SlideShare a Scribd company logo
1 of 25
Download to read offline
1
โครงงาน
เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย
จัดทาโดย
นายนวคุณ แสนเสน เลขที่ 3
สิทธินันท์ ละดาวัลย์ เลขที่ 9
นายสิรวิชญ์ สิทธิพิสัย เลขที่ 10
นายสุริยะ ชาติหวาน เลขที่ 11
นางสาวจิรฐา ศรีหาดุงน้อย เลขที่ 15
นางสาวเมธินี คาสนิท เลขที่ 35
นางสาวณัฐรดา ดวงท้าวเสศ เลขที่ 47
เสนอ
คุณครูเอกนรินทร์ แก้วอุ่นเรือน
โรงเรียนบ้านดุงวิทยา
ตาบลศรีสุทโธ อาเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี
เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 20
2
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานเรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย สาเร็จลุล่วงด้วยความกรุณาและ
ช่วยเหลืออย่างสูงยิ่งจาก นายชัยนาท พรมมาลุน ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านดุงวิทยา
นายเอกนรินทร์ แก้วอุ่นเรือน ครูประจาวิชา ที่ช่วยให้คาปรึกษา ช่วยแก้ไขปัญหาต่างๆ เกี่ยวกับ
โครงงาน ตลอดจนเอื้อเฟื้อสถานที่ และออกแบบผลงาน
นางขวัญหทัย วงศ์สุริยัน ที่ช่วยอนุเคราะห์อุปกรณ์เครื่องมือต่างๆ ในการศึกษา
นายจตุพจน์ มะลิงาม และนายพินิจ สมบัติกาไร ที่ช่วยให้คาปรึกษาและอานวยความสะดวกใน
การศึกษา
ขอขอบคุณผู้ปกครองที่สนับสนุนงบประมาณในการทาการศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคน
ไทย และชุมชนที่ให้ความร่วมมือ ความช่วยเหลือในด้านต่างๆ และให้กาลังในตลอดมา
คณะผู้จัดทาโครงงานขอขอบคุณท่านที่มีส่วนเกี่ยวข้องไว้ณ โอกาสนี้
คณะผู้ศึกษา
3
สารบัญ
เรื่อง หน้า
กิตติกรรมประกาศ ก
1.สรุปผลการศึกษา 1 - 5
2.สรุปเรียงความการเก็บข้อมูลจากแบบสอบถาม และข้อเสนอแนะ 9-11
3.ตารางแบบสอบถาม 12
ภาคผนวก
-โครงร่าง 14-18
-แบบสอบถาม 19
-การหาร้อยละ 20-22
-สรุปจากตารางแบบสอบถาม 23
4
สรุปผลการศึกษา
1. ค่านิยมและทัศนคติต่อการอ่านหนังสือของคนไทย
การวิจัยพบว่าปัจจุบันคนไทย (หมายถึง กลุ่มเยาวชน และผู้ปกครอง) มีทัศนคติที่ดีต่อการอ่าน
หนังสือโดยเล็งเห็นประโยชน์ และคุณค่าของการอ่านหนังสือ ซึ่งกลุ่มตัวอย่างมีความคิดเห็นว่า
1.การอ่านหนังสือทาให้ฉลาด และมีความรู้
2.การอ่านหนังสือเป็นการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
3.การอ่านหนังสือทาให้มีโลกทัศน์กว้างขึ้น
4.การอ่านหนังสือเป็นการเสริมสร้างจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์
นอกจากข้อมูลที่ได้จากกลุ่มตัวอย่างในการสารวจความคิดเห็นทั่วประเทศแล้ว ผู้ทรงคุณวุฒิที่เข้า
