SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
นางสาวอรพรรณ บัณฑิตเสน รหัส 56030566
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม
สาขาครุศาสตร์เกษตร
ตาแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตาแหน่งต่างๆ
การแบ่งตามตาแหน่งที่เกิดเสียง (Points of Articulation)
คานี้ถ้าจะเรียกให้สั้นและย่อมีชื่อเฉพาะว่าฐานกรณ์
ซึ่งหมายถึงอวัยวะแปรเสียงหรือกล่อมเกลาเสียงโดยรวม
แต่ถ้าจะแยกกลุ่มของอวัยวะแปรเสียงออกมาตามลักษณะของการเคลื่อ
นไหวก็จะแบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม คือ
1.กลุ่มที่เคลื่อนที่ไม่ได้ (Passive Articulator หรือ Upper Articulator)
หรือมีชื่อเฉพาะสั้นๆ
ว่า ฐาน ซึ่งได้แก่ อวัยวะต่อไปนี้
- ริมฝีปากบน (upper lip)
- ฟันบน (upper teeth)
- ปุ่มเหงือก (gum ridge หรือ alveolar ridge)
- เพดานแข็ง (hard palate)
- เพดานอ่อน (soft palate หรือ velum)
- ลิ้นไก่ (uvula) อวัยวะชิ้นนี้แม้ว่าจะถูกจัดอยู่ในกลุ่มที่เรียกว่า upper
articulators หรืออวัยวะที่อยู่ส่วนบนของช่องปากหรือเพดานปากก็ตาม
แต่เป็นอวัยวะที่สามารถเคลื่อนที่ได้
2. กลุ่มที่เคลื่อนที่ได้ (Active Articulator หรือ Lower
Articulator) หรือมีชื่อเฉพาะสั้นๆ ว่า กรณ์ ซึ่งได้แก่ อวัยวะต่อไปนี้ คือ
- ริมฝีปากล่าง (Lower lip)
-
ลิ้น (tongue) เป็นอวัยวะที่มีความยืดหยุ่นตัวสูงที่สุดดังที่กล่าวมาแล้วใ
นตอนต้น ในบทที่ว่าด้วยเรื่องอวัยวะในการแกเสียง
ในการทาให้เกิดเสียงพยัญชนะเสียงใดเสียงหนึ่งขึ้นมานั้น
กระแสอากาซที่เดินทางผ่านเข้ามาในช่องออกเสียง (vocal
tract) จะต้องถูกกักกั้นในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง
การกักกั้นกระแสอากาศก็จะกระทาได้โดยอวัยวะกลุ่มที่เคลื่อนที่ได้ (Act
ive Articulators) จะเคลื่อนที่เข้าไปหา, เข้าไปใกล้,
หรือเข้าไปชิดอวัยวะกลุ่มที่เคลื่อนที่ไม่ได้(Passive Articulator)
เมื่อกระแสอากาศเดินทางผ่านจุดกักกั้นเหล่านั้นก็จะก่อให้เกิดเสยงพยั
ญชนะประเภทต่างๆ
ที่แตกต่างกันไปตามรูปแบบของการกักกั้นกระแสอากาศหรือที่เรียกว่าลั
กษณะวิธีออกเสียง (Manner of Articulation) ณ จุดเกิดเสียงต่างๆกัน
และคาที่ใช้สาหรับเรียกชื่อพยัญชนะส่วนหนึ่งก็มาจากคาระบุตาแหน่งข
องการกักกั้นกระแสอากาศดังกล่าว ซึ่งได้แก่
Point of
articulation
Active
articulators
Passive
articulators
Examples
1. Bilabial Lower lip Upper lip [m,p,b,¸,B,º,‡]
2. Labiodental Lower lip Upper
teeth
[M,f,v,V]
3. Dental Tip of the
tongue
Upper
teeth
[T,D]
4. Alveolar Tip of the
tongue
Alveolar
ridge
[n,t,d,s,z,Z,Â,l,r,t',ë]
5. Post
alveolar
Tip of the
tongue
Post
alveolar
[S,!]
6. Retroflex Tip of the
tongue
Post
alveolar
[÷,ê,§,½,ñ,]
7. Palato-
alveolar
Tip of the
tongue
Hard
palate
[S,Z]
8. Palatal Front of
the tongue
Hard
palate
[ø,c,ï,þ,´]
9. Velar Back of Soft palate [N,k,g,x]
the tongue
10. Uvular Back of
the tongue
Uvular [N, q,G, X,Ò,R]
11. Pharyngeal Root of the
tongue
Back wall
of the
pharynx
[ð,?]
12. Glottal Vocal
cords
Vocal
cords
[?,h,ú,]
13. Labial-
palatal
Lower lip
Center of
the tongue
Upper lip
Hard
palate
[ç]
14. Labial-
Velar
Lower lip
Back of
the tongue
Upper lip
Soft palate
[kƒp,gƒb,w]
Bilabial (เสียงที่เกิดจากริมฝีปากทั้งคู่)
เกิดจากริมฝีปากล่างเคลื่อนเข้าไปหาริมฝีปากบน เช่น
