SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
การเข้ าถึง e-Government ของประชาชนไทย
                                  Access to e-Government Thai people

                                                       บทคัดย่อ
           บทความทางวิชาการฉบับนี้ มีวตถุประสงค์เพื่อศึกษา การเข้าถึง e-Government ของประชาชนไทย ซึ่งเป็ นวิธีการบริ หาร
                                       ั
จัดการภาครัฐสมัยใหม่ที่รัฐบาลมีนโยบายในการนา เทคโนโลยีสารสนเทศแ ละ การสื่ อสารมาช่วย ในการพัฒนา ปรับปรุ ง การ
ทางานของหน่วยงานภาครัฐ เพื่อให้การบริ หารงานของภาครัฐมีประสิ ทธิภาพมากยิงขึ้น โดยเฉพาะงานด้านการบริ การภาครัฐ
                                                                              ่
ให้แก่ประชาชน โดยเน้นให้ประชาชน ภาคธุรกิจและภาครัฐด้วยกัน สามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารและบริ การของภาครัฐได้ สะดวก
ขึ้น ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลและบริ การภาครัฐได้อย่างทัวถึงและเท่าเทียมกัน ผ่านทางอินเตอร์เน็ต ในรู ปแบบศูนย์รวม
                                                          ่
หน่วยงานภาครัฐแบบหนึ่งเดียว ประชาชนสามารถใช้บริ การ ได้ทุกที่และตลอดเวลา ให้ความสะดวกและมีความพร้อม ในการ
ให้บริ การสาธารณะออนไลน์แบบครบวงจรกั บประชาชน บริ การสาธารณะต่างๆ ยึดประชาชนเป็ นศูนย์กลาง (Citizen Centric) มี
ระบบรักษาความปลอดภัยที่เชื่อถือได้และแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่าง ภาครัฐและภาคเอกชนแบบอิเล็กทรอนิกส์อย่างรวดเร็ ว
                                    ่
ถูกต้องและมีประสิ ทธิภาพ จึงถือได้วา e-Government เป็ นอีกก้าวหนึ่งของการพัฒ นาด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร
ในประเทศไทย โดยอาศัยเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตเป็ นเครื่ องมือสนับสนุน นอกจากนั้นยังสร้างความตื่นตัวให้งานหน่วยงาน
ราชการต่างๆ หันมาให้ความ สาคัญแก่การพัฒนาเครื อข่ายข้อมูลจากเครื อข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่ อสารมากขึ้นทั้งนี้
เพื่อเป็ นรากฐานในการให้บริ การแก่ “ประชาชน” เพื่อพัฒนา ประเทศชาติ ต่อไป