ร่วมระดมความคิดในโครงการวิจัยนี้มีความคิดเห็นสอดคล้องกันว่าปัจจุบันคนไทยมีทัศนคติที่ดีต่อการอ่าน
หนังสือมากขึ้นกว่าในอดีตโดยปัจจัยหลักสาคัญที่ขับเคลื่อนให้คนไทยมีทัศนคติที่ดีต่อการอ่านได้แก่การ
ตระหนักดีถึงประโยชน์ของการอ่านหนังสือที่มีต่อการดาเนินชีวิตในปัจจุบัน ดังนั้นปัจจุบันคนไทยจึงมี
ทัศนคติต่อการอ่านหนังสือดีขึ้นอย่างมากกว่าในอดีตเห็นได้ว่า คนไทยมีทัศนคติที่ดีต่อการอ่านหนังสือ
เนื่องจากมองเห็นถึงประโยชน์ และความจาเป็นของการอ่านหนังสือ
สถิติการอ่านหนังสือของคนไทยเฉลี่ยเพียงปีละ 2 เล่ม ซึ่งนับว่าต่ามากๆ เมื่อเปรียบเทียบกับ
ประเทศเพื่อนบ้านอย่างสิงคโปร์ ที่มีสถิติการอ่านหนังสือปีละ 40-50 เล่ม ส่วนเวียดนาม มีสถิติการอ่าน
หนังสือปีละ 60 เล่ม
การวิจัยครั้งนี้ และได้มีการสารวจทัศคติของคนไทยที่มีต่อการอ่านหนังสือ ดังต่อไปนี้
- กลุ่มผู้ปกครองของ (บุตรอายุ 0-6 ปี) มีทัศนคติที่ดีต่อการอ่านหนังสือมากกว่า กลุ่มเยาวชน
อายุ 7-24 ปี
- กลุ่มเยาวชนที่มีอายุน้อย มีทัศนคติที่ดีต่อการอ่านหนังสือมากกว่า กลุ่มเยาวชนที่มีอายุมาก
- กลุ่มเยาวชนหญิง มีทัศนคติที่ดีต่อการอ่านหนังสือมากกว่า กลุ่มเยาวชนชาย
พฤติกรรมคนไทยในยุคปัจจุบันนั้นอ่านผ่านช่องทางที่หลากหลายมากขึ้น ยิ่งในยุคปัจจุบันสื่อ
อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นอินเทอร์เน็ต อีบุ๊ก หรือดิจิทัล คอนเทนต์ นั้นเข้ามามีบทบาทมากขึ้นต่อการ
อ่านหนังสือของคนไทย แต่ก็พบว่าปัจจัยเรื่องเพศ อายุ สถานภาพ และรายได้มีผลต่อพฤติกรรมการอ่าน
5
หนังสือ โดยหากเป็นเพศหญิง อายุน้อย สถานภาพโสดและรายได้สูง จะอ่านหนังสือบ่อยขึ้น ซึ่งเพศหญิงมี
ระยะเวลาในการอ่านหนังสือสูงกว่าเพศชาย 4 นาที/วัน และผู้ที่อาศัยอยู่ในคอนโดมิเนียม หอพัก หรืออ
พาร์ตเมนต์ จะมีระยะเวลาการอ่านหนังสือเฉลี่ยต่อวันสูงกว่าผู้อาศัยอยู่ในบ้านเดี่ยวและทาวน์เฮาส์เล็กน้อย
พฤติกรรมการอ่านของคนไทย ขณะที่พฤติกรรมการซื้อหนังสือนั้น จะซื้อเฉลี่ยปีละ 4 เล่ม โดย
กลุ่มที่ซื้อหนังสือมากที่สุดคือคนที่อายุน้อยกว่า 20 ปี โดยซื้อเฉลี่ยปีละ 9 เล่ม รองลงมาคือคนที่อายุ 21-30 ปี
ซื้อเฉลี่ยปีละ 6 เล่ม และค่อยๆ ลดจานวนลง ซึ่งเด็กไทยอ่านหนังสือปีละ 9 เล่มนั้น ในจานวน 4 เล่มเป็น
การ์ตูน รวมไปถึงนิยายภาพ และอีก 3 เล่มเป็นคู่มือเตรียมสอบ โดยจะซื้อหนังสือไม่เกินครั้งละ 2 เล่ม มี
ค่าใช้จ่ายในการซื้อหนังสือไม่เกินครั้งละ 500 บาท ขณะที่สถานภาพของคนโสดนิยมซื้อการ์ตูนและนว
นิยายทั้งไทยและต่างประเทศมากกว่าคนที่แต่งงานแล้ว โดยผลสารวจยังระบุอีกว่าคนโสดจะซื้อหนังสือสูง
กว่าคนที่แต่งงานประมาณ 42 บาท ฉะนั้นกลุ่มที่อ่านหนังสือมากจึงเป็นคนโสดและมีรายได้สูง
