูลค่าเงินไม่ได้ ...”
•พระราชดารัสตอนหนึ่งว่า
“...การช่วยเหลือสนับสนุนประชาชนในการประกอบอาชีพและตั้งตัว
ให้มีความพอกินพอใช้ ก่อนอื่นเป็นสิ่งสาคัญยิ่งยวด เพราะผู้มีอาชีพและ
ฐานะเพียงพอที่จะพึ่งพาตนเองได้ ย่อมสามารถสร้างความเจริญในระดับสูง
ขั้นต่อไป...”
การพึ่งตนเอง
๑. รู้เหตุ:เห็นเหตุการณ์อะไรก็จะรู้ว่าเกิดจากเหตุอะไร เช่น ฝนตก สาเหตุ
มาจากอะไร ผลจะเป็นอย่างไร
๒. รู้ผล คือรู้จักผลที่จะเกิดขึ้นสืบเนื่องจากการกระทา ซึ่งสามารถ
ก่อให้เกิดประโยชน์เกิดผลได้จริง
๓. รู้จักตน:รู้จักตัวตนของเราเอง ฐานะ ภาวะ เพศ ความรู้ ความสามารถ
ความถนัด และคุณธรรม ประเมินตนเองได้
๔. รู้จักประมาณ : ความพอดี ในการใช้จ่ายโภคทรัพย์
๕. รู้จักกาล : รู้เวลาเหมาะสม ระยะเวลาที่ต้องทาหน้าที่ แบ่งเวลาถูก
,ตรง,ทัน,พอ,เหมาะเวลา
๖. รู้จักชุมชน : รู้สิ่งที่จะประพฤติต่อชุมชน เมื่อเข้าไปหา กิริยา การ
สงเคราะห์ชุมชน
๗. รู้จักบุคคล : รู้ความแตกต่าง ความสามารถ คุณธรรม รู้ที่จะปฏิบัติต่อ
คนแต่ละคน ควรจะคบหรือไม่
๑. ธัมมัญญู เป็นผู้รู้จักเหตุ
๒. อัตถัญญู เป็นผู้รู้จักผล
๓. อัตตัญญู เป็นผู้รู้จักตน
๔. มัตตัญญู เป็นผู้รู้จักประมาณ
๕. กาลัญญู เป็นผู้รู้จักกาล
๖. ปริสัญญู เป็นผู้รู้จักชุมชน
๗. ปุคคลัญญู หรือ ปุคคลปโรปรัญญู
เป็นผู้รู้จักบุคคล
การวิเคราะห์ความพอเพียง ตามแนวทาง สัปปุริสธรรม ”
27
ความมีเหตุมีผล
ความพอประมาณ
ภูมิคุ้มกัน
28
ตัวอย่างการประยุกต์ใช้
เศรษฐกิจพอเพียงในระดับบุคคล
29
อุดรูรั่วของชีวิต
 รายได้
 แชร์
 กู้เงิน
 ใช้ในส่วนที่ไม่เพิ่มรายได้
 การออมจะใช้หนี้ได้
 ไม่ต้องเดือดร้อน
 ไม่ต้องเสียเกียรติ
30
มองแบบองค์รวม เข้ากับภูมิสังคม ทาตามลาดับขั้นตอน
•ควรศึกษางานและสภาพทั่วไป
•สภาพการณ์และอุปกรณ์ต่าง ๆ
•สภาพของผู้ทางานในระยะศึกษากับผู้ทางาน
ในระยะปฏิบัติงาน
•ดัดแปลงตัวเองให้เข้ากับสภาพในปัจจุบัน
31
แก้ปัญหาจากจุดเล็ก
นาความรู้มาเชื่อมโยงกัน
ประสมประสานปรับปรุงความรู้ความคิด
พิจารณาแล้วนาออกใช้ให้ได้ผล
Dr. Martin Viller
• เป็นชาวอังกฤษครอบครัวมีฐานะดี พ่อจบปริญญาเอก เป็นผู้จัดการบริษัทเกี่ยวกับสารเคมี
ยาฆ่าแมลง มีลูกน้อง ๒๐,๐๐๐ กว่าคน แม่จบปริญญาตรี เป็นครูสอนเปียโนกับไวโอลิน
• มาร์ติน จบปริญญาตรี เกียรตินิยมอันดับหนึ่งเรียนที่เคมบริดจ์ ปีที่ ๓ ย้ายไปจบ
มหาวิทยาลัยลอนดอน ไม่ชอบเคมบริดจ์ แนวคิดโบราณ เป็นระบบศักดินา มีขุนนาง และ
ชาวบ้านเป็นขี้ข้า แม้ยกเลิกระบบนี้แล้ว ม่เข้าใจชาวบ้าน คิดแต่เรื่องกลุ่มเล็กๆ ของคน
ชั้นสูงหอคอยงาช้าง
• ไม่สนใจเรื่องเงิน รถยนต์ บ้านใหญ่ๆ ชอบบ้านเล็กๆ ครอบครัวเล็กๆที่มีความสุข ไม่สนใจ