คาสาคัญ: e-Government/Citizen Centric/ภาครัฐ
1. บทนา                                                      2. รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (e-Government)
                          ่
            ในช่วงปี ที่ผานมา รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์     (e-   2.1 e-Government คืออะไร
government) กาลังเป็ นที่รู้จก และเริ่ มเข้ามามีบทบาทใน
                              ั                                          รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ หรื อที่เรี ยกว่า     e-
การบริ หารงานของรัฐบาล เ              พราะกระแสของ e-        Government คือ วิธีการบริ หารจัดการภาครัฐสมัยใหม่ โดย
                        ่
government ถือได้วากาลังมาแรงเลยทีเดียว เนื่องจากการ         การใช้เท คโนโลยีคอมพิวเตอร์และเครื อข่ายสื่ อสารเพื่อ
ก้าวไปสู่ e-government จะทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงใน           เพิ่มประสิ ทธิภาพการดาเนินงานภาครัฐ ปรับปรุ งการ
กระบวนการทางาน และการให้บริ การของภาครัฐต่อ                  บริ การแก่ประชาชน การบริ การด้านข้อมูลและสารสนเทศ
ประชาชนเพื่อให้มีการบริ การที่ทวถึงต่อประชาชนในทุก
                                   ั่                        เพื่อส่งเสริ มการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ประชาชนมี
พื้นที่ และมีประสิ ทธิภาพดีข้ ึนกว่าเดิม จะเห็น     ได้วา่   ความใกล้ชิดกับภาครัฐมากขึ้น สื่ ออิเล็กทรอนิกส์จะเป็ น
ประเทศต่างๆทัวโลกต่างก็ให้ความสาคัญกับการก้าวไปสู่
                  ่                                          เครื่ องมือที่สาคัญในกา รเข้าถึงบริ การของรัฐ ประการ
การเป็ น e-government และมีการประกาศนโยบายในเรื่ อง          สาคัญจะต้องมีความร่ วมมืออย่างใกล้ชิดและเต็มใจจากทั้ง
นี้อย่างเป็ นทางการ                                          3 ฝ่ าย ได้แก่ ภาครัฐ ภาคธุรกิจและประชาชน
            ตัวอย่างเช่น สหราชอาณาจักร ประกาศว่าภายใน                ผลพลอยได้ที่สาคัญที่จะได้รับคือ ธรรมาภิบาลและ
ปี ค.ศ. 2005ประชากรทุกคนสามารถเข้าถึงอินเทอร์เน็ตได้         ความโปร่ งใสที่มีมากขึ้นในกระบวนการทางานของระบบ
     ่
ไม่วาจะเข้าจากที่บาน หรื อจุดให้บริ ก ารในชุมชน ก็ตาม
                     ้                                       ราชการ อันเนื่องมาจากการเปิ ดเผยข้อ มูล และประชาชน
รวมทั้งการบริ การของภาครัฐทุกอย่างจะทาผ่านสื่ อ              สามารถเข้ามาตรวจสอบได้ตลอกเวลาจึงคาดว่าจะนาไปสู่
อิเล็กทรอนิกส์ ในขณะที่สิงคโปร์เองก็ประกาศว่าภายในปี         การลดคอร์รัปชันได้ในที่สุด [2]
ค.ศ. 2001 counter services ของรัฐ 100% จะเป็ นการ            2.2 ทาไมต้ องมี e-Government
ให้บริ การทางอิเล็กทรอนิกส์ ออสเตรเลียระบุวารัฐจะ่                       ในโลกยุคไร้พรมแดนนนั้น e-Commerce ถือว่า
ให้บริ การที่เหมาะสมผ่านสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ อัน หมายถึง      เป็ นยุทธวิธีสาคัญในการแข่งขันเกี่ยวกับการค้า การผลิต
ผ่านทางอินเทอร์เน็ตภายในปี ค .ศ. 2001 ส่วนแคนาดามี           และการบริ การ จึงทาให้เกิดคาว่า B2C (Business to
เป้ าหมายว่าบริ การของรัฐทุกอย่างจะเป็ นแบบ         online   Consumer) ในขณะเดียวกันประเทศต่างๆ เริ่ มมองเห็นว่า
ภายในปี ค .ศ. 2004 โดยมีบริ การหลักบางอย่างสามารถ                                            ้
                                                             แม้จะพัฒนา e-Commerce ให้กาวหน้ามากยิงขึ้ นเพียงใดก็
                                                                                                              ่
ให้บริ การได้ก่อนในปี ค .ศ. 2000 สาหรับเนเธอร์แลนด์มี        ตาม ถ้าขาดเสี ยซึ่ง (Government) ก็จะขาดความคล่องตัว
เป้ าหมายว่า 20% ของบริ การของรัฐสามารถให้ online ได้        ไปด้วย ตัวอย่างเช่น เราสามารถใช้ e-Commerce สังซื้อ  ่
ในปี ค.ศ. 2002 สหรัฐอเมริ กาซึ่งถือเป็ นผูนาด้าน
                                               ้             สิ นค้าผ่านจออินเทอร์เน็ตได้อย่างรวดเร็ ว และได้สินค้าที่ดี
                                       ่
เทคโนโลยีเองก็กาหนดเป้ าหมายไว้วาจะให้บริ การต่างๆ           ในราคาที่ถูกมากภายใน 1 วัน แต่ถาต้องไปติดที่พิธีการ
                                                                                                   ้
และบริ การด้านข้อมูลของภาครัฐผ่านทางอิเล็กทรอนิกส์           ทางภาษี เรื่ องของ e-Commerce ก็ไร้ความหมาย ฉะนั้นจะ
ภายในปี ค .ศ. 2003 แต่ประเทศซึ่งอาจเป็ นแชมป์ e-                       ่
                                                             เห็นได้วางานของ Government จึงมีบทบาทสาคัญใน
                                             ่
government เร็ วที่สุด เนื่องจากกาหนดไว้วาในช่วงสิ้นปี       นโยบายของนานาประเทศรวมทั้งประเทศไทย และทาใ ห้
ค.ศ. 2000 นี้ ประชาชนจะสามารถเข้าถึงบริ การและ               เกิดคาใหม่ คือ G2B G2C และ G2G ซึ่งก็คือการนา e-
เอกสารของรัฐได้ทางอิเล็กทรอนิกส์ คือ ประเทศฝรั่งเศส                                ั
                                                             Commerce มาใช้กบกา รพัฒนาประเทศและบริ การของ
 [10]                                                        ภาครัฐได้ ในแนวทางที่เรี ยกว่า e-Government (electronic-
                                                             Government) หรื อ รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ นันเอง [5]
                                                                                                            ่
2.3 ประเภทของบริการ e-government                              การใช้การเชื่อมต่อโครงข่ายสารสนเทศเพื่อเอื้อให้เกิดการ
             บริ การทางอิเล็กทรอนิกส์ เป็ นสิ่ งสาคัญในการ    ทางานร่ วมกัน (Collaboration) และการแลกเปลี่ยนข้อมูล
สร้างรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งรั ฐบาลจะต้องกาหนด              ระหว่างกัน (Government Data Exchange) ทั้งนี้รวมไปถึง
เป้ าหมายให้ชดเจน เพื่อให้ผรับบริ การสามารถคาดหวังสิ่ ง
                  ั            ู้                             การเชื่อมโยงกับรัฐบาลของต่างชาติ และองค์กรปกครอง
ที่ควรจะได้รับจากรัฐบาล บริ การทางอิเล็กทรอนิกส์ข้ น      ั   ท้องถิ่นอีกด้วย ระบบงาน ต่า ง ๆ ที่ใช้ในเรื่ องนี้ ได้ เช่น
พื้นฐาน ได้แก่                                                ระบบงาน Back Office ต่าง ๆ ได้แก่ ระบบงานสารบรรณ
     1. เผยแพร่ ขอมูล
                    ้                                         อิเล็กทรอนิกส์ ระบบบัญชีและการเงิน ระบบจัดซื้อจัดจ้าง
     2. บริ การพื้นฐาน อาทิ ทาบัตรประชาชน จดทะเบียน           ด้วยอิเล็กทรอนิกส์ เป็ นต้น
ขอใบอนุญาต เสี ยภาษี ฯลฯ                                                 ภาครัฐสู่ปร ะชาชน G2C (Government to
     3. ติดต่อสื่ อสารกั บผูรับบริ การทางอีเมล์ เครื่ องมือ
                             ้                                Citizen) เป็ นการให้บริ การของรัฐสู่ประชาชนโดยตรง
สื่ อสารไร้สาย ฯลฯ                                            โดยที่บริ การดังกล่าวประชาชนจะสามารถดาเนินธุรกรรม
     4. รับเรื่ องราวร้องทุกข์                                โดยผ่านเครื อข่ายสารสนเทศของรัฐ เช่น การชาระภาษี
     5. ประมวลผลข้อมูลระหว่างหน่วยงาน                         การจดทะเบียน การจ่ายค่าปรับ การรับฟังความคิดเห็น
     6. บริ การรับชาระเงิน                                    ของประชาชน การมีปฏิสมพันธ์ระหว่างตัวแทน
                                                                                         ั
     7. สารวจความคิดเห็น [8]                                  ประชาชนกับผูลงคะแนนเสี ยงและการค้นหาข้อมูลของรัฐ
                                                                              ้
                                                              ที่ดาเนินการให้บริ การข้อมูลผ่านเว็บไซ ต์ เป็ นต้น โดยที่
2.4 e-Commerce คืออะไร                                        การดาเนินการต่าง ๆ นั้นจะต้องเป็ นการทางานแบบ
          e-Commerce เป็ นบริ การทางสื่ ออิเล็กทรอนิกส์       Online และ Real Time มีการรับรองและการโต้ตอบที่มี
แบบ B2C และ B2B เป็ นหลัก e-Government จะเป็ นแบบ             ปฏิสมพันธ์
                                                                     ั
G2G G2B และ G2C ระบบต้องมีความมันคงปลอดภัยเพื่อ
                                       ่                                 ภาครัฐสู่ภาคธุรกิจ G2B(Government to
แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างหน่วยงานของรัฐ ประช าชนอุ่น            Business) เป็ นการให้บริ การ ภาคธุรกิจเอกชน โดยที่รัฐจะ
ใจในการรับบริ การและชาระเงินค่าบริ การ ธุรกิจก็สามารถ         อานวยความสะดวกต่อภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมให้
ดาเนินการค้าขายกับหน่วยงานของรัฐด้วยความราบรื่ น              สามารถแข่งขันกันโดยความเร็ วสูง มีประสิ ทธิภาพ และมี
อินเทอร์เน็ตเป็ นสื่ อทางอิเล็ กทรอนิกส์ที่สาคัญในการ         ข้อมูลที่ถูกต้องอย่างเป็ นธรรมและโปร่ งใส เช่น การจด
ให้บริ การตามแนวทางรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์                       ทะเบียนทางการค้า การลงทุน และการส่งเสริ มการลงทุน
          ภาครัฐสู่ภาครัฐด้วยกัน G2G (Government to           การจัดซื้อจัดจ้างทางอิเล็กทรอนิกส์ การส่งออกและนาเข้า
Government) เป็ นรู ปแบบการทางานที่เปลี่ยนแปลงไป              การชาระภาษี และการช่วยเหลือผูประกอบการขนาดกลาง
                                                                                                ้
มากของหน่วยราชการ ที่การติ ดต่อสื่ อสารระหว่างกันโดย          และเล็ก
กระดาษและลายเซ็นต์ในระบบเดิมในระบบราชการเดิม                             ภาครัฐสู่ภาคข้าราชการและพนักงานของรัฐ
จะมีการเปลี่ ยนแปลงไปด้วยการใช้ระบบเครื อข่าย                 G2E (Government to Employee) เป็ นการให้บริ การที่
สารสนเทศ และ ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์เป็ นเครื่ องมือใน       จาเป็ นของพนักงานของรัฐ (Employee) กับรัฐบาล โดยที่
การแลกเปลี่ยนข้อมูลอย่างเป็ นทางการเพื่อเพิ่มความเร็ วใน      จะสร้างระบบเพื่อช่วยให้เกิดเครื่ องมือที่จาเป็ นในการ
การดาเนินการ (Economy of Speed) ลดระยะเวลาในการ               ปฏิบติงาน และการดารงชีวต เช่น ระบบสวัสดิการ ระบบ
                                                                       ั                   ิ
ส่งเอกสารและข้อมูลระหว่างกัน นอกจากนั้นยังเป็ น               ที่ปรึ กษาทางกฎหมาย และข้อบังคับในการปฏิบติราชการั
การบูรณาการการให้บริ การ ระหว่างหน่ วยงานภาครัฐโดย            ระบบการพัฒนาบุคลากรภาครัฐ เป็ นต้น [1] ,[8]
ทาให้โปร่ งใสและเป็ นธรรมจะช่วยให้รัฐประหยัด
2.5 ลักษณะการให้ บริการของ e-Government                         งบประมาณได้ไม่นอยกว่าร้อยละยีสิบ [9]
                                                                                 ้             ่
                 หลักสาคัญของการสร้าง e-Government คือการ
นาบริ การของภาครัฐสู่ประชาชน โดยใช้อิเล็กทรอนิกส์               3. e-Government กับประชาชน
เป็ นสื่ อในการให้บริ การ โดยหลักการของ “ ทีเ่ ดียว             3.1 ประชาชนจะได้ อะไร
ทันใด ทัวไทย ทุกเวลา ทัวถึงและเท่ าเทียม โปร่ งใส
                  ่                 ่                                         สร้างโอกาสให้ประชาชนทุกคนได้เลือกใช้
และเป็ นธรรมภิบาล ”                                             บริ การที่หลากหลายผ่านอินเทอร์เน็ต ได้รับบริ การจากรัฐ
           ทีเ่ ดียว การพัฒนา e-Government ทาให้สามารถ          ที่ดีข้ ึน แม่นยาขึ้น สะดวกขึ้น เสี ยเวลากับรัฐน้อยลง เพราะ
สร้างเว็บท่า (Web Portal) ที่สามารถบูรณาการบริ การต่าง          มีช่องทางบริ การใหม่ๆ เกิดขึ้น เช่น ศูนย์บริ การทาง
ๆ ที่เคยอยูกระจัดกระจาย มารวมอยูที่เดียวกัน เพื่อให้ง่าย
                    ่                     ่                     โทรศัพท์ (Call Center), บริ การทางเว็บไซต์ , การใช้
ต่อประชาช นในการติดต่อที่จอเดียว หรื อ หน้าต่างเดียว            อินเทอร์เน็ตผ่านมือถือ (WAP) เป็ นต้น รัฐให้ขอมูลกับ  ้
เพื่อบริ การเบ็ดเสร็ จ                                                                            ่
                                                                ประชาชนได้มากขึ้น ลดความยุงยากของกฎเกณฑ์ เกิด
           ทันใด รายการทางอิเล็กทรอนิกส์ สามารถทาได้และ         ความโปร่ งใสในการทางาน ค่าใช้จ่ายในการปร ะกอบการ
มีการตอบรับแบบทันทีไม่ตองเสี ยเวลารอคอยการตอบ
                                ้                               ที่ลดลง ค้าขายกับรัฐคล่องขึ้น เสี่ ยงน้อยลง (สต๊อกของ
กลับทางเอกสาร ทาให้งานต่าง ๆ ที่ตองรอคาตอบนาน ๆ
                                            ้                   น้อยลง)
สามารถได้รับคาตอบในทันทีทนใด          ั                                  ปั จจุบนหลายหน่วยงานได้เริ่ มให้บริ การออนไลน์
                                                                                  ั
           ทัวไทย การใช้เครื อข่ายอิ นเทอร์เน็ต ทาให้การ
               ่                                                บ้างแล้ว อาทิ กรมสรรพากร ที่เปิ ดระบบ E-Revenue ให้ผู ้
                                        ่ ่
เชื่อมโยงประชาชนชาวไทย ไม่วาอยูไหนในโลกใช้บริ การ                                           ่
                                                                เสี ยภาษีสามารถเสี ยภาษีผานทางอินเตอร์เน็ตได้ หรื อกรม
e-Government ที่รัฐบาลได้จดทา     ั                             ทะเบียนการค้า ที่รับจดทะเบียนผ่า              นระบบ On-line
         ทุกเวลา เนื่องจากคอมพิวเตอร์แม่ข่าย และ ระบบ           Registration และทางมหาลัยที่เปิ ดให้นกศึกษาลงทะเบียน
                                                                                                            ั
อินเทอร์เน็ต สามารถเปิ ดไว้ตลอด 24 ชัวโมง ทุกวัน (24 x
                                              ่                 เรี ยนผ่านทางอินเตอร์เน็ตเป็ นต้น
7) แบบเดียวกับตู ้ ATM ทาให้การบริ การต่าง ๆ ที่เคยต้อง                   ลักษณะของระบบข้อมูลที่สามารถเชื่อมโยงกันได้
ทาในเวลาราชการสามารถทา ได้ตามที่ประชาชนสะดวก                    จะช่วยให้หน่วยงานที่ตองการทราบหรื อใช้ขอมูลของ
                                                                                          ้                      ้
และพร้อม                                                        ประชาชน สามารถเชื่อมโยงเข้าไปที่ระบบฐานข้อมูลกลาง
         ทัวถึง และ เท่ าเทียม การให้บริ การ e-Government
            ่                                                   ของสานักทะเบียนรา ษฎร์ กรมการปกครองที่มีขอมูล           ้
ทาให้ประชาชน และผูดอยโอกาสจะได้มีโอกาสในการรับ
                            ้้                                                  ่
                                                                เหล่านั้นอยูได้ ทางฝ่ ายประชาชนเองจะสามารถรับบริ การ
บริ การ โดยไม่ตองเดินทาง และประชาชนที่ดอยโอกาส
                       ้                           ้            ได้อย่างเบ็ดเสร็ จ ณ จุดเดียว ทาให้ไม่ตองเสี ยเวลาเดินทาง
                                                                                                          ้
สามารถรับบริ การที่สะดวกสบายเช่นเดียวกับประชาชนใน               ตัวอย่างเช่น การแจ้งเปลี่ยนชื่อ ที่อยู่ สามารถทาเพียงครั้ง
เมืองได้อย่างเท่าเทียมกันอีกด้วย                                เดียว ที่ระบบของสานักทะเบียนราษฎร์กรมการปกครอง
         โปร่ งใสและเป็ นธรรมภิบาล              การบริ การ e-   หลังจากนั้นระบบจะส่งข้อมูลไปยังหน่วยงานต่าง ๆ ที่เรา
Government ทาให้บริ การของรัฐในหลาย ๆ เรื่ องที่เคยทึบ          ต้องแจ้งได้เองโดยอัตโนมัติ อาทิ กรมการขนส่งทางบก
แสง หรื อ ไม่โปร่ งใส เช่น การจัดซื้อจัดจ้าง เป็ นต้น           เพื่อเปลี่ยนข้อมูลในใบขับขี่ ที่การไฟฟ้ า ฯ การประปาฯ
สามารถดาเนินการแบบเปิ ดเผยผ่านระบบออนไลน์ที่มี                                        ่
                                                                เพื่อเปลี่ยนชื่อที่อยูในใบแจ้งค่าไฟ ค่าน้ า หรื อที่สานักงาน
ผูเ้ ข้าร่ วม และรู ้เห็นจานวนมากได้ มีการคาดการณ์วาการ  ่      ประกันสังคม เพื่อเปลี่ยนแปลงข้อมูลในบัตรประกันสังคม
                                                                เป็ นต้น และหากระบบมีการเชื่อมโยงกับระบบการชาระ
เงิน หรื อที่เรี ยกว่า payment gateway ประชาชนก็ จะ           เกษตรและสหกรณ์จะนาไอทีมาใช้เพื่อการให้บริ การด้าน
สามารถชาระค่าบริ การต่าง ๆ อาทิ ค่าภาษีอากร ค่า               ข้อมูล อาทิเรื่ อง Zoning เพื่อให้เกษตรกรได้รับข่าวสาร
สาธารณูปโภค ฯลฯ ผ่านอินเตอร์เน็ตได้ โดยไม่ตอง       ้         เกี่ยวกับดินที่เหมาะสมต่อการปลูกพืช นาระบบ GIS มาใช้
เดินทางไปที่สานักงาน ธนาคาร หรื อที่จุดบริ การชาระเงิน        เพื่อการวางแผนด้านเกษตรกรรม แต่ก็ยงมีประเด็นปั ญหา
                                                                                                     ั
เช่น Counter Service ใด ๆ จึงประหยัดทั้งค่าใช้จ่าย และ        อีกหลายประการซึ่งยังต้องการการแก้ไขต่อไป นอกจากนี้
เวลาที่ตองใช้ในการเดินทา ง หากมีการนาระบบ e-
         ้                                                    ภาคธุรกิจก็นบเป็ นลูกค้าสาคัญของรัฐ ซึ่งส่วนหนึ่งใช้
                                                                              ั
Government มาใช้อย่างเต็มรู ปแบบ ประชาชนจะได้รับ              บริ การแง่ของการบริ การด้านข้อมูล อีกส่วนคือการเป็ นผู ้
ความสะดวก รวดเร็ วในการติดต่อกับภาครัฐมากขึ้น โดย             ร่ วมลงทุน หรื อให้บริ การแทนรัฐ ในต่างประเทศกา รเป็ น
สามารถขอรับบริ การได้ตล อด 7 วัน 24 ชัวโมง ไม่มี่             partnership กับภาคเอกชนเป็ นเรื่ องที่พบเห็นโดยทัวไป มี
                                                                                                                   ่
วันหยุด                                                       บริ ษทที่ให้บริ การแก่รัฐเพื่อสนับสนุนงาน ที่เป็ น
                                                                    ั
     ในปั จจุบนสถานบริ การอินเตอร์เน็ ตโดยทัวไปได้เปิ ด
                 ั                                ่           โครงสร้างพื้นฐานของภาครัฐหรื อบางค รั้งบริ ษทเหล่านี้
                                                                                                                 ั
ให้บริ การเป็ นจานวนมากทั้งในเมืองและในชนบททัวทุก     ่       อาจให้บริ การบางอย่างแก่ประชาชนเสี ยเองก็มี การที่รัฐ
จังหวัดของประเทศในลักษณะของอินเตอร์เน็ตคาเฟ่ โดย              ต้องเป็ นพันธมิตรกับภาคเอกชน เนื่องจากภาครัฐมี
คิดค่าบริ การเป็ นชัวโมงใช้งานสร้างโอกาสให้ประชาชน
                      ่                                       ข้อจากัดทั้งในแง่ของกาลังคน และแง่ของการนาเสนอ
เข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้อย่างสะดวก โดยประชาชนไม่               เทคโนโลยีใหม่ๆ ซึ่งคงต้องยอมรับว่าภาคเอกชนมี
จาเป็ นต้องเสี ยค่าใช้จ่ายในการซื้อเครื่ องคอมพิว เตอร์มา     ความก้าวหน้ากว่าภาครัฐมาก ดังนั้น เบื้องหลังของการ
เป็ นของส่วนตัว หรื อเสี ยค่าบริ การอินเตอร์เน็ตเป็ นราย      ให้ บริ การบนสื่ ออิเล็กทรอนิกส์คือการบริ การจาก
เดือนแต่อย่างใด [5],[8]                                       ภาคเอกชนที่เป็ นพันธมิตรเกือบทั้งสิ้น โดยทั้งสองฝ่ ายต่าง
3.2 ประเด็นของ e-government                                   ต้องเอื้อประโยชน์ และทดแทนในส่วนที่อีกฝ่ ายหนึ่งไม่มี
ประชาชน คือ ลูกค้าสาคัญ                                       ดังนั้น การผลักดันและดาเนินการเพื่อให้เกิด               e-
         e-government คือการสร้างการบริ การในรู ปแบบ          government ต้องคานึงว่าประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นนั้น ต้อง
ใหม่ๆ ที่ใช้เทคโนโลยีมาช่วย ด้วยการนาเสนอบริ การ              กระจายใน สังคมอย่างทัวถึง ไม่ตกอยูเ่ ฉพาะกลุ่มใดกลุ่ม
                                                                                        ่
ใหม่ๆ เหล่านั้น จะทาใ ห้ประชาชนได้รับบริ การที่มี             หนึ่ง ซึ่งจะทาให้เกิดช่องว่างระหว่างประชาชนในสังคม
คุณภาพ และตรงกับความต้องการของประชาชน เป็ น                   ได้ นอกจากนี้ ยังต้องคานึงถึงผูดอยโอกาสในสังคมด้วย
                                                                                               ้้
หน้าที่ของรัฐที่จะต้องให้ความสาคัญกับลูกค้าซึ่งก็คือ          [5],[8]
ประชาชน และภาคธุรกิจ ทั้งนี้ คาว่า “ประชาชน ” ควรมี
ความหมายครอบคลุมถึงผูดอยโอกาสในสังคม และผูที่
                             ้้                           ้
           ่
ไม่ได้อยูในประเทศด้วย e-government ไม่ควรทาให้เกิด
ปั ญหาการเพิ่มช่องว่างระหว่างประชาชนในสังคม การนา
อินเทอร์เน็ตซึ่งเป็ นสื่ อสาคัญของการให้บริ การของรัฐใน
อนาคตมาใช้ มีแนวโน้มว่าจะทาให้ช่องว่างระหว่างผูมี       ้
และเข้าถึงเทคโนโลยี “ได้เปรี ยบ ” และ “มีโอกาส ”
มากกว่าคนอีกกลุ่มซึ่งโอกาสและการเข้าถึงเทคโนโลยี
น้อยกว่า ตัวอย่างที่เห็นชัดเช่นภาคการเกษตร ซึ่งมักจะเป็ น
กลุ่มที่ได้รับข้อมูลข่าวสารล่าช้าที่สุด แม้วากระทรวง
                                            ่
4. เปรียบเทียบ e-Government ของประเทศไทย
4.1 การพัฒนา e-Government ของประเทศไทย