สาหรับสิ่งที่เห็นมากขึ้นกับคนไทย โดยเฉพาะคนเกษียณที่มีอายุตั้งแต่ 61 ปีนั้นเริ่มหันมาอ่าน
หนังสือกันมากขึ้น เหตุผลก็เพราะมีเวลาว่างในชีวิตมากขึ้น ซึ่งจะใช้เวลาอ่านหนังสือเฉลี่ย 4 เล่ม/ปี หนังสือ
ที่นิยมอ่านส่วนใหญ่คือแนวสุขภาพ อาหาร ธรรมะ และศาสนา
จากการสารวจพฤติกรรมการอ่านและซื้อหนังสือของคนไทย โดยสมาคมผู้จัดพิมพ์และผู้จัด
จาหน่ายหนังสือแห่งประเทศไทย ร่วมกับคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และศูนย์วิจัยเพื่อ
พัฒนาสังคมและธุรกิจ ประชาชนอายุระหว่าง 15-69 ปี ที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพฯ จ.นนทบุรี ปทุมธานี
สมุทรปราการ และ 8 จังหวัดใหญ่ใน 4 ภูมิภาค ประกอบด้วย เชียงใหม่ นครสวรรค์ ขอนแก่น นครราชสีมา
นครศรีธรรมราช สงขลา พิษณุโลก และชลบุรี รวม 12 จังหวัด ได้สารวจเมื่อเดือน ธ.ค. 2557 ถึง ม.ค. 2558
จานวน 3,432 ตัวอย่าง ซึ่ง 88% นั้นอ่านหนังสือประเภทตาราเรียน หนังสือพิมพ์ นิตยสาร และเว็บไซต์ ใช้
เวลาอ่านต่อวันเฉลี่ย 46 นาที ส่วนผู้ที่ไม่อ่านมีเพียง 12% ที่ระบุว่าไม่รู้จะอ่านอะไร หรือมีปัญหาทางด้าน
สายตา
นอกจากนี้ พฤติกรรมการซื้อหนังสือของคนไทยส่วนใหญ่ 99.1% จะซื้อหนังสือที่ร้านหนังสือ ส่วน
ช่องทางอื่นๆ อาทิ ซื้อออนไลน์กับร้านหนังสือ หรือโทรสั่งยังเป็นส่วนน้อยมาก โดยคุณสมบัติของร้าน
หนังสือนั้นคือการมีหนังสือที่หลากหลาย คิดเป็น 77% รองลงมาคือเลือกชมหนังสือได้ง่ายและใกล้บ้าน ที่
ทางาน สถานศึกษา 53.9% นอกจากนี้ผู้ที่ซื้อหนังสือ 20.2% เคยไปงานสัปดาห์หนังสือ งานมหกรรมหนังสือ
หรืองานบุ๊กส์แฟร์อื่นๆขณะที่เมื่อเทียบเวลาการอ่านหนังสือกระดาษกับอีบุ๊คพบว่า อ่านหนังสือกระดาษ
90.51% อ่านอีบุ๊ค 9.49% ซึ่งอีบุ๊กนั้นถือว่ามีสัดส่วนค่อนข้างเล็ก เมื่อเทียบกับตลาดหนังสือกระดาษใน
ประเทศไทยและยังพบว่ากลยุทธ์ในการประชาสัมพันธ์หนังสือที่จะได้ผลในกลุ่มผู้บริโภคอายุน้อยมีอิทธิพล
6
จากการแชร์ของโซเชียลมีเดีย ไม่ว่าจะเป็นเฟซบุ๊ก ทวิตเตอร์ และเว็บไซต์จะมีผลมาก ขณะที่ผู้บริโภคอายุ
มากกว่า 40 ปี จะได้รับอิทธิพลหลักมาจากโทรทัศน์
สานักงานสถิติแห่งชาติใช้ครัวเรือน55,920ครัวเรือนเป็นตัวอย่างสารวจตั้งแต่เด็กอายุ6ขวบขึ้นไป
สรุปว่า คนไทยมีอัตราการอ่านหนังสือร้อยละ 81.8 ใช้เวลาการอ่านหนังสือเฉลี่ยวันละ 37 นาที โดย กลุ่มเด็ก
และเยาวชนใช้เวลาอ่านหนังสือมากที่สุด เฉลี่ย 46–50 นาทีต่อวัน มากกว่า กลุ่มวัยทางาน และ กลุ่มผู้สูงวัย ที่
ใช้เวลาอ่านหนังสือเฉลี่ย 31–33 นาทีต่อวัน และผู้ชายมีอัตราการอ่านหนังสือสูงกว่าผู้หญิงเล็กน้อย กลุ่มวัยที่
