SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
เครือข่าย
สังคมออนไลน์
รายงาน
เรื่อง

สังคมออนไลน์(Social Network)
จัดทาโดย

1.นายธนวัฒน์ คงชูศรี ชั้น ม.4/4 เลขที่ 9
2.นายแสงตะวัน หนูรอด ชั้น ม.4/4 เลขที่ 6

เสนอ
คุณครูจุฑารัตน์

ใจบุญ

รายงานนี้ เ ป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของวิ ช าการงานอาชี พ และ
เทคโนโลยี
รายวิชา ง31102

ภาคเรียนที่ 2/2556
คำนำ
รำยงำนเรื่องสังคมออนไลน์ (Social Network) เป็นส่วนหนึ่งของวิชำ กำรงำนอำชีพ
และเทคโนโลยี รำยวิชำ ง31102 รำยงำนเล่มนี้ได้ให้ควำมรู้เกี่ยวกับ เครือข่ำยสังคม
ออนไลน์ต่ำงๆเป็นรำยงำนประกอบกำรเรียนรู้ ซึ่งจัดทำขึ้นให้ผ้ที่สนใจได้ศึกษำ หวังว่ำ
ู
ควำมรู้นี้คงเป็นประโยชน์แก่ผ้ที่สนใจ
ู
อนึ่ง หำกมีข้อผิดพลำดใดๆ ขอ อภัย ไว้ ณ โอกำสนี้ด้วย

คณะผู้จัดทำ
สำรบัญ
เรือง
่

หน้ำ

ควำมหมำยของสังคม ออนไลน์ (Social Network)

1

องค์ประกอบของเครือข่ำยสังคมออนไลน์

2

องค์ประกอบของ Social Midia

2

กำรให้บริกำรของเครือข่ำยสังคมออนไลน์

4

ข้อดีหรือประโยชน์ของ Social Network

4

ข้อเสียหรือปัญหำของ Social Network

5

อ้ำงอิง

6
เครือข่ำยสังคมออนไลน์ (Social Network)

เครือข่ำยสังคมออนไลน์ (Social Network) คือกลุ่มคนที่รวมกันเป็นสังคมมีกำร
ทำกิจกรรมร่วมกันบนอินเทอร์เน็ต เป็นรูปกำรสื่อสำรข้อมูลผ่ำนอินเทอร์เน็ตทำให้เกิด
เครือข่ำยอินเทอร์เน็ต เป็นสังคมขึ้นมำ Social Network หรือ เครือข่ำยสังคม (ชุมชน
ออนไลน์) เป็นรูปแบบของเว็บไซต์ ในกำรสร้ำงเครือข่ำยสังคม สำหรับผู้ใช้งำนใน
อินเทอร์เน็ต เขียนและอธิบำยควำมสนใจ และกิจกำรที่ได้ทำ และเชื่อมโยงกับควำม
สนใจและกิจกรรมของผู้อื่น ในบริกำรเครือข่ำยสังคมมักจะประกอบไปด้วย กำรแชท
ส่งข้อควำม ส่งอีเมลล์ วิดีโอ เพลง อัปโหลดรูป บล็อก
กำรทำงำนคือ คอมพิวเตอร์เก็บข้อมูลพวกนี้ไว้ในรูปฐำนข้อมูล sql ส่วน video
หรือ รูปภำพ อำจเก็บเป็น ไฟล์ก็ได้ บริกำรเครือข่ำยสังคมที่เป็นที่นิยมได้แก่ ไฮไฟฟ์
มำยสเปซ เฟซบุ๊ก ออร์กัต มัลติพลำย โดยเว็บเหล่ำนี้มีผ้ใช้มำกมำย เช่น เฟสบุ๊คเป็น
ู
เว็บไซต์ที่คนไทยใช้มำกที่สุด ในขณะที่ออร์กัตเป็นที่นิยมมำกที่สุดในประเทศอินเดีย
Social Network เป็นเครือข่ำยควำมสัมพันธ์เสมือนที่ตอบสนองกับกำรสร้ำง
สำยสัมพันธ์ โยงใยให้เรำได้เจอบุคคลที่คุยกันในเรื่องที่สนใจได้อย่ำงคอเดียวกัน
สำมำรถเชื่อมโยงเพื่อนของเรำ เข้ำกับเพื่อนของเขำ สำมำรถสร้ำงสรรค์สังคมใหม่ๆให้กับ
ทุกคน สำมำรถเชื่อมโยงกำรสื่อสำรภำยในองค์กร และภำยนอกองค์กรเข้ำด้วยกันได้
อย่ำงมีประสิทธิภำพ ซึ่งเป็นสิ่งที่ตอบสนองรูปแบบชีวิตของมนุษย์ยุคปัจจุบันนั่นเอง
ครับ โดยภำพรวม Social Network เป็นสื่อที่มีประสิทธิภำพในกำรสื่อสำรกับองค์กร
จำกปำกคำของเรำเองได้เป็นอย่ำงดี ผู้บริหำรองค์กรขนำดใหญ่จะสำมำรถสื่อสำรกับ
คนในองค์กรของคุณอย่ำงมีประสิทธิภำพ ไม่ต้องประสบปัญหำกำรบิดเบือนข้อควำม
หรือกำรสื่อสำรที่ตกหล่นอีกต่อไป ครูอำจำรย์สำมำรถให้แง่คิดหรือสิ่งละอันพันละน้อย
แก่ลกศิษย์ได้โดยไม่จำเป็นต้องรอให้พูดกันทีเดียวครำวละยำวๆ นักวิจัยอำจพบอะไรที่
ู
น่ำสนใจแล้วสื่อสำรให้รู้กันทุกคนในเครือข่ำยเดียวกันได้ทันทีเพื่อให้ทีมรับรู้สิ่งน่ำสนใจ
ไปพร้อมๆกัน
องค์ประกอบของเครือข่ำยสังคมออนไลน์
1. กำรสื่อสำร
2. นิยำมคำจำกัดควำม
3. เครือข่ำย
4.กำรแบ่งปัน
องค์ประกอบของ Social Midia มีดังนี้
1. Identity Network (กำรเผยแพร่ตัวตน) สังคมครือข่ำยประเภทนี้ใช้สำหรับ
ให้ผู้ เข้ำใช้งำน ได้มีพื้นที่ในกำรสร้ำงตัวตนขึ้นมำบน Website และสำมำรถที่จะเผยแพร่
เรื่องรำวของตนผ่ำนทำงอินเทอร์เน็ต โดยประเภทของกำรเผยแพร่อำจจะเป็นรูปภำพ
วีดีโอ กำรเขียนข้อควำมลงใน BLOG ซึ่งในสังคมประเภทนี้ สำมำรถที่จะสร้ำงกลุ่ม
เพื่อนขึ้นมำได้อย่ำงมำกมำย ไม่มีที่สิ้นสุด ซึ่งผู้ให้บริกำรสังคมเครือข่ำยประเภท
นี้ เช่น Facebook, Hi5 LINE เป็นต้น