เสียงแรกของคาว่า“my” ในภาษอังกฤษ เสียงแรกของคาว่า “ปู”
ในภาษาไทย
Labiodental (เสียงที่เกิดจากริมฝีปากล่างและฟันบน)
เกิดจากริมฝีปากล่างเคลื่อนเข้าไปหาฟันบนด้านหน้า เช่น
เสียงแรกของคาว่า “เฝ้า” ในภาษาไทย, เสียงแรกของคาว่า “van”
ในภาษาอังกฤษ
Dental (เสียงที่เกิดจากปลายลิ้นหรือส่วนถัดจากปลายลิ้นกับฟันบน)
เกิดจากปลายลิ้นหรือส่วนถัดจากปลายลิ้นเคลื่อนเข้าไปหาฟันบนด้านห
น้า เช่น เสียงแรกของคาว่า “thin” ในภาษาอังกฤษ
Alveolar (เสียงที่เกิดจากปลายลิ้นหรือส่วนถัดจากปลายลิ้นกับปุ่มเหงือก
) เกิดจากปลายลิ้นหรือส่วนถัดจากปลายลิ้นเคลื่อนเข้าไปหาปุ่มเหงือก
เช่น เสียงแรกของคาว่า “นก” ในภาษาไทย,
เสียงแรกของคาว่า “tip” ในภาษาอังกฤษ
Retroflex (เสียงที่เกิดจากปลายลิ้นหรือส่วนใต้ปลายลิ้นกับส่วนปลายสุ
ดของปุ่มเหงือกที่ต่อกับเพดานแข็ง)
เกิดจากปลายลิ้นซึ่งอาจจะเป็นผิวบน (upper surface)
หรือส่วนใต้ปลายลิ้นเคลื่อนเข้าไปหาส่วนปลายสุดของปุ่มเหงือกที่ต่อกับ
เพดานแข็ง เช่น เสียงตัว “ร” หรือ “ส”
ในตาแหน่งพยัญชนะต้นของภาษาไทยถิ่นใต้บางสาเนียง และเสียง “r”
ในภาษาอังกฤษสาเนียงอเมริกันบางสาเนียง
Palato-
Alveolar (เสียงที่เกิดจากส่วนถัดจากปลายลิ้นกับส่วนปลายสุดของปุ่มเ
หงือก)
เกิดจากการใช้ส่วนถัดปลายลิ้นเคลื่อนเข้าไปหาส่วนปลายสุดของปุ่มเห
งือกที่ต่อกับเพดานแข็ง เช่น
เสียงแรกของคาว่า “show” ในภาษาอังกฤษ
Palatal (เสียงที่เกิดจากลิ้นส่วนต้นกับเพดานแข็ง)
เกิดจากการใช้ลิ้นส่วนต้น (front of the tongue)
เคลื่อนเข้าไปหาเพดานแข็ง เช่น เสียงแรกของคาที่แปลว่า “ยาก”
ในภาษาไทยถิ่นอีสาน [ø] และเสียงแรกของคาว่า “nyamuk”
ในภาษามาเลเซีย ซึ่งแปลว่า ยุง
Velar (เสียงที่เกิดจากลิ้นส่วนหลังกับเพดานอ่อน)
เกิดจากการใช้ลิ้นส่วนหลังเคลื่อนเข้าไปหาเพดานอ่อน เช่น
เสียงแรกของคาว่า “คน” ในภาษาไทย
เสียงแรกของคาว่า “give” ในภาษาอังกฤษ
Uvular (เสียงที่เกิดจากลิ้นส่วนหลังกับลิ้นไก่)
เกิดจากการยกลิ้นส่วนหลังเข้าไปหาลิ้นไก่ เช่น เสียงแรกของคาว่า
“rouge” ในภาษาฝรั่งเศส
Pharyngeal (เสียงที่เกิดจากโคนลิ้นกับผนังช่องคอด้านหลัง)
เกิดจากการดึงโคนลิ้นไปทางด้านหลังเข้าหาผนังช่องคอด้านหลัง เช่น
เสียงแรกในคาที่แปลว่า “ลุง” ในภาษาอาหรับ ([?amm])
Glottal (เสียงที่เกิดจากเส้นเสียง)
เกิดจากการเคลื่อนเข้าหากันของเส้นเสียงทั้งคู่
โดยอาจจะเคลื่อนเข้ามาติดกัน เช่น เสียงแรกของคาว่า “home”
ในภาษาอังกฤษ, เสียงแรกของคาว่า “อู่” ในภาษาไทย
สัญลักษณ์IPA แทนเสียงพยัญชนะ
สัญลักษณ์IPA อักษรอังกฤษ อักษรไทย ตัวอย่างคา
p p พ pen
b b บ back
t t ท tea
d d ด day
k k ค key
g g ก get
tʃ ch,t,s ช church
ʃ sh ไม่มี ship
ʒ s,ss ไม่มี vision
dʒ ge ไม่มี age
f f ฟ fat
θ th ไม่มี thing
ð th ไม่มี this
s s ส soon
z z ไม่มี zero
h h ฮ,ห hot
m m ม more
n n น nice
สัญลักษณ์IPA อักษรอังกฤษ อักษรไทย ตัวอย่างคา
ŋ ng ง ring
l l ล light
r r ร right
j y ย yet
w w ว wet
ʔ r ไม่มี department
v v ไม่มี view
สัญลักษณ์IPA แทนเสียงสระ
สัญลักษณ์
IPA
ตัวอย่าง เทียบเสียงในภาษาไทย
ɪ kit, bid,
hymn,
minute
อิ (ก้ากึ่งระหว่าง อิ และ
อี)
e dress,
bed,
head,
many
เอะ
æ trap, bad แอะ
ɒ lot, odd,
wash
เอาะ
ʌ strut,
mud, love,
blood
อะ
ʊ foot,
good, put
อู
i: fleece,
sea,
machine
อี
eɪ face, day,
break
เอ
aɪ price,
high, try
ไอ
ɔɪ choice,
boy
ออย
u: goose,
two, blue,
อู
group
əʊ goat,
show, no
โอ
aʊ mouth,
now
เอา, อาว