มีการอ่านหนังสือมากที่สุดคือ “วัยเด็ก” มีอัตราการอ่านหนังสือสูงสุดถึง ร้อยละ 95.1 รองมาคือ กลุ่มเยาวชน
ร้อยละ 90.1 กลุ่มวัยทางานร้อยละ 83.1 และ กลุ่มสูงวัยร้อยละ 57.8 ต่าที่สุด
สรุปเรียงความการเก็บข้อมูลจากแบบสอบถามและข้อเสนอแนะ
ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ประชาชนในชุมชนบ้านหนองแต้ ต.โพนสูง อ.บ้านดุง จ.อุดรธานี จานวน 30
คน
ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
1.เพศ
ชาย: จานวน15คน คิดเป็นร้อยละ50%
หญิง: จานวน15คน คิดเป็นร้อยละ50%
2.ระดับการศึกษา
ประถม: จานวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ:26.67
มัธยม: จานวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ:36.67
ปริญญาตรี: จานวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ:26.67
ปริญญาโท: จานวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ:10
ปริญญาเอก: จานวน 0 8o คิดเป็นร้อยละ:0
7
3. ช่วงอายุ
10-20 ปี: จานวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ:63.33
21-30 ปี: จานวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ13.33
31-40 ปี: จานวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ:10
41-50 ปี: จานวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ :10
51-60 ปี: จานวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ :3.3
ตอนที่ 2 ตารางแบบสอบถามความคิดเห็น
ผลจากการทาแบบสอบถาม มีดังนี้
1.การอ่านหนังสือควรเริ่มตั้งแต่วัยเด็ก มีผู้เห็นด้วยมากที่สุด 22 คิดเป็นร้อยละ 73.33 เห็นด้วยมาก 7 คน คิด
เป็นร้อยละ 23.33 เห็นด้วยปานกลางมี 1 คน คิดเป็นร้อยละ 3.33 เห็นด้วยน้อย และไม่เห็นด้วย มี 0 คน คิด
เป็นเป็นร้อยละ 0 มีค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 4.70 มีความคิดเห็นอยู่ในระดับเห็นด้วยมากที่สุด
2.คุณคิดว่าปัญหาคนไทยอ่านหนังสือน้อยเป็นปัญหาที่ควรได้รับการแก้ไข มีผู้เห็นด้วยมากที่สุด 8 คน คิด
เป็นร้อยละ 26.67 เห็นด้วยมาก 22 คน คิดเป็นร้อยละ 73.33 เห็นด้วยปานกลาง เห็นด้วยน้อย และไม่เห็นด้วย
มีจานวนเท่ากับ 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0 มีค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 4.27 มีความคิดเห็นอยู่ในระดับเห็นด้วยมาก
3.ในปัจจุบันมีสิ่งล่อตาล่อใจมากมายทีส่งผลให้การอ่านหนังสือของคนน้อยลง มีผู้เห็นด้วยมากที่สุด 8 คน
คิดเป็นร้อยละ 43.33 เห็นด้วยมาก 15 คน คิดเป็นร้อยละ 50 เห็นด้วยปานกลาง 1 คน คิดเป็นร้อยละ 3.33