2. Creative Network (กำรเผยแพร่ผลงำน) สังคมเครือข่ำยประเภทนี้ เป็น
สังคมที่คนในสังคมต้องแสดงออก และนำเสนอผลงำนของตัวเอง ได้จำกทั่วทุกมุม
โลก จึงมี Website ที่ให้บริกำรพื้นที่เสมือนเป็น Gallery ที่ใช้จัดโชว์ผลงำนของตัวเอง
ไม่ว่ำจะเป็น วีดีโอ รูปภำพ เพลง ซึ่งผู้ให้บริกำรสังคมเครือข่ำยประเภท
นี้ เช่น YouTube, Multiply, Flickr เป็นต้น
3. Interested Network (กำรมีควำมสนใจตรงกัน) เป็นสังคมเครือข่ำย ที่ทำ
หน้ำที่เก็บในสิ่งที่ชอบไว้บนเครือข่ำย โดยเป็นกำรสร้ำง Online Bookmarking โดยมี
แนวคิดที่ว่ำ แทนที่ผู้ใช้จะเก็บ Bookmark ไว้ในเครื่องคนเดียว ก็นำมำเก็บไว้บน
Website ดีกว่ำ เพื่อที่จะได้เป็นกำรแบ่งปันให้กบคนที่มีควำมชอบในเรื่องเดียวกัน
ั
สำมำรถใช้เป็นแหล่งอ้ำงอิงในกำรเข้ำไปหำข้อมูลได้ และนอกจำกนี้ ยังสำมำรถ Vote
เพื่อให้คะแนนกับ Bookmark ที่ผ้ใช้คิดว่ำมีประโยชน์และเป็นที่นิยม ซึ่งผู้ให้บริกำร
ู
สังคมเครือข่ำยประเภทนี้ เช่น Zickr, del.icio.us, Bigg เป็นต้น