เรื่องวัตถุ อยู่แบบง่ายๆ มักน้อย สันโดษ อยากผ่านชีวิตที่ลาบากบ้าง
34
35
36
เศรษฐกิจพอเพียง : ทรงเตือนภัยล่วงหน้า
“...การพัฒนาประเทศจาเป็นต้องทาตามลาดับขั้น ต้องสร้างพื้นฐาน คือความพอมีพอกิน
พอใช้ของประชาชนส่วนใหญ่เป็นเบื้องต้นก่อน โดยใช้วิธีการและใช้อุปกรณ์ที่
ประหยัด แต่ถูกต้องตามหลักวิชา เมื่อได้พื้นฐานมั่นคงพร้อมพอควรและปฏิบัติได้แล้ว
จึงค่อยสร้างค่อยเสริมความเจริญและฐานะเศรษฐกิจขั้นที่สูงขึ้นโดยลาดับต่อไป หาก
มุ่งแต่จะทุ่มเทสร้างความเจริญ ยกเศรษฐกิจขึ้นให้รวดเร็วแต่ประการเดียว โดยไม่ให้
แผนปฎิบัติการสัมพันธ์กับสภาวะของประเทศและของประชาชนโดยสอดคล้องด้วย ก็
จะเกิดความไม่สมดุลในเรื่องต่างๆ ขึ้น ซึ่งอาจกลายเป็นความยุ่งยากล้มเหลวได้ใน
ที่สุด ดังเห็นได้ที่อารยประเทศหลายประเทศกาลังประสบปัญหาทางเศรษฐกิจอย่าง
รุนแรงอยู่ในเวลานี้...”
18 กรกฎาคม 2517
37
“ ...ฉันพูดเศรษฐกิจพอเพียง ความหมายคือ ทาอะไรให้เหมาะสมกับฐานะของตัวเอง
คือทาจากรายได้ 200 – 300 บาท ขึ้นไป เป็น 2 หมื่น 3 หมื่นบาท คนชอบเอาคาพูดของ
ฉัน เศรษฐกิจพอเพียงไปพูดกันเลอะเทอะ เศรษฐกิจพอเพียง คือ ทาเป็น Self-Sufficiency
มันไม่ใช่ความหมายไม่ใช่แบบที่ฉันคิด ที่ฉันคิด คือ เป็น Self-Sufficiency of Economy เช่น
ถ้าเขาต้องการดู TV ก็ควรให้เขามีดู ไม่ใช่ไปจากัดเขาไม่ให้ซื้อ TV ดู เขาต้องการดูเพื่อ
สนุกสนาน ในหมู่บ้านไกลๆ ที่ฉันไป เขามี TV ดู แต่ใช้แบตเตอรี่ เขาไม่มีไฟฟ้า แต่ถ้า
Sufficiency นั้นมี TV เขาฟุ่มเฟือย เปรียบเสมือนคนไม่มีสตางค์ไปตัดสูท และยังใส่เน็คไท
Versace อันนี้ก็เกินไป...”
...ทาอะไรให้เหมาะสมกับฐานะของตัวเอง...
พระราชดารัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
พระราชทาน ณ ตาหนักเปี่ยมสุข
17 มกราคม 2544
การปลูกป่าในใจคน
การจะฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติให้กลับคืนมา
จะต้องปลูกจิตสานึกในการรักผืนป่าให้แก่คนเสียก่อน
ดังพระราชดารัสตอนหนึ่งว่า
“...เจ้าหน้าที่ป่าไม้ควรจะปลูกต้นไม้ ลงในใจคนเสียก่อน แล้วคนเหล่านั้นก็จะพา
กันปลูกต้นไม้ลงบนแผ่นดินและรักษาต้นไม้ด้วยตนเอง...”
บ้านดอกบัว หมู่ 4 ตาบลบ้านตุ่น อาเภอเมือง จังหวัดพะเยา
• ชุมชนบ้านดอกบัว ยึดทางสายกลางในการดารงชีวิต น้อมนาเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงฯ มาปรับ
ใช้ในชุมชน เรียนรู้อย่างพึ่งตนเอง
• อดีตคนในชุมชนมีการดาเนินชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง อยู่แล้วแต่ไม่เป็นรูปธรรม
• ทาตัวชี้วัดเป็นด้าน ๆ ประกอบด้วย ด้วยการลดรายจ่าย การเพิ่มรายได้ การประหยัด การเรียนรู้ การอนุรักษ์