                                                              รู ปที่ 4 Country Data Comparisons [12]

                                                                                ่
                                                               จากภาพจะเห็นได้วาประเทศไทยนั้นมีการ
                                                      พัฒนา e-Government เพียง 0.4653 ซึ่งยังตามหลังประเทศ
  รู ปที่ 1 การจัดอันดับ การพัฒนา e-Government [11]
                                                                     ่
                                                      ในแถบเอเชียอยูหลายประเทศ และเมื่อเปรี ยบเทียบการ
                                                      พัฒนา e-Government ในแต่ละด้านกับค่าเฉลี่ยของโลก
                                                      พบว่ายังมีการพัฒนาที่นอย และล่าช้า นั้นอาจเป็ นมาจาก
                                                                            ้
                                                      โครงสร้างพื้นฐานที่ทาให้ประเทศไทยพัฒนา               e-
                                                      Government ได้ชา ้

                                                       4.2 e-Governments Development Index
                                                               e-Government Development Index (EGDI) เป็ น
                                                      ดัชนีวดความสามารถและความตั้งใจของหน่วยงานภาครัฐ
                                                             ั
                                                      192 ประเทศทัวโลกในการใช้เทคโนโลยีออนไลน์และ
                                                                     ่
                                                      อุปกรณ์เคลื่อนที่ขนาดเล็กในการปฏิบติหน้าที่ของ
                                                                                            ั
                                                      หน่วยงาน จัดทาโดย The Department of Economic and
                                                      Social Affairs ของสหประชาชาติรายงานเล่มแรกออกมา
                                                      ในปี พ .ศ. 2546 และทาออกมาต่อเนื่องในปี 2547 และ
                                                      2548 ก่อนจะมีออกมาอีกครั้งในปี 2551 และ 2553
                                                      (ต่อไปจะจัดทาทุก 2 ปี ) EGDI แบ่งเกณฑ์การพิจารณาเป็ น
                                                      3 ด้านและให้น้ าหนักในแต่ละด้าน ดังนี้
                                                           Online service index (34%) เป็ นการพิจารณาขอบเขต
                                                      และคุณภาพของการให้บริ การออนไลน์
Telecommunication infrastructure index (33%)       ดาเนินการ แต่ในระยะยาวแล้วการบริ การต่างๆ ทาง
ประกอบด้วยตัวชี้วดด้านโครงสร้างพื้นฐานโทรคมนาคม5
                    ั                                                                                      ่
                                                           อิเล็กทรอนิกส์จะทาให้ลดต้นทุนไปได้มากไม่วาจะเป็ น
ตัว โดยให้น้ าหนักเท่ากันทุกตัวและใช้ขอมูลจาก ITU
                                       ้                   เรื่ อง สถานที่ให้บริ การ การใช้แบบฟอร์มอิเล็กทรอนิกส์
(International Telecommunication Union)                    (Electronic Form) จะช่วยลดเจ้าหน้าที่ที่ให้บริ การ การ
        Human capital index (33%) ประกอบด้วยตัวชี้วด 2ั    ผลักดันในระดับนโยบายทาให้หน่วยงานไม่สามารถอยูนิ่ง          ่
ตัว โดยอาศัยข้อมูลหลักจาก UNESCO (The United               ได้ตองปรับปรุ งการทางานและการบริ การประชาชน การ
                                                                  ้
Nations Education, Scientific and Cultural Organization)   ใช้แผนแม่บทและแผนปฏิบติการไอทีที่มีทิศทาง
                                                                                            ั
      สาหรับอันดับของประเทศไทยใน e-Government              สอดคล้องกับรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ ก็จะเป็ นแรงกระตุน     ้
Development Index และ e-Participation Index ตามการจัด      หนึ่งที่ทาให้หน่วยงาน ต้องทบทวนการดาเนินงานด้าน
อันดับของ UN เมื่อเปรี ยบเทียบกับประเทศในแถบเอเชีย         ไอทีเพื่อให้มีการใช้อย่างคุมค่ามากขึ้น
                                                                                          ้
อื่น ซึ่งจะเห็นได้จากภาพที่ 5 และตารางที่ 1                              สาหรับปั จจัยภายนอกนั้นมาจากสภาวะของการ
                                                           แข่งขันระหว่างประเทศมีสูงมาก การเปิ ดการค้าเสรี ทาให้
                                                           ประเทศต้องเตรี ยมความพร้อมไว้ในหลายด้าน รวมทั้ง
                                                           ด้านการบริ การของรัฐการปรับตัวเข้าสู่รัฐบาล
                                                           อิเล็กทรอนิกส์จะช่วยสร้างภาพลักษณ์ของประเทศในเรื่ อง
                                                           ความโปร่ งใสซึ่งจะช่วยลดภาพลบเก่าๆ ลงได้ แล ะนาไปสู่
                                                           ความได้เปรี ยบของการแข่งขันด้านเศรษฐกิจในเวที
                                                           ระหว่างประเทศ
 รู ปที่ 5 เปรี ยบเทียบ EGDI ของประเทศในแถบเอเชีย [7]                    จากการเปรี ยบเทียบแผนการดาเนินงานรัฐบาล
                                                           อิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทยและประเทศสิ งคโปร์น้ น มี      ั
    UN e-Government Development Index (EGDI)               ความคล้ายคลึงกันเนื่องจาก วัตถุประสงค์ของการจัดทา
      Sets of Indexes               Weight                                                      ่
                                                           รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์น้ น ไม่วาจะในปร ะเทศไหน ต่างก็มี
                                                                                      ั
1. Online Service Index              0.34                  จุดมุ่งหมายเดียวกัน นันคือการมุ่งบริ การแก่ประชาชน โดย
                                                                                    ่
2. Telecommunication                 0.33                  ใช้ระบบเครื อข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาช่วยในการ
Infrastructure Index                                       ให้บริ การที่ทนสมัย สะดวก รวดเร็ ว และมีประสิ ทธิภาพ
                                                                            ั
3. Human Capital Index               0.33                  ในประเทศสิ งคโปร์ก็มีแผนยุทธศาสตร์และนโยบายใน
          ตารางที่ 1 EGDI ของประเทศไทย [2]                 การพัฒนาระบบราชการให้มีความคล่องตัวและลดความ
                                                           ซ้ าซ้อนของงานและการปฏิบติงานของข้าราชการหรื อ
                                                                                              ั
4.3 เปรียบเทียบรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ ของประเทศ              เจ้าหน้าที่ของรัฐเช่นเดียวกับประเทศไทยหรื อประเทศ
                                                           ต่างๆในโลก สาหรับประเทศไทย E-Government เป็ น
ไทยกับประเทศสิ งคโปร์
                                                           เรื่ องที่รัฐบาลให้ความสาคัญเป็ นอย่างยิง เพราะเป็ นส่วน
                                                                                                   ่
         สภาวการณ์ปรับตัวในหน่วยงานของรัฐทั้งใน
                                                           หนึ่งในแผนปฎิรูประบบราชการไทย และเป็ นงานที่มี
ประเทศไทยและประเทศสิ งคโปร์เพื่อก้าวไปสู่รัฐบาล
                                                           ความท้าทายสูงเพราะการปรับองค์กรภาครัฐเข้าสู่การเป็ น
อิเล็กทรอนิกส์ เกิดจากปั จจัยภายในและภายนอก ปั จจัย
                                                           รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์น้ นเป็ นการเปลี่ยนแปลงวิธีคิด วิธี
                                                                                        ั
ภายในประการสาคัญคือ ข้อจากัดเรื่ องงบประมาณและ
                                                           ปฏิบติ วิธีการให้บริ การแก่ประชาชน ซึ่งจะต้องมีการปรับ
                                                                    ั
               ่
อัตรากาลัง แม้วาในเบื้องต้นจะต้องใช้งบประมาณในการ
โครงสร้างองค์กร เปลี่ยนกระบวนการทางาน เปลี่ยน                   แข็ง จุดอ่อนโอกาสและอุปสรรค ในการดาเนินงาน
ทัศนคติของผูบริ หาร แก้ไขกฏหมาย และระเบียบ
                 ้                                              ด้วยกันทั้งนั้น [3]
ปฏิบติ ตลอดจน
       ั                 พัฒนาทักษะและความสามารถของ
บุคลากรจานวนมาก                                                 4.4 เปรียบเทียบรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ ของประเทศ
           สาหรับโครงการรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ ปั จจุบน       ั
                                                                ไทยกับประเทศสหรัฐอเมริกา
     ่
อยูภายใต้การดูแลของสานักปลัดกระทรวงเทคโนโลยี
                                                                           ประเทศไทยมีผนาที่มีความรู ้ทางด้านไอที ทาให้
                                                                                          ู้
สารสนเทศและการสื่ อสาร (ไอซีที) ซึ่งขณะนี้ยงมีปัญหา   ั
                                                                มีความเข้าใจทางด้านเทคโนโลยีค่อนข้างสูง มีการจัดตั้ง
ด้านการบูรณาการข้อมูล เนื่องจากแต่ละหน่วยราชการ
                                                                หน่วยงานที่รับผิดชอบทางด้าน E-government โดยตรง
ต่างมีขอมูลคนละรู ปแบบ
         ้                                              ่
                                    รัฐบาลไทยจัดได้วาเป็ น
                                                                และเนื่องมาจากในประเทศไทยมีการสื่ อสารที่ครอบคลุ่ม
ประเทศที่มีผนาที่ศกยภาพและมุ่งมันในการใช้เทคโนโลยี
              ู้     ั              ่
                                                                ทัวประเทศแล้ว ทาให้การดาเนินงานจัดตั้งเป็ นไปด้วย
                                                                   ่
สารสนเทศและการสื่ อสาร             “โดยการจัดตั้งกระทรวง
                                                                ความสะดวกเรี ยบร้อย ในเรื่ องการบริ หารและการบริ การ
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารขึ้น เพื่อเป็ น
                                                                ของรัฐแก่ประชาชน มีการกล่าวถึง ตั้งแต่ในกฎหมาย
ผูรับผิดชอบในการพัฒนาโครงการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ
   ้
                                                                สูงสุดของประเทศ คื อ รัฐธรรมนูญ ฯ ในมาตรา 78 หรื อ
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร”
                                                                แผนสภาพัฒน์ฯ ฉบับที่ 8 ที่กล่าวถึงการนาไอทีมาใช้
           การดาเนินการของรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์หรื อ E-
                                                                เพื่อเชื่อมโยง ระหว่างหน่วยงานของรัฐกับภาคเอกชน
Government นั้น จาเป็ นต้องอาศัยปั จจัยหลายด้าน ซึ่งด้าน
                                                                เพื่อการบริ หารและการบริ การที่มีประสิ ทธิภาพ
ที่มีความสาคัญมากที่สุดคือ การพัฒนาทางเทคโนโลยี
                                                                                                         ่
                                                                นอกจากนี้ ในแผนไอทีแห่งชาติเองก็ระบุวาหน่วยงานของ
สารสนเทศสมัยใหม่ ที่ตองมีความทันสมัย สะดวก
                          ้
                                                                รัฐต้องลงทุนให้พร้อมด้วยไอที และบุคลากรที่มีศกยภาพ
                                                                                                                ั
รวดเร็ ว และมีประสิ ทธิภาพ สาหรับในประเทศไทย การที่
                                                                ในการใช้ไอที ในแผนปฏิรูประบบบริ หารภาครัฐก็ได้
จะก้าวไปสู่การเป็ นผูนาทางไอซีทีน้ น ต้องให้ความสาคัญ
                       ้              ั
                                                                กาหนดกิจกรรมหนึ่งที่ทุกส่วนราชการต้องดาเนินการไว้
กับการพัฒนาด้าน ICT ในประเทศอย่างมาก                    ทั้ง
                                                                ในแผนหลักเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนบทบาท ภารกิจและ
หน่วยงานภาครัฐและเอกชนก็ต่างถูกกระตุนให้มีการนา
                                             ้
                                                                วิธีการบริ หารของภาครัฐว่า การพัฒนาให้มีระบบ
เทคโนโลยีมาใช้ในการดาเนินงานมากขึ้นเรื่ อยๆ แนวโน้ม
                                                                สารสนเทศของหน่วยงานกลางในภาครัฐ ตลอดจน นา
การเติบโตด้านไอซีทีในประเทศไทย จะอยูในระดับ    ่
                                                                เทคโนโลยีสมัยใหม่ที่เหมาะสมมาใช้เพื่อเพิ่ม
                                                 ่
เดียวกับการเติบโตของจีดีพี ซึ่งในไทยอยูประมาณ 6-8%
                                                                ประสิ ทธิภาพการบริ หารงานภาครัฐและการให้บริ การแก่
เมื่อเทียบกับในสิ งคโปร์ ซึ่งการเติบโตเริ่ มคงที่ โดยอยูใน่
                                                                ประชาชน จะเห็นว่าในระดับนโยบายนั้นมีการให้
ระดับ 1-2% ทั้งนี้ แม้ปัจจุบนมูลค่าตลาดไอซีทีของ
                                 ั
                                                                ความสาคัญในเรื่ องนี้มาโดยตลอด
สิ งคโปร์ จะสูงกว่า 300 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งมากกว่า
                                                                           แต่เนื่องมาจากด้านการศึกษาของเมืองไทย ทา
ประเทศไทย ค่อนข้างมาก แต่ก็เชื่อมันว่าด้วย ศักยภาพใน
                                        ่
                                                                ให้การกระจายความรู ้ทางด้านไอทียงไปไม่ทวถึงของ
                                                                                                   ั        ั่
การเติบโต และขนาดของตลาด ทาให้ตลาดไอที ใน
                                                                                    ่
                                                                ประเทศไทย ไม่วาจะเป็ นประชาชนที่ตองการเข้ามาใช้
                                                                                                      ้
ประเทศไทย มีแนวโน้มที่จะขยายตัวได้อีกมหาศาล ซึ่ง
                                                                บริ การทางด้านไอที หรื อข้าราชการของรัฐบาลที่มีหน้าที่
ในส่วนของประเทศไทย ได้แก่ ระบบงานสนับสนุน
                                                                ให้บริ การทางด้านไอทีแก่ประชาชน ดังนั้นการดาเนินงาน
อุตสาหกรรมผลิตรถยนต์, ระบบบริ หารจัดการงานด้าน
                                                                จึงเป็ นไปอย่างอยากลาบากถึงจะมีการเตรี ยมความพร้อม
สาธารณสุข เป็ นต้น ดังนั้นการดาเนินงานของรัฐบาล
                                                                ทางด้านการทางานแล้วก็ตาม แต่ในประเทศสหรัฐอเมริ กา
อิเล็กทรอนิกส์ท้ งของประเทศไทยและสิ งคโปร์ลวนมีจุด
                   ั                                ้
                                                                นั้นเนื่องจากเป็ นประเทศที่ใหญ่ มีความเจริ ญก้าวหน้าทั้ง
ทางด้านเศรษฐกิจและด้านการศึกษา จึงทาให้มี                    Government เป็ นไปได้ง่ายขึ้น เนื่องจากว่ามีโครงสร้าง
งบประมาณและบุคลากรที่มีความรู ้ความสามารถในการ               พื้นฐานที่ดีข้ ึน ทาให้รัฐบาลมันใจและกล้าที่จะลงทุน
                                                                                            ่
พัฒนา ICT ของประเทศจานวนมาก จึงทาให้มีการ                    เพื่อให้ประเทศเกิดการพัฒนา เช่นในประเทศ
                                 ่
พัฒนา e-Government อยูตลอดเวลา ซึ่งวัดได้จากที่              สหรัฐอเมริ กา มีการพัฒนา e-Government เนื่องจาก
สหรัฐอเมริ กาเป็ นประเทศที่มีการพัฒนา e-Govrnment ได้        ประชาชนในประเทศนั้นมีการใช้เทคโนโลยีภายใน
ดีที่สุดในการสารวจจากหลายๆประเทศ ในปี 2003 และ               ชีวตประจาวันตลอด และต่อเนื่องทาให้ง่ายต่อการพัฒนา
                                                                 ิ
ยังคงพัฒนามาเรื่ อยๆจนถึงปั จจุบนนี้ พร้อมทั้งนี้
                                     ั                       e-Government และนอกจากจะเริ่ มจากประชาชนแล้ว ยัง
สหรัฐอเมริ กามีประชากรค่อนข้างมาก ประชาชนส่วนมาก             ต้องอาศัยความร่ วมมือจากองค์กร หน่วยงาน ต่างๆในการ
ของสหรัฐอเมริ กามีความรู ้ทางด้านไอทีอยูแล้ว่                ดาเนินการ เพื่อเป็ นผูที่คอยให้บริ การประชาชน และยัง
                                                                                    ้
เนื่องมาจากมีการใช้งานทางด้านไอที ในชีวตประจาวันอยู่
                                               ิ             รวมถึงผูที่ตองการใช้บริ การของระบบ ล้วนแต่เป็ นผูมี
                                                                      ้ ้                                         ้
แล้ว ทาให้การนาเอารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์มาใช้                  ส่วนได้ส่วนเสี ย ดังนั้นจึงถือได้วาภาคเอกชนเป็ นผูที่มี
                                                                                               ่               ้
ภายในประเทศเป็ นไปอย่างสะดวก รวดเร็ ว และสามารถ              ส่วนได้ส่วนเสี ยหลักในการนาระบบมาใช้ และควรจะต้อง
เข้าถึงประชาชนในทุกระดับ                                     ให้ภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่ วมในการพัฒนาระบบอย่าง
             ดังนั้น สหรัฐอเมริ กามีความพร้อมในการใช้งาน     ใกล้ชิด เพื่อให้เกิดแรงขับเคลื่อนอย่างต่อเนื่องสามารถ
e-Government                   ่
                          อยูแล้วเนื่องมาจากพื้นฐานทางด้าน   พัฒนาประเทศไปได้อย่างสมบูรณ์ยงขึ้น   ิ่
การศึกษาที่มีการเตรี ยมพร้อมความรู ้ทางด้านไอทีสูง แต่
สาหรับประเทศไทย คงต้องมีการกระจายความรู ้ดานไอที      ้      เอกสารอ้างอิง
ให้พร้อม สาหรับประชาชนและข้าราชการทัวๆไป ดังนั้น ่           [1]      กระทรวงเทคโนโลยีและการสื่ อสาร สานักงาน
การที่จะสามารถใช้ e-Government โดยให้เกิดประโยชน์                     พัฒนาและส่งเสริ มรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์. e-
สูงสุดแก่ประชาชนแล้ว ควรที่จะต้องให้การศึกษาและ                       Government.             Available         from:
ความรู ้เกี่ยวกับ IT ให้ทวถึงกับประชาชนทุกคนเสี ยก่อน
                            ั่                                        http://www.mict-egov.net/content/
จึงจะให้ประชาชนทุกคนสามารถเข้าถึง e-Government ได้                    blogcategory/26/37/ (online)
อย่างสะดวก รวดเร็ ว และเกิดเป็ นการพัฒนาที่ยงยืน [4]
                                                   ั่        [2]      กระทรวงเทคโนโลยีและการสื่ อสารการพัฒนา
                                                                      e-Government. การพัฒนา e-Government
5.สรุ ป                                                               .Available                                from:
         สาหรับ e-Government ในประเทศไทยนั้น                          http://www.mict.go.th/download/eGovDev.pdf
                                                                      (online)
การที่จะให้ประชาชนเข้าถึง e-Government ได้จะต้องใช้
                                                             [2]      คณะวิทยาการจัดการ
เวลาอีกนานมาก กว่า e-Government พัฒนาได้และได้
                                                                      มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์.เปรี ยบรั ฐบาล
นามาใช้ได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ เพราะว่าการพัฒนา         e-             อิเล็กทรอนิกส์ ของประเทศไทยกับประเทศ
Government นั้นจะต้องอาศัยความร่ วมมือของทุกส่วนที่                   สิ งคโปร์            .Available           from:
มีความเกี่ยวเนื่องกันภายในประเทศ ในส่วนของประชาชน                     http://vclass.mgt.psu.ac.th/~465-302/2007-
เอง ก็จะต้ องมีการพัฒนาตัวเองให้มีความทันสมัยในเรื่ อง                1/Assignment-02/BPA_30_41/p3.htm (online)
ของเทคโนโลยีที่จาเป็ นในชีวตประจาวัน เช่น การใช้
                           ิ                                 [4]      คณะวิทยาการจัดการ
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ซึ่ง    จะทาให้การพัฒนา        e-                มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์.เปรี ยบรั ฐบาล
อิเล็กทรอนิกส์ ของประเทศไทยกับประเทศ                      http://unpan1.un.org/intradoc/groups/public/doc
       สหรั ฐอเมริ กา          .Available         from:          uments/un/unpan038851.pdf (online). 2010
       http://vclass.mgt.psu.ac.th/~465-302/2007-         [11]   United Nations E-Government Development
       1/Assignment-02/BPA_30_42/index5.html                     Database. E-Government Asia. Available from:
       (online)                                                  http://www2.unpan.org/egovkb/datacenter/Cou
[5]    ดร. ทวีศกดิ์ กออนันตกูล. บทความพิเศษ รั ฐบาล
                 ั                                               ntryView.aspx (online)
       อิเล็กทรอนิกส์ .         Available         from:   [12]   United Nations E-Government Development
       http://www.thaigov.net/page/page_specialscoop             Database. E-Government Thailand. Available
       /article/article_htk_egov.html (online).                  from:
[6]    ธนาวิชญ์ จินดาประดิ ษฐ์.พันธมิตรความร่ วมมือ              http://www2.unpan.org/egovkb/ProfileCountry.
       ภาครั ฐและภาคเอกชน (Public Private                        aspx?ID=169 (online)
       Partnership) เพื่อพัฒนาระบบการบริ หารจัดการ
       ของประเทศ: กรณี ศึกษาการพัฒนาระบบ (e-
       government) ของประเทศไทย.วารสารพานิชย
       ศาสตร์บูรพาปริ ทศน์ ปี ที่ 3 ฉบับที่ 1 ตุลาคม
                           ั
       2550 วิทยาลัยพานิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
[7]    ETDA [Electronic Transactions Development
       Agency (Public Organization).] สานักงาน
       พัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์            [องค์กร
       มหาชน]. E -Government Development Index.
       Available from:
       http://www.etda.or.th/main/contents/display/12
       3# (online)
[8]    Sudarat. รั ฐอิเล็กทรอนิกส์ (E-Government).
       Available                                 from:
       http://4842073019.multiply.com/journal/item/4
       (online)