4. Collaboration Network (กำรทำงำนร่วมกัน) เป็นสังคมเครือข่ำย ที่
ต้องกำรควำมคิด ควำมรู้ และกำรต่อยอดจำกผู้ใช้ที่เป็นผู้รู้ เพื่อให้ควำมรู้ที่ได้ออกมำ
มีกำรปรับปรุงอย่ำงต่อเนื่อง และเกิดกำรพัฒนำในที่สุด ซึ่งหำกลองมองจำกแรงจูงใจที่
เกิดขึ้นแล้ว คนที่เข้ำมำในสังคมนี้ มักจะเป็นคนที่มีควำมภูมิใจ ที่ได้เผยแพร่สิ่งที่ตนเอง
รู้ และทำให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม ซึ่งผู้ให้บริกำรสังคมเครือข่ำยประเภท
นี้ เช่น WikiPedia เป็นสำรำนุกรมต่อยอด ที่อนุญำตให้ช่วยกันเขียน Google
ซึ่ง Website ที่โด่งดังมำกอย่ำง Wikipedia ซึ่งถือว่ำเป็นสำรำนุกรม แบบต่อ
ยอดทำงควำมคิด ก็อนุญำตให้ใครก็ได้เข้ำมำช่วยกันเขียน และแก้ไขบทควำมต่ำงๆ ได้
ตลอดเวลำ ทำให้เกิดเป็นสำรำนุกรมออนไลน์ขนำดใหญ่ ที่รวบรวมควำมรู้ ข่ำวสำร
และเหตุกำรณ์ต่ำงๆ ไว้มำกมำย
นอกจำกนี้ Google Maps เอง ก็ถือว่ำเป็นสังคมเครือข่ำยประเภทนี้ด้วย เพรำะ
กำรสร้ำงแผนที่ของตัวเอง หรือแบ่งปันข้อมูลแผนที่ให้คนอื่นตำมที่ได้มีกำรปักหมุด
เอำไว้ ก็ทำให้คนที่เข้ำมำได้รับประโยชน์ในกำรสืบค้นข้อมูลเหล่ำนั้น ซึ่งเกิดมำจำกกำร
ต่อยอดแบบสำธำรณะนั่นเอง
5. Virtual Reality/ Gaming (โลกเสมืนจริง) คือเกมส์ออนไลน์สำมำรถสร้ำงตัว
ละครโดยสมมุติให้เป็นตัวเรำขึ้นมำได้ใช้ชีวิต อยู่ในเกมอยู่ในชุมชนเสมือน สำมำรถซื้อ
ขำยที่ดิน และหำรำยได้จำกกำรทำกิจกรรมต่ำงๆ
ได้ เช่น Seocnd Liae, World Warcraft เป็นต้น

6. Peer to Peer (P2P) เป็นกำรเชื่อมต่อกันระหว่ำงเครื่องผู้ใช้กับเครื่องลูก
เครือข่ำย เช่น Bit Torrent ทำให้เกิดกำรแบ่งปันไฟล์ต่ำงๆได้อย่ำงกว้ำงขวำง และ
รวดเร็ว แต่ก็ทำให้เกิดปัญหำเรื่องละเมิดลิขสิทธิ์