และใช้ทรัพยากรธรรมชาติ การเอื้ออารี
• ชุมชนมีการปรับเปลี่ยนหลายๆ อย่างไม่ว่าจะเป็นการจัดตั้งกลุ่มขึ้นมาเพื่อบริหารการจัดการ ในรูปของ
คณะกรรมการของแต่ละกลุ่ม
• จากใช้ปุ๋ยเคมี และสารเคมี ซึ่งมีราคาสูง มีการลดต้นทุนการผลิตโดยการทาปุ๋ยหมักปุ๋ยชีวภาพ ชุมชนมีการเลี้ยง
วัวเกือบทุกครัวเรือน จึงมีมูลวัวในปริมาณที่มากพอสาหรับการทาปุ๋ยหมัก ปุ๋ยชีวภาพ
• ลดรายจ่ายค่าแรงงานโดยการ เอามื้อ (ลงแขก) ในการทานา และลดรายจ่ายสาหรับเจ้าภาพ ด้วยการนาห่อข้าว
ไปกินร่วมกัน
• ชุมชนดาเนินชีวิตแบบพอเพียงมาตั่งแต่บรรพบุรุษ
• คนในชุมชนอยู่อย่างเอื้ออาทรต่อกันมาตลอด
• ปี 2540 เกิดวิกฤติทางเศรษฐกิจในประเทศ มีหลายคนในชุมชนไปทางานในเมืองอุตสาหกรรมและถูก
เลิกจ้างเดินทางกลับบ้าน
• ในหลวงทรงเน้นย้าปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สิ่งเหล่านี้ไม่เกิดกับคนในชุมชน แต่ชุมชนก็ไม่ประมาท ยัง
ดาเนินชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และยังสอนให้ลูกหลานได้ดาเนินชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจ
พอเพียงตลอดมา ซึ่งนายบาล บุญก้า เล่าว่า เมื่อ 10 ปี ที่ผ่านคนในชุมชนได้นาภูมิปัญญาเรื่องการจัก
สานมาจักสานโดยใช้วัตถุดิบที่มี อยู่ภายในชุมชน คือไม่ไผ่มาจักสานเป็นเข่ง ที่นารายได้เข้าสู่ชุมชน
จนถึงปัจจุบันนี้
อะไรเป็นแรงจูงใจให้ชุมชนยึดแนวทางของเศรษฐกิจพอเพียง
ด้านการเพิ่มรายได้
• จากคนในชุมชนต่างคนต่างทา ได้รวมกลุ่มทาการจักสานเข่ง สุ่มไก่ มีวัตถุดิบคือไม้ไผ่รวก ทากันเองเพื่อ
ใช้และจาหน่ายในหมู่บ้านตาบลเดียวกัน และต่อมาได้มีการรวมตัวเป็นกลุ่มใหญ่ที่มีสมาชิกเป็นจานวน
มาก
• เพิ่มการจักสานผักตบชวาเป็นอาชีพเสริม นาวัตถุดิบจากกว๊านพะเยา มาจักสานเป็นผลิตภัณฑ์ที่มี
คุณภาพและสวยงาม เป็นการกาจัดผักตบชวาด้วย
• พัฒนาจนเป็นสินค้าที่มีชื่อเสียงและทารายได้ให้กับครัวเรือนเป็นอย่างดี และยังเป็นสินค้า OTOP
ของจังหวัดพะเยา
• มีการระดมเงินออม และขยายไปในชุมชนอื่นๆ เป็นเครือข่ายหมู่บ้าน/ตาบลที่ใกล้เคียง
• การเลี้ยงโคของคนในชุมชน ก็ปลูกหญ้าแพงโกล่า สาหรับใช้เป็นอาหารของโค และจาหน่าย ทาให้มี
รายได้เข้าในชุมชนอีกชนิดหนึ่ง
ด้านการลดรายจ่าย
• ทุกครัวเรือนมีการปลูกผักสวนครัว ผักปลอดสารพิษ การเลี้ยงไก่พื้นเมือง เลี้ยงปลา ไว้กินแต่ละ
ครัวเรือน
• เหลือจากการบริโภค ก็แบ่งปันให้เพื่อนบ้านและจาหน่ายบ้าง ทาให้ประชาชนในชุมชนสามารถพึ่งตนเอง
ได้
• มีกลุ่มการเลี้ยงวัวพันธุ์พื้นเมือง และเลี้ยงโคขุน เลี้ยงจานวนมากก็มีมูลวัวมาก จึงไ นามูลวัวมาทาแก๊สหุง
ต้มชีวภาพ เพื่อลดรายจ่ายของครัวเรือนได้เดือนละไม่น้อยกว่า 300 บาท
