SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
ตำแหน่งของก่ำรออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง (Place and Manner of Articulation)
ในการแปรเสียงหรือกล่อมเกลาเสียง (Articulation) เพื่อให้เกิดเป็นเสียงพยัญชนะต่างๆในภาษานั้น
การแปรเสียงหรือกล่อมเกลาเสียงจะเกิดขึ้นณจุดต่างๆ (PlaceofArticulation) ภายในช่องออกเสียง
(VocalTract)ของเราในบทนี้จะกล่าวถึงบริเวณต่างๆ ที่มีความเป็นไปได้ที่จะเป็นตาแหน่งที่เกิดของเสียง
ในภาษาต่างๆ ตลอดจนลักษณะวิธีออกเสียง (Mannerof Articulation) แบบต่างๆ ที่สามารถจะเกิดขึ้น
ได้ในภาษาต่างๆ โดยละเอียดโดยจะยกตัวอย่างเสียงต่างในภาษาประกอบด้วย
ตำแหน่งของกำรเกิดเสียงบริเวณต่ำงๆ (Place of Articulation)
คานี้ถ้าจะเรียกให้สั้นและย่อมีชื่อเฉพาะว่าฐานกรณ์ ซึ่งหมายถึงอวัยวะแปรเสียงหรือกล่อมเกลาเสียงโดยรวม
ถ้าจะแยกกลุ่มของอวัยวะแปรเสียงออกมาตามลักษณะของการเคลื่อนไหวก็จะแบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม คือ
1.กลุ่มที่เคลื่อนที่ไม่ได้ (PassiveArticulatorหรือ UpperArticulator) หรือมีชื่อเฉพาะสั้นๆ ว่า ฐำน ซึ่งได้แก่อวัยวะต่อไปนี้
-ริมฝีปากบน (upperlip)
-ฟันบน(upper teeth)
-ปุ่มเหงือก(gum ridge หรือ alveolarridge)
-เพดานแข็ง(hardpalate)
-เพดานอ่อน (soft palate หรือvelum)
-ลิ้นไก่(uvula) อวัยวะชิ้นนี้แม้ว่าจะถูกจัดอยู่ในกลุ่มที่เรียกว่า upper articulators หรืออวัยวะที่อยู่ส่วนบนของ
ช่องปากหรือเพดานปากก็ตาม แต่เป็นอวัยวะที่สามารถเคลื่อนที่ได้
2.กลุ่มที่เคลื่อนที่ได้(ActiveArticulator หรือ LowerArticulator) หรือมีชื่อเฉพาะสั้นๆว่า กรณ์ ซึ่งได้แก่ อวัยวะต่อไปนี้ คือ
-ริมฝีปากล่าง (Lowerlip)
-ลิ้น (tongue) ซิงเป็นอวัยวะที่มีความยืดหยุ่นตัวสูงที่สุดดังที่กล่าวมาแล้วในตอนต้น ในบทที่ว่าด้วยเรื่องอวัยวะในการแกเสียง
ในการทาให้เกิดเสียงพยัญชนะเสียงใดเสียงหนึ่งขึ้นมานั้นกระแสอากาซที่เดินทางผ่านเข้ามาในช่องออกเสียง (vocal
tract) จะต้องถูกกักกั้นในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง การกักกั้นกระแสอากาศก็จะกระทาได้โดยอวัยวะกลุ่มที่เคลื่อนที่ได้ (Active
Articulators) จะเคลื่อนที่เข้าไปหา,เข้าไปใกล้,หรือเข้าไปชิดอวัยวะกลุ่มที่เคลื่อนที่ไม่ได้(Passive Articulator)
เมื่อกระแสอากาศเดินทางผ่านจุดกักกั้นเหล่านั้นก็จะก่อให้เกิดเสยงพยัญชนะประเภทต่างๆ
ที่แตกต่างกันไปตามรูปแบบของการกักกั้นกระแสอากาศหรือที่เรียกว่าลักษณะวิธีออกเสียง (MannerofArticulation) ณจุดเกิดเสียงต่างๆกัน
และคาที่ใช้สาหรับเรียกชื่อพยัญชนะส่วนหนึ่งก็มาจากคาระบุตาแหน่งของการกักกั้นกระแสอากาศดังกล่าว ซึ่งได้แก่
Bilabial (เสียงที่เกิดจากริมฝีปากทั้งคู่) เกิดจากริมฝีปากล่างเคลื่อนเข้าไปหาริมฝีปากบน เช่น เสียงแรกของคาว่า“my” ในภาษอังกฤษ
เสียงแรกของคาว่า “ปู”ในภาษาไทย
Labiodental (เสียงที่เกิดจากริมฝีปากล่างและฟันบน) เกิดจากริมฝีปากล่างเคลื่อนเข้าไปหาฟันบนด้านหน้า เช่นเสียงแรกของคาว่า
“เฝ้า”ในภาษาไทย,เสียงแรกของคาว่า “van”ในภาษาอังกฤษ
Dental(เสียงที่เกิดจากปลายลิ้นหรือส่วนถัดจากปลายลิ้นกับฟันบน)
เกิดจากปลายลิ้นหรือส่วนถัดจากปลายลิ้นเคลื่อนเข้าไปหาฟันบนด้านหน้า เช่น เสียงแรกของคาว่า “thin” ในภาษาอังกฤษ
Alveolar (เสียงที่เกิดจากปลายลิ้นหรือส่วนถัดจากปลายลิ้นกับปุ่มเหงือก)
เกิดจากปลายลิ้นหรือส่วนถัดจากปลายลิ้นเคลื่อนเข้าไปหาปุ่มเหงือก เช่นเสียงแรกของคาว่า “นก”ในภาษาไทย,
เสียงแรกของคาว่า “tip” ในภาษาอังกฤษ
Retroflex(เสียงที่เกิดจากปลายลิ้นหรือส่วนใต้ปลายลิ้นกับส่วนปลายสุดของปุ่มเหงือกที่ต่อกับเพดานแข็ง)
เกิดจากปลายลิ้นซึ่งอาจจะเป็นผิวบน (uppersurface)หรือส่วนใต้ปลายลิ้นเคลื่อนเข้าไปหาส่วนปลายสุดของปุ่มเหงือกที่ต่อกับเพดานแข็ง เช่น
เสียงตัว“ร”หรือ “ส”ในตาแหน่งพยัญชนะต้นของภาษาไทยถิ่นใต้บางสาเนียงและเสียง“r”ในภาษาอังกฤษสาเนียงอเมริกันบางสาเนียง
Palato-Alveolar (เสียงที่เกิดจากส่วนถัดจากปลายลิ้นกับส่วนปลายสุดของปุ่มเหงือก)
เกิดจากการใช้ส่วนถัดปลายลิ้นเคลื่อนเข้าไปหาส่วนปลายสุดของปุ่มเหงือกที่ต่อกับเพดานแข็ง เช่นเสียงแรกของคาว่า “show”ในภาษาอังกฤษ
Palatal (เสียงที่เกิดจากลิ้นส่วนต้นกับเพดานแข็ง)เกิดจากการใช้ลิ้นส่วนต้น (front ofthe tongue) เคลื่อนเข้าไปหาเพดานแข็งเช่น
เสียงแรกของคาที่แปลว่า “ยาก”ในภาษาไทยถิ่นอีสาน [ø] และเสียงแรกของคาว่า “nyamuk” ในภาษามาเลเซียซึ่งแปลว่า ยุง
Velar (เสียงที่เกิดจากลิ้นส่วนหลังกับเพดานอ่อน)เกิดจากการใช้ลิ้นส่วนหลังเคลื่อนเข้าไปหาเพดานอ่อน เช่น เสียงแรกของคาว่า
“คน”ในภาษาไทยเสียงแรกของคาว่า “give”ในภาษาอังกฤษ
Uvular (เสียงที่เกิดจากลิ้นส่วนหลังกับลิ้นไก่) เกิดจากการยกลิ้นส่วนหลังเข้าไปหาลิ้นไก่เช่นเสียงแรกของคาว่า “rouge”
ในภาษาฝรั่งเศส
Pharyngeal(เสียงที่เกิดจากโคนลิ้นกับผนังช่องคอด้านหลัง) เกิดจากการดึงโคนลิ้นไปทางด้านหลังเข้าหาผนังช่องคอด้านหลัง เช่น
เสียงแรกในคาที่แปลว่า “ลุง”ในภาษาอาหรับ ([?amm])
Glottal (เสียงที่เกิดจากเส้นเสียง)เกิดจากการเคลื่อนเข้าหากันของเส้นเสียงทั้งคู่โดยอาจจะเคลื่อนเข้ามาติดกันเช่น
เสียงแรกของคาว่า “home”ในภาษาอังกฤษ, เสียงแรกของคาว่า “อู่”ในภาษาไทย
สัญลักษณ์แทนเสียงสำกล (IPA)
สัทอักษรสากล (International Phonetic Alphabet:IPA) คือสัทอักษรชุดหนึ่งที่พัฒนาโดยสมาคมสัทศาสตร์สากล โดยมุ่งหมายให้เป็นสัญกรณ์
มาตรฐานสาหรับการแทนเสียงพูดในทุกภาษา นักภาษาศาสตร์ใช้สัทอักษรสากลเพื่อแทนหน่วยเสียงต่าง ๆ ที่อวัยวะออกเสียงของมนุษย์สามารถ
เปล่งเสียงได้โดยแทนหน่วยเสียงแต่ละหน่วยเสียงด้วยสัญลักษณ์เฉพาะที่ไม่ซ้ากันสัญลักษณ์ในสัทอักษรสากลนั้นส่วนใหญ่นามาจากหรือดัดแปลง
จากอักษรโรมันสัญลักษณ์บางตัวนามาจากอักษรกรีก และบางตัวประดิษฐ์ขึ้นใหม่โดยไม่สัมพันธ์กับอักษรภาษาใดเลย
สัญลักษณ์แทนเสียงสระ
สัญลักษณ์ (IPA) ตัวอย่ำง เทียบเสียงในภำษำไทย
i: see/si:/ อี
i any/'eni/ อิ
ɪ sit /sɪt/ อิ (ก้ากึ่งระหว่าง อิ และ อี)
e ten/ten/ เอะ
æ hat/hæt/ แอะ
ɑ: arm/ɑ:m/ อา
ɒ got /gɒt/ เอาะ
ɔ: saw/sɔ:/ ออ
ʊ put /pʊt/ อู
u: too /tu:/ อู
u
usual/'ju:ʒu
əl/
อุ
ʌ cup/kʌp/ อะ
ɜ: fur /fɜ:/ เออ
ə ago/ə'gəʊ/ เออะ
eɪ pay/peɪ/ เอ
əʊ
home /həʊm
/
โอ
aɪ five /faɪv/ ไอ
aʊ now /naʊ/ เอา, อาว
ɔɪ join /dʒɔɪn/ ออย
ɪə near/nɪə/ เอีย
eə hair /heə/ แอ
ʊə pure /pjʊə/ อิว
สัญลักษณ์แทนเสียงพยัญชนะ
สัญลักษณ์ (IPA) ตัวอย่ำง เทียบเสียงในภำษำไทย
p pen/pen/ พ
b bad/bæd/ บ
t tea/ti:/ ท
d did /dɪd/ ด
k cat/kæt/ ค
g got /gɒt/ ก
tʃ chin/tʃɪn/ ช
dʒ June /dʒu:n/ จ
f fall /fɔ:l/ ฟ
v van/væn/ ฟ
θ thin /θɪn/ ธ
ð then/ðen/ ธ
s so/səʊ/ ส
z zoo/zu:/ ส
ʃ she /ʃi:/ ช
ʒ vision /'vɪʒn/ ฉ
h how /haʊ/ ฮ
m man/mæn/ ม
n no/nəʊ/ น
ŋ sing /sɪŋ/ ง
l leg/leg/ ล
r red/red/ ร
j yes /jes/ ย
w wet/wet/ ว
นำงสำว อำรยำ ศรีพลำย 56030570

More Related Content

Similar to ตำแหน่งของก่ารออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง

สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557
สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557
สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557
Sunthon Aged
 
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ  สัญลักษณ์แทนเสียงสากลสรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ  สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
Sunthon Aged
 
ตำแหน่งของการออกเสียง และสัญลักษณ์เสียงสากล
ตำแหน่งของการออกเสียง และสัญลักษณ์เสียงสากล ตำแหน่งของการออกเสียง และสัญลักษณ์เสียงสากล
ตำแหน่งของการออกเสียง และสัญลักษณ์เสียงสากล
nuengrutaii
 
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆสรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ
Gesso Hog'bk
 
นางสาวอรพรรณ บัณฑิตเสน รหัส 56030566
นางสาวอรพรรณ บัณฑิตเสน  รหัส 56030566นางสาวอรพรรณ บัณฑิตเสน  รหัส 56030566
นางสาวอรพรรณ บัณฑิตเสน รหัส 56030566
0884947335
 

Similar to ตำแหน่งของก่ารออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง (10)

สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557
สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557
สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557
 
สรุป
สรุปสรุป
สรุป
 
นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514
นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514
นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514
 
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ  สัญลักษณ์แทนเสียงสากลสรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ  สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
 
การเกิดเสียง56030467
การเกิดเสียง56030467การเกิดเสียง56030467
การเกิดเสียง56030467
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียง ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียง
 
ตำแหน่งของการออกเสียง และสัญลักษณ์เสียงสากล
ตำแหน่งของการออกเสียง และสัญลักษณ์เสียงสากล ตำแหน่งของการออกเสียง และสัญลักษณ์เสียงสากล
ตำแหน่งของการออกเสียง และสัญลักษณ์เสียงสากล
 
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆสรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ
 
นางสาวอรพรรณ บัณฑิตเสน รหัส 56030566
นางสาวอรพรรณ บัณฑิตเสน  รหัส 56030566นางสาวอรพรรณ บัณฑิตเสน  รหัส 56030566
นางสาวอรพรรณ บัณฑิตเสน รหัส 56030566
 
นายอภิโชติ มณีกาศ รหัสนักศึกษา 56030563
นายอภิโชติ  มณีกาศ รหัสนักศึกษา 56030563นายอภิโชติ  มณีกาศ รหัสนักศึกษา 56030563
นายอภิโชติ มณีกาศ รหัสนักศึกษา 56030563
 

ตำแหน่งของก่ารออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง

  • 1. ตำแหน่งของก่ำรออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง (Place and Manner of Articulation) ในการแปรเสียงหรือกล่อมเกลาเสียง (Articulation) เพื่อให้เกิดเป็นเสียงพยัญชนะต่างๆในภาษานั้น การแปรเสียงหรือกล่อมเกลาเสียงจะเกิดขึ้นณจุดต่างๆ (PlaceofArticulation) ภายในช่องออกเสียง (VocalTract)ของเราในบทนี้จะกล่าวถึงบริเวณต่างๆ ที่มีความเป็นไปได้ที่จะเป็นตาแหน่งที่เกิดของเสียง ในภาษาต่างๆ ตลอดจนลักษณะวิธีออกเสียง (Mannerof Articulation) แบบต่างๆ ที่สามารถจะเกิดขึ้น ได้ในภาษาต่างๆ โดยละเอียดโดยจะยกตัวอย่างเสียงต่างในภาษาประกอบด้วย ตำแหน่งของกำรเกิดเสียงบริเวณต่ำงๆ (Place of Articulation) คานี้ถ้าจะเรียกให้สั้นและย่อมีชื่อเฉพาะว่าฐานกรณ์ ซึ่งหมายถึงอวัยวะแปรเสียงหรือกล่อมเกลาเสียงโดยรวม ถ้าจะแยกกลุ่มของอวัยวะแปรเสียงออกมาตามลักษณะของการเคลื่อนไหวก็จะแบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม คือ 1.กลุ่มที่เคลื่อนที่ไม่ได้ (PassiveArticulatorหรือ UpperArticulator) หรือมีชื่อเฉพาะสั้นๆ ว่า ฐำน ซึ่งได้แก่อวัยวะต่อไปนี้ -ริมฝีปากบน (upperlip) -ฟันบน(upper teeth) -ปุ่มเหงือก(gum ridge หรือ alveolarridge) -เพดานแข็ง(hardpalate) -เพดานอ่อน (soft palate หรือvelum) -ลิ้นไก่(uvula) อวัยวะชิ้นนี้แม้ว่าจะถูกจัดอยู่ในกลุ่มที่เรียกว่า upper articulators หรืออวัยวะที่อยู่ส่วนบนของ ช่องปากหรือเพดานปากก็ตาม แต่เป็นอวัยวะที่สามารถเคลื่อนที่ได้ 2.กลุ่มที่เคลื่อนที่ได้(ActiveArticulator หรือ LowerArticulator) หรือมีชื่อเฉพาะสั้นๆว่า กรณ์ ซึ่งได้แก่ อวัยวะต่อไปนี้ คือ -ริมฝีปากล่าง (Lowerlip) -ลิ้น (tongue) ซิงเป็นอวัยวะที่มีความยืดหยุ่นตัวสูงที่สุดดังที่กล่าวมาแล้วในตอนต้น ในบทที่ว่าด้วยเรื่องอวัยวะในการแกเสียง ในการทาให้เกิดเสียงพยัญชนะเสียงใดเสียงหนึ่งขึ้นมานั้นกระแสอากาซที่เดินทางผ่านเข้ามาในช่องออกเสียง (vocal tract) จะต้องถูกกักกั้นในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง การกักกั้นกระแสอากาศก็จะกระทาได้โดยอวัยวะกลุ่มที่เคลื่อนที่ได้ (Active Articulators) จะเคลื่อนที่เข้าไปหา,เข้าไปใกล้,หรือเข้าไปชิดอวัยวะกลุ่มที่เคลื่อนที่ไม่ได้(Passive Articulator) เมื่อกระแสอากาศเดินทางผ่านจุดกักกั้นเหล่านั้นก็จะก่อให้เกิดเสยงพยัญชนะประเภทต่างๆ ที่แตกต่างกันไปตามรูปแบบของการกักกั้นกระแสอากาศหรือที่เรียกว่าลักษณะวิธีออกเสียง (MannerofArticulation) ณจุดเกิดเสียงต่างๆกัน และคาที่ใช้สาหรับเรียกชื่อพยัญชนะส่วนหนึ่งก็มาจากคาระบุตาแหน่งของการกักกั้นกระแสอากาศดังกล่าว ซึ่งได้แก่ Bilabial (เสียงที่เกิดจากริมฝีปากทั้งคู่) เกิดจากริมฝีปากล่างเคลื่อนเข้าไปหาริมฝีปากบน เช่น เสียงแรกของคาว่า“my” ในภาษอังกฤษ เสียงแรกของคาว่า “ปู”ในภาษาไทย Labiodental (เสียงที่เกิดจากริมฝีปากล่างและฟันบน) เกิดจากริมฝีปากล่างเคลื่อนเข้าไปหาฟันบนด้านหน้า เช่นเสียงแรกของคาว่า “เฝ้า”ในภาษาไทย,เสียงแรกของคาว่า “van”ในภาษาอังกฤษ Dental(เสียงที่เกิดจากปลายลิ้นหรือส่วนถัดจากปลายลิ้นกับฟันบน) เกิดจากปลายลิ้นหรือส่วนถัดจากปลายลิ้นเคลื่อนเข้าไปหาฟันบนด้านหน้า เช่น เสียงแรกของคาว่า “thin” ในภาษาอังกฤษ
  • 2. Alveolar (เสียงที่เกิดจากปลายลิ้นหรือส่วนถัดจากปลายลิ้นกับปุ่มเหงือก) เกิดจากปลายลิ้นหรือส่วนถัดจากปลายลิ้นเคลื่อนเข้าไปหาปุ่มเหงือก เช่นเสียงแรกของคาว่า “นก”ในภาษาไทย, เสียงแรกของคาว่า “tip” ในภาษาอังกฤษ Retroflex(เสียงที่เกิดจากปลายลิ้นหรือส่วนใต้ปลายลิ้นกับส่วนปลายสุดของปุ่มเหงือกที่ต่อกับเพดานแข็ง) เกิดจากปลายลิ้นซึ่งอาจจะเป็นผิวบน (uppersurface)หรือส่วนใต้ปลายลิ้นเคลื่อนเข้าไปหาส่วนปลายสุดของปุ่มเหงือกที่ต่อกับเพดานแข็ง เช่น เสียงตัว“ร”หรือ “ส”ในตาแหน่งพยัญชนะต้นของภาษาไทยถิ่นใต้บางสาเนียงและเสียง“r”ในภาษาอังกฤษสาเนียงอเมริกันบางสาเนียง Palato-Alveolar (เสียงที่เกิดจากส่วนถัดจากปลายลิ้นกับส่วนปลายสุดของปุ่มเหงือก) เกิดจากการใช้ส่วนถัดปลายลิ้นเคลื่อนเข้าไปหาส่วนปลายสุดของปุ่มเหงือกที่ต่อกับเพดานแข็ง เช่นเสียงแรกของคาว่า “show”ในภาษาอังกฤษ Palatal (เสียงที่เกิดจากลิ้นส่วนต้นกับเพดานแข็ง)เกิดจากการใช้ลิ้นส่วนต้น (front ofthe tongue) เคลื่อนเข้าไปหาเพดานแข็งเช่น เสียงแรกของคาที่แปลว่า “ยาก”ในภาษาไทยถิ่นอีสาน [ø] และเสียงแรกของคาว่า “nyamuk” ในภาษามาเลเซียซึ่งแปลว่า ยุง Velar (เสียงที่เกิดจากลิ้นส่วนหลังกับเพดานอ่อน)เกิดจากการใช้ลิ้นส่วนหลังเคลื่อนเข้าไปหาเพดานอ่อน เช่น เสียงแรกของคาว่า “คน”ในภาษาไทยเสียงแรกของคาว่า “give”ในภาษาอังกฤษ Uvular (เสียงที่เกิดจากลิ้นส่วนหลังกับลิ้นไก่) เกิดจากการยกลิ้นส่วนหลังเข้าไปหาลิ้นไก่เช่นเสียงแรกของคาว่า “rouge” ในภาษาฝรั่งเศส Pharyngeal(เสียงที่เกิดจากโคนลิ้นกับผนังช่องคอด้านหลัง) เกิดจากการดึงโคนลิ้นไปทางด้านหลังเข้าหาผนังช่องคอด้านหลัง เช่น เสียงแรกในคาที่แปลว่า “ลุง”ในภาษาอาหรับ ([?amm]) Glottal (เสียงที่เกิดจากเส้นเสียง)เกิดจากการเคลื่อนเข้าหากันของเส้นเสียงทั้งคู่โดยอาจจะเคลื่อนเข้ามาติดกันเช่น เสียงแรกของคาว่า “home”ในภาษาอังกฤษ, เสียงแรกของคาว่า “อู่”ในภาษาไทย สัญลักษณ์แทนเสียงสำกล (IPA) สัทอักษรสากล (International Phonetic Alphabet:IPA) คือสัทอักษรชุดหนึ่งที่พัฒนาโดยสมาคมสัทศาสตร์สากล โดยมุ่งหมายให้เป็นสัญกรณ์ มาตรฐานสาหรับการแทนเสียงพูดในทุกภาษา นักภาษาศาสตร์ใช้สัทอักษรสากลเพื่อแทนหน่วยเสียงต่าง ๆ ที่อวัยวะออกเสียงของมนุษย์สามารถ เปล่งเสียงได้โดยแทนหน่วยเสียงแต่ละหน่วยเสียงด้วยสัญลักษณ์เฉพาะที่ไม่ซ้ากันสัญลักษณ์ในสัทอักษรสากลนั้นส่วนใหญ่นามาจากหรือดัดแปลง จากอักษรโรมันสัญลักษณ์บางตัวนามาจากอักษรกรีก และบางตัวประดิษฐ์ขึ้นใหม่โดยไม่สัมพันธ์กับอักษรภาษาใดเลย สัญลักษณ์แทนเสียงสระ สัญลักษณ์ (IPA) ตัวอย่ำง เทียบเสียงในภำษำไทย i: see/si:/ อี i any/'eni/ อิ
  • 3. ɪ sit /sɪt/ อิ (ก้ากึ่งระหว่าง อิ และ อี) e ten/ten/ เอะ æ hat/hæt/ แอะ ɑ: arm/ɑ:m/ อา ɒ got /gɒt/ เอาะ ɔ: saw/sɔ:/ ออ ʊ put /pʊt/ อู u: too /tu:/ อู u usual/'ju:ʒu əl/ อุ ʌ cup/kʌp/ อะ ɜ: fur /fɜ:/ เออ ə ago/ə'gəʊ/ เออะ eɪ pay/peɪ/ เอ əʊ home /həʊm / โอ aɪ five /faɪv/ ไอ
  • 4. aʊ now /naʊ/ เอา, อาว ɔɪ join /dʒɔɪn/ ออย ɪə near/nɪə/ เอีย eə hair /heə/ แอ ʊə pure /pjʊə/ อิว สัญลักษณ์แทนเสียงพยัญชนะ สัญลักษณ์ (IPA) ตัวอย่ำง เทียบเสียงในภำษำไทย p pen/pen/ พ b bad/bæd/ บ t tea/ti:/ ท d did /dɪd/ ด k cat/kæt/ ค g got /gɒt/ ก tʃ chin/tʃɪn/ ช dʒ June /dʒu:n/ จ f fall /fɔ:l/ ฟ
  • 5. v van/væn/ ฟ θ thin /θɪn/ ธ ð then/ðen/ ธ s so/səʊ/ ส z zoo/zu:/ ส ʃ she /ʃi:/ ช ʒ vision /'vɪʒn/ ฉ h how /haʊ/ ฮ m man/mæn/ ม n no/nəʊ/ น ŋ sing /sɪŋ/ ง l leg/leg/ ล r red/red/ ร j yes /jes/ ย w wet/wet/ ว นำงสำว อำรยำ ศรีพลำย 56030570