กำรให้บริกำรของเครือข่ำยสังคมออนไลน์
1.เป็นรูปแบบของเว็บไซต์ในกำรสร้ำงเครือข่ำยสังคม สำหรับผู้ใช้งำนในอินเตอร์เน็ต
2.ผู้ใช้บริกำรเขียนและอธิบำยควำมสนใจ และกิจกำรที่ได้ทำ เพื่อแลกเปลี่ยนและ
เรียนรู้ร่วมกัน
3.เชื่อมโยงกับควำมสนใจและกิจกรรมของผูอื่น กลำยเป็นสังคมในเครือข่ำย เรียกว่ำ
้
"เครือข่ำยสังคม"
4.บริกำรเคือข่ำยสังคมมักจะประกอบไปด้วยกำรแช็ต ส่งข้อควำม ส่งอีเมลล์ วีดีโอ
เพลง อัพโหลดรูป บล็อก
ข้อดีหรือประโยชน์ของ Social Network
1.ด้ำนกำรเผยแพร่ข้อมูลส่วนบุคคล เครื่องมือสำหรับเครือข่ำยสังคม
ออนไลน์ เช่น Weblogs, Wiki, Multimedia Shared ประเภทต่ำงๆ สำมำรถทำให้
อินเทอร์เน็ตเผยแพรข้อมูลเรื่องรำว สำรสนเทศต่ำงๆ ของส่วนบุคคลได้สะดวก โดย
ไม่มีค่ำใช้จ่ำยเช่น Google เป็นต้น
2.ด้ำนกำรเรียนกำรสอนสำมำรถใช้เป็นเครื่องมือหรือเป็นแหล่งเรียนรู้ ประกอบกำร
จัดกำรเรียนกำรสอนได้
3.ด้ำนกำรศึกษำค้นคว้ำ วิจัย กำรจัดกำรควำมรู้ ใช้เพื่อรวบรวมและเผยแพร่องค์
ควำมรู้ ผลงำนวิจัยในองค์กร
4.ด้ำนกำรเพิมประสิทธิภำพในกำรทำงำน เพิ่มช่องทำงสมำชิกในองค์กรให้สำมำรถ
่
ติดต่อสื่อสำรและเผยแพร่ข้อมูลได้สะดวก ยิ่งขึ้นเกิดกำรแรกเปลี่ยนควำม
คิดเห็น ควำมรู้ และประสบกำรณ์ในกำรปฏิบัติงำน ทำให้สำมำรถเพิ่มประสิทธิภำพ
ในกำรทำงำนได้
5.ด้ำนกำรดำเนินธุรกิจหรือกิจกรรมขององค์กร เช่น กำรโฆษณำสินค้ำ กำรสร้ำง
ช่องทำงกำรตลำด และกำรซื้อขำยสินค้ำ รวมทั้งกำรดำเนินงำนด้ำนลูกค้ำสัมพันธ์
ขององค์กร ผ่ำนเครือข่ำยสังคมออนไลน์
6.ด้ำนควำมบันเทิงและเกมส์ออนไลน์ เป็นแหล่เผยแพรแลกเปลี่ยนข้อมูลด้ำนควำม
บันเทิง เช่น วิดีโอ เพลง เกมส์ออนไลน์
ข้อเสียหรือปัญหำของ Social Network
1.ปัญหำด้ำนกำรละเมิดลิขสิทธิ์ผลงำน และกำรละเมิดสิทธิส่วนบุคคลของผู้ใช้
อินเตอร์เน็ต/สมำชิกเครือข่ำย
2.ปัญหำด้ำนกำรเผยแพร่สื่อลำมก อนำจำร และสิ่งผิดกฎหมำย
3.ปัญหำเกียวกับควำมปลอดภัยในกำรใช้ข้อมูลส่วนตัว
4.ปัญหำอำชญำกรรม และกำรล่อลวงผ่ำนสังคมเครือข่ำยออนไลน์
5.ปัญหำข้อมูลขยะล้นโลก Cyber Space
6.ปัญหำอื่นๆที่ตำมมำ ได้แก่ ด้ำนสังคม ด้ำนอำชญำกรรม ด้ำนกำรศึกษำ ด้ำนธุรกิจ
และอื่นๆ
อ้างอิง
http://www.thaigoodview.com/library/conte
st2553/type1/tech03/26/socialnetwork.ht
ml
. เครือข่ายสังคมออนไลน์ .

More Related Content

What's hot

01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
Chi Cha Pui Fai
 
สังคมออนไ..ศศิ
สังคมออนไ..ศศิสังคมออนไ..ศศิ
สังคมออนไ..ศศิ
Onanong Phetsawat
 
่jannika pramongudomrut
่jannika pramongudomrut่jannika pramongudomrut
่jannika pramongudomrut
janepramm
 

What's hot (15)

2
22
2
 
Online Journalism Course Outline
Online Journalism Course OutlineOnline Journalism Course Outline
Online Journalism Course Outline
 
2
22
2
 
บทที่ 22
บทที่ 22บทที่ 22
บทที่ 22
 
ภาพรวมของการนำเอา Social network มาใช้ในหน่วยงานภาครัฐ
ภาพรวมของการนำเอา Social network มาใช้ในหน่วยงานภาครัฐภาพรวมของการนำเอา Social network มาใช้ในหน่วยงานภาครัฐ
ภาพรวมของการนำเอา Social network มาใช้ในหน่วยงานภาครัฐ
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
Microsoft word สัปดาห์ที่13
Microsoft word   สัปดาห์ที่13Microsoft word   สัปดาห์ที่13
Microsoft word สัปดาห์ที่13
 
Aw22
Aw22Aw22
Aw22
 
รายงาน1
รายงาน1รายงาน1
รายงาน1
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
Mxcc
MxccMxcc
Mxcc
 
สังคมออนไ..ศศิ
สังคมออนไ..ศศิสังคมออนไ..ศศิ
สังคมออนไ..ศศิ
 
กลยุทธ์การใช้ Social Media ของภาครัฐ กับการมีส่วนร่วมของประชาชน
กลยุทธ์การใช้ Social Media ของภาครัฐกับการมีส่วนร่วมของประชาชนกลยุทธ์การใช้ Social Media ของภาครัฐกับการมีส่วนร่วมของประชาชน
กลยุทธ์การใช้ Social Media ของภาครัฐ กับการมีส่วนร่วมของประชาชน
 
่jannika pramongudomrut
่jannika pramongudomrut่jannika pramongudomrut
่jannika pramongudomrut
 
ฃฃ
 

Similar to . เครือข่ายสังคมออนไลน์ .