More Related Content

Similar to นางสาวอรพรรณ บัณฑิตเสน รหัส 56030566

สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆสรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆGesso Hog'bk
 
Place of articulation and Phonetics
Place of articulation and PhoneticsPlace of articulation and Phonetics
Place of articulation and Phoneticschepeach
 
Place of articulation&phonetics
Place of articulation&phoneticsPlace of articulation&phonetics
Place of articulation&phoneticschepeach
 
ตำแหน่งของการเกิดเสียง
ตำแหน่งของการเกิดเสียงตำแหน่งของการเกิดเสียง
ตำแหน่งของการเกิดเสียงirinth
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงSunthon Aged
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงSunthon Aged
 
สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557
สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557
สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557Sunthon Aged
 
ตำแหน่งของการออกเสียง
ตำแหน่งของการออกเสียงตำแหน่งของการออกเสียง
ตำแหน่งของการออกเสียงyoiisina
 
นางสาวตุลาลักษณ์ ขวัญข้าว
นางสาวตุลาลักษณ์ ขวัญข้าวนางสาวตุลาลักษณ์ ขวัญข้าว
นางสาวตุลาลักษณ์ ขวัญข้าวirinth
 
56030648
5603064856030648
56030648Yuri YR
 
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ  สัญลักษณ์แทนเสียงสากลสรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ  สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ สัญลักษณ์แทนเสียงสากลSunthon Aged
 
นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514
นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514
นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514irinth
 
การเกิดเสียง56030467
การเกิดเสียง56030467การเกิดเสียง56030467
การเกิดเสียง56030467Wuttikorn Buajoom
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง 56030549
ตำแหน่งการเกิดเสียง 56030549ตำแหน่งการเกิดเสียง 56030549
ตำแหน่งการเกิดเสียง 56030549Wilipda Wongsakul
 
ตำแหน่งของการออกเสียง และสัญลักษณ์เสียงสากล
ตำแหน่งของการออกเสียง และสัญลักษณ์เสียงสากล ตำแหน่งของการออกเสียง และสัญลักษณ์เสียงสากล
ตำแหน่งของการออกเสียง และสัญลักษณ์เสียงสากล nuengrutaii
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงMmeaw Tamtinna
 
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิTongsamut vorasan
 

Similar to นางสาวอรพรรณ บัณฑิตเสน รหัส 56030566 (20)

สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆสรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ
 
Phonetic 56030521
Phonetic 56030521Phonetic 56030521
Phonetic 56030521
 
Place of articulation and Phonetics
Place of articulation and PhoneticsPlace of articulation and Phonetics
Place of articulation and Phonetics
 
Place of articulation&phonetics
Place of articulation&phoneticsPlace of articulation&phonetics
Place of articulation&phonetics
 
ตำแหน่งของการเกิดเสียง
ตำแหน่งของการเกิดเสียงตำแหน่งของการเกิดเสียง
ตำแหน่งของการเกิดเสียง
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียง
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียง
 
สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557
สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557
สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557
 
สรุป
สรุปสรุป
สรุป
 
ตำแหน่งของการออกเสียง
ตำแหน่งของการออกเสียงตำแหน่งของการออกเสียง
ตำแหน่งของการออกเสียง
 
นางสาวตุลาลักษณ์ ขวัญข้าว
นางสาวตุลาลักษณ์ ขวัญข้าวนางสาวตุลาลักษณ์ ขวัญข้าว
นางสาวตุลาลักษณ์ ขวัญข้าว
 
56030648
5603064856030648
56030648
 
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ  สัญลักษณ์แทนเสียงสากลสรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ  สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
 
นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514
นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514
นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514
 
การเกิดเสียง56030467
การเกิดเสียง56030467การเกิดเสียง56030467
การเกิดเสียง56030467
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง 56030549
ตำแหน่งการเกิดเสียง 56030549ตำแหน่งการเกิดเสียง 56030549
ตำแหน่งการเกิดเสียง 56030549
 
ตำแหน่งของการออกเสียง และสัญลักษณ์เสียงสากล
ตำแหน่งของการออกเสียง และสัญลักษณ์เสียงสากล ตำแหน่งของการออกเสียง และสัญลักษณ์เสียงสากล
ตำแหน่งของการออกเสียง และสัญลักษณ์เสียงสากล
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียง
 
ระบบเสียงและอวัยวะในการออกเสียงในภาษาไทย
ระบบเสียงและอวัยวะในการออกเสียงในภาษาไทยระบบเสียงและอวัยวะในการออกเสียงในภาษาไทย
ระบบเสียงและอวัยวะในการออกเสียงในภาษาไทย
 
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
 

นางสาวอรพรรณ บัณฑิตเสน รหัส 56030566

  • 1. นางสาวอรพรรณ บัณฑิตเสน รหัส 56030566 คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาครุศาสตร์เกษตร ตาแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตาแหน่งต่างๆ การแบ่งตามตาแหน่งที่เกิดเสียง (Points of Articulation) คานี้ถ้าจะเรียกให้สั้นและย่อมีชื่อเฉพาะว่าฐานกรณ์ ซึ่งหมายถึงอวัยวะแปรเสียงหรือกล่อมเกลาเสียงโดยรวม แต่ถ้าจะแยกกลุ่มของอวัยวะแปรเสียงออกมาตามลักษณะของการเคลื่อ นไหวก็จะแบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม คือ 1.กลุ่มที่เคลื่อนที่ไม่ได้ (Passive Articulator หรือ Upper Articulator) หรือมีชื่อเฉพาะสั้นๆ ว่า ฐาน ซึ่งได้แก่ อวัยวะต่อไปนี้ - ริมฝีปากบน (upper lip) - ฟันบน (upper teeth) - ปุ่มเหงือก (gum ridge หรือ alveolar ridge) - เพดานแข็ง (hard palate) - เพดานอ่อน (soft palate หรือ velum)
  • 2. - ลิ้นไก่ (uvula) อวัยวะชิ้นนี้แม้ว่าจะถูกจัดอยู่ในกลุ่มที่เรียกว่า upper articulators หรืออวัยวะที่อยู่ส่วนบนของช่องปากหรือเพดานปากก็ตาม แต่เป็นอวัยวะที่สามารถเคลื่อนที่ได้ 2. กลุ่มที่เคลื่อนที่ได้ (Active Articulator หรือ Lower Articulator) หรือมีชื่อเฉพาะสั้นๆ ว่า กรณ์ ซึ่งได้แก่ อวัยวะต่อไปนี้ คือ - ริมฝีปากล่าง (Lower lip) - ลิ้น (tongue) เป็นอวัยวะที่มีความยืดหยุ่นตัวสูงที่สุดดังที่กล่าวมาแล้วใ นตอนต้น ในบทที่ว่าด้วยเรื่องอวัยวะในการแกเสียง ในการทาให้เกิดเสียงพยัญชนะเสียงใดเสียงหนึ่งขึ้นมานั้น กระแสอากาซที่เดินทางผ่านเข้ามาในช่องออกเสียง (vocal tract) จะต้องถูกกักกั้นในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง การกักกั้นกระแสอากาศก็จะกระทาได้โดยอวัยวะกลุ่มที่เคลื่อนที่ได้ (Act ive Articulators) จะเคลื่อนที่เข้าไปหา, เข้าไปใกล้, หรือเข้าไปชิดอวัยวะกลุ่มที่เคลื่อนที่ไม่ได้(Passive Articulator) เมื่อกระแสอากาศเดินทางผ่านจุดกักกั้นเหล่านั้นก็จะก่อให้เกิดเสยงพยั ญชนะประเภทต่างๆ ที่แตกต่างกันไปตามรูปแบบของการกักกั้นกระแสอากาศหรือที่เรียกว่าลั กษณะวิธีออกเสียง (Manner of Articulation) ณ จุดเกิดเสียงต่างๆกัน และคาที่ใช้สาหรับเรียกชื่อพยัญชนะส่วนหนึ่งก็มาจากคาระบุตาแหน่งข องการกักกั้นกระแสอากาศดังกล่าว ซึ่งได้แก่
  • 3. Point of articulation Active articulators Passive articulators Examples 1. Bilabial Lower lip Upper lip [m,p,b,¸,B,º,‡] 2. Labiodental Lower lip Upper teeth [M,f,v,V] 3. Dental Tip of the tongue Upper teeth [T,D] 4. Alveolar Tip of the tongue Alveolar ridge [n,t,d,s,z,Z,Â,l,r,t',ë] 5. Post alveolar Tip of the tongue Post alveolar [S,!] 6. Retroflex Tip of the tongue Post alveolar [÷,ê,§,½,ñ,] 7. Palato- alveolar Tip of the tongue Hard palate [S,Z] 8. Palatal Front of the tongue Hard palate [ø,c,ï,þ,´] 9. Velar Back of Soft palate [N,k,g,x]
  • 4. the tongue 10. Uvular Back of the tongue Uvular [N, q,G, X,Ò,R] 11. Pharyngeal Root of the tongue Back wall of the pharynx [ð,?] 12. Glottal Vocal cords Vocal cords [?,h,ú,] 13. Labial- palatal Lower lip Center of the tongue Upper lip Hard palate [ç] 14. Labial- Velar Lower lip Back of the tongue Upper lip Soft palate [kƒp,gƒb,w] Bilabial (เสียงที่เกิดจากริมฝีปากทั้งคู่) เกิดจากริมฝีปากล่างเคลื่อนเข้าไปหาริมฝีปากบน เช่น เสียงแรกของคาว่า“my” ในภาษอังกฤษ เสียงแรกของคาว่า “ปู” ในภาษาไทย
  • 5. Labiodental (เสียงที่เกิดจากริมฝีปากล่างและฟันบน) เกิดจากริมฝีปากล่างเคลื่อนเข้าไปหาฟันบนด้านหน้า เช่น เสียงแรกของคาว่า “เฝ้า” ในภาษาไทย, เสียงแรกของคาว่า “van” ในภาษาอังกฤษ Dental (เสียงที่เกิดจากปลายลิ้นหรือส่วนถัดจากปลายลิ้นกับฟันบน) เกิดจากปลายลิ้นหรือส่วนถัดจากปลายลิ้นเคลื่อนเข้าไปหาฟันบนด้านห น้า เช่น เสียงแรกของคาว่า “thin” ในภาษาอังกฤษ Alveolar (เสียงที่เกิดจากปลายลิ้นหรือส่วนถัดจากปลายลิ้นกับปุ่มเหงือก ) เกิดจากปลายลิ้นหรือส่วนถัดจากปลายลิ้นเคลื่อนเข้าไปหาปุ่มเหงือก เช่น เสียงแรกของคาว่า “นก” ในภาษาไทย, เสียงแรกของคาว่า “tip” ในภาษาอังกฤษ Retroflex (เสียงที่เกิดจากปลายลิ้นหรือส่วนใต้ปลายลิ้นกับส่วนปลายสุ ดของปุ่มเหงือกที่ต่อกับเพดานแข็ง) เกิดจากปลายลิ้นซึ่งอาจจะเป็นผิวบน (upper surface) หรือส่วนใต้ปลายลิ้นเคลื่อนเข้าไปหาส่วนปลายสุดของปุ่มเหงือกที่ต่อกับ เพดานแข็ง เช่น เสียงตัว “ร” หรือ “ส” ในตาแหน่งพยัญชนะต้นของภาษาไทยถิ่นใต้บางสาเนียง และเสียง “r” ในภาษาอังกฤษสาเนียงอเมริกันบางสาเนียง Palato- Alveolar (เสียงที่เกิดจากส่วนถัดจากปลายลิ้นกับส่วนปลายสุดของปุ่มเ หงือก) เกิดจากการใช้ส่วนถัดปลายลิ้นเคลื่อนเข้าไปหาส่วนปลายสุดของปุ่มเห
  • 6. งือกที่ต่อกับเพดานแข็ง เช่น เสียงแรกของคาว่า “show” ในภาษาอังกฤษ Palatal (เสียงที่เกิดจากลิ้นส่วนต้นกับเพดานแข็ง) เกิดจากการใช้ลิ้นส่วนต้น (front of the tongue) เคลื่อนเข้าไปหาเพดานแข็ง เช่น เสียงแรกของคาที่แปลว่า “ยาก” ในภาษาไทยถิ่นอีสาน [ø] และเสียงแรกของคาว่า “nyamuk” ในภาษามาเลเซีย ซึ่งแปลว่า ยุง Velar (เสียงที่เกิดจากลิ้นส่วนหลังกับเพดานอ่อน) เกิดจากการใช้ลิ้นส่วนหลังเคลื่อนเข้าไปหาเพดานอ่อน เช่น เสียงแรกของคาว่า “คน” ในภาษาไทย เสียงแรกของคาว่า “give” ในภาษาอังกฤษ Uvular (เสียงที่เกิดจากลิ้นส่วนหลังกับลิ้นไก่) เกิดจากการยกลิ้นส่วนหลังเข้าไปหาลิ้นไก่ เช่น เสียงแรกของคาว่า “rouge” ในภาษาฝรั่งเศส Pharyngeal (เสียงที่เกิดจากโคนลิ้นกับผนังช่องคอด้านหลัง) เกิดจากการดึงโคนลิ้นไปทางด้านหลังเข้าหาผนังช่องคอด้านหลัง เช่น เสียงแรกในคาที่แปลว่า “ลุง” ในภาษาอาหรับ ([?amm]) Glottal (เสียงที่เกิดจากเส้นเสียง) เกิดจากการเคลื่อนเข้าหากันของเส้นเสียงทั้งคู่ โดยอาจจะเคลื่อนเข้ามาติดกัน เช่น เสียงแรกของคาว่า “home” ในภาษาอังกฤษ, เสียงแรกของคาว่า “อู่” ในภาษาไทย
  • 7.
  • 8. สัญลักษณ์IPA แทนเสียงพยัญชนะ สัญลักษณ์IPA อักษรอังกฤษ อักษรไทย ตัวอย่างคา p p พ pen b b บ back t t ท tea d d ด day k k ค key g g ก get tʃ ch,t,s ช church
  • 9. ʃ sh ไม่มี ship ʒ s,ss ไม่มี vision dʒ ge ไม่มี age f f ฟ fat θ th ไม่มี thing ð th ไม่มี this s s ส soon z z ไม่มี zero h h ฮ,ห hot m m ม more n n น nice สัญลักษณ์IPA อักษรอังกฤษ อักษรไทย ตัวอย่างคา ŋ ng ง ring l l ล light
  • 10. r r ร right j y ย yet w w ว wet ʔ r ไม่มี department v v ไม่มี view สัญลักษณ์IPA แทนเสียงสระ สัญลักษณ์ IPA ตัวอย่าง เทียบเสียงในภาษาไทย ɪ kit, bid, hymn, minute อิ (ก้ากึ่งระหว่าง อิ และ อี) e dress, bed, head, many เอะ
  • 11. æ trap, bad แอะ ɒ lot, odd, wash เอาะ ʌ strut, mud, love, blood อะ ʊ foot, good, put อู i: fleece, sea, machine อี eɪ face, day, break เอ aɪ price, high, try ไอ ɔɪ choice, boy ออย u: goose, two, blue, อู
  • 12. group əʊ goat, show, no โอ aʊ mouth, now เอา, อาว