• ทุกครัวเรือนจะใช้แก็สหุงต้มชีวภาพ และ ทุกครัวเรือน มีการทาจุลินทรีย์จากหน่อกล้วย ไว้เป็นปุ๋ย
สาหรับใช้ในการเกษตร
ด้านการประหยัด
• จัดทาบัญชีครัวเรือน พึ่งตนเองรวมกลุ่มเป็นกองทุนหมู่บ้าน มีสมาชิกกลุ่ม 198 คน มีเงินออม 150,000 บาท
และทุนดาเนินการ 1,115,000 บาท
• โครงการแก้ไขปัญหาความยากจนมีสมาชิก 62 คน มีเงินออมและเงินทุนหมุนเวียนฯรวมเป็นเงิน 285,292
.68 บาท
• กลุ่มออมทรัพย์เข่งมีสมาชิก 88 คน มีเงินออมและเงินทุนหมุนเวียนฯ เป็นเงิน 295,261 บาท
• กลุ่มแม่บ้านมีสมาชิกกลุ่ม จานวน 100 คน มีเงินออมและเงินทุนหมุนเวียนฯ เป็นเงิน 50,000 บาท
• กลุ่มเลี้ยงวัวพันธุ์พื้นเมืองมีสมาชิก 50 คน มีเงินออมและมีเงินทุนหมุนเวียนฯ เป็นเงิน 96,451 บาท
• กลุ่มจักสานผักตบชวามีสมาชิก 25 คนมีเงินออมและทุนหมุนเวียนฯเป็นเงิน 25,000 บาท
• กลุ่มปลูกหญ้าแพงโกล่ามีสมาชิก 25 คนมีเงินออมและทุนหมุนเวียนฯ เป็นเงิน 25,000 บาท
• กลุ่มวิสาหกิจชุมชนมีสมาชิก30 คน มีเงินออมและมีเงินทุนหมุนเวียนฯ เป็นเงิน 35,000 บาท
ด้านการเรียนรู้
• ชุมชนมีครูภูมิปัญญาชาวบ้านหลายด้านที่ถ่ายทอดแนวคิด ความรู้ แนวทางการทางาน ประสบการณ์
และกระบวนการ เรียนรู้ต่างๆสู่ชุมชน เช่น มีศูนย์การเพาะพันธุ์กว่างด้วงเขา ซึ่งเป็นแห่งแรกและแห่ง
เดียวในประเทศ
• ภูมิปัญญาของชาวล้านนามีการแข่งขันชนกว่าง ปัจจุบันจานวนกว่างลดลงมาก ทาให้มีปราชญ์ท่านหนึ่ง
คือ นายบรรพต ปัฐวี ได้ศึกษาและทาการเพาะพันธุ์กว่าง และจดบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร
• การเพาะพันธุ์ไม้ต่างๆ การจัดสวนหย่อมฯ โดยสามารถดูได้ที่บ้าน นายบรรพต ปัฐวี และทุกครัวเรือน
มีการเรียนรู้ โดยสอนให้ลูกหลานทุกวัน เช่น เมื่อลูกหลานขอเงินไปโรงเรียน พ่อแม่ ผู้ปกครองจะให้
ร้อยหูเข่งเพื่อแลกกับเงิน
ด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน
• มีการปลูกไม้ไผ่ทดแทนไม้ไผ่ที่นามาใช้สาหรับการจักสานเข่ง เป็นประจา
• ไม่นาหน่อไม้จากไผ่เหล่านี้มาประกอบอาหาร
• ช่วงเทศกาลสงกรานต์ในชุมชนจะออกกฎระเบียบห้ามใช้รถยนต์ รถจักยานยนต์ใน
ชุมชน ให้เดินเท้าเท่านั้น หรือให้ใช้รถจักยาน เป็นประหยัดพลังงานและลดภาวะโลก
ร้อนด้วย
ด้านเอื้ออารีต่อกัน
•มีการดูแลช่วยเหลือคนจน คนด้อยโอกาส และคนประสบปัญหา โดยจัด
สวัสดิการจากกองทุนต่าง ๆ และคนภายในชุมชน
•จากคนในชุมชนบ้านโดนไฟไหม้ ทุกคนจะช่วยกันบริจาคสิ่งของและก่อสร้าง
บ้านจนแล้วเสร็จภายในวันเดียว
•ในชุมชนการดูแลผู้ด้อยโอกาสในสังคมโดยการนาเงินปันผลของกลุ่มต่างๆ
จัดเป็นสวัสดิการให้กับคนด้อยโอกาสเหล่านี้