สังคมออนไลน์(Social network)2
สังคมออนไลน์(Social network)2สังคมออนไลน์(Social network)2
สังคมออนไลน์(Social network)2
Pear Sompinit
 
รายงานสังคมออนไลน์
รายงานสังคมออนไลน์รายงานสังคมออนไลน์
รายงานสังคมออนไลน์
Fon Chutikan Kongchusri
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Miw Inthuorn
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง102 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
Thanggwa Taemin
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
New Tomza
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Sirintip Kongchanta
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Kittichai Pinlert
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
M'suKanya MinHyuk
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Pongtep Treeone
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
M'suKanya MinHyuk
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Poonyapat Wongpong
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Chi Cha Pui Fai
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Chi Cha Pui Fai
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Chi Cha Pui Fai
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Chi Cha Pui Fai
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Tanyarad Chansawang
 

Similar to . เครือข่ายสังคมออนไลน์ . (20)

สังคมออนไลน์(Social network)2
สังคมออนไลน์(Social network)2สังคมออนไลน์(Social network)2
สังคมออนไลน์(Social network)2
 
รายงานสังคมออนไลน์
รายงานสังคมออนไลน์รายงานสังคมออนไลน์
รายงานสังคมออนไลน์
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง102 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 22
บทที่ 22บทที่ 22
บทที่ 22
 
บทที่ 22
บทที่ 22บทที่ 22
บทที่ 22
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
2
22
2
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 

. เครือข่ายสังคมออนไลน์ .

  • 2. รายงาน เรื่อง สังคมออนไลน์(Social Network) จัดทาโดย 1.นายธนวัฒน์ คงชูศรี ชั้น ม.4/4 เลขที่ 9 2.นายแสงตะวัน หนูรอด ชั้น ม.4/4 เลขที่ 6 เสนอ คุณครูจุฑารัตน์ ใจบุญ รายงานนี้ เ ป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของวิ ช าการงานอาชี พ และ เทคโนโลยี รายวิชา ง31102 ภาคเรียนที่ 2/2556
  • 3. คำนำ รำยงำนเรื่องสังคมออนไลน์ (Social Network) เป็นส่วนหนึ่งของวิชำ กำรงำนอำชีพ และเทคโนโลยี รำยวิชำ ง31102 รำยงำนเล่มนี้ได้ให้ควำมรู้เกี่ยวกับ เครือข่ำยสังคม ออนไลน์ต่ำงๆเป็นรำยงำนประกอบกำรเรียนรู้ ซึ่งจัดทำขึ้นให้ผ้ที่สนใจได้ศึกษำ หวังว่ำ ู ควำมรู้นี้คงเป็นประโยชน์แก่ผ้ที่สนใจ ู อนึ่ง หำกมีข้อผิดพลำดใดๆ ขอ อภัย ไว้ ณ โอกำสนี้ด้วย คณะผู้จัดทำ
  • 4. สำรบัญ เรือง ่ หน้ำ ควำมหมำยของสังคม ออนไลน์ (Social Network) 1 องค์ประกอบของเครือข่ำยสังคมออนไลน์ 2 องค์ประกอบของ Social Midia 2 กำรให้บริกำรของเครือข่ำยสังคมออนไลน์ 4 ข้อดีหรือประโยชน์ของ Social Network 4 ข้อเสียหรือปัญหำของ Social Network 5 อ้ำงอิง 6
  • 5. เครือข่ำยสังคมออนไลน์ (Social Network) เครือข่ำยสังคมออนไลน์ (Social Network) คือกลุ่มคนที่รวมกันเป็นสังคมมีกำร ทำกิจกรรมร่วมกันบนอินเทอร์เน็ต เป็นรูปกำรสื่อสำรข้อมูลผ่ำนอินเทอร์เน็ตทำให้เกิด เครือข่ำยอินเทอร์เน็ต เป็นสังคมขึ้นมำ Social Network หรือ เครือข่ำยสังคม (ชุมชน ออนไลน์) เป็นรูปแบบของเว็บไซต์ ในกำรสร้ำงเครือข่ำยสังคม สำหรับผู้ใช้งำนใน อินเทอร์เน็ต เขียนและอธิบำยควำมสนใจ และกิจกำรที่ได้ทำ และเชื่อมโยงกับควำม สนใจและกิจกรรมของผู้อื่น ในบริกำรเครือข่ำยสังคมมักจะประกอบไปด้วย กำรแชท ส่งข้อควำม ส่งอีเมลล์ วิดีโอ เพลง อัปโหลดรูป บล็อก กำรทำงำนคือ คอมพิวเตอร์เก็บข้อมูลพวกนี้ไว้ในรูปฐำนข้อมูล sql ส่วน video หรือ รูปภำพ อำจเก็บเป็น ไฟล์ก็ได้ บริกำรเครือข่ำยสังคมที่เป็นที่นิยมได้แก่ ไฮไฟฟ์ มำยสเปซ เฟซบุ๊ก ออร์กัต มัลติพลำย โดยเว็บเหล่ำนี้มีผ้ใช้มำกมำย เช่น เฟสบุ๊คเป็น ู เว็บไซต์ที่คนไทยใช้มำกที่สุด ในขณะที่ออร์กัตเป็นที่นิยมมำกที่สุดในประเทศอินเดีย Social Network เป็นเครือข่ำยควำมสัมพันธ์เสมือนที่ตอบสนองกับกำรสร้ำง สำยสัมพันธ์ โยงใยให้เรำได้เจอบุคคลที่คุยกันในเรื่องที่สนใจได้อย่ำงคอเดียวกัน สำมำรถเชื่อมโยงเพื่อนของเรำ เข้ำกับเพื่อนของเขำ สำมำรถสร้ำงสรรค์สังคมใหม่ๆให้กับ ทุกคน สำมำรถเชื่อมโยงกำรสื่อสำรภำยในองค์กร และภำยนอกองค์กรเข้ำด้วยกันได้ อย่ำงมีประสิทธิภำพ ซึ่งเป็นสิ่งที่ตอบสนองรูปแบบชีวิตของมนุษย์ยุคปัจจุบันนั่นเอง ครับ โดยภำพรวม Social Network เป็นสื่อที่มีประสิทธิภำพในกำรสื่อสำรกับองค์กร จำกปำกคำของเรำเองได้เป็นอย่ำงดี ผู้บริหำรองค์กรขนำดใหญ่จะสำมำรถสื่อสำรกับ คนในองค์กรของคุณอย่ำงมีประสิทธิภำพ ไม่ต้องประสบปัญหำกำรบิดเบือนข้อควำม หรือกำรสื่อสำรที่ตกหล่นอีกต่อไป ครูอำจำรย์สำมำรถให้แง่คิดหรือสิ่งละอันพันละน้อย แก่ลกศิษย์ได้โดยไม่จำเป็นต้องรอให้พูดกันทีเดียวครำวละยำวๆ นักวิจัยอำจพบอะไรที่ ู