เห็นด้วยน้อย 1 คน คิดเป็นร้อยละ 3.33 ไม่เห็นด้วย 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0 ค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 4.33 มีความ
คิดเห็นอยู่ในระดับเห็นด้วยมาก
4.คุณมักจะชอบอ่านหนังสือนวนิยายมากกว่าหนังสือเรียน มีผู้เห็นด้วยมากที่สุด 10 คน คิดเป็นร้อยละ 33.33
เห็นด้วยมาก 12 คน คิดเป็นร้อยละ 40 เห็นด้วยปานกลาง 7 คน คิดเป็นร้อยละ 22.33 เห็นด้วยน้อย 1 คน คิด
เป็นร้อยละ 3.33 ไม่เห็นด้วย 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0 ค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 4.03 มีความคิดเห็นอยู่ในระดับเห็น
ด้วยมาก
8
5.คุณชอบอ่านหนังสือในเวลากลางวันมากกว่าเวลากลางคืน มีผู้เห็นด้วยมากที่สุด 5 คน คิดเป็นร้อยละ
16.66 เห็นด้วยมาก 14 คน คิดเป็นร้อยละ 46.66 เห็นด้วยปานกลาง 8 คน คิดเป็นร้อยละ 26.66 เห็นด้วยน้อย
3 คน คิดเป็นร้อยละ 10 ไม่เห็นด้วย 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0 ค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 3.70 มีความคิดเห็นอยู่ใน
ระดับเห็นด้วยมาก
6.สภาพแวดล้อมมีผลกระทบต่อการอ่านหนังสือ มีผู้เห็นด้วยมากที่สุด 5 คน คิดเป็นร้อยละ 16.66 เห็นด้วย
มาก 13 คน คิดเป็นร้อยละ 43.33 เห็นด้วยปานกลาง 11 คน คิดเป็นร้อยละ 36.66 เห็นด้วยน้อย 1 คน คิดเป็น
ร้อยละ 3.33 ไม่เห็นด้วย 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0 ค่าเฉลี่ยรวม 3.76 มีความคิดเห็นอยู่ในระดับเห็นด้วยมาก
7.ประเภทของหนังสือมีผลต่อความสนใจในการอ่านหนังสือ มีผู้เห็นด้วยมากที่สุด 9 คน คิดเป็นร้อยละ 30
เห็นด้วยมาก 8 คน คิดเป็นร้อยละ 26.66 เห็นด้วยปานกลาง 10 คน คิดเป็นร้อยละ 33.33 เห็นด้วยน้อย 3 คน
คิดเป็นร้อยละ 10 ไม่เห็นด้วย 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0 ค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 3.76 มีความคิดเห็นอยู่ในระดับเห็น
ด้วยมาก
8. คุณชอบอ่านหนังสือออนไลน์ เช่น Ebookมากกว่าในเล่มหนังสือ มีผู้เห็นด้วยมากที่สุด 4 คน คิดเป็นร้อย
ละ 13.33 เห็นด้วยมาก 10 คน คิดเป็นร้อยละ 33.33 เห็นด้วยปานกลาง 8 คน คิดเป็นร้อยละ 26.66 เห็นด้วย
น้อย 8 คน คิดเป็นร้อยละ 26.66 ไม่เห็นด้วย 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0 ค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 3.33 มีความคิดเห็น
อยู่ในระดับเห็นด้วย
9. การอ่านหนังสือมีความสาคัญต่อการพัฒนาศักยภาพทางความรู้ มีผู้เห็นด้วยมากที่สุด 7 คน คิดเป็นร้อยละ
23.33 เห็นด้วยมาก 11 คน คิดเป็นร้อยละ 36.66 เห็นด้วยปานกลาง 11 คน คิดเป็นร้อยละ 36.66 เห็นด้วยน้อย
คน คิดเป็นร้อยละ 3.33 ไม่เห็นด้วย 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0 ค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 3.8 มีความคิดเห็นอยู่ในระดับ
เห็นด้วยมาก
10. ภาครัฐและเอกชนควรสนับสนุนให้คนไทยมีนิสัยรักการอ่าน มีผู้เห็นด้วยมากที่สุด 12 คน คิดเป็นร้อยละ
40 เห็นด้วยมาก 6 คน คิดเป็นร้อยละ 20 เห็นด้วยปานกลาง 10 คน คิดเป็นร้อยละ 33.33 เห็นด้วยน้อย 2 คน
คิดเป็นร้อยละ 6.66 ไม่เห็นด้วย 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0 ค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 3.93 มีความคิดเห็นอยู่ในระดับ
เห็นด้วยมาก
9
สรุปแบบสารวจการศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย
การศึกษาเกี่ยวกับการศึกษาปัญหาการอ่าหนังสือของคนไทย จากการสารวจจากการกรอกแบบสอบถามของ
กลุ่มตัวอย่าง จานวน 30 คน ซึ่งผู้ศึกษาได้ดาเนินการวิเคราะห์ข้อมูลและแปลผลข้อมูลตามลาดับ ดังนี้
ตารางแสดงจานวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม
1.เพศ
เพศ จานวน(คน) ร้อยละ
ชาย 15 50
หญิง 15 50
2.ระดับการศึกษา
ระดับการศึกษา จานวน(คน) ร้อยละ
ประถมศึกษา 8 26.67
มัธยมศึกษา 11 36.67
ปริญญาตรี 8 26.67
ปริญญาโท 3 10
ปริญญาเอก 0 0
10
3.ช่วงอายุ
ช่วงอายุ จานวน(คน) ร้อยละ
10-20 19 63.33
21-30 4 13.33
31-40 3 10
41-50 3 10
51-60 1 3.3
เกณฑ์ค่าเฉลี่ย
คะแนน 1.00 – 1.49 คือ ไม่เห็นด้วย
คะแนน 1.50 – 2.49 คือ เห็นด้วยน้อย
คะแนน 2.50 – 3.49 คือ เห็นด้วยปานกลาง
คะแนน 3.50 – 4.49 คือ เห็นด้วยมาก
คะแนน 4.50 – 5.00 คือ เห็นด้วยมากที่สุด
11
ตารางแสดงค่าเฉลี่ยของการเลือกตอบระดับการประเมินในแต่ละข้อของกลุ่มตัวอย่าง
รายการ X ระดับ
1.การอ่านหนังสือควรเริ่มตั้งแต่วัยเด็ก 4.70 เห็นด้วยมากที่สุด
2.คุณคิดว่าปัญหาคนไทยอ่านหนังสือน้อยเป็นปัญหาที่ควรได้รับ
การแก้ไข
4.27 เห็นด้วยมาก
3.ในปัจจุบันมีสิ่งล่อตาล่อใจมากมายทีส่งผลให้การอ่านหนังสือ
ของคนน้อยลง
4.33 เห็นด้วยมาก
4.คุณมักจะชอบอ่านหนังสือนวนิยายมากกว่าหนังสือเรียน 4.03 เห็นด้วยมาก
5.คุณชอบอ่านหนังสือในเวลากลางวันมากกว่าเวลากลางคืน 3.70 เห็นด้วยมาก
6.สภาพแวดล้อมมีผลกระทบต่อการอ่านหนังสือ 3.73 เห็นด้วยมาก
7.ประเภทของหนังสือมีผลต่อความสนใจในการอ่านหนังสือ 3.76 เห็นด้วยมาก
8.คุณชอบอ่านหนังสือออนไลน์ เช่น E-book มากกว่าในเล่ม
หนังสือ
3.33 เห็นด้วยปานกลาง
9.การอ่านหนังสือมีความสาคัญต่อการพัฒนาศักยภาพทางความรู้ 3.80 เห็นด้วยมาก
10.ภาครัฐและเอกชนควรสนับสนุนให้คนไทยมีนิสัยรักการอ่าน 3.93 เห็นด้วยมาก
สรุป
การอ่านหนังสือควรเริ่มต้นตั้งแต่วัยเด็