[9]    THAI e-Government. ลักษณะการให้ บริ การของ
       e-Government.           Available        from:
       http://www.dld.go.th/ict/article/egov/e-
       gev03.html (online)
[10]   United Nations. E-Government Survey 2010
       leveraging e-government at a time of financial
       and economic crisis. Available from:
การเข้าถึง E government ของประชาชนไทย

More Related Content

What's hot

เอกสารการแถลงผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ปี 2561
เอกสารการแถลงผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ปี 2561เอกสารการแถลงผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ปี 2561
เอกสารการแถลงผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ปี 2561ETDAofficialRegist
 
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2562
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2562รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2562
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2562ETDAofficialRegist
 
30.03.2020 เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี ...
 30.03.2020  เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี ... 30.03.2020  เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี ...
30.03.2020 เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี ...ETDAofficialRegist
 
เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2562
เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2562เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2562
เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2562ETDAofficialRegist
 
หนังสือ BlockChain for Government Services
หนังสือ BlockChain for Government Servicesหนังสือ BlockChain for Government Services
หนังสือ BlockChain for Government ServicesPeerasak C.
 
Thailand Internet User Profile 2018
Thailand Internet User Profile 2018Thailand Internet User Profile 2018
Thailand Internet User Profile 2018ETDAofficialRegist
 
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ และผลกระทบกับองค์กร
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ และผลกระทบกับองค์กรการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ และผลกระทบกับองค์กร
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ และผลกระทบกับองค์กรSoftware Park Thailand
 
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์anusorn kraiwatnussorn
 
Value of e-Commerce Survey in Thailand 2019
Value of e-Commerce Survey in Thailand 2019Value of e-Commerce Survey in Thailand 2019
Value of e-Commerce Survey in Thailand 2019ETDAofficialRegist
 
20181226 etda annual_roport_2018_max
20181226 etda annual_roport_2018_max20181226 etda annual_roport_2018_max
20181226 etda annual_roport_2018_maxThosaporn Kompat
 
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)WiseKnow Thailand
 
The Power of Big Data for a new economy (Sample)
The Power of Big Data for a new economy (Sample)The Power of Big Data for a new economy (Sample)
The Power of Big Data for a new economy (Sample)IMC Institute
 
Value of e-Commerce Survey in Thailand 2018
Value of e-Commerce Survey in Thailand 2018Value of e-Commerce Survey in Thailand 2018
Value of e-Commerce Survey in Thailand 2018ETDAofficialRegist
 
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยSoftware Park Thailand
 

What's hot (20)

เอกสารการแถลงผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ปี 2561
เอกสารการแถลงผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ปี 2561เอกสารการแถลงผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ปี 2561
เอกสารการแถลงผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ปี 2561
 
ETDA annual report 2012
ETDA annual report 2012ETDA annual report 2012
ETDA annual report 2012
 
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2562
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2562รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2562
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2562
 
30.03.2020 เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี ...
 30.03.2020  เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี ... 30.03.2020  เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี ...
30.03.2020 เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี ...
 
เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2562
เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2562เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2562
เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2562
 
e-Commerce
e-Commercee-Commerce
e-Commerce
 
หนังสือ BlockChain for Government Services
หนังสือ BlockChain for Government Servicesหนังสือ BlockChain for Government Services
หนังสือ BlockChain for Government Services
 
200809026 Thai E Commerce Government
200809026 Thai E Commerce Government200809026 Thai E Commerce Government
200809026 Thai E Commerce Government
 
Etda Annual Report 2019
Etda Annual Report 2019Etda Annual Report 2019
Etda Annual Report 2019
 
Thailand Internet User Profile 2018
Thailand Internet User Profile 2018Thailand Internet User Profile 2018
Thailand Internet User Profile 2018
 
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ และผลกระทบกับองค์กร
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ และผลกระทบกับองค์กรการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ และผลกระทบกับองค์กร
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ และผลกระทบกับองค์กร
 
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
 
e-Goverment
e-Govermente-Goverment
e-Goverment
 
Value of e-Commerce Survey in Thailand 2019
Value of e-Commerce Survey in Thailand 2019Value of e-Commerce Survey in Thailand 2019
Value of e-Commerce Survey in Thailand 2019
 
20181226 etda annual_roport_2018_max
20181226 etda annual_roport_2018_max20181226 etda annual_roport_2018_max
20181226 etda annual_roport_2018_max
 
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
Thailand Internet User Profile 2015 (Report)
 
The Power of Big Data for a new economy (Sample)
The Power of Big Data for a new economy (Sample)The Power of Big Data for a new economy (Sample)
The Power of Big Data for a new economy (Sample)
 
ETDA annual report 2014
ETDA annual report 2014ETDA annual report 2014
ETDA annual report 2014
 
Value of e-Commerce Survey in Thailand 2018
Value of e-Commerce Survey in Thailand 2018Value of e-Commerce Survey in Thailand 2018
Value of e-Commerce Survey in Thailand 2018
 
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
 

Similar to การเข้าถึง E government ของประชาชนไทย

Digital Thailand magazine vol.3 : Digital Government
Digital Thailand magazine vol.3 : Digital GovernmentDigital Thailand magazine vol.3 : Digital Government
Digital Thailand magazine vol.3 : Digital GovernmentThanakitt Kayangarnnavy
 
บทที่1 ความหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่1 ความหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์บทที่1 ความหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่1 ความหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์School
 
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย Thanachart Numnonda
 
แนวคิดธุรกิจสร้างสรรค์ผ่าน Ecommerce
แนวคิดธุรกิจสร้างสรรค์ผ่าน Ecommerceแนวคิดธุรกิจสร้างสรรค์ผ่าน Ecommerce
แนวคิดธุรกิจสร้างสรรค์ผ่าน EcommercePeople Media Group Co.ltd
 
รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564
รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564
รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564WiseKnow Thailand
 
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์Wanphen Wirojcharoenwong
 
Technique to Delivery Information via the Internet
Technique to Delivery Information via the InternetTechnique to Delivery Information via the Internet
Technique to Delivery Information via the InternetRachabodin Suwannakanthi
 
Introduction to Apply Social Networking for Goverment Agencies in Thailand
Introduction to Apply Social Networking for Goverment Agencies in ThailandIntroduction to Apply Social Networking for Goverment Agencies in Thailand
Introduction to Apply Social Networking for Goverment Agencies in Thailandsiriporn pongvinyoo
 
กลยุทธ์การใช้ Social Media ของภาครัฐ กับการมีส่วนร่วมของประชาชน
กลยุทธ์การใช้ Social Media ของภาครัฐกับการมีส่วนร่วมของประชาชนกลยุทธ์การใช้ Social Media ของภาครัฐกับการมีส่วนร่วมของประชาชน
กลยุทธ์การใช้ Social Media ของภาครัฐ กับการมีส่วนร่วมของประชาชน ar-nit
 
Chapter 5 ec_law
Chapter 5 ec_lawChapter 5 ec_law
Chapter 5 ec_lawAj'wow Bc
 
Chapter 5 ec_law
Chapter 5 ec_lawChapter 5 ec_law
Chapter 5 ec_lawAj'wow Bc
 
Introduction to On-line Documemt Lect03 E Commerce
Introduction to On-line Documemt  Lect03 E CommerceIntroduction to On-line Documemt  Lect03 E Commerce
Introduction to On-line Documemt Lect03 E CommerceJenchoke Tachagomain
 
สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy
สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy
สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy IMC Institute
 
Digital Thailand magazine vol.2 : Infrastructure
Digital Thailand magazine vol.2 : Infrastructure Digital Thailand magazine vol.2 : Infrastructure
Digital Thailand magazine vol.2 : Infrastructure Thanakitt Kayangarnnavy
 
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)Kosamphee Wittaya School
 

Similar to การเข้าถึง E government ของประชาชนไทย (20)

Digital Thailand magazine vol.3 : Digital Government
Digital Thailand magazine vol.3 : Digital GovernmentDigital Thailand magazine vol.3 : Digital Government
Digital Thailand magazine vol.3 : Digital Government
 
5 ภาครัฐดิจิทัล เพื่ออนาคตประเทศไทย
5 ภาครัฐดิจิทัล เพื่ออนาคตประเทศไทย5 ภาครัฐดิจิทัล เพื่ออนาคตประเทศไทย
5 ภาครัฐดิจิทัล เพื่ออนาคตประเทศไทย
 
บทที่1 ความหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่1 ความหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์บทที่1 ความหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่1 ความหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
 
Chapter3 E Commerce
Chapter3 E CommerceChapter3 E Commerce
Chapter3 E Commerce
 
E commerce
E  commerceE  commerce
E commerce
 
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
 
Ec 15
Ec 15Ec 15
Ec 15
 
แนวคิดธุรกิจสร้างสรรค์ผ่าน Ecommerce
แนวคิดธุรกิจสร้างสรรค์ผ่าน Ecommerceแนวคิดธุรกิจสร้างสรรค์ผ่าน Ecommerce
แนวคิดธุรกิจสร้างสรรค์ผ่าน Ecommerce
 
รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564
รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564
รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564
 
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
 
Lanlana chunstikul
Lanlana chunstikulLanlana chunstikul
Lanlana chunstikul
 
Technique to Delivery Information via the Internet
Technique to Delivery Information via the InternetTechnique to Delivery Information via the Internet
Technique to Delivery Information via the Internet
 
Introduction to Apply Social Networking for Goverment Agencies in Thailand
Introduction to Apply Social Networking for Goverment Agencies in ThailandIntroduction to Apply Social Networking for Goverment Agencies in Thailand
Introduction to Apply Social Networking for Goverment Agencies in Thailand
 
กลยุทธ์การใช้ Social Media ของภาครัฐ กับการมีส่วนร่วมของประชาชน
กลยุทธ์การใช้ Social Media ของภาครัฐกับการมีส่วนร่วมของประชาชนกลยุทธ์การใช้ Social Media ของภาครัฐกับการมีส่วนร่วมของประชาชน
กลยุทธ์การใช้ Social Media ของภาครัฐ กับการมีส่วนร่วมของประชาชน
 
Chapter 5 ec_law
Chapter 5 ec_lawChapter 5 ec_law
Chapter 5 ec_law
 
Chapter 5 ec_law
Chapter 5 ec_lawChapter 5 ec_law
Chapter 5 ec_law
 
Introduction to On-line Documemt Lect03 E Commerce
Introduction to On-line Documemt  Lect03 E CommerceIntroduction to On-line Documemt  Lect03 E Commerce
Introduction to On-line Documemt Lect03 E Commerce
 
สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy
สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy
สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy
 
Digital Thailand magazine vol.2 : Infrastructure
Digital Thailand magazine vol.2 : Infrastructure Digital Thailand magazine vol.2 : Infrastructure
Digital Thailand magazine vol.2 : Infrastructure
 
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
 

More from Attaporn Ninsuwan

More from Attaporn Ninsuwan (20)

J query fundamentals
J query fundamentalsJ query fundamentals
J query fundamentals
 
Jquery enlightenment
Jquery enlightenmentJquery enlightenment
Jquery enlightenment
 
Jquery-Begining
Jquery-BeginingJquery-Begining
Jquery-Begining
 
Br ainfocom94
Br ainfocom94Br ainfocom94
Br ainfocom94
 
Chapter 12 - Computer Forensics
Chapter 12 - Computer ForensicsChapter 12 - Computer Forensics
Chapter 12 - Computer Forensics
 
Techniques for data hiding p
Techniques for data hiding pTechniques for data hiding p
Techniques for data hiding p
 
Stop badware infected_sites_report_062408
Stop badware infected_sites_report_062408Stop badware infected_sites_report_062408
Stop badware infected_sites_report_062408
 
Steganography past-present-future 552
Steganography past-present-future 552Steganography past-present-future 552
Steganography past-present-future 552
 
Ch03-Computer Security
Ch03-Computer SecurityCh03-Computer Security
Ch03-Computer Security
 
Ch02-Computer Security
Ch02-Computer SecurityCh02-Computer Security
Ch02-Computer Security
 
Ch01-Computer Security
Ch01-Computer SecurityCh01-Computer Security
Ch01-Computer Security
 
Ch8-Computer Security
Ch8-Computer SecurityCh8-Computer Security
Ch8-Computer Security
 
Ch7-Computer Security
Ch7-Computer SecurityCh7-Computer Security
Ch7-Computer Security
 
Ch6-Computer Security
Ch6-Computer SecurityCh6-Computer Security
Ch6-Computer Security
 
Ch06b-Computer Security
Ch06b-Computer SecurityCh06b-Computer Security
Ch06b-Computer Security
 
Ch5-Computer Security
Ch5-Computer SecurityCh5-Computer Security
Ch5-Computer Security
 
Ch04-Computer Security
Ch04-Computer SecurityCh04-Computer Security
Ch04-Computer Security
 
Chapter5 - The Discrete-Time Fourier Transform
Chapter5 - The Discrete-Time Fourier TransformChapter5 - The Discrete-Time Fourier Transform
Chapter5 - The Discrete-Time Fourier Transform
 
Chapter4 - The Continuous-Time Fourier Transform
Chapter4 - The Continuous-Time Fourier TransformChapter4 - The Continuous-Time Fourier Transform
Chapter4 - The Continuous-Time Fourier Transform
 
Chapter3 - Fourier Series Representation of Periodic Signals
Chapter3 - Fourier Series Representation of Periodic SignalsChapter3 - Fourier Series Representation of Periodic Signals
Chapter3 - Fourier Series Representation of Periodic Signals
 

การเข้าถึง E government ของประชาชนไทย

  • 1. การเข้ าถึง e-Government ของประชาชนไทย Access to e-Government Thai people บทคัดย่อ บทความทางวิชาการฉบับนี้ มีวตถุประสงค์เพื่อศึกษา การเข้าถึง e-Government ของประชาชนไทย ซึ่งเป็ นวิธีการบริ หาร ั จัดการภาครัฐสมัยใหม่ที่รัฐบาลมีนโยบายในการนา เทคโนโลยีสารสนเทศแ ละ การสื่ อสารมาช่วย ในการพัฒนา ปรับปรุ ง การ ทางานของหน่วยงานภาครัฐ เพื่อให้การบริ หารงานของภาครัฐมีประสิ ทธิภาพมากยิงขึ้น โดยเฉพาะงานด้านการบริ การภาครัฐ ่ ให้แก่ประชาชน โดยเน้นให้ประชาชน ภาคธุรกิจและภาครัฐด้วยกัน สามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารและบริ การของภาครัฐได้ สะดวก ขึ้น ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลและบริ การภาครัฐได้อย่างทัวถึงและเท่าเทียมกัน ผ่านทางอินเตอร์เน็ต ในรู ปแบบศูนย์รวม ่ หน่วยงานภาครัฐแบบหนึ่งเดียว ประชาชนสามารถใช้บริ การ ได้ทุกที่และตลอดเวลา ให้ความสะดวกและมีความพร้อม ในการ ให้บริ การสาธารณะออนไลน์แบบครบวงจรกั บประชาชน บริ การสาธารณะต่างๆ ยึดประชาชนเป็ นศูนย์กลาง (Citizen Centric) มี ระบบรักษาความปลอดภัยที่เชื่อถือได้และแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่าง ภาครัฐและภาคเอกชนแบบอิเล็กทรอนิกส์อย่างรวดเร็ ว ่ ถูกต้องและมีประสิ ทธิภาพ จึงถือได้วา e-Government เป็ นอีกก้าวหนึ่งของการพัฒ นาด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร ในประเทศไทย โดยอาศัยเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตเป็ นเครื่ องมือสนับสนุน นอกจากนั้นยังสร้างความตื่นตัวให้งานหน่วยงาน ราชการต่างๆ หันมาให้ความ สาคัญแก่การพัฒนาเครื อข่ายข้อมูลจากเครื อข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่ อสารมากขึ้นทั้งนี้ เพื่อเป็ นรากฐานในการให้บริ การแก่ “ประชาชน” เพื่อพัฒนา ประเทศชาติ ต่อไป คาสาคัญ: e-Government/Citizen Centric/ภาครัฐ
  • 2. 1. บทนา 2. รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (e-Government) ่ ในช่วงปี ที่ผานมา รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (e- 2.1 e-Government คืออะไร government) กาลังเป็ นที่รู้จก และเริ่ มเข้ามามีบทบาทใน ั รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ หรื อที่เรี ยกว่า e- การบริ หารงานของรัฐบาล เ พราะกระแสของ e- Government คือ วิธีการบริ หารจัดการภาครัฐสมัยใหม่ โดย ่ government ถือได้วากาลังมาแรงเลยทีเดียว เนื่องจากการ การใช้เท คโนโลยีคอมพิวเตอร์และเครื อข่ายสื่ อสารเพื่อ ก้าวไปสู่ e-government จะทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงใน เพิ่มประสิ ทธิภาพการดาเนินงานภาครัฐ ปรับปรุ งการ กระบวนการทางาน และการให้บริ การของภาครัฐต่อ บริ การแก่ประชาชน การบริ การด้านข้อมูลและสารสนเทศ ประชาชนเพื่อให้มีการบริ การที่ทวถึงต่อประชาชนในทุก ั่ เพื่อส่งเสริ มการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ประชาชนมี พื้นที่ และมีประสิ ทธิภาพดีข้ ึนกว่าเดิม จะเห็น ได้วา่ ความใกล้ชิดกับภาครัฐมากขึ้น สื่ ออิเล็กทรอนิกส์จะเป็ น ประเทศต่างๆทัวโลกต่างก็ให้ความสาคัญกับการก้าวไปสู่ ่ เครื่ องมือที่สาคัญในกา รเข้าถึงบริ การของรัฐ ประการ การเป็ น e-government และมีการประกาศนโยบายในเรื่ อง สาคัญจะต้องมีความร่ วมมืออย่างใกล้ชิดและเต็มใจจากทั้ง นี้อย่างเป็ นทางการ 3 ฝ่ าย ได้แก่ ภาครัฐ ภาคธุรกิจและประชาชน ตัวอย่างเช่น สหราชอาณาจักร ประกาศว่าภายใน ผลพลอยได้ที่สาคัญที่จะได้รับคือ ธรรมาภิบาลและ ปี ค.ศ. 2005ประชากรทุกคนสามารถเข้าถึงอินเทอร์เน็ตได้ ความโปร่ งใสที่มีมากขึ้นในกระบวนการทางานของระบบ ่ ไม่วาจะเข้าจากที่บาน หรื อจุดให้บริ ก ารในชุมชน ก็ตาม ้ ราชการ อันเนื่องมาจากการเปิ ดเผยข้อ มูล และประชาชน รวมทั้งการบริ การของภาครัฐทุกอย่างจะทาผ่านสื่ อ สามารถเข้ามาตรวจสอบได้ตลอกเวลาจึงคาดว่าจะนาไปสู่ อิเล็กทรอนิกส์ ในขณะที่สิงคโปร์เองก็ประกาศว่าภายในปี การลดคอร์รัปชันได้ในที่สุด [2] ค.ศ. 2001 counter services ของรัฐ 100% จะเป็ นการ 2.2 ทาไมต้ องมี e-Government ให้บริ การทางอิเล็กทรอนิกส์ ออสเตรเลียระบุวารัฐจะ่ ในโลกยุคไร้พรมแดนนนั้น e-Commerce ถือว่า ให้บริ การที่เหมาะสมผ่านสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ อัน หมายถึง เป็ นยุทธวิธีสาคัญในการแข่งขันเกี่ยวกับการค้า การผลิต ผ่านทางอินเทอร์เน็ตภายในปี ค .ศ. 2001 ส่วนแคนาดามี และการบริ การ จึงทาให้เกิดคาว่า B2C (Business to เป้ าหมายว่าบริ การของรัฐทุกอย่างจะเป็ นแบบ online Consumer) ในขณะเดียวกันประเทศต่างๆ เริ่ มมองเห็นว่า ภายในปี ค .ศ. 2004 โดยมีบริ การหลักบางอย่างสามารถ ้ แม้จะพัฒนา e-Commerce ให้กาวหน้ามากยิงขึ้ นเพียงใดก็ ่ ให้บริ การได้ก่อนในปี ค .ศ. 2000 สาหรับเนเธอร์แลนด์มี ตาม ถ้าขาดเสี ยซึ่ง (Government) ก็จะขาดความคล่องตัว เป้ าหมายว่า 20% ของบริ การของรัฐสามารถให้ online ได้ ไปด้วย ตัวอย่างเช่น เราสามารถใช้ e-Commerce สังซื้อ ่ ในปี ค.ศ. 2002 สหรัฐอเมริ กาซึ่งถือเป็ นผูนาด้าน ้ สิ นค้าผ่านจออินเทอร์เน็ตได้อย่างรวดเร็ ว และได้สินค้าที่ดี ่ เทคโนโลยีเองก็กาหนดเป้ าหมายไว้วาจะให้บริ การต่างๆ ในราคาที่ถูกมากภายใน 1 วัน แต่ถาต้องไปติดที่พิธีการ ้ และบริ การด้านข้อมูลของภาครัฐผ่านทางอิเล็กทรอนิกส์ ทางภาษี เรื่ องของ e-Commerce ก็ไร้ความหมาย ฉะนั้นจะ ภายในปี ค .ศ. 2003 แต่ประเทศซึ่งอาจเป็ นแชมป์ e- ่ เห็นได้วางานของ Government จึงมีบทบาทสาคัญใน ่ government เร็ วที่สุด เนื่องจากกาหนดไว้วาในช่วงสิ้นปี นโยบายของนานาประเทศรวมทั้งประเทศไทย และทาใ ห้ ค.ศ. 2000 นี้ ประชาชนจะสามารถเข้าถึงบริ การและ เกิดคาใหม่ คือ G2B G2C และ G2G ซึ่งก็คือการนา e- เอกสารของรัฐได้ทางอิเล็กทรอนิกส์ คือ ประเทศฝรั่งเศส ั Commerce มาใช้กบกา รพัฒนาประเทศและบริ การของ [10] ภาครัฐได้ ในแนวทางที่เรี ยกว่า e-Government (electronic- Government) หรื อ รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ นันเอง [5] ่
  • 3. 2.3 ประเภทของบริการ e-government การใช้การเชื่อมต่อโครงข่ายสารสนเทศเพื่อเอื้อให้เกิดการ บริ การทางอิเล็กทรอนิกส์ เป็ นสิ่ งสาคัญในการ ทางานร่ วมกัน (Collaboration) และการแลกเปลี่ยนข้อมูล สร้างรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งรั ฐบาลจะต้องกาหนด ระหว่างกัน (Government Data Exchange) ทั้งนี้รวมไปถึง เป้ าหมายให้ชดเจน เพื่อให้ผรับบริ การสามารถคาดหวังสิ่ ง ั ู้ การเชื่อมโยงกับรัฐบาลของต่างชาติ และองค์กรปกครอง ที่ควรจะได้รับจากรัฐบาล บริ การทางอิเล็กทรอนิกส์ข้ น ั ท้องถิ่นอีกด้วย ระบบงาน ต่า ง ๆ ที่ใช้ในเรื่ องนี้ ได้ เช่น พื้นฐาน ได้แก่ ระบบงาน Back Office ต่าง ๆ ได้แก่ ระบบงานสารบรรณ 1. เผยแพร่ ขอมูล ้ อิเล็กทรอนิกส์ ระบบบัญชีและการเงิน ระบบจัดซื้อจัดจ้าง 2. บริ การพื้นฐาน อาทิ ทาบัตรประชาชน จดทะเบียน ด้วยอิเล็กทรอนิกส์ เป็ นต้น ขอใบอนุญาต เสี ยภาษี ฯลฯ ภาครัฐสู่ปร ะชาชน G2C (Government to 3. ติดต่อสื่ อสารกั บผูรับบริ การทางอีเมล์ เครื่ องมือ ้ Citizen) เป็ นการให้บริ การของรัฐสู่ประชาชนโดยตรง สื่ อสารไร้สาย ฯลฯ โดยที่บริ การดังกล่าวประชาชนจะสามารถดาเนินธุรกรรม 4. รับเรื่ องราวร้องทุกข์ โดยผ่านเครื อข่ายสารสนเทศของรัฐ เช่น การชาระภาษี 5. ประมวลผลข้อมูลระหว่างหน่วยงาน การจดทะเบียน การจ่ายค่าปรับ การรับฟังความคิดเห็น 6. บริ การรับชาระเงิน ของประชาชน การมีปฏิสมพันธ์ระหว่างตัวแทน ั 7. สารวจความคิดเห็น [8] ประชาชนกับผูลงคะแนนเสี ยงและการค้นหาข้อมูลของรัฐ ้ ที่ดาเนินการให้บริ การข้อมูลผ่านเว็บไซ ต์ เป็ นต้น โดยที่ 2.4 e-Commerce คืออะไร การดาเนินการต่าง ๆ นั้นจะต้องเป็ นการทางานแบบ e-Commerce เป็ นบริ การทางสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ Online และ Real Time มีการรับรองและการโต้ตอบที่มี แบบ B2C และ B2B เป็ นหลัก e-Government จะเป็ นแบบ ปฏิสมพันธ์ ั G2G G2B และ G2C ระบบต้องมีความมันคงปลอดภัยเพื่อ ่ ภาครัฐสู่ภาคธุรกิจ G2B(Government to แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างหน่วยงานของรัฐ ประช าชนอุ่น Business) เป็ นการให้บริ การ ภาคธุรกิจเอกชน โดยที่รัฐจะ ใจในการรับบริ การและชาระเงินค่าบริ การ ธุรกิจก็สามารถ อานวยความสะดวกต่อภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมให้ ดาเนินการค้าขายกับหน่วยงานของรัฐด้วยความราบรื่ น สามารถแข่งขันกันโดยความเร็ วสูง มีประสิ ทธิภาพ และมี อินเทอร์เน็ตเป็ นสื่ อทางอิเล็ กทรอนิกส์ที่สาคัญในการ ข้อมูลที่ถูกต้องอย่างเป็ นธรรมและโปร่ งใส เช่น การจด ให้บริ การตามแนวทางรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ ทะเบียนทางการค้า การลงทุน และการส่งเสริ มการลงทุน ภาครัฐสู่ภาครัฐด้วยกัน G2G (Government to การจัดซื้อจัดจ้างทางอิเล็กทรอนิกส์ การส่งออกและนาเข้า Government) เป็ นรู ปแบบการทางานที่เปลี่ยนแปลงไป การชาระภาษี และการช่วยเหลือผูประกอบการขนาดกลาง ้ มากของหน่วยราชการ ที่การติ ดต่อสื่ อสารระหว่างกันโดย และเล็ก กระดาษและลายเซ็นต์ในระบบเดิมในระบบราชการเดิม ภาครัฐสู่ภาคข้าราชการและพนักงานของรัฐ จะมีการเปลี่ ยนแปลงไปด้วยการใช้ระบบเครื อข่าย G2E (Government to Employee) เป็ นการให้บริ การที่ สารสนเทศ และ ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์เป็ นเครื่ องมือใน จาเป็ นของพนักงานของรัฐ (Employee) กับรัฐบาล โดยที่ การแลกเปลี่ยนข้อมูลอย่างเป็ นทางการเพื่อเพิ่มความเร็ วใน จะสร้างระบบเพื่อช่วยให้เกิดเครื่ องมือที่จาเป็ นในการ การดาเนินการ (Economy of Speed) ลดระยะเวลาในการ ปฏิบติงาน และการดารงชีวต เช่น ระบบสวัสดิการ ระบบ ั ิ ส่งเอกสารและข้อมูลระหว่างกัน นอกจากนั้นยังเป็ น ที่ปรึ กษาทางกฎหมาย และข้อบังคับในการปฏิบติราชการั การบูรณาการการให้บริ การ ระหว่างหน่ วยงานภาครัฐโดย ระบบการพัฒนาบุคลากรภาครัฐ เป็ นต้น [1] ,[8]
  • 4. ทาให้โปร่ งใสและเป็ นธรรมจะช่วยให้รัฐประหยัด 2.5 ลักษณะการให้ บริการของ e-Government งบประมาณได้ไม่นอยกว่าร้อยละยีสิบ [9] ้ ่ หลักสาคัญของการสร้าง e-Government คือการ นาบริ การของภาครัฐสู่ประชาชน โดยใช้อิเล็กทรอนิกส์ 3. e-Government กับประชาชน เป็ นสื่ อในการให้บริ การ โดยหลักการของ “ ทีเ่ ดียว 3.1 ประชาชนจะได้ อะไร ทันใด ทัวไทย ทุกเวลา ทัวถึงและเท่ าเทียม โปร่ งใส ่ ่ สร้างโอกาสให้ประชาชนทุกคนได้เลือกใช้ และเป็ นธรรมภิบาล ” บริ การที่หลากหลายผ่านอินเทอร์เน็ต ได้รับบริ การจากรัฐ ทีเ่ ดียว การพัฒนา e-Government ทาให้สามารถ ที่ดีข้ ึน แม่นยาขึ้น สะดวกขึ้น เสี ยเวลากับรัฐน้อยลง เพราะ สร้างเว็บท่า (Web Portal) ที่สามารถบูรณาการบริ การต่าง มีช่องทางบริ การใหม่ๆ เกิดขึ้น เช่น ศูนย์บริ การทาง ๆ ที่เคยอยูกระจัดกระจาย มารวมอยูที่เดียวกัน เพื่อให้ง่าย ่ ่ โทรศัพท์ (Call Center), บริ การทางเว็บไซต์ , การใช้ ต่อประชาช นในการติดต่อที่จอเดียว หรื อ หน้าต่างเดียว อินเทอร์เน็ตผ่านมือถือ (WAP) เป็ นต้น รัฐให้ขอมูลกับ ้ เพื่อบริ การเบ็ดเสร็ จ ่ ประชาชนได้มากขึ้น ลดความยุงยากของกฎเกณฑ์ เกิด ทันใด รายการทางอิเล็กทรอนิกส์ สามารถทาได้และ ความโปร่ งใสในการทางาน ค่าใช้จ่ายในการปร ะกอบการ มีการตอบรับแบบทันทีไม่ตองเสี ยเวลารอคอยการตอบ ้ ที่ลดลง ค้าขายกับรัฐคล่องขึ้น เสี่ ยงน้อยลง (สต๊อกของ กลับทางเอกสาร ทาให้งานต่าง ๆ ที่ตองรอคาตอบนาน ๆ ้ น้อยลง) สามารถได้รับคาตอบในทันทีทนใด ั ปั จจุบนหลายหน่วยงานได้เริ่ มให้บริ การออนไลน์ ั ทัวไทย การใช้เครื อข่ายอิ นเทอร์เน็ต ทาให้การ ่ บ้างแล้ว อาทิ กรมสรรพากร ที่เปิ ดระบบ E-Revenue ให้ผู ้ ่ ่ เชื่อมโยงประชาชนชาวไทย ไม่วาอยูไหนในโลกใช้บริ การ ่ เสี ยภาษีสามารถเสี ยภาษีผานทางอินเตอร์เน็ตได้ หรื อกรม e-Government ที่รัฐบาลได้จดทา ั ทะเบียนการค้า ที่รับจดทะเบียนผ่า นระบบ On-line ทุกเวลา เนื่องจากคอมพิวเตอร์แม่ข่าย และ ระบบ Registration และทางมหาลัยที่เปิ ดให้นกศึกษาลงทะเบียน ั อินเทอร์เน็ต สามารถเปิ ดไว้ตลอด 24 ชัวโมง ทุกวัน (24 x ่ เรี ยนผ่านทางอินเตอร์เน็ตเป็ นต้น 7) แบบเดียวกับตู ้ ATM ทาให้การบริ การต่าง ๆ ที่เคยต้อง ลักษณะของระบบข้อมูลที่สามารถเชื่อมโยงกันได้ ทาในเวลาราชการสามารถทา ได้ตามที่ประชาชนสะดวก จะช่วยให้หน่วยงานที่ตองการทราบหรื อใช้ขอมูลของ ้ ้ และพร้อม ประชาชน สามารถเชื่อมโยงเข้าไปที่ระบบฐานข้อมูลกลาง ทัวถึง และ เท่ าเทียม การให้บริ การ e-Government ่ ของสานักทะเบียนรา ษฎร์ กรมการปกครองที่มีขอมูล ้ ทาให้ประชาชน และผูดอยโอกาสจะได้มีโอกาสในการรับ ้้ ่ เหล่านั้นอยูได้ ทางฝ่ ายประชาชนเองจะสามารถรับบริ การ บริ การ โดยไม่ตองเดินทาง และประชาชนที่ดอยโอกาส ้ ้ ได้อย่างเบ็ดเสร็ จ ณ จุดเดียว ทาให้ไม่ตองเสี ยเวลาเดินทาง ้ สามารถรับบริ การที่สะดวกสบายเช่นเดียวกับประชาชนใน ตัวอย่างเช่น การแจ้งเปลี่ยนชื่อ ที่อยู่ สามารถทาเพียงครั้ง เมืองได้อย่างเท่าเทียมกันอีกด้วย เดียว ที่ระบบของสานักทะเบียนราษฎร์กรมการปกครอง โปร่ งใสและเป็ นธรรมภิบาล การบริ การ e- หลังจากนั้นระบบจะส่งข้อมูลไปยังหน่วยงานต่าง ๆ ที่เรา Government ทาให้บริ การของรัฐในหลาย ๆ เรื่ องที่เคยทึบ ต้องแจ้งได้เองโดยอัตโนมัติ อาทิ กรมการขนส่งทางบก แสง หรื อ ไม่โปร่ งใส เช่น การจัดซื้อจัดจ้าง เป็ นต้น เพื่อเปลี่ยนข้อมูลในใบขับขี่ ที่การไฟฟ้ า ฯ การประปาฯ สามารถดาเนินการแบบเปิ ดเผยผ่านระบบออนไลน์ที่มี ่ เพื่อเปลี่ยนชื่อที่อยูในใบแจ้งค่าไฟ ค่าน้ า หรื อที่สานักงาน ผูเ้ ข้าร่ วม และรู ้เห็นจานวนมากได้ มีการคาดการณ์วาการ ่ ประกันสังคม เพื่อเปลี่ยนแปลงข้อมูลในบัตรประกันสังคม เป็ นต้น และหากระบบมีการเชื่อมโยงกับระบบการชาระ
  • 5. เงิน หรื อที่เรี ยกว่า payment gateway ประชาชนก็ จะ เกษตรและสหกรณ์จะนาไอทีมาใช้เพื่อการให้บริ การด้าน สามารถชาระค่าบริ การต่าง ๆ อาทิ ค่าภาษีอากร ค่า ข้อมูล อาทิเรื่ อง Zoning เพื่อให้เกษตรกรได้รับข่าวสาร สาธารณูปโภค ฯลฯ ผ่านอินเตอร์เน็ตได้ โดยไม่ตอง ้ เกี่ยวกับดินที่เหมาะสมต่อการปลูกพืช นาระบบ GIS มาใช้ เดินทางไปที่สานักงาน ธนาคาร หรื อที่จุดบริ การชาระเงิน เพื่อการวางแผนด้านเกษตรกรรม แต่ก็ยงมีประเด็นปั ญหา ั เช่น Counter Service ใด ๆ จึงประหยัดทั้งค่าใช้จ่าย และ อีกหลายประการซึ่งยังต้องการการแก้ไขต่อไป นอกจากนี้ เวลาที่ตองใช้ในการเดินทา ง หากมีการนาระบบ e- ้ ภาคธุรกิจก็นบเป็ นลูกค้าสาคัญของรัฐ ซึ่งส่วนหนึ่งใช้ ั Government มาใช้อย่างเต็มรู ปแบบ ประชาชนจะได้รับ บริ การแง่ของการบริ การด้านข้อมูล อีกส่วนคือการเป็ นผู ้ ความสะดวก รวดเร็ วในการติดต่อกับภาครัฐมากขึ้น โดย ร่ วมลงทุน หรื อให้บริ การแทนรัฐ ในต่างประเทศกา รเป็ น สามารถขอรับบริ การได้ตล อด 7 วัน 24 ชัวโมง ไม่มี่ partnership กับภาคเอกชนเป็ นเรื่ องที่พบเห็นโดยทัวไป มี ่ วันหยุด บริ ษทที่ให้บริ การแก่รัฐเพื่อสนับสนุนงาน ที่เป็ น ั ในปั จจุบนสถานบริ การอินเตอร์เน็ ตโดยทัวไปได้เปิ ด ั ่ โครงสร้างพื้นฐานของภาครัฐหรื อบางค รั้งบริ ษทเหล่านี้ ั ให้บริ การเป็ นจานวนมากทั้งในเมืองและในชนบททัวทุก ่ อาจให้บริ การบางอย่างแก่ประชาชนเสี ยเองก็มี การที่รัฐ จังหวัดของประเทศในลักษณะของอินเตอร์เน็ตคาเฟ่ โดย ต้องเป็ นพันธมิตรกับภาคเอกชน เนื่องจากภาครัฐมี คิดค่าบริ การเป็ นชัวโมงใช้งานสร้างโอกาสให้ประชาชน ่ ข้อจากัดทั้งในแง่ของกาลังคน และแง่ของการนาเสนอ เข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้อย่างสะดวก โดยประชาชนไม่ เทคโนโลยีใหม่ๆ ซึ่งคงต้องยอมรับว่าภาคเอกชนมี จาเป็ นต้องเสี ยค่าใช้จ่ายในการซื้อเครื่ องคอมพิว เตอร์มา ความก้าวหน้ากว่าภาครัฐมาก ดังนั้น เบื้องหลังของการ เป็ นของส่วนตัว หรื อเสี ยค่าบริ การอินเตอร์เน็ตเป็ นราย ให้ บริ การบนสื่ ออิเล็กทรอนิกส์คือการบริ การจาก เดือนแต่อย่างใด [5],[8] ภาคเอกชนที่เป็ นพันธมิตรเกือบทั้งสิ้น โดยทั้งสองฝ่ ายต่าง 3.2 ประเด็นของ e-government ต้องเอื้อประโยชน์ และทดแทนในส่วนที่อีกฝ่ ายหนึ่งไม่มี ประชาชน คือ ลูกค้าสาคัญ ดังนั้น การผลักดันและดาเนินการเพื่อให้เกิด e- e-government คือการสร้างการบริ การในรู ปแบบ government ต้องคานึงว่าประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นนั้น ต้อง ใหม่ๆ ที่ใช้เทคโนโลยีมาช่วย ด้วยการนาเสนอบริ การ กระจายใน สังคมอย่างทัวถึง ไม่ตกอยูเ่ ฉพาะกลุ่มใดกลุ่ม ่ ใหม่ๆ เหล่านั้น จะทาใ ห้ประชาชนได้รับบริ การที่มี หนึ่ง ซึ่งจะทาให้เกิดช่องว่างระหว่างประชาชนในสังคม คุณภาพ และตรงกับความต้องการของประชาชน เป็ น ได้ นอกจากนี้ ยังต้องคานึงถึงผูดอยโอกาสในสังคมด้วย ้้ หน้าที่ของรัฐที่จะต้องให้ความสาคัญกับลูกค้าซึ่งก็คือ [5],[8] ประชาชน และภาคธุรกิจ ทั้งนี้ คาว่า “ประชาชน ” ควรมี ความหมายครอบคลุมถึงผูดอยโอกาสในสังคม และผูที่ ้้ ้ ่ ไม่ได้อยูในประเทศด้วย e-government ไม่ควรทาให้เกิด ปั ญหาการเพิ่มช่องว่างระหว่างประชาชนในสังคม การนา อินเทอร์เน็ตซึ่งเป็ นสื่ อสาคัญของการให้บริ การของรัฐใน อนาคตมาใช้ มีแนวโน้มว่าจะทาให้ช่องว่างระหว่างผูมี ้ และเข้าถึงเทคโนโลยี “ได้เปรี ยบ ” และ “มีโอกาส ” มากกว่าคนอีกกลุ่มซึ่งโอกาสและการเข้าถึงเทคโนโลยี น้อยกว่า ตัวอย่างที่เห็นชัดเช่นภาคการเกษตร ซึ่งมักจะเป็ น กลุ่มที่ได้รับข้อมูลข่าวสารล่าช้าที่สุด แม้วากระทรวง ่
  • 6. 4. เปรียบเทียบ e-Government ของประเทศไทย 4.1 การพัฒนา e-Government ของประเทศไทย รู ปที่ 4 Country Data Comparisons [12] ่ จากภาพจะเห็นได้วาประเทศไทยนั้นมีการ พัฒนา e-Government เพียง 0.4653 ซึ่งยังตามหลังประเทศ รู ปที่ 1 การจัดอันดับ การพัฒนา e-Government [11] ่ ในแถบเอเชียอยูหลายประเทศ และเมื่อเปรี ยบเทียบการ พัฒนา e-Government ในแต่ละด้านกับค่าเฉลี่ยของโลก พบว่ายังมีการพัฒนาที่นอย และล่าช้า นั้นอาจเป็ นมาจาก ้ โครงสร้างพื้นฐานที่ทาให้ประเทศไทยพัฒนา e- Government ได้ชา ้ 4.2 e-Governments Development Index e-Government Development Index (EGDI) เป็ น ดัชนีวดความสามารถและความตั้งใจของหน่วยงานภาครัฐ ั 192 ประเทศทัวโลกในการใช้เทคโนโลยีออนไลน์และ ่ อุปกรณ์เคลื่อนที่ขนาดเล็กในการปฏิบติหน้าที่ของ ั หน่วยงาน จัดทาโดย The Department of Economic and Social Affairs ของสหประชาชาติรายงานเล่มแรกออกมา ในปี พ .ศ. 2546 และทาออกมาต่อเนื่องในปี 2547 และ 2548 ก่อนจะมีออกมาอีกครั้งในปี 2551 และ 2553 (ต่อไปจะจัดทาทุก 2 ปี ) EGDI แบ่งเกณฑ์การพิจารณาเป็ น 3 ด้านและให้น้ าหนักในแต่ละด้าน ดังนี้ Online service index (34%) เป็ นการพิจารณาขอบเขต และคุณภาพของการให้บริ การออนไลน์
  • 7. Telecommunication infrastructure index (33%) ดาเนินการ แต่ในระยะยาวแล้วการบริ การต่างๆ ทาง ประกอบด้วยตัวชี้วดด้านโครงสร้างพื้นฐานโทรคมนาคม5 ั ่ อิเล็กทรอนิกส์จะทาให้ลดต้นทุนไปได้มากไม่วาจะเป็ น ตัว โดยให้น้ าหนักเท่ากันทุกตัวและใช้ขอมูลจาก ITU ้ เรื่ อง สถานที่ให้บริ การ การใช้แบบฟอร์มอิเล็กทรอนิกส์ (International Telecommunication Union) (Electronic Form) จะช่วยลดเจ้าหน้าที่ที่ให้บริ การ การ Human capital index (33%) ประกอบด้วยตัวชี้วด 2ั ผลักดันในระดับนโยบายทาให้หน่วยงานไม่สามารถอยูนิ่ง ่ ตัว โดยอาศัยข้อมูลหลักจาก UNESCO (The United ได้ตองปรับปรุ งการทางานและการบริ การประชาชน การ ้ Nations Education, Scientific and Cultural Organization) ใช้แผนแม่บทและแผนปฏิบติการไอทีที่มีทิศทาง ั สาหรับอันดับของประเทศไทยใน e-Government สอดคล้องกับรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ ก็จะเป็ นแรงกระตุน ้ Development Index และ e-Participation Index ตามการจัด หนึ่งที่ทาให้หน่วยงาน ต้องทบทวนการดาเนินงานด้าน อันดับของ UN เมื่อเปรี ยบเทียบกับประเทศในแถบเอเชีย ไอทีเพื่อให้มีการใช้อย่างคุมค่ามากขึ้น ้ อื่น ซึ่งจะเห็นได้จากภาพที่ 5 และตารางที่ 1 สาหรับปั จจัยภายนอกนั้นมาจากสภาวะของการ แข่งขันระหว่างประเทศมีสูงมาก การเปิ ดการค้าเสรี ทาให้ ประเทศต้องเตรี ยมความพร้อมไว้ในหลายด้าน รวมทั้ง ด้านการบริ การของรัฐการปรับตัวเข้าสู่รัฐบาล อิเล็กทรอนิกส์จะช่วยสร้างภาพลักษณ์ของประเทศในเรื่ อง ความโปร่ งใสซึ่งจะช่วยลดภาพลบเก่าๆ ลงได้ แล ะนาไปสู่ ความได้เปรี ยบของการแข่งขันด้านเศรษฐกิจในเวที ระหว่างประเทศ รู ปที่ 5 เปรี ยบเทียบ EGDI ของประเทศในแถบเอเชีย [7] จากการเปรี ยบเทียบแผนการดาเนินงานรัฐบาล อิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทยและประเทศสิ งคโปร์น้ น มี ั UN e-Government Development Index (EGDI) ความคล้ายคลึงกันเนื่องจาก วัตถุประสงค์ของการจัดทา Sets of Indexes Weight ่ รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์น้ น ไม่วาจะในปร ะเทศไหน ต่างก็มี ั 1. Online Service Index 0.34 จุดมุ่งหมายเดียวกัน นันคือการมุ่งบริ การแก่ประชาชน โดย ่ 2. Telecommunication 0.33 ใช้ระบบเครื อข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาช่วยในการ Infrastructure Index ให้บริ การที่ทนสมัย สะดวก รวดเร็ ว และมีประสิ ทธิภาพ ั 3. Human Capital Index 0.33 ในประเทศสิ งคโปร์ก็มีแผนยุทธศาสตร์และนโยบายใน ตารางที่ 1 EGDI ของประเทศไทย [2] การพัฒนาระบบราชการให้มีความคล่องตัวและลดความ ซ้ าซ้อนของงานและการปฏิบติงานของข้าราชการหรื อ ั 4.3 เปรียบเทียบรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ ของประเทศ เจ้าหน้าที่ของรัฐเช่นเดียวกับประเทศไทยหรื อประเทศ ต่างๆในโลก สาหรับประเทศไทย E-Government เป็ น ไทยกับประเทศสิ งคโปร์ เรื่ องที่รัฐบาลให้ความสาคัญเป็ นอย่างยิง เพราะเป็ นส่วน ่ สภาวการณ์ปรับตัวในหน่วยงานของรัฐทั้งใน หนึ่งในแผนปฎิรูประบบราชการไทย และเป็ นงานที่มี ประเทศไทยและประเทศสิ งคโปร์เพื่อก้าวไปสู่รัฐบาล ความท้าทายสูงเพราะการปรับองค์กรภาครัฐเข้าสู่การเป็ น อิเล็กทรอนิกส์ เกิดจากปั จจัยภายในและภายนอก ปั จจัย รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์น้ นเป็ นการเปลี่ยนแปลงวิธีคิด วิธี ั ภายในประการสาคัญคือ ข้อจากัดเรื่ องงบประมาณและ ปฏิบติ วิธีการให้บริ การแก่ประชาชน ซึ่งจะต้องมีการปรับ ั ่ อัตรากาลัง แม้วาในเบื้องต้นจะต้องใช้งบประมาณในการ
  • 8. โครงสร้างองค์กร เปลี่ยนกระบวนการทางาน เปลี่ยน แข็ง จุดอ่อนโอกาสและอุปสรรค ในการดาเนินงาน ทัศนคติของผูบริ หาร แก้ไขกฏหมาย และระเบียบ ้ ด้วยกันทั้งนั้น [3] ปฏิบติ ตลอดจน ั พัฒนาทักษะและความสามารถของ บุคลากรจานวนมาก 4.4 เปรียบเทียบรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ ของประเทศ สาหรับโครงการรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ ปั จจุบน ั ไทยกับประเทศสหรัฐอเมริกา ่ อยูภายใต้การดูแลของสานักปลัดกระทรวงเทคโนโลยี ประเทศไทยมีผนาที่มีความรู ้ทางด้านไอที ทาให้ ู้ สารสนเทศและการสื่ อสาร (ไอซีที) ซึ่งขณะนี้ยงมีปัญหา ั มีความเข้าใจทางด้านเทคโนโลยีค่อนข้างสูง มีการจัดตั้ง ด้านการบูรณาการข้อมูล เนื่องจากแต่ละหน่วยราชการ หน่วยงานที่รับผิดชอบทางด้าน E-government โดยตรง ต่างมีขอมูลคนละรู ปแบบ ้ ่ รัฐบาลไทยจัดได้วาเป็ น และเนื่องมาจากในประเทศไทยมีการสื่ อสารที่ครอบคลุ่ม ประเทศที่มีผนาที่ศกยภาพและมุ่งมันในการใช้เทคโนโลยี ู้ ั ่ ทัวประเทศแล้ว ทาให้การดาเนินงานจัดตั้งเป็ นไปด้วย ่ สารสนเทศและการสื่ อสาร “โดยการจัดตั้งกระทรวง ความสะดวกเรี ยบร้อย ในเรื่ องการบริ หารและการบริ การ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารขึ้น เพื่อเป็ น ของรัฐแก่ประชาชน มีการกล่าวถึง ตั้งแต่ในกฎหมาย ผูรับผิดชอบในการพัฒนาโครงการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ ้ สูงสุดของประเทศ คื อ รัฐธรรมนูญ ฯ ในมาตรา 78 หรื อ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร” แผนสภาพัฒน์ฯ ฉบับที่ 8 ที่กล่าวถึงการนาไอทีมาใช้ การดาเนินการของรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์หรื อ E- เพื่อเชื่อมโยง ระหว่างหน่วยงานของรัฐกับภาคเอกชน Government นั้น จาเป็ นต้องอาศัยปั จจัยหลายด้าน ซึ่งด้าน เพื่อการบริ หารและการบริ การที่มีประสิ ทธิภาพ ที่มีความสาคัญมากที่สุดคือ การพัฒนาทางเทคโนโลยี ่ นอกจากนี้ ในแผนไอทีแห่งชาติเองก็ระบุวาหน่วยงานของ สารสนเทศสมัยใหม่ ที่ตองมีความทันสมัย สะดวก ้ รัฐต้องลงทุนให้พร้อมด้วยไอที และบุคลากรที่มีศกยภาพ ั รวดเร็ ว และมีประสิ ทธิภาพ สาหรับในประเทศไทย การที่ ในการใช้ไอที ในแผนปฏิรูประบบบริ หารภาครัฐก็ได้ จะก้าวไปสู่การเป็ นผูนาทางไอซีทีน้ น ต้องให้ความสาคัญ ้ ั กาหนดกิจกรรมหนึ่งที่ทุกส่วนราชการต้องดาเนินการไว้ กับการพัฒนาด้าน ICT ในประเทศอย่างมาก ทั้ง ในแผนหลักเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนบทบาท ภารกิจและ หน่วยงานภาครัฐและเอกชนก็ต่างถูกกระตุนให้มีการนา ้ วิธีการบริ หารของภาครัฐว่า การพัฒนาให้มีระบบ เทคโนโลยีมาใช้ในการดาเนินงานมากขึ้นเรื่ อยๆ แนวโน้ม สารสนเทศของหน่วยงานกลางในภาครัฐ ตลอดจน นา การเติบโตด้านไอซีทีในประเทศไทย จะอยูในระดับ ่ เทคโนโลยีสมัยใหม่ที่เหมาะสมมาใช้เพื่อเพิ่ม ่ เดียวกับการเติบโตของจีดีพี ซึ่งในไทยอยูประมาณ 6-8% ประสิ ทธิภาพการบริ หารงานภาครัฐและการให้บริ การแก่ เมื่อเทียบกับในสิ งคโปร์ ซึ่งการเติบโตเริ่ มคงที่ โดยอยูใน่ ประชาชน จะเห็นว่าในระดับนโยบายนั้นมีการให้ ระดับ 1-2% ทั้งนี้ แม้ปัจจุบนมูลค่าตลาดไอซีทีของ ั ความสาคัญในเรื่ องนี้มาโดยตลอด สิ งคโปร์ จะสูงกว่า 300 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งมากกว่า แต่เนื่องมาจากด้านการศึกษาของเมืองไทย ทา ประเทศไทย ค่อนข้างมาก แต่ก็เชื่อมันว่าด้วย ศักยภาพใน ่ ให้การกระจายความรู ้ทางด้านไอทียงไปไม่ทวถึงของ ั ั่ การเติบโต และขนาดของตลาด ทาให้ตลาดไอที ใน ่ ประเทศไทย ไม่วาจะเป็ นประชาชนที่ตองการเข้ามาใช้ ้ ประเทศไทย มีแนวโน้มที่จะขยายตัวได้อีกมหาศาล ซึ่ง บริ การทางด้านไอที หรื อข้าราชการของรัฐบาลที่มีหน้าที่ ในส่วนของประเทศไทย ได้แก่ ระบบงานสนับสนุน ให้บริ การทางด้านไอทีแก่ประชาชน ดังนั้นการดาเนินงาน อุตสาหกรรมผลิตรถยนต์, ระบบบริ หารจัดการงานด้าน จึงเป็ นไปอย่างอยากลาบากถึงจะมีการเตรี ยมความพร้อม สาธารณสุข เป็ นต้น ดังนั้นการดาเนินงานของรัฐบาล ทางด้านการทางานแล้วก็ตาม แต่ในประเทศสหรัฐอเมริ กา อิเล็กทรอนิกส์ท้ งของประเทศไทยและสิ งคโปร์ลวนมีจุด ั ้ นั้นเนื่องจากเป็ นประเทศที่ใหญ่ มีความเจริ ญก้าวหน้าทั้ง
  • 9. ทางด้านเศรษฐกิจและด้านการศึกษา จึงทาให้มี Government เป็ นไปได้ง่ายขึ้น เนื่องจากว่ามีโครงสร้าง งบประมาณและบุคลากรที่มีความรู ้ความสามารถในการ พื้นฐานที่ดีข้ ึน ทาให้รัฐบาลมันใจและกล้าที่จะลงทุน ่ พัฒนา ICT ของประเทศจานวนมาก จึงทาให้มีการ เพื่อให้ประเทศเกิดการพัฒนา เช่นในประเทศ ่ พัฒนา e-Government อยูตลอดเวลา ซึ่งวัดได้จากที่ สหรัฐอเมริ กา มีการพัฒนา e-Government เนื่องจาก สหรัฐอเมริ กาเป็ นประเทศที่มีการพัฒนา e-Govrnment ได้ ประชาชนในประเทศนั้นมีการใช้เทคโนโลยีภายใน ดีที่สุดในการสารวจจากหลายๆประเทศ ในปี 2003 และ ชีวตประจาวันตลอด และต่อเนื่องทาให้ง่ายต่อการพัฒนา ิ ยังคงพัฒนามาเรื่ อยๆจนถึงปั จจุบนนี้ พร้อมทั้งนี้ ั e-Government และนอกจากจะเริ่ มจากประชาชนแล้ว ยัง สหรัฐอเมริ กามีประชากรค่อนข้างมาก ประชาชนส่วนมาก ต้องอาศัยความร่ วมมือจากองค์กร หน่วยงาน ต่างๆในการ ของสหรัฐอเมริ กามีความรู ้ทางด้านไอทีอยูแล้ว่ ดาเนินการ เพื่อเป็ นผูที่คอยให้บริ การประชาชน และยัง ้ เนื่องมาจากมีการใช้งานทางด้านไอที ในชีวตประจาวันอยู่ ิ รวมถึงผูที่ตองการใช้บริ การของระบบ ล้วนแต่เป็ นผูมี ้ ้ ้ แล้ว ทาให้การนาเอารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์มาใช้ ส่วนได้ส่วนเสี ย ดังนั้นจึงถือได้วาภาคเอกชนเป็ นผูที่มี ่ ้ ภายในประเทศเป็ นไปอย่างสะดวก รวดเร็ ว และสามารถ ส่วนได้ส่วนเสี ยหลักในการนาระบบมาใช้ และควรจะต้อง เข้าถึงประชาชนในทุกระดับ ให้ภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่ วมในการพัฒนาระบบอย่าง ดังนั้น สหรัฐอเมริ กามีความพร้อมในการใช้งาน ใกล้ชิด เพื่อให้เกิดแรงขับเคลื่อนอย่างต่อเนื่องสามารถ e-Government ่ อยูแล้วเนื่องมาจากพื้นฐานทางด้าน พัฒนาประเทศไปได้อย่างสมบูรณ์ยงขึ้น ิ่ การศึกษาที่มีการเตรี ยมพร้อมความรู ้ทางด้านไอทีสูง แต่ สาหรับประเทศไทย คงต้องมีการกระจายความรู ้ดานไอที ้ เอกสารอ้างอิง ให้พร้อม สาหรับประชาชนและข้าราชการทัวๆไป ดังนั้น ่ [1] กระทรวงเทคโนโลยีและการสื่ อสาร สานักงาน การที่จะสามารถใช้ e-Government โดยให้เกิดประโยชน์ พัฒนาและส่งเสริ มรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์. e- สูงสุดแก่ประชาชนแล้ว ควรที่จะต้องให้การศึกษาและ Government. Available from: ความรู ้เกี่ยวกับ IT ให้ทวถึงกับประชาชนทุกคนเสี ยก่อน ั่ http://www.mict-egov.net/content/ จึงจะให้ประชาชนทุกคนสามารถเข้าถึง e-Government ได้ blogcategory/26/37/ (online) อย่างสะดวก รวดเร็ ว และเกิดเป็ นการพัฒนาที่ยงยืน [4] ั่ [2] กระทรวงเทคโนโลยีและการสื่ อสารการพัฒนา e-Government. การพัฒนา e-Government 5.สรุ ป .Available from: สาหรับ e-Government ในประเทศไทยนั้น http://www.mict.go.th/download/eGovDev.pdf (online) การที่จะให้ประชาชนเข้าถึง e-Government ได้จะต้องใช้ [2] คณะวิทยาการจัดการ เวลาอีกนานมาก กว่า e-Government พัฒนาได้และได้ มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์.เปรี ยบรั ฐบาล นามาใช้ได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ เพราะว่าการพัฒนา e- อิเล็กทรอนิกส์ ของประเทศไทยกับประเทศ Government นั้นจะต้องอาศัยความร่ วมมือของทุกส่วนที่ สิ งคโปร์ .Available from: มีความเกี่ยวเนื่องกันภายในประเทศ ในส่วนของประชาชน http://vclass.mgt.psu.ac.th/~465-302/2007- เอง ก็จะต้ องมีการพัฒนาตัวเองให้มีความทันสมัยในเรื่ อง 1/Assignment-02/BPA_30_41/p3.htm (online) ของเทคโนโลยีที่จาเป็ นในชีวตประจาวัน เช่น การใช้ ิ [4] คณะวิทยาการจัดการ คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ซึ่ง จะทาให้การพัฒนา e- มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์.เปรี ยบรั ฐบาล
  • 10. อิเล็กทรอนิกส์ ของประเทศไทยกับประเทศ http://unpan1.un.org/intradoc/groups/public/doc สหรั ฐอเมริ กา .Available from: uments/un/unpan038851.pdf (online). 2010 http://vclass.mgt.psu.ac.th/~465-302/2007- [11] United Nations E-Government Development 1/Assignment-02/BPA_30_42/index5.html Database. E-Government Asia. Available from: (online) http://www2.unpan.org/egovkb/datacenter/Cou [5] ดร. ทวีศกดิ์ กออนันตกูล. บทความพิเศษ รั ฐบาล ั ntryView.aspx (online) อิเล็กทรอนิกส์ . Available from: [12] United Nations E-Government Development http://www.thaigov.net/page/page_specialscoop Database. E-Government Thailand. Available /article/article_htk_egov.html (online). from: [6] ธนาวิชญ์ จินดาประดิ ษฐ์.พันธมิตรความร่ วมมือ http://www2.unpan.org/egovkb/ProfileCountry. ภาครั ฐและภาคเอกชน (Public Private aspx?ID=169 (online) Partnership) เพื่อพัฒนาระบบการบริ หารจัดการ ของประเทศ: กรณี ศึกษาการพัฒนาระบบ (e- government) ของประเทศไทย.วารสารพานิชย ศาสตร์บูรพาปริ ทศน์ ปี ที่ 3 ฉบับที่ 1 ตุลาคม ั 2550 วิทยาลัยพานิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา [7] ETDA [Electronic Transactions Development Agency (Public Organization).] สานักงาน พัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ [องค์กร มหาชน]. E -Government Development Index. Available from: http://www.etda.or.th/main/contents/display/12 3# (online) [8] Sudarat. รั ฐอิเล็กทรอนิกส์ (E-Government). Available from: http://4842073019.multiply.com/journal/item/4 (online) [9] THAI e-Government. ลักษณะการให้ บริ การของ e-Government. Available from: http://www.dld.go.th/ict/article/egov/e- gev03.html (online) [10] United Nations. E-Government Survey 2010 leveraging e-government at a time of financial and economic crisis. Available from: