SlideShare a Scribd company logo
1 of 102
กลยุทธ์การใช้ Social Media
ของภาครัฐ
กับการมีส่วนร่วมของ
ประชาชน
โดยอาจารย์อุดม ไพรเกษตร
รองกรรมการผู้จัดการ
บริษัท พีเพิลมีเดียกรุ๊ป จำากัด
1. การมีส่วนร่วมของประชาชนคืออะไร
2. กลยุทธ์และเทคนิค Social Media ของหน่วย
งานภาครัฐ เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของ
ประชาชน
3. กรณีศึกษา
4. ถาม-ตอบ
เนื้อหาวันนี้
2
การมีส่วนร่วมของประชาชน
3
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 กำาหนด
เรื่อง การมีส่วนร่วมของประชาชน ดังความในมาตราที่ 87 ให้รัฐ
ต้องดำาเนินการตามนโยบายด้านการมีส่วนร่วมของประชาชน ดัง
ต่อไปนี้ (รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550,
2550)
(1) ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการกำาหนดนโยบายและ
วางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมทั้งในระดับชาติและระดับ
ท้องถิ่น
(2) ส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการ
ตัดสินใจทางการเมือง การวางแผนพัฒนาทางเศรษฐกิจและ
สังคม รวมทั้งการจัดทำาบริการสาธารณะ
(3) ส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการ
ตรวจสอบการใช้อำานาจรัฐทุกระดับ ในรูปแบบองค์กรทาง
วิชาชีพหรือตามสาขาอาชีพที่หลากหลายหรือรูปแบบอื่น
(4) ส่งเสริมให้ประชาชนมีความเข้มแข็งในทางการเมือง และ
จัดให้มีกฎหมายจัดตั้งกองทุนพัฒนาการเมืองภาคพลเมือง
เพื่อช่วยเหลือการดำาเนินกิจกรรมสาธารณะชองชุมชน รวม
ทั้งสนับสนุนการดำาเนินการของกลุ่มประชาชนที่รวมตัวกัน
ในลักษณะเครือข่ายทุกรูปแบบให้สามารถแสดงความคิด 4
แนวนโยบายด้านการบริหาร
ราชการแผ่นดิน ตามมาตราที่ 78
(5) ที่กำาหนดให้รัฐต้อง• “จัดระบบงานราชการและงานของรัฐอย่างอื่น
เพื่อให้การจัดทำาและการให้บริการสาธารณะ
เป็นไปได้อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ โปร่งใส
และตรวจสอบได้ โดยคำานึงถึงการมีส่วนร่วม
”ของประชาชน
5
“ดัชนีชี้วัดการมีส่วนร่วมของ
”ประชาชน
(e-Participation Index)
• องค์การสหประชาชาติเป็นผู้วัด
• ปี 2010 อยู่ในอันดับที่ 110 จากทั้งหมด 192
ประเทศ (ระดับคะแนน = 0.0857)
• ปี 2012 อยู่ในอันดับที่ 48 จากทั้งหมด 193
ประเทศ (ระดับคะแนน = 0.3158)
• แสดงให้เห็นว่า ประเทศไทยได้เล็งเห็นความ
สำาคัญกับการเข้ามามีส่วนร่วมของประชาชน
ผ่านช่องทางการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์มากขึ้น
(สำานักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การ
6
ผลการสำารวจของสำานักสถิติแห่ง
ชาติ ปี 2555
• หน่วยงานของรัฐใช้ Social Network เพื่อ
ประชาสัมพันธ์งาน/ กิจกรรมของหน่วยงานร้อย
ละ 91.8
• ใช้เป็นช่องทางในการติดต่อสื่อสารกับ
ประชาชน ร้อยละ 69.7
• และเป็นช่องทางสำาหรับให้บริการ ร้อยละ 36.9
7
การมีส่วนร่วมของประชาชน
• หมายถึง การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้า
มามีส่วนร่วมในกระบวนการหรือขั้นตอน
ต่างๆ ของหน่วยงานภาครัฐ
• ตั้งแต่การรับรู้ข้อมูลการปฏิบัติงาน การ
ร่วมแสดงทัศนะความคิดเห็น การร่วม
เสนอปัญหา และความต้องการของ
ประชาชน การร่วมคิดแนวทางแก้ไข
ปัญหา การร่วมในกระบวนการตัดสินใจ
การร่วมในการดำาเนินการและการร่วม 8
การให้ประชาชนมีส่วนร่วม
ที่มา ถวิลวดี บุรีกุล (2552, หน้า 19)
9
ระดับการมีส่วนร่วม ขั้นตอนการมีส่วนร่วม
ระดับที่ประชาชนมีส่วนร่วมเต็ม
ที่
8) ประชาชนคือผู้กำาหนดสิ่งที่
ต้องการและร่วมจัดการ
7) ประชาชนได้ควบคุมบาง
ส่วน
6) ประชาชนและรัฐมีส่วนร่วม
เท่ากัน (โดยรัฐถือว่าประชาชน
“ ”เป็นห หุ้นส่วน
ระดับที่ประชาชนมีส่วนร่วมปาน
กลาง
5) รัฐให้ประชาชนเข้าร่วมได้
บางส่วน เช่น เป็นที่ปรึกษา เข้า
เป็นกรรมการ (แต่เพียงบาง
ส่วน)
4) ประชาชนได้รับการปรึกษา
(โดยมีการถามความต้องการ
บ้าง)
3) “รัฐบอกให้ทราบว่า มีอะไรนรินทร์ชัย พัฒนพงศา (2547)
10
โครงสร้าง e-Thailand
มชัย อักษรารักษ์ และอศินา พรวศิน (2547, หน้า 21) 11
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (e-
Government)
• หมายถึง การใช้เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม
(ICT) เพื่อสนับสนุนภาครัฐให้มีการทำางานอย่าง
มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ส่งเสริมให้
ประชาชนมีการเข้าถึงบริการของภาครัฐและ
สารสนเทศมากขึ้น และทำาให้หน่วยงานของรัฐ
รับผิดชอบ (Accountable) ต่อประชาชนมากขึ้น
12• ที่มา Pacific Council on International
ประเภทของ e-Government
ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์ (2551, หน้า 65)
รัฐกับประชาชน (Government to Customer หรือ G
to C หรือ G2C)
เป็นการให้บริการที่รัฐจัดให้กับประชาชน เพื่อให้
ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลและดำาเนินการขอใช้บริการ
ได้ตลอดเวลาและเข้าถึงข้อมูลจากที่ใดก็ได้ เช่น การให้
ข้อมูล การสมัครงาน การชำาระภาษี อินเทอร์เน็ตจึงเป็น
โครงสร้างพื้นฐานที่สำาคัญที่รองรับและสามารถโต้ตอบ
กิจกรรมที่ประชาชนขอใช้บริการได้
13
ระดับ e-Government
จาก Australian National Audit Office (ANAO)
พวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์ (2551, หน้า 66) 14
ระดับ e-Government
1. ระดับการเผยแพร่ข้อมูล (Information) การมีเว็บไซต์ที่ให้
บริการข้อมูลข่าวสารสู่ประชาชน
2. ระดับที่มีการโต้ตอบ (Interaction) การมีเว็บไวต์สามารถ
สร้างปฏิสัมพันธ์กับประชาชน เช่น การสืบค้นช้อมูล การมี
web Board เป็นต้น เพื่อสอบถามข้อมูล
3. ระดับที่มีธุรกรรม (Interchange Transaction) เว็บไซต์ที่
สามารถดำาเนินธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ได้โดยสมบูรณ์ใน
ตัวเอง เช่น การชำาระภาษีออนไลน์
4. ระดับการบูรณาการข้ามหน่วยงาน (Integration) มีการบู
รณาการงานบริการระหว่างหน่วยงานไว้ที่เดียว ทำาให้
ประชาชนสามารถคลิกได้ที่เดียว แต่สามารถติดต่อรับบริการ
ได้จากหลายหน่วยงาน เช่น เว็บไซต์ของรัฐบาลแคนาดา
ซึ่งรวมศูนย์การให้บริการต่างๆ ที่เดียว ทำาให้ผู้รับบริการมี
ความสะดวก แต่ไม่ต้องจำาชื่อเว็บไซต์หลายแห่ง 15
ดัชนีการมีส่วนร่วมทาง
อิเล็กทรอนิกส์ของประชาชน (e-
Participation Index)• แบ่งออกเป็น 3 ระดับ ดังนี้
1. e-Information เป็นการสื่อสารทางเดียว (One-way Communication)
จากทางรัฐบาล เพื่อให้ข้อมูลแก่ภาคประชาชนและภาคธุรกิจ โดยผ่านทาง
เว็บไซต์ของภาครัฐ ซึ่งทางภาครัฐจะต้องจัดเตรียมในส่วนของการให้ข้อมูล
ด้านนโยบาย กฎหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับ งบประมาณ การบริการ และข้อ
มูลอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งข้อมูลดังกล่าวจะช่วยสร้างกิจกรรมการมีส่วนร่วมทาง
อิเล็กทรอนิกส์ของประชาชน เช่น ทางด้านนโยบายหรือภารกิจ การมีส่วน
ร่วมในพื้นที่ชนบทหรือพื้นที่ห่างไกล เป็นต้น ซึ่งวิธีการปรับปรุงหรืออัพเดต
ข้อมูลนั้น อาจจะผ่านทางจดหมายข่าว Web Forum, Blog, เครือข่าย
ชุมชน, SMS, e-Mail เป็นต้น ซึ่งจะมีคุณลักษณะที่เกี่ยวข้อง เช่น โครงสร้าง
ภาครัฐ (Government Structure) นโยบาย (Policies and
Programmes) การติดต่อ (Points of Contact) งบประมาณ (Budget)
กฎหมายหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Lwas and Regulations and Other
Information of Public Interest) ชุมชนการติดต่อสื่อสาร
(Community Networks) บล็อก (Blogs) เว็บฟอรั่ม (Web Forums)
ระดับของการมีส่วนร่วมทางอิเล็กทรอนิกส์ขององค์การสหประชาชาติ
ที่มา สำานักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) (2555) 16
• 2. e-Consultation เป็นการสื่อสารแบบสองทาง (Two-way Communication) ระหว่างรัฐบาลกับ
ประชาชน โดยการดึงภาคประชาชนและภาคธุรกิจเข้ามาให้ข้อเสนอแนะและความคิดเห็นเกี่ยวกับ
ประเด็นต่างๆ ซึ่งรัฐบาลจะต้องรับทราบข้อเสนอแนะจากประชาชนและตอบสนองต่อประชาชน
นอกจากนี้ e-Consultation ยังเกี่ยวข้องกับการรายงานผลการจากเจรจากับประชาชนและประกาศผล
ให้ประชาชนทราบ โดยประชาชนสามารถใช้เครื่องมือออนไลน์ในการมีส่วนร่วม เช่น โพลส์สำารวจ
ห้องสนทนา บลอก เครือข่ายสังคมออนไลน์ กลุ่มข่าว และเครื่องมือโต้ตอบอื่นๆ เพื่อสนับสนุนการมี
ส่วนร่วมของภาคประชาชน
• นอกจากนั้น e-Consultation ยังสามารถเริ่มจากทางภาคประชาชน โดยผ่านช่องทางการร้อง
เรียนออนไลน์ ซึ่งประชาชนสามารถใช้ช่องทางการร้องเรียนนี้เป็นประเด็นในการเจรจา เช่น ประเด็น
ทางสวัสดิการเพื่อให้ทางภาครัฐนำาไปกำาหนดนโยบายต่อไป โดย e-Consultation จะมีคุณลักษณะที่
เกี่ยวข้อง เช่น โพลส์ออนไลน์ (Online Polls) การประเมินออนไลน์ (Online Survey or Feedback
Forms) ระบบการส่งข้อความทันที (Chat Rooms or Instant Messaging) ข้อมูลการเข้าใช้เว็บของ
ประชาชน รายการการให้บริการ (List Services or Newsgroups) เครื่องมืออื่นๆ ในการปฏิสัมพันธ์กับ
ประชาชน (Other Interactive Tools)
• 3. e-Decision-making เป็นการสื่อสารแบบสองทาง (Two-way Communication) ระหว่างรัฐกับ
ประชาชน ซึ่งเป็นการดึงประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินใจเพื่อกำาหนดนโยบายร่วม
กัน ซึ่งรัฐบาลเองจะต้องแจ้งผลจากการตัดสินใจบนพื้นฐานของกระบวนการให้คำาปรึกษา โดยมี
คุณลักษณะที่เกี่ยวข้อง เช่น กระดานสนทนาออนไลน์ (Online Discussion Forums) คลังของการ
สนทนาที่ผ่านมา (Archive of Past Discussion Forums) เจ้าหน้าที่ที่ทำาหน้าที่ในการตอบสนองข้อเรียก
ร้องของประชาชน (Government Officials Respond to Citizen Input) เจ้าหน้าที่ที่ทำาหน้าที่กลั่นกรอง
การให้คำาปรึกษา (Government Officials Moderate e-Consultation) ข้อเรียกร้องออนไลน์ (Online
Petitions) การออกเสียงออนไลน์ (Online Voting) การสำารวจความคิดเห็นด้วยแบบสอบถาม (Real-
Time Delphi Survey)
17
มาตรฐานเว็บไซต์ของภาครัฐ (Government Website
Standard)
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (2555)
หมวดหมู่ของข้อมูล
(Information Category)
ข้อมูลแนะนำา
(Suggested Contents)
1.2.1 ถาม-ตอบ (Q&A) - ส่วนที่ผู้ใช้บริการสามารถสอบถามข้อมูลหรือข้อสงสัย
มายังหน่วยงาน
1.2.2 ระบบสืบค้นข้อมูล
(Search Engine)
- ส่วนที่เป็นบริการสืบค้นข้อมูลทั่วไป และข้อมูลภายใน
หน่วยงานได้
1.2.3 ช่องทางการติดต่อ
สื่อสารกับผู้ใช้บริการ
- ช่องทางแจ้งข่าว หรือแจ้งเตือนผู้ใช้ เช่น SMS, e-Mail
เป็นต้น
- ช่องทางการติดต่อหน่วยงานในรูปแบบ Social
Network เช่น Facebook, Twitter เป็นต้น
- ช่องทางแสดงความคิดเห็น หรือข้อเสนอแนะ เช่น e-
Mail, Web Board, Blog เป็นต้น
- ช่องทางการรับเรื่องร้องเรียน และติดตามสถานะเรื่อง
ร้องเรียน
การสร้างปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้บริการ มีรายละเอียดดังนี้
18
ระดับการพัฒนาเว็บไซต์การให้บริการ
ของเว็บไซต์ภาครัฐ (Phases of
Development
ที่มา สำานักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน), 2555, หน้า 8
19
ลักษณะโดยธรรมชาติของบริการ
Social Network1. Instant คือ ความเป็นปัจจุบันและตอบสนองได้ทันที สามารถตอบสนองประชาชน
ได้ทันที สิ่งที่นำามาต้องทันสมัยและทันเหตุการณ์จึงจะสามารถจูงใจให้ประชาชนเข้า
มามีส่วนร่วมและเพิ่มจำานวนมากขึ้นด้วย
2. Interactive เป็นลักษณะของการสื่อสารสองทางไปมาตลอดเวลา เป็นการสื่อสาร
แบบสองทางที่ต้องมีปฏิกิริยาระหว่างตัวหน่วยงานและประชาชนอย่างสมำ่าเสมอ
3. Individualization สามารถตอบสนองได้ถึงในระดับบุคคล หมายถึง เป็นกิจกรรม
ที่สามารถให้ประชาชนเลือกได้ และเป็นการสื่อสารระดับตัวต่อตัวหรือระดับบุคคล
4. Insight สามารถตอบโจทย์ความต้องการของประชาชนได้ นอกจากนี้กิจกรรมที่
เจ้าของหน่วยงานนำามาสร้างสรรค์ในบริการ Social Network ต้องมาจากความ
เข้าใจ Insight ของประชาชน ที่ผ่านการวิเคราะห์ถึงแรงจูงใจและความต้องการ
ที่แท้จริงของประชาชนก่อนที่จะทำากิจกรรม จึงจะสามารถสร้างความสัมพันธ์กับ
ประชาชนให้ประชาชนกลับเข้ามาติดต่อกับหน่วยงานอีกครั้งและอย่างสมำ่าเสมอ
5. Invisible ต้องทำาให้ไม่เห็นเป็นการโฆษณาของหน่วยงานที่ชัดเจนเกินไป ประการ
ที่สำาคัญประการหนึ่งคือ หากมีการส่งเสริมการตลาดไม่ว่าจะเป็นการโฆษณา หรือ
การส่งเสริมการขาย ลด แลก แจก แถม เพื่อกระตุ้นยอดขาย ต้องทำาให้ Invisible
กล่าวคือ ต้องทำาให้เนียน ไม่ให้รู้สึกว่าเป็นการยัดเยียดหรือพยายามขายมากเกินไป
6. Integration ต่อมีความสอดคล้องกับสินค้า/ บริการ จริง การใช้บริการ Social
20
หน่วยงานภาครัฐจะนำาบริการ
Social Network มาใช้
1. Update new fact to public. รู้จักใช้บริการ Social network ในการอัพเดตข้อเท็จจริง
ใหม่ๆ เมื่อปัญหาได้รับการคลี่คลาย ความจริงเรื่องแบบนี้อาจจะใช้เว็บไซต์เพื่อใช้ใน
ประชาสัมพันธ์ก็ได้ แต่เรื่องที่เป็นข่าวดีนั้น โดยพฤติกรรมคนส่วนใหญ่จะไม่เข้าเว็บไซต์ หาก
ไม่มีปัญหาหรือต้องการข้อมูลเพราะฉะนั้นการใช้วิธี Push ข้อมูลจึงเป็นวิธีที่น่าสนใจและเป็นอีก
ทางเลือกที่สามารถกระจายข้อมูลข่าวสารไปยังประชาชนได้อย่างรวดเร็ว
2. Motivating people to participate in discussions to find a solution together.
ทำาให้เกิดการมีส่วนร่วม เป็นการดึงให้ผู้ที่กำาลังมีปัญหาเข้ามาพูดคุยและหาทางออกร่วมกัน
ประชาชนที่ประสบปัญหาเกี่ยวกับหน่วยงานมักต้องการระบายให้ผู้มีหน้าที่รับผิดชอบฟัง ซึ่งผู้ฟัง
ที่ดีควรต้องเข้าใจความเป็นมาเป็นไป ตลอดจนสามารถถ่ายทอดแนวทางแก้ไขที่ดำาเนินการด้วย
หน่วยงานภาครัฐจึงควรเปิดโอกาสการสื่อสารกับประชาชนที่มีปัญหาและคัดสรรบุคลากรที่จะ
ตอบปัญหาของผู้บริโภคอย่างเหมาะสมด้วย
3. Create a centralized hub to the problem. ใช้เป็นที่รวมศูนย์ เพื่อรวมศูนย์ของปัญหาไว้
ให้จัดการได้สะดวกขึ้น เพื่อรวบรวมข้อร้องเรียนต่างๆ ไม่ว่าอยู่ในรูปวีดิโอ ภาพ หรือข้อความไว้
ในที่เดียวกัน ช่วยให้หน่วยงานสามารถจัดการปัญหาได้อย่างสะดวกครอบคลุมยิ่งขึ้น หาก
ประชาการทราบว่ามีเครือข่าย (Community) นี้เกิดขึ้น จะมีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้ามาดูแล
ตอบปัญหา และให้ดำาเนินการแก้ไขปัญหาอย่างรวดเร็ว
4. Be prepared before the crisis happens. Both in terms of personnel and
channels of communication online. เป็นช่องทางหนึ่งที่ช่วยให้หน่วยงานเตรียมตัวก่อน
เกิดวิกฤติจะเกิดขึ้น ทั้งในแง่ของบุคลากรและช่องทางการสื่อสาร Online แม้ว่าวิกฤติอาจเกิด
ขึ้นได้อย่างไม่ทันตั้งตัว แต่การเตรียมการล่วงหน้า จะช่วยให้หน่วยงานสามารถแก้ไข
21
รัฐบาลของสหรัฐอเมริกาได้มีการสร้างแพลทฟอร์มของตัวเองขึ้นมา
โดยเว็บไซต์เครือข่ายทางด้านสังคมเรียกว่า GovLoop.com ได้ถูก
สร้างขึ้นมาภายในแผนกรักษาความปลอดภัยของประเทศ เพื่อแบ่ง
ปันประสบการณ์และแนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุดร่วมกัน
22
กลยุทธ์และเทคนิค Social Media
ของหน่วยงานภาครัฐ เพื่อสร้างการ
มีส่วนร่วมของประชาชน
23
YouT
ube
Conten
t
(Storyt
elling)
Instag
ram
Facebo
ok
Line
Goo
gle
Adw
ord /
Adse
Twit
ter
Ema
il
Mar
keti
ng
SMS
Marketi
ng
Web/b
log
24
Website
http://www.smartsme.tv
Website
32
การสืบค้นบน Google
• จากสถิติของ Google
 คนจะ Click ในหน้าแรกของการค้นหาบน Google
89%
 42% จะ Click บน link 2 อันดับแรก
 อันดับที่ 3-10 จะมีคน Click 47%
• หากไม่พบคำาค้นที่เกี่ยวกับบริษัท
– ขาดโอกาสในการขาย
– ขาดโอกาสในการสื่อสารกับกลุ่มเป้าหมาย
แบบที่ 1 แสดงด้านบน 3 อันดับ
แรก
34
ตัวอย่าง Google AdWords
แบบที่ 2 โฆษณาจะแสดงแถบด้านข้าง
35
ตัวอย่าง Google AdWords
แบบที่ 3 แสดงผลตามเว็บต่างๆที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับ Keywo
36
ตัวอย่าง Google AdWords
37
ตัวอย่าง Google AdWords
แบบไหนดีกว่ากันล่ะ
สิ่งที่ Google มีและเป็น
ประโยชน์
(มากกว่า search)
https://www.google.com/alerts
http://www.google.com/trends
1 Facebook Page
49
การสร้าง FacebookPageการสร้าง FacebookPage
ข้อแนะนำาในการสร้างเพจ
1.เลือกหมวดหมู่ให้ถูกต้อง
2.ตั้งชื่อเพจให้มีคำาที่คนค้นหา (ไม่เก
อักษร)
3.ตั้งชื่อเพจอีกภาษาตามกลุ่มเป้าหม
4.ใส่รูป Profile และข้อมูลเบื้องต้น
5.ใส่รูปภาพปกขนาด 851 x 315
6.เปลี่ยน URL ที่www.facebook.c
50
การจัดการ FacebookPageการจัดการ FacebookPage
URL : www.facebook.com/smartsme
Profile Picture
180 X180
Cover
851 X 315
51
บทบาทผู้ดูแลบทบาทผู้ดูแล
52
Short Name URL
Facebook
Cover Page
Facebook
Profile Picture
Facebook Tab
Icon
54
ตัวอย่าง FacebookPage
CoverPage , Profile Picture
ตัวอย่าง
Promote Page
55
56
ตัวอย่าง
Promote Page
ตำาแหน่งของโฆษณาบน
facebook
ตำาแหน่งของโฆษณาบน
facebook
57
ผลตอบรับจากการลงโฆษณาผลตอบรับจากการลงโฆษณา
เพิ่มการเข้าถึงโพสต์มาก
ขึ้น 58
v.s.
Google is for Search then Buy Facebook is for discover &
generate Demand
ความแตกต่างระหว่าง 2 ช่องทาง
ข้อมูลเชิงลึกข้อมูลเชิงลึก
ebookInsights รวมข้อมูลเกี่ยวกับการใช้งานของคนที่เข้ามาบนแ
และข้อมูลเกี่ยวกับเนื้อหาบนหน้า Page ในเชิงลึก  60
การจัดการ FacebookPages
ด้วย Application
การจัดการ FacebookPages
ด้วย Application
61
Application FacebookPage Manager
บน Mobile
twitter
ใครควรใช้ Twitter
• สื่อมวลชน
• บุคคลที่ชอบติดตามข่าวสาร
• หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับบริการสาธารณะ
• องค์กรธุรกิจที่มีธุรกิจเกี่ยวพันกับประชาชน
จำานวนมาก
• องค์กรธุรกิจที่มีความจำาแป็นติดต่อกับประชาชน
ในประเทศทีมีการใช้ twitter จำานวนมาก เช่น
ญี่ปุ่น
Youtube
ทำาอย่างไรให้มีคนติดตามหรือดู
วิดีโอบน Youtube
• นำาไปติดบนเว็บไซต์ของหน่วยงาน
• เพิ่มจำานวนผู้ที่ Subscriber
• แชร์ไปยัง Social Media
Line Price
Standard Home Package Premium Package
Official Account with
20 Messages/Month+
Official Account with
25 Messages/Month+
4 On-Air 5 On-Air
Official Home Official Home
Sponsored Sticker Sponsored Sticker
6,XXX,XXX THB/year 7,XXX,XXX THB/year
Price
MOON BROWN CONY JAMES
12M THB
82
Seeding
การสมัครสมาชิกบนพันทิป
(Panthip)
การสมัครสมาชิกบนพันทิป
(Panthip)
กรอกรายละเอียดข้อมูล และ อีเมล
ลิงค์ http://pantip.com
83
ตัวอย่าง Content Marketingตัวอย่าง Content Marketing
http://pantip.com/topic/31856796
84
ลูกค้าคาดหวังว่า ทุกครั้งที่โพสต์ Brand จะต้องตอบสนองทันที
หรือ ภายใน 2 ชั่วโมง
เทคนิคการจัดการปัญหาบน Pantip
• รวบรวมข้อมูล ประเมินสถานการณ์
• อย่าพยายามแจ้งลบกระทู้
• รีบแสดงตัวในกรณี เปิดข้อพิพาท โดยผู้รับผิดชอบ
หรือ Brand official account
• ติดต่อลูกค้าคู่กรณีหลังไมค์ เพื่อจัดการปัญหา
• ขอโทษอย่างจริงใจ และ ชี้แจงลงกระทู้เมื่อปิดเคสได้
กฏ 4F
จัดการ ดราม่า อย่างมืออาชีพ
• ตรวจสอบข้อมูล รวบรวมข้อมูลทั้งหมด
• วิเคราะห์ ประเมินสถานการณ์
• เรียกคุยผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย เพื่อหาทางออก
• หากมีคู่กรณี ให้ติดต่อส่วนตัว ห้ามพูดคุยบนสื่อออนไลน์
แบบสาธารณะ
• พยายามขอนัดชี้แจงและ เจรจา หาข้อสรุปกับคู่กรณี หากจำาเป็นควร
มีเอกสารหรือลายลักษณ์อักษร
• เมื่อจบเรื่องได้ ให้แถลงต่อสื่อออนไลน์
ข้อควรระวังในการจัดการดราม่า
• ห้ามต่อปากต่อคำาบนออนไลน์เด็ดขาด
• อย่าแถ
• ห้ามขู่ ทั้งคู่กรณีและ แนวร่วมไทยมุง
• ถ้าผิดจริง จงขอโทษไว้ แสดงความจริงๆ
• ถ้าไม่ผิดจริง ต้องขอโทษไว้ และหาหลักฐาน พยาน อ้างอิง
• หากมีข้อสรุปและชี้แจงแล้ว จงหยุดอย่า ไปโต้เถียงไทยมุง
** ดราม่ามักจะเป็นกระแสแค่ 1-2 สัปดาห์
** อย่าปิดเรื่อง ปิดบังข้อมูลต่อผู้รับผิดชอบ และ ผู้บริหาร
** อย่าไปใส่ใจกับไทยมุง พึงนึกถึงชื่อเสียงของ Brand เสมอ
เครื่องมืออื่นๆ ที่น่าสนใจ
95
E-Mail Marketing
http://mailchimp.com
lnwshop.com
bentoweb.com
page365.net
rushsms.com
กลยุทธ์การใช้ Social Media ของภาครัฐกับการมีส่วนร่วมของประชาชน

More Related Content

What's hot

แนวคิดเกี่ยวกับเครือข่ายสังคมออนไลน์
แนวคิดเกี่ยวกับเครือข่ายสังคมออนไลน์แนวคิดเกี่ยวกับเครือข่ายสังคมออนไลน์
แนวคิดเกี่ยวกับเครือข่ายสังคมออนไลน์วีรวัฒน์ สว่างแสง
 
เครือข่ายสังคมออนไลน์
เครือข่ายสังคมออนไลน์เครือข่ายสังคมออนไลน์
เครือข่ายสังคมออนไลน์mildthebest
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องTanyarad Chansawang
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องMiw Inthuorn
 
Arunrat social network (my study)
Arunrat social network (my study)Arunrat social network (my study)
Arunrat social network (my study)arunrat bamrungchit
 
การขับเคลื่อนประเด็นทางสังคม Social Movement
การขับเคลื่อนประเด็นทางสังคม Social Movementการขับเคลื่อนประเด็นทางสังคม Social Movement
การขับเคลื่อนประเด็นทางสังคม Social MovementSakulsri Srisaracam
 
The role of Social Media and the changing of news reporting process
The role of Social Media and the changing of news reporting processThe role of Social Media and the changing of news reporting process
The role of Social Media and the changing of news reporting processSakulsri Srisaracam
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องPongtep Treeone
 
. เครือข่ายสังคมออนไลน์ .
. เครือข่ายสังคมออนไลน์ .. เครือข่ายสังคมออนไลน์ .
. เครือข่ายสังคมออนไลน์ .Bank'Tanawat Kongchusri
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องSupaporn Pakdeemee
 

What's hot (18)

แนวคิดเกี่ยวกับเครือข่ายสังคมออนไลน์
แนวคิดเกี่ยวกับเครือข่ายสังคมออนไลน์แนวคิดเกี่ยวกับเครือข่ายสังคมออนไลน์
แนวคิดเกี่ยวกับเครือข่ายสังคมออนไลน์
 
เครือข่ายสังคมออนไลน์
เครือข่ายสังคมออนไลน์เครือข่ายสังคมออนไลน์
เครือข่ายสังคมออนไลน์
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
2
22
2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
Arunrat social network (my study)
Arunrat social network (my study)Arunrat social network (my study)
Arunrat social network (my study)
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
Facebook
FacebookFacebook
Facebook
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
การขับเคลื่อนประเด็นทางสังคม Social Movement
การขับเคลื่อนประเด็นทางสังคม Social Movementการขับเคลื่อนประเด็นทางสังคม Social Movement
การขับเคลื่อนประเด็นทางสังคม Social Movement
 
The role of Social Media and the changing of news reporting process
The role of Social Media and the changing of news reporting processThe role of Social Media and the changing of news reporting process
The role of Social Media and the changing of news reporting process
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
. เครือข่ายสังคมออนไลน์ .
. เครือข่ายสังคมออนไลน์ .. เครือข่ายสังคมออนไลน์ .
. เครือข่ายสังคมออนไลน์ .
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
Social Media & Journalism
Social Media & JournalismSocial Media & Journalism
Social Media & Journalism
 

Viewers also liked

IWRM:Importance of stakeholder participation_A. Gurunathan from the DHAN Tank...
IWRM:Importance of stakeholder participation_A. Gurunathan from the DHAN Tank...IWRM:Importance of stakeholder participation_A. Gurunathan from the DHAN Tank...
IWRM:Importance of stakeholder participation_A. Gurunathan from the DHAN Tank...India Water Portal
 
เทคนิคการบริหารรา
เทคนิคการบริหารราเทคนิคการบริหารรา
เทคนิคการบริหารราonyatada
 
เทคนิคการบริหารรา
เทคนิคการบริหารราเทคนิคการบริหารรา
เทคนิคการบริหารราguest4439f1
 
Designing more effective participatory decision-making processes
Designing more effective participatory decision-making processesDesigning more effective participatory decision-making processes
Designing more effective participatory decision-making processesBSBEtalk
 
Cloud Computing Direction in Thailand: Opportunity for IT Industry
Cloud Computing Direction in Thailand: Opportunity for IT IndustryCloud Computing Direction in Thailand: Opportunity for IT Industry
Cloud Computing Direction in Thailand: Opportunity for IT IndustryIMC Institute
 

Viewers also liked (6)

IWRM:Importance of stakeholder participation_A. Gurunathan from the DHAN Tank...
IWRM:Importance of stakeholder participation_A. Gurunathan from the DHAN Tank...IWRM:Importance of stakeholder participation_A. Gurunathan from the DHAN Tank...
IWRM:Importance of stakeholder participation_A. Gurunathan from the DHAN Tank...
 
เทคนิคการบริหารรา
เทคนิคการบริหารราเทคนิคการบริหารรา
เทคนิคการบริหารรา
 
เทคนิคการบริหารรา
เทคนิคการบริหารราเทคนิคการบริหารรา
เทคนิคการบริหารรา
 
Designing more effective participatory decision-making processes
Designing more effective participatory decision-making processesDesigning more effective participatory decision-making processes
Designing more effective participatory decision-making processes
 
MP (1)
MP (1)MP (1)
MP (1)
 
Cloud Computing Direction in Thailand: Opportunity for IT Industry
Cloud Computing Direction in Thailand: Opportunity for IT IndustryCloud Computing Direction in Thailand: Opportunity for IT Industry
Cloud Computing Direction in Thailand: Opportunity for IT Industry
 

Similar to กลยุทธ์การใช้ Social Media ของภาครัฐ กับการมีส่วนร่วมของประชาชน

Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ  Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ Settapong Malisuwan
 
การมีส่วนร่วม ปชช
การมีส่วนร่วม ปชชการมีส่วนร่วม ปชช
การมีส่วนร่วม ปชชTaraya Srivilas
 
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010ICT2020
 
การเข้าถึง E government ของประชาชนไทย
การเข้าถึง E government ของประชาชนไทยการเข้าถึง E government ของประชาชนไทย
การเข้าถึง E government ของประชาชนไทยAttaporn Ninsuwan
 
สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคม
สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคมสภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคม
สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคมdomwitlism
 
Introduction to Apply Social Networking for Goverment Agencies in Thailand
Introduction to Apply Social Networking for Goverment Agencies in ThailandIntroduction to Apply Social Networking for Goverment Agencies in Thailand
Introduction to Apply Social Networking for Goverment Agencies in Thailandsiriporn pongvinyoo
 
โครงการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชน (E participation)
โครงการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชน (E participation)โครงการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชน (E participation)
โครงการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชน (E participation)Electronic Government Agency (Public Organization)
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมTaraya Srivilas
 
การตลาดในงานบริการสารสนเทศ
การตลาดในงานบริการสารสนเทศการตลาดในงานบริการสารสนเทศ
การตลาดในงานบริการสารสนเทศNaresuan University Library
 
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563KppPrimaryEducationa
 
279กฎหมายคนพิการ
279กฎหมายคนพิการ279กฎหมายคนพิการ
279กฎหมายคนพิการNanthapong Sornkaew
 
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมการรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมjeabjeabloei
 
恐怖份子的家園
恐怖份子的家園恐怖份子的家園
恐怖份子的家園honan4108
 
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพweeraboon wisartsakul
 
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)Totsaporn Inthanin
 
กฎหมายออนไลน์ ระบบสุขภาพ.pdf
กฎหมายออนไลน์ ระบบสุขภาพ.pdfกฎหมายออนไลน์ ระบบสุขภาพ.pdf
กฎหมายออนไลน์ ระบบสุขภาพ.pdfIjimaruGin
 

Similar to กลยุทธ์การใช้ Social Media ของภาครัฐ กับการมีส่วนร่วมของประชาชน (20)

แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ  Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
 
การมีส่วนร่วม ปชช
การมีส่วนร่วม ปชชการมีส่วนร่วม ปชช
การมีส่วนร่วม ปชช
 
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010
 
e-Government Thailand
e-Government Thailande-Government Thailand
e-Government Thailand
 
การเข้าถึง E government ของประชาชนไทย
การเข้าถึง E government ของประชาชนไทยการเข้าถึง E government ของประชาชนไทย
การเข้าถึง E government ของประชาชนไทย
 
5 ภาครัฐดิจิทัล เพื่ออนาคตประเทศไทย
5 ภาครัฐดิจิทัล เพื่ออนาคตประเทศไทย5 ภาครัฐดิจิทัล เพื่ออนาคตประเทศไทย
5 ภาครัฐดิจิทัล เพื่ออนาคตประเทศไทย
 
สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคม
สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคมสภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคม
สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคม
 
Introduction to Apply Social Networking for Goverment Agencies in Thailand
Introduction to Apply Social Networking for Goverment Agencies in ThailandIntroduction to Apply Social Networking for Goverment Agencies in Thailand
Introduction to Apply Social Networking for Goverment Agencies in Thailand
 
โครงการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชน (E participation)
โครงการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชน (E participation)โครงการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชน (E participation)
โครงการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชน (E participation)
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
 
การตลาดในงานบริการสารสนเทศ
การตลาดในงานบริการสารสนเทศการตลาดในงานบริการสารสนเทศ
การตลาดในงานบริการสารสนเทศ
 
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563
 
279กฎหมายคนพิการ
279กฎหมายคนพิการ279กฎหมายคนพิการ
279กฎหมายคนพิการ
 
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมการรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
 
๔.ภาค ก. ความรอบรู้ทั่วไป
๔.ภาค ก.  ความรอบรู้ทั่วไป๔.ภาค ก.  ความรอบรู้ทั่วไป
๔.ภาค ก. ความรอบรู้ทั่วไป
 
恐怖份子的家園
恐怖份子的家園恐怖份子的家園
恐怖份子的家園
 
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
 
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)
 
กฎหมายออนไลน์ ระบบสุขภาพ.pdf
กฎหมายออนไลน์ ระบบสุขภาพ.pdfกฎหมายออนไลน์ ระบบสุขภาพ.pdf
กฎหมายออนไลน์ ระบบสุขภาพ.pdf
 

กลยุทธ์การใช้ Social Media ของภาครัฐ กับการมีส่วนร่วมของประชาชน

  • 1. กลยุทธ์การใช้ Social Media ของภาครัฐ กับการมีส่วนร่วมของ ประชาชน โดยอาจารย์อุดม ไพรเกษตร รองกรรมการผู้จัดการ บริษัท พีเพิลมีเดียกรุ๊ป จำากัด
  • 2. 1. การมีส่วนร่วมของประชาชนคืออะไร 2. กลยุทธ์และเทคนิค Social Media ของหน่วย งานภาครัฐ เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของ ประชาชน 3. กรณีศึกษา 4. ถาม-ตอบ เนื้อหาวันนี้ 2
  • 4. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 กำาหนด เรื่อง การมีส่วนร่วมของประชาชน ดังความในมาตราที่ 87 ให้รัฐ ต้องดำาเนินการตามนโยบายด้านการมีส่วนร่วมของประชาชน ดัง ต่อไปนี้ (รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550, 2550) (1) ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการกำาหนดนโยบายและ วางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมทั้งในระดับชาติและระดับ ท้องถิ่น (2) ส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการ ตัดสินใจทางการเมือง การวางแผนพัฒนาทางเศรษฐกิจและ สังคม รวมทั้งการจัดทำาบริการสาธารณะ (3) ส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการ ตรวจสอบการใช้อำานาจรัฐทุกระดับ ในรูปแบบองค์กรทาง วิชาชีพหรือตามสาขาอาชีพที่หลากหลายหรือรูปแบบอื่น (4) ส่งเสริมให้ประชาชนมีความเข้มแข็งในทางการเมือง และ จัดให้มีกฎหมายจัดตั้งกองทุนพัฒนาการเมืองภาคพลเมือง เพื่อช่วยเหลือการดำาเนินกิจกรรมสาธารณะชองชุมชน รวม ทั้งสนับสนุนการดำาเนินการของกลุ่มประชาชนที่รวมตัวกัน ในลักษณะเครือข่ายทุกรูปแบบให้สามารถแสดงความคิด 4
  • 5. แนวนโยบายด้านการบริหาร ราชการแผ่นดิน ตามมาตราที่ 78 (5) ที่กำาหนดให้รัฐต้อง• “จัดระบบงานราชการและงานของรัฐอย่างอื่น เพื่อให้การจัดทำาและการให้บริการสาธารณะ เป็นไปได้อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ โปร่งใส และตรวจสอบได้ โดยคำานึงถึงการมีส่วนร่วม ”ของประชาชน 5
  • 6. “ดัชนีชี้วัดการมีส่วนร่วมของ ”ประชาชน (e-Participation Index) • องค์การสหประชาชาติเป็นผู้วัด • ปี 2010 อยู่ในอันดับที่ 110 จากทั้งหมด 192 ประเทศ (ระดับคะแนน = 0.0857) • ปี 2012 อยู่ในอันดับที่ 48 จากทั้งหมด 193 ประเทศ (ระดับคะแนน = 0.3158) • แสดงให้เห็นว่า ประเทศไทยได้เล็งเห็นความ สำาคัญกับการเข้ามามีส่วนร่วมของประชาชน ผ่านช่องทางการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์มากขึ้น (สำานักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การ 6
  • 7. ผลการสำารวจของสำานักสถิติแห่ง ชาติ ปี 2555 • หน่วยงานของรัฐใช้ Social Network เพื่อ ประชาสัมพันธ์งาน/ กิจกรรมของหน่วยงานร้อย ละ 91.8 • ใช้เป็นช่องทางในการติดต่อสื่อสารกับ ประชาชน ร้อยละ 69.7 • และเป็นช่องทางสำาหรับให้บริการ ร้อยละ 36.9 7
  • 8. การมีส่วนร่วมของประชาชน • หมายถึง การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้า มามีส่วนร่วมในกระบวนการหรือขั้นตอน ต่างๆ ของหน่วยงานภาครัฐ • ตั้งแต่การรับรู้ข้อมูลการปฏิบัติงาน การ ร่วมแสดงทัศนะความคิดเห็น การร่วม เสนอปัญหา และความต้องการของ ประชาชน การร่วมคิดแนวทางแก้ไข ปัญหา การร่วมในกระบวนการตัดสินใจ การร่วมในการดำาเนินการและการร่วม 8
  • 10. ระดับการมีส่วนร่วม ขั้นตอนการมีส่วนร่วม ระดับที่ประชาชนมีส่วนร่วมเต็ม ที่ 8) ประชาชนคือผู้กำาหนดสิ่งที่ ต้องการและร่วมจัดการ 7) ประชาชนได้ควบคุมบาง ส่วน 6) ประชาชนและรัฐมีส่วนร่วม เท่ากัน (โดยรัฐถือว่าประชาชน “ ”เป็นห หุ้นส่วน ระดับที่ประชาชนมีส่วนร่วมปาน กลาง 5) รัฐให้ประชาชนเข้าร่วมได้ บางส่วน เช่น เป็นที่ปรึกษา เข้า เป็นกรรมการ (แต่เพียงบาง ส่วน) 4) ประชาชนได้รับการปรึกษา (โดยมีการถามความต้องการ บ้าง) 3) “รัฐบอกให้ทราบว่า มีอะไรนรินทร์ชัย พัฒนพงศา (2547) 10
  • 11. โครงสร้าง e-Thailand มชัย อักษรารักษ์ และอศินา พรวศิน (2547, หน้า 21) 11
  • 12. รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (e- Government) • หมายถึง การใช้เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม (ICT) เพื่อสนับสนุนภาครัฐให้มีการทำางานอย่าง มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ส่งเสริมให้ ประชาชนมีการเข้าถึงบริการของภาครัฐและ สารสนเทศมากขึ้น และทำาให้หน่วยงานของรัฐ รับผิดชอบ (Accountable) ต่อประชาชนมากขึ้น 12• ที่มา Pacific Council on International
  • 13. ประเภทของ e-Government ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์ (2551, หน้า 65) รัฐกับประชาชน (Government to Customer หรือ G to C หรือ G2C) เป็นการให้บริการที่รัฐจัดให้กับประชาชน เพื่อให้ ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลและดำาเนินการขอใช้บริการ ได้ตลอดเวลาและเข้าถึงข้อมูลจากที่ใดก็ได้ เช่น การให้ ข้อมูล การสมัครงาน การชำาระภาษี อินเทอร์เน็ตจึงเป็น โครงสร้างพื้นฐานที่สำาคัญที่รองรับและสามารถโต้ตอบ กิจกรรมที่ประชาชนขอใช้บริการได้ 13
  • 14. ระดับ e-Government จาก Australian National Audit Office (ANAO) พวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์ (2551, หน้า 66) 14
  • 15. ระดับ e-Government 1. ระดับการเผยแพร่ข้อมูล (Information) การมีเว็บไซต์ที่ให้ บริการข้อมูลข่าวสารสู่ประชาชน 2. ระดับที่มีการโต้ตอบ (Interaction) การมีเว็บไวต์สามารถ สร้างปฏิสัมพันธ์กับประชาชน เช่น การสืบค้นช้อมูล การมี web Board เป็นต้น เพื่อสอบถามข้อมูล 3. ระดับที่มีธุรกรรม (Interchange Transaction) เว็บไซต์ที่ สามารถดำาเนินธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ได้โดยสมบูรณ์ใน ตัวเอง เช่น การชำาระภาษีออนไลน์ 4. ระดับการบูรณาการข้ามหน่วยงาน (Integration) มีการบู รณาการงานบริการระหว่างหน่วยงานไว้ที่เดียว ทำาให้ ประชาชนสามารถคลิกได้ที่เดียว แต่สามารถติดต่อรับบริการ ได้จากหลายหน่วยงาน เช่น เว็บไซต์ของรัฐบาลแคนาดา ซึ่งรวมศูนย์การให้บริการต่างๆ ที่เดียว ทำาให้ผู้รับบริการมี ความสะดวก แต่ไม่ต้องจำาชื่อเว็บไซต์หลายแห่ง 15
  • 16. ดัชนีการมีส่วนร่วมทาง อิเล็กทรอนิกส์ของประชาชน (e- Participation Index)• แบ่งออกเป็น 3 ระดับ ดังนี้ 1. e-Information เป็นการสื่อสารทางเดียว (One-way Communication) จากทางรัฐบาล เพื่อให้ข้อมูลแก่ภาคประชาชนและภาคธุรกิจ โดยผ่านทาง เว็บไซต์ของภาครัฐ ซึ่งทางภาครัฐจะต้องจัดเตรียมในส่วนของการให้ข้อมูล ด้านนโยบาย กฎหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับ งบประมาณ การบริการ และข้อ มูลอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งข้อมูลดังกล่าวจะช่วยสร้างกิจกรรมการมีส่วนร่วมทาง อิเล็กทรอนิกส์ของประชาชน เช่น ทางด้านนโยบายหรือภารกิจ การมีส่วน ร่วมในพื้นที่ชนบทหรือพื้นที่ห่างไกล เป็นต้น ซึ่งวิธีการปรับปรุงหรืออัพเดต ข้อมูลนั้น อาจจะผ่านทางจดหมายข่าว Web Forum, Blog, เครือข่าย ชุมชน, SMS, e-Mail เป็นต้น ซึ่งจะมีคุณลักษณะที่เกี่ยวข้อง เช่น โครงสร้าง ภาครัฐ (Government Structure) นโยบาย (Policies and Programmes) การติดต่อ (Points of Contact) งบประมาณ (Budget) กฎหมายหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Lwas and Regulations and Other Information of Public Interest) ชุมชนการติดต่อสื่อสาร (Community Networks) บล็อก (Blogs) เว็บฟอรั่ม (Web Forums) ระดับของการมีส่วนร่วมทางอิเล็กทรอนิกส์ขององค์การสหประชาชาติ ที่มา สำานักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) (2555) 16
  • 17. • 2. e-Consultation เป็นการสื่อสารแบบสองทาง (Two-way Communication) ระหว่างรัฐบาลกับ ประชาชน โดยการดึงภาคประชาชนและภาคธุรกิจเข้ามาให้ข้อเสนอแนะและความคิดเห็นเกี่ยวกับ ประเด็นต่างๆ ซึ่งรัฐบาลจะต้องรับทราบข้อเสนอแนะจากประชาชนและตอบสนองต่อประชาชน นอกจากนี้ e-Consultation ยังเกี่ยวข้องกับการรายงานผลการจากเจรจากับประชาชนและประกาศผล ให้ประชาชนทราบ โดยประชาชนสามารถใช้เครื่องมือออนไลน์ในการมีส่วนร่วม เช่น โพลส์สำารวจ ห้องสนทนา บลอก เครือข่ายสังคมออนไลน์ กลุ่มข่าว และเครื่องมือโต้ตอบอื่นๆ เพื่อสนับสนุนการมี ส่วนร่วมของภาคประชาชน • นอกจากนั้น e-Consultation ยังสามารถเริ่มจากทางภาคประชาชน โดยผ่านช่องทางการร้อง เรียนออนไลน์ ซึ่งประชาชนสามารถใช้ช่องทางการร้องเรียนนี้เป็นประเด็นในการเจรจา เช่น ประเด็น ทางสวัสดิการเพื่อให้ทางภาครัฐนำาไปกำาหนดนโยบายต่อไป โดย e-Consultation จะมีคุณลักษณะที่ เกี่ยวข้อง เช่น โพลส์ออนไลน์ (Online Polls) การประเมินออนไลน์ (Online Survey or Feedback Forms) ระบบการส่งข้อความทันที (Chat Rooms or Instant Messaging) ข้อมูลการเข้าใช้เว็บของ ประชาชน รายการการให้บริการ (List Services or Newsgroups) เครื่องมืออื่นๆ ในการปฏิสัมพันธ์กับ ประชาชน (Other Interactive Tools) • 3. e-Decision-making เป็นการสื่อสารแบบสองทาง (Two-way Communication) ระหว่างรัฐกับ ประชาชน ซึ่งเป็นการดึงประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินใจเพื่อกำาหนดนโยบายร่วม กัน ซึ่งรัฐบาลเองจะต้องแจ้งผลจากการตัดสินใจบนพื้นฐานของกระบวนการให้คำาปรึกษา โดยมี คุณลักษณะที่เกี่ยวข้อง เช่น กระดานสนทนาออนไลน์ (Online Discussion Forums) คลังของการ สนทนาที่ผ่านมา (Archive of Past Discussion Forums) เจ้าหน้าที่ที่ทำาหน้าที่ในการตอบสนองข้อเรียก ร้องของประชาชน (Government Officials Respond to Citizen Input) เจ้าหน้าที่ที่ทำาหน้าที่กลั่นกรอง การให้คำาปรึกษา (Government Officials Moderate e-Consultation) ข้อเรียกร้องออนไลน์ (Online Petitions) การออกเสียงออนไลน์ (Online Voting) การสำารวจความคิดเห็นด้วยแบบสอบถาม (Real- Time Delphi Survey) 17
  • 18. มาตรฐานเว็บไซต์ของภาครัฐ (Government Website Standard) กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (2555) หมวดหมู่ของข้อมูล (Information Category) ข้อมูลแนะนำา (Suggested Contents) 1.2.1 ถาม-ตอบ (Q&A) - ส่วนที่ผู้ใช้บริการสามารถสอบถามข้อมูลหรือข้อสงสัย มายังหน่วยงาน 1.2.2 ระบบสืบค้นข้อมูล (Search Engine) - ส่วนที่เป็นบริการสืบค้นข้อมูลทั่วไป และข้อมูลภายใน หน่วยงานได้ 1.2.3 ช่องทางการติดต่อ สื่อสารกับผู้ใช้บริการ - ช่องทางแจ้งข่าว หรือแจ้งเตือนผู้ใช้ เช่น SMS, e-Mail เป็นต้น - ช่องทางการติดต่อหน่วยงานในรูปแบบ Social Network เช่น Facebook, Twitter เป็นต้น - ช่องทางแสดงความคิดเห็น หรือข้อเสนอแนะ เช่น e- Mail, Web Board, Blog เป็นต้น - ช่องทางการรับเรื่องร้องเรียน และติดตามสถานะเรื่อง ร้องเรียน การสร้างปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้บริการ มีรายละเอียดดังนี้ 18
  • 19. ระดับการพัฒนาเว็บไซต์การให้บริการ ของเว็บไซต์ภาครัฐ (Phases of Development ที่มา สำานักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน), 2555, หน้า 8 19
  • 20. ลักษณะโดยธรรมชาติของบริการ Social Network1. Instant คือ ความเป็นปัจจุบันและตอบสนองได้ทันที สามารถตอบสนองประชาชน ได้ทันที สิ่งที่นำามาต้องทันสมัยและทันเหตุการณ์จึงจะสามารถจูงใจให้ประชาชนเข้า มามีส่วนร่วมและเพิ่มจำานวนมากขึ้นด้วย 2. Interactive เป็นลักษณะของการสื่อสารสองทางไปมาตลอดเวลา เป็นการสื่อสาร แบบสองทางที่ต้องมีปฏิกิริยาระหว่างตัวหน่วยงานและประชาชนอย่างสมำ่าเสมอ 3. Individualization สามารถตอบสนองได้ถึงในระดับบุคคล หมายถึง เป็นกิจกรรม ที่สามารถให้ประชาชนเลือกได้ และเป็นการสื่อสารระดับตัวต่อตัวหรือระดับบุคคล 4. Insight สามารถตอบโจทย์ความต้องการของประชาชนได้ นอกจากนี้กิจกรรมที่ เจ้าของหน่วยงานนำามาสร้างสรรค์ในบริการ Social Network ต้องมาจากความ เข้าใจ Insight ของประชาชน ที่ผ่านการวิเคราะห์ถึงแรงจูงใจและความต้องการ ที่แท้จริงของประชาชนก่อนที่จะทำากิจกรรม จึงจะสามารถสร้างความสัมพันธ์กับ ประชาชนให้ประชาชนกลับเข้ามาติดต่อกับหน่วยงานอีกครั้งและอย่างสมำ่าเสมอ 5. Invisible ต้องทำาให้ไม่เห็นเป็นการโฆษณาของหน่วยงานที่ชัดเจนเกินไป ประการ ที่สำาคัญประการหนึ่งคือ หากมีการส่งเสริมการตลาดไม่ว่าจะเป็นการโฆษณา หรือ การส่งเสริมการขาย ลด แลก แจก แถม เพื่อกระตุ้นยอดขาย ต้องทำาให้ Invisible กล่าวคือ ต้องทำาให้เนียน ไม่ให้รู้สึกว่าเป็นการยัดเยียดหรือพยายามขายมากเกินไป 6. Integration ต่อมีความสอดคล้องกับสินค้า/ บริการ จริง การใช้บริการ Social 20
  • 21. หน่วยงานภาครัฐจะนำาบริการ Social Network มาใช้ 1. Update new fact to public. รู้จักใช้บริการ Social network ในการอัพเดตข้อเท็จจริง ใหม่ๆ เมื่อปัญหาได้รับการคลี่คลาย ความจริงเรื่องแบบนี้อาจจะใช้เว็บไซต์เพื่อใช้ใน ประชาสัมพันธ์ก็ได้ แต่เรื่องที่เป็นข่าวดีนั้น โดยพฤติกรรมคนส่วนใหญ่จะไม่เข้าเว็บไซต์ หาก ไม่มีปัญหาหรือต้องการข้อมูลเพราะฉะนั้นการใช้วิธี Push ข้อมูลจึงเป็นวิธีที่น่าสนใจและเป็นอีก ทางเลือกที่สามารถกระจายข้อมูลข่าวสารไปยังประชาชนได้อย่างรวดเร็ว 2. Motivating people to participate in discussions to find a solution together. ทำาให้เกิดการมีส่วนร่วม เป็นการดึงให้ผู้ที่กำาลังมีปัญหาเข้ามาพูดคุยและหาทางออกร่วมกัน ประชาชนที่ประสบปัญหาเกี่ยวกับหน่วยงานมักต้องการระบายให้ผู้มีหน้าที่รับผิดชอบฟัง ซึ่งผู้ฟัง ที่ดีควรต้องเข้าใจความเป็นมาเป็นไป ตลอดจนสามารถถ่ายทอดแนวทางแก้ไขที่ดำาเนินการด้วย หน่วยงานภาครัฐจึงควรเปิดโอกาสการสื่อสารกับประชาชนที่มีปัญหาและคัดสรรบุคลากรที่จะ ตอบปัญหาของผู้บริโภคอย่างเหมาะสมด้วย 3. Create a centralized hub to the problem. ใช้เป็นที่รวมศูนย์ เพื่อรวมศูนย์ของปัญหาไว้ ให้จัดการได้สะดวกขึ้น เพื่อรวบรวมข้อร้องเรียนต่างๆ ไม่ว่าอยู่ในรูปวีดิโอ ภาพ หรือข้อความไว้ ในที่เดียวกัน ช่วยให้หน่วยงานสามารถจัดการปัญหาได้อย่างสะดวกครอบคลุมยิ่งขึ้น หาก ประชาการทราบว่ามีเครือข่าย (Community) นี้เกิดขึ้น จะมีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้ามาดูแล ตอบปัญหา และให้ดำาเนินการแก้ไขปัญหาอย่างรวดเร็ว 4. Be prepared before the crisis happens. Both in terms of personnel and channels of communication online. เป็นช่องทางหนึ่งที่ช่วยให้หน่วยงานเตรียมตัวก่อน เกิดวิกฤติจะเกิดขึ้น ทั้งในแง่ของบุคลากรและช่องทางการสื่อสาร Online แม้ว่าวิกฤติอาจเกิด ขึ้นได้อย่างไม่ทันตั้งตัว แต่การเตรียมการล่วงหน้า จะช่วยให้หน่วยงานสามารถแก้ไข 21
  • 23. กลยุทธ์และเทคนิค Social Media ของหน่วยงานภาครัฐ เพื่อสร้างการ มีส่วนร่วมของประชาชน 23
  • 25.
  • 26.
  • 27.
  • 28.
  • 29.
  • 32. 32
  • 33. การสืบค้นบน Google • จากสถิติของ Google  คนจะ Click ในหน้าแรกของการค้นหาบน Google 89%  42% จะ Click บน link 2 อันดับแรก  อันดับที่ 3-10 จะมีคน Click 47% • หากไม่พบคำาค้นที่เกี่ยวกับบริษัท – ขาดโอกาสในการขาย – ขาดโอกาสในการสื่อสารกับกลุ่มเป้าหมาย
  • 34. แบบที่ 1 แสดงด้านบน 3 อันดับ แรก 34 ตัวอย่าง Google AdWords
  • 39.
  • 40.
  • 44.
  • 45.
  • 46.
  • 47.
  • 48.
  • 50. การสร้าง FacebookPageการสร้าง FacebookPage ข้อแนะนำาในการสร้างเพจ 1.เลือกหมวดหมู่ให้ถูกต้อง 2.ตั้งชื่อเพจให้มีคำาที่คนค้นหา (ไม่เก อักษร) 3.ตั้งชื่อเพจอีกภาษาตามกลุ่มเป้าหม 4.ใส่รูป Profile และข้อมูลเบื้องต้น 5.ใส่รูปภาพปกขนาด 851 x 315 6.เปลี่ยน URL ที่www.facebook.c 50
  • 51. การจัดการ FacebookPageการจัดการ FacebookPage URL : www.facebook.com/smartsme Profile Picture 180 X180 Cover 851 X 315 51
  • 53.
  • 54. Short Name URL Facebook Cover Page Facebook Profile Picture Facebook Tab Icon 54 ตัวอย่าง FacebookPage CoverPage , Profile Picture
  • 59. v.s. Google is for Search then Buy Facebook is for discover & generate Demand ความแตกต่างระหว่าง 2 ช่องทาง
  • 61. การจัดการ FacebookPages ด้วย Application การจัดการ FacebookPages ด้วย Application 61 Application FacebookPage Manager บน Mobile
  • 62.
  • 64.
  • 65.
  • 66.
  • 67. ใครควรใช้ Twitter • สื่อมวลชน • บุคคลที่ชอบติดตามข่าวสาร • หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับบริการสาธารณะ • องค์กรธุรกิจที่มีธุรกิจเกี่ยวพันกับประชาชน จำานวนมาก • องค์กรธุรกิจที่มีความจำาแป็นติดต่อกับประชาชน ในประเทศทีมีการใช้ twitter จำานวนมาก เช่น ญี่ปุ่น
  • 68.
  • 70.
  • 71.
  • 72.
  • 74.
  • 75. Line Price Standard Home Package Premium Package Official Account with 20 Messages/Month+ Official Account with 25 Messages/Month+ 4 On-Air 5 On-Air Official Home Official Home Sponsored Sticker Sponsored Sticker 6,XXX,XXX THB/year 7,XXX,XXX THB/year
  • 76. Price MOON BROWN CONY JAMES 12M THB
  • 77.
  • 78.
  • 79.
  • 80.
  • 81.
  • 84. ตัวอย่าง Content Marketingตัวอย่าง Content Marketing http://pantip.com/topic/31856796 84
  • 85.
  • 86. ลูกค้าคาดหวังว่า ทุกครั้งที่โพสต์ Brand จะต้องตอบสนองทันที หรือ ภายใน 2 ชั่วโมง
  • 87.
  • 88. เทคนิคการจัดการปัญหาบน Pantip • รวบรวมข้อมูล ประเมินสถานการณ์ • อย่าพยายามแจ้งลบกระทู้ • รีบแสดงตัวในกรณี เปิดข้อพิพาท โดยผู้รับผิดชอบ หรือ Brand official account • ติดต่อลูกค้าคู่กรณีหลังไมค์ เพื่อจัดการปัญหา • ขอโทษอย่างจริงใจ และ ชี้แจงลงกระทู้เมื่อปิดเคสได้
  • 89.
  • 91. จัดการ ดราม่า อย่างมืออาชีพ • ตรวจสอบข้อมูล รวบรวมข้อมูลทั้งหมด • วิเคราะห์ ประเมินสถานการณ์ • เรียกคุยผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย เพื่อหาทางออก • หากมีคู่กรณี ให้ติดต่อส่วนตัว ห้ามพูดคุยบนสื่อออนไลน์ แบบสาธารณะ • พยายามขอนัดชี้แจงและ เจรจา หาข้อสรุปกับคู่กรณี หากจำาเป็นควร มีเอกสารหรือลายลักษณ์อักษร • เมื่อจบเรื่องได้ ให้แถลงต่อสื่อออนไลน์
  • 92. ข้อควรระวังในการจัดการดราม่า • ห้ามต่อปากต่อคำาบนออนไลน์เด็ดขาด • อย่าแถ • ห้ามขู่ ทั้งคู่กรณีและ แนวร่วมไทยมุง • ถ้าผิดจริง จงขอโทษไว้ แสดงความจริงๆ • ถ้าไม่ผิดจริง ต้องขอโทษไว้ และหาหลักฐาน พยาน อ้างอิง • หากมีข้อสรุปและชี้แจงแล้ว จงหยุดอย่า ไปโต้เถียงไทยมุง
  • 93. ** ดราม่ามักจะเป็นกระแสแค่ 1-2 สัปดาห์ ** อย่าปิดเรื่อง ปิดบังข้อมูลต่อผู้รับผิดชอบ และ ผู้บริหาร ** อย่าไปใส่ใจกับไทยมุง พึงนึกถึงชื่อเสียงของ Brand เสมอ
  • 97.

Editor's Notes

  1. ประเมินว่าเป็นข้อเท็จจริง หรือ อารมณ์ลูกค้า ,