  • 6. น่ำสนใจแล้วสื่อสำรให้รู้กันทุกคนในเครือข่ำยเดียวกันได้ทันทีเพื่อให้ทีมรับรู้สิ่งน่ำสนใจ ไปพร้อมๆกัน องค์ประกอบของเครือข่ำยสังคมออนไลน์ 1. กำรสื่อสำร 2. นิยำมคำจำกัดควำม 3. เครือข่ำย 4.กำรแบ่งปัน องค์ประกอบของ Social Midia มีดังนี้ 1. Identity Network (กำรเผยแพร่ตัวตน) สังคมครือข่ำยประเภทนี้ใช้สำหรับ ให้ผู้ เข้ำใช้งำน ได้มีพื้นที่ในกำรสร้ำงตัวตนขึ้นมำบน Website และสำมำรถที่จะเผยแพร่ เรื่องรำวของตนผ่ำนทำงอินเทอร์เน็ต โดยประเภทของกำรเผยแพร่อำจจะเป็นรูปภำพ วีดีโอ กำรเขียนข้อควำมลงใน BLOG ซึ่งในสังคมประเภทนี้ สำมำรถที่จะสร้ำงกลุ่ม เพื่อนขึ้นมำได้อย่ำงมำกมำย ไม่มีที่สิ้นสุด ซึ่งผู้ให้บริกำรสังคมเครือข่ำยประเภท นี้ เช่น Facebook, Hi5 LINE เป็นต้น 2. Creative Network (กำรเผยแพร่ผลงำน) สังคมเครือข่ำยประเภทนี้ เป็น สังคมที่คนในสังคมต้องแสดงออก และนำเสนอผลงำนของตัวเอง ได้จำกทั่วทุกมุม โลก จึงมี Website ที่ให้บริกำรพื้นที่เสมือนเป็น Gallery ที่ใช้จัดโชว์ผลงำนของตัวเอง ไม่ว่ำจะเป็น วีดีโอ รูปภำพ เพลง ซึ่งผู้ให้บริกำรสังคมเครือข่ำยประเภท นี้ เช่น YouTube, Multiply, Flickr เป็นต้น
  • 7. 3. Interested Network (กำรมีควำมสนใจตรงกัน) เป็นสังคมเครือข่ำย ที่ทำ หน้ำที่เก็บในสิ่งที่ชอบไว้บนเครือข่ำย โดยเป็นกำรสร้ำง Online Bookmarking โดยมี แนวคิดที่ว่ำ แทนที่ผู้ใช้จะเก็บ Bookmark ไว้ในเครื่องคนเดียว ก็นำมำเก็บไว้บน Website ดีกว่ำ เพื่อที่จะได้เป็นกำรแบ่งปันให้กบคนที่มีควำมชอบในเรื่องเดียวกัน ั สำมำรถใช้เป็นแหล่งอ้ำงอิงในกำรเข้ำไปหำข้อมูลได้ และนอกจำกนี้ ยังสำมำรถ Vote เพื่อให้คะแนนกับ Bookmark ที่ผ้ใช้คิดว่ำมีประโยชน์และเป็นที่นิยม ซึ่งผู้ให้บริกำร ู สังคมเครือข่ำยประเภทนี้ เช่น Zickr, del.icio.us, Bigg เป็นต้น 4. Collaboration Network (กำรทำงำนร่วมกัน) เป็นสังคมเครือข่ำย ที่ ต้องกำรควำมคิด ควำมรู้ และกำรต่อยอดจำกผู้ใช้ที่เป็นผู้รู้ เพื่อให้ควำมรู้ที่ได้ออกมำ มีกำรปรับปรุงอย่ำงต่อเนื่อง และเกิดกำรพัฒนำในที่สุด ซึ่งหำกลองมองจำกแรงจูงใจที่ เกิดขึ้นแล้ว คนที่เข้ำมำในสังคมนี้ มักจะเป็นคนที่มีควำมภูมิใจ ที่ได้เผยแพร่สิ่งที่ตนเอง รู้ และทำให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม ซึ่งผู้ให้บริกำรสังคมเครือข่ำยประเภท นี้ เช่น WikiPedia เป็นสำรำนุกรมต่อยอด ที่อนุญำตให้ช่วยกันเขียน Google ซึ่ง Website ที่โด่งดังมำกอย่ำง Wikipedia ซึ่งถือว่ำเป็นสำรำนุกรม แบบต่อ ยอดทำงควำมคิด ก็อนุญำตให้ใครก็ได้เข้ำมำช่วยกันเขียน และแก้ไขบทควำมต่ำงๆ ได้ ตลอดเวลำ ทำให้เกิดเป็นสำรำนุกรมออนไลน์ขนำดใหญ่ ที่รวบรวมควำมรู้ ข่ำวสำร และเหตุกำรณ์ต่ำงๆ ไว้มำกมำย นอกจำกนี้ Google Maps เอง ก็ถือว่ำเป็นสังคมเครือข่ำยประเภทนี้ด้วย เพรำะ กำรสร้ำงแผนที่ของตัวเอง หรือแบ่งปันข้อมูลแผนที่ให้คนอื่นตำมที่ได้มีกำรปักหมุด เอำไว้ ก็ทำให้คนที่เข้ำมำได้รับประโยชน์ในกำรสืบค้นข้อมูลเหล่ำนั้น ซึ่งเกิดมำจำกกำร ต่อยอดแบบสำธำรณะนั่นเอง
  • 8. 5. Virtual Reality/ Gaming (โลกเสมืนจริง) คือเกมส์ออนไลน์สำมำรถสร้ำงตัว ละครโดยสมมุติให้เป็นตัวเรำขึ้นมำได้ใช้ชีวิต อยู่ในเกมอยู่ในชุมชนเสมือน สำมำรถซื้อ ขำยที่ดิน และหำรำยได้จำกกำรทำกิจกรรมต่ำงๆ ได้ เช่น Seocnd Liae, World Warcraft เป็นต้น 6. Peer to Peer (P2P) เป็นกำรเชื่อมต่อกันระหว่ำงเครื่องผู้ใช้กับเครื่องลูก เครือข่ำย เช่น Bit Torrent ทำให้เกิดกำรแบ่งปันไฟล์ต่ำงๆได้อย่ำงกว้ำงขวำง และ รวดเร็ว แต่ก็ทำให้เกิดปัญหำเรื่องละเมิดลิขสิทธิ์ กำรให้บริกำรของเครือข่ำยสังคมออนไลน์ 1.เป็นรูปแบบของเว็บไซต์ในกำรสร้ำงเครือข่ำยสังคม สำหรับผู้ใช้งำนในอินเตอร์เน็ต 2.ผู้ใช้บริกำรเขียนและอธิบำยควำมสนใจ และกิจกำรที่ได้ทำ เพื่อแลกเปลี่ยนและ เรียนรู้ร่วมกัน 3.เชื่อมโยงกับควำมสนใจและกิจกรรมของผูอื่น กลำยเป็นสังคมในเครือข่ำย เรียกว่ำ ้ "เครือข่ำยสังคม" 4.บริกำรเคือข่ำยสังคมมักจะประกอบไปด้วยกำรแช็ต ส่งข้อควำม ส่งอีเมลล์ วีดีโอ เพลง อัพโหลดรูป บล็อก ข้อดีหรือประโยชน์ของ Social Network 1.ด้ำนกำรเผยแพร่ข้อมูลส่วนบุคคล เครื่องมือสำหรับเครือข่ำยสังคม ออนไลน์ เช่น Weblogs, Wiki, Multimedia Shared ประเภทต่ำงๆ สำมำรถทำให้
  • 9. อินเทอร์เน็ตเผยแพรข้อมูลเรื่องรำว สำรสนเทศต่ำงๆ ของส่วนบุคคลได้สะดวก โดย ไม่มีค่ำใช้จ่ำยเช่น Google เป็นต้น 2.ด้ำนกำรเรียนกำรสอนสำมำรถใช้เป็นเครื่องมือหรือเป็นแหล่งเรียนรู้ ประกอบกำร จัดกำรเรียนกำรสอนได้ 3.ด้ำนกำรศึกษำค้นคว้ำ วิจัย กำรจัดกำรควำมรู้ ใช้เพื่อรวบรวมและเผยแพร่องค์ ควำมรู้ ผลงำนวิจัยในองค์กร 4.ด้ำนกำรเพิมประสิทธิภำพในกำรทำงำน เพิ่มช่องทำงสมำชิกในองค์กรให้สำมำรถ ่ ติดต่อสื่อสำรและเผยแพร่ข้อมูลได้สะดวก ยิ่งขึ้นเกิดกำรแรกเปลี่ยนควำม คิดเห็น ควำมรู้ และประสบกำรณ์ในกำรปฏิบัติงำน ทำให้สำมำรถเพิ่มประสิทธิภำพ ในกำรทำงำนได้ 5.ด้ำนกำรดำเนินธุรกิจหรือกิจกรรมขององค์กร เช่น กำรโฆษณำสินค้ำ กำรสร้ำง ช่องทำงกำรตลำด และกำรซื้อขำยสินค้ำ รวมทั้งกำรดำเนินงำนด้ำนลูกค้ำสัมพันธ์ ขององค์กร ผ่ำนเครือข่ำยสังคมออนไลน์ 6.ด้ำนควำมบันเทิงและเกมส์ออนไลน์ เป็นแหล่เผยแพรแลกเปลี่ยนข้อมูลด้ำนควำม บันเทิง เช่น วิดีโอ เพลง เกมส์ออนไลน์ ข้อเสียหรือปัญหำของ Social Network 1.ปัญหำด้ำนกำรละเมิดลิขสิทธิ์ผลงำน และกำรละเมิดสิทธิส่วนบุคคลของผู้ใช้ อินเตอร์เน็ต/สมำชิกเครือข่ำย 2.ปัญหำด้ำนกำรเผยแพร่สื่อลำมก อนำจำร และสิ่งผิดกฎหมำย 3.ปัญหำเกียวกับควำมปลอดภัยในกำรใช้ข้อมูลส่วนตัว 4.ปัญหำอำชญำกรรม และกำรล่อลวงผ่ำนสังคมเครือข่ำยออนไลน์ 5.ปัญหำข้อมูลขยะล้นโลก Cyber Space 6.ปัญหำอื่นๆที่ตำมมำ ได้แก่ ด้ำนสังคม ด้ำนอำชญำกรรม ด้ำนกำรศึกษำ ด้ำนธุรกิจ และอื่นๆ