ความภาคภูมิใจของชุมชนในการนาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้
• ชุมชนได้รับการคัดเลือกจากหน่วยงานราชการ ให้รับเงินรางวัลและโล่เกียรติยศ
• พัฒนากรตาบลได้คัดเลือก บ้านบัว(ดอกบัว) เป็นหมู่บ้านหลักนักพัฒนา หมู่บ้านพึ่งตนเอง และยังอยู่
ภายในการปกครอง ของกานันดีเด่นปี 2551
• เป็นหมู่บ้านที่ผ่าน ระบบ มชช. ปี 2551 โดยมีนายบาล บุญก้า เป็นผู้ใหญ่บ้าน และมีผลงานเด่น คือ บ้าน
ดอกบัว เป็นหมู่บ้านที่ชนะเลิศตามโครงการเชิดชูเกียรติผู้นาเครือข่ายพัฒนาชุมชนดีเด่น เป็นหมู่บ้าน
เศรษฐกิจพอเพียง “อยู่เย็น เป็นสุข ” และชนะเลิศหมู่บ้านพึ่งตนเอง ระดับจังหวัดพะเยา ในปี 2551
• ผู้ใหญ่บ้านได้รับการคัดเลือกเป็นผู้ใหญ่บ้านดีเด่น ประจาปี 2551 อีกทั้งกลุ่มจักสานเข่ง ได้รับรางวัลรอง
ชนะเลิศ ประเภทกลุ่มอาชีพดีเด่น ตามโครงการเชิดชูเกียรติผู้นาเครือข่ายพัฒนาชุมชนดีเด่น เป็นหมู่บ้าน
เศรษฐกิจพอเพียง “อยู่เย็นเป็นสุข ” ประจาปี 2551 ในปี 2552 บ้านบัว เป็นหมู่บ้านที่ได้รับการคัดเลือก
เป็นหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ต้นแบบ ระดับ “มั่งมี ศรีสุข” ตัวอย่างจังหวัดพะเยา
การนาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ จนเกิดการเปลี่ยนแปลงใน
ชุมชน
• คนในชุมชนที่มีภูมิลาเนามาจากที่เดียวกัน จะมีลักษณะเป็นอยู่ที่ไม่แตกต่างกัน อยู่แบบเครือญาติ พึ่งพา
อาศัยซึ่งกันและกันในชุมชน ทุกคนรู้จักกันหมดทุกครัวเรือน
• การประกอบอาชีพส่วนใหญ่ทาการเกษตร รับจ้าง และมีการรวมกลุ่มของคนในชุมชนในการทากิจกรรม
ร่วมกัน
• ชาวบ้านบัวทุกคน มีการดาเนินชีวิตตามวัฒนธรรม ประเพณี และความเชื่อไม่ต่างจากคนล้านนาทั่วไป
ที่ชอบความสนุกสนาน แม้แต่ในงานศพก็มีการดื่มเหล้า ปัจจุบันคนในชุมชนได้น้อมนาปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียงมาใช้ จึงมีการงดเหล้าในงานศพ ทุกวันพระมีการจูงลูกหลานเข้าวัด และในช่วงเทศกาล
สงกรานต์ห้ามมีการดื่มสุรา
ชุมชนมีการจัดทาแผนพัฒนาชุมชนร่วมกัน
• ชุมชนมีการจัดทาแผนพัฒนาชุมชนที่เรียกว่าแผนชุมชน มาตั้งแต่ปี 2546 รวมเป็นระยะเวลา 7 ปี เป็น
แผนระยะเวลา 3 – 5 ปี
• การประสานความร่วมมือจากหน่วยงานภาคีการพัฒนา ประกอบด้วย สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอ
สานักงานเกษตรอาเภอ สานักงาน กศน. ที่ทาการปกครองอาเภอ
• เริ่มจากการจัดเวทีประชาคมวิเคราะห์หาจุดแข็ง จุดอ่อนของชุมชน และให้คนในชุมชนช่วยกันวิเคราะห์
ปัญหา สาเหตุ แนวทางแก้ไข พร้อมกับจัดทาเป็นแผนชุมชน
ขอบคุณครับ
แลกเปลี่ยนความคิดเห็น หรือถามคาถามเพิ่มเติมได้ที่
www.facebook.com/ekkachai.srivilas
www.elifesara.com

More Related Content

Viewers also liked

รายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบัน
รายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบันรายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบัน
รายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบันTaraya Srivilas
 
บทเรียนประชาธิปไตยจากประเทศเยอรมนี
บทเรียนประชาธิปไตยจากประเทศเยอรมนีบทเรียนประชาธิปไตยจากประเทศเยอรมนี
บทเรียนประชาธิปไตยจากประเทศเยอรมนีTaraya Srivilas
 
ความขัดแย้งที่ถูกมองข้าม ในมุมมองเศรษฐศาสตร์การเมือง
ความขัดแย้งที่ถูกมองข้าม ในมุมมองเศรษฐศาสตร์การเมืองความขัดแย้งที่ถูกมองข้าม ในมุมมองเศรษฐศาสตร์การเมือง
ความขัดแย้งที่ถูกมองข้าม ในมุมมองเศรษฐศาสตร์การเมืองTaraya Srivilas
 
iร่างรัฐธรรมนูญ
iร่างรัฐธรรมนูญiร่างรัฐธรรมนูญ
iร่างรัฐธรรมนูญTaraya Srivilas
 
พุทธบูรณาการสมานฉันท์และลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย
พุทธบูรณาการสมานฉันท์และลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทยพุทธบูรณาการสมานฉันท์และลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย
พุทธบูรณาการสมานฉันท์และลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทยTaraya Srivilas
 
เนื้อใน สันติสุข-New
เนื้อใน สันติสุข-Newเนื้อใน สันติสุข-New
เนื้อใน สันติสุข-NewTaraya Srivilas
 
ฐานข้อมูลสตรีเครือข่าย ปรับปรุง
ฐานข้อมูลสตรีเครือข่าย ปรับปรุงฐานข้อมูลสตรีเครือข่าย ปรับปรุง
ฐานข้อมูลสตรีเครือข่าย ปรับปรุงTaraya Srivilas
 
อิสราเอล ปาเลสไตน์
อิสราเอล  ปาเลสไตน์อิสราเอล  ปาเลสไตน์
อิสราเอล ปาเลสไตน์Taraya Srivilas
 
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคมส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคมTaraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 
3. อ.เมธัส อนุวัตรอุดม 27 05-59 รายงานสนทนาชายแดนใต้-ปาตานี
3. อ.เมธัส อนุวัตรอุดม 27 05-59 รายงานสนทนาชายแดนใต้-ปาตานี3. อ.เมธัส อนุวัตรอุดม 27 05-59 รายงานสนทนาชายแดนใต้-ปาตานี
3. อ.เมธัส อนุวัตรอุดม 27 05-59 รายงานสนทนาชายแดนใต้-ปาตานีTaraya Srivilas
 
1สรุปโครงการดรีม ไทยแลนด์
1สรุปโครงการดรีม ไทยแลนด์1สรุปโครงการดรีม ไทยแลนด์
1สรุปโครงการดรีม ไทยแลนด์Taraya Srivilas
 
การศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง
การศึกษาเพื่อสร้างพลเมืองการศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง
การศึกษาเพื่อสร้างพลเมืองTaraya Srivilas
 
Peace processes as joint learning processes of stakeholders and insider peace...
Peace processes as joint learning processes of stakeholders and insider peace...Peace processes as joint learning processes of stakeholders and insider peace...
Peace processes as joint learning processes of stakeholders and insider peace...Taraya Srivilas
 
Final paper bosnia, ja aui collected, 15.03.13, 06.39 am.
Final paper bosnia, ja aui collected, 15.03.13, 06.39 am.Final paper bosnia, ja aui collected, 15.03.13, 06.39 am.
Final paper bosnia, ja aui collected, 15.03.13, 06.39 am.Taraya Srivilas
 
อนาคตของความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอาเซียน
อนาคตของความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอาเซียน อนาคตของความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอาเซียน
อนาคตของความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอาเซียน Taraya Srivilas
 

Viewers also liked (19)

Framework 4ส6
Framework 4ส6Framework 4ส6
Framework 4ส6
 
รายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบัน
รายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบันรายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบัน
รายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบัน
 
บทเรียนประชาธิปไตยจากประเทศเยอรมนี
บทเรียนประชาธิปไตยจากประเทศเยอรมนีบทเรียนประชาธิปไตยจากประเทศเยอรมนี
บทเรียนประชาธิปไตยจากประเทศเยอรมนี
 
ความขัดแย้งที่ถูกมองข้าม ในมุมมองเศรษฐศาสตร์การเมือง
ความขัดแย้งที่ถูกมองข้าม ในมุมมองเศรษฐศาสตร์การเมืองความขัดแย้งที่ถูกมองข้าม ในมุมมองเศรษฐศาสตร์การเมือง
ความขัดแย้งที่ถูกมองข้าม ในมุมมองเศรษฐศาสตร์การเมือง
 
Thai civic org
Thai civic orgThai civic org
Thai civic org
 
iร่างรัฐธรรมนูญ
iร่างรัฐธรรมนูญiร่างรัฐธรรมนูญ
iร่างรัฐธรรมนูญ
 
พุทธบูรณาการสมานฉันท์และลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย
พุทธบูรณาการสมานฉันท์และลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทยพุทธบูรณาการสมานฉันท์และลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย
พุทธบูรณาการสมานฉันท์และลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย
 
เนื้อใน สันติสุข-New
เนื้อใน สันติสุข-Newเนื้อใน สันติสุข-New
เนื้อใน สันติสุข-New
 
ฐานข้อมูลสตรีเครือข่าย ปรับปรุง
ฐานข้อมูลสตรีเครือข่าย ปรับปรุงฐานข้อมูลสตรีเครือข่าย ปรับปรุง
ฐานข้อมูลสตรีเครือข่าย ปรับปรุง
 
อิสราเอล ปาเลสไตน์
อิสราเอล  ปาเลสไตน์อิสราเอล  ปาเลสไตน์
อิสราเอล ปาเลสไตน์
 
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคมส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 
3. อ.เมธัส อนุวัตรอุดม 27 05-59 รายงานสนทนาชายแดนใต้-ปาตานี
3. อ.เมธัส อนุวัตรอุดม 27 05-59 รายงานสนทนาชายแดนใต้-ปาตานี3. อ.เมธัส อนุวัตรอุดม 27 05-59 รายงานสนทนาชายแดนใต้-ปาตานี
3. อ.เมธัส อนุวัตรอุดม 27 05-59 รายงานสนทนาชายแดนใต้-ปาตานี
 
1สรุปโครงการดรีม ไทยแลนด์
1สรุปโครงการดรีม ไทยแลนด์1สรุปโครงการดรีม ไทยแลนด์
1สรุปโครงการดรีม ไทยแลนด์
 
การศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง
การศึกษาเพื่อสร้างพลเมืองการศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง
การศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง
 
Peace processes as joint learning processes of stakeholders and insider peace...
Peace processes as joint learning processes of stakeholders and insider peace...Peace processes as joint learning processes of stakeholders and insider peace...
Peace processes as joint learning processes of stakeholders and insider peace...
 
Final paper bosnia, ja aui collected, 15.03.13, 06.39 am.
Final paper bosnia, ja aui collected, 15.03.13, 06.39 am.Final paper bosnia, ja aui collected, 15.03.13, 06.39 am.
Final paper bosnia, ja aui collected, 15.03.13, 06.39 am.
 
สเปน
สเปนสเปน
สเปน
 
อนาคตของความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอาเซียน
อนาคตของความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอาเซียน อนาคตของความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอาเซียน
อนาคตของความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอาเซียน
 

Similar to การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง

Se(การคลัง 7 55)
Se(การคลัง 7 55)Se(การคลัง 7 55)
Se(การคลัง 7 55)Taraya Srivilas
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1paisonmy
 
เครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทย
เครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทยเครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทย
เครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทยPoramate Minsiri
 
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงิน
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงินบัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงิน
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงินpatcharapan
 
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงิน
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงินบัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงิน
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงินpatcharapan
 
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงิน
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงินบัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงิน
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงินpatcharapan
 
บัตรลดหนี้
บัตรลดหนี้บัตรลดหนี้
บัตรลดหนี้mhiwmill
 
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงิน
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงินบัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงิน
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงินmhiwmill
 
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยKlangpanya
 
New politcs01[3]
New politcs01[3]New politcs01[3]
New politcs01[3]sawinee
 
New politcs01[1]
New politcs01[1]New politcs01[1]
New politcs01[1]sawinee
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงSuriyakan Yunin
 
ผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯ
ผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯ
ผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯTaraya Srivilas
 
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53Link Standalone
 
Financial literacy university_slide
Financial literacy university_slideFinancial literacy university_slide
Financial literacy university_slidebuddykung
 
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยKlangpanya
 
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์Taraya Srivilas
 

Similar to การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง (20)

Se(การคลัง 7 55)
Se(การคลัง 7 55)Se(การคลัง 7 55)
Se(การคลัง 7 55)
 
H&f august 10
H&f august 10H&f august 10
H&f august 10
 
Humane Capitalism
Humane CapitalismHumane Capitalism
Humane Capitalism
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
เครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทย
เครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทยเครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทย
เครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทย
 
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงิน
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงินบัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงิน
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงิน
 
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงิน
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงินบัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงิน
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงิน
 
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงิน
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงินบัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงิน
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงิน
 
บัตรลดหนี้
บัตรลดหนี้บัตรลดหนี้
บัตรลดหนี้
 
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงิน
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงินบัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงิน
บัตรลดหนี้ วินัยดีมีวงเงิน
 
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
 
New politcs01[3]
New politcs01[3]New politcs01[3]
New politcs01[3]
 
New politcs01[1]
New politcs01[1]New politcs01[1]
New politcs01[1]
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯ
ผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯ
ผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯ
 
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
 
Financial literacy university_slide
Financial literacy university_slideFinancial literacy university_slide
Financial literacy university_slide
 
พัฒนาชุมชน
พัฒนาชุมชนพัฒนาชุมชน
พัฒนาชุมชน
 
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
 
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
 

More from Taraya Srivilas

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกTaraya Srivilas
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกTaraya Srivilas
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมTaraya Srivilas
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6Taraya Srivilas
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานTaraya Srivilas
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนTaraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจกTaraya Srivilas
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69Taraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 Taraya Srivilas
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยTaraya Srivilas
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้Taraya Srivilas
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขTaraya Srivilas
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่Taraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 

More from Taraya Srivilas (20)

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
 
American first muslim
American first muslimAmerican first muslim
American first muslim
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคต
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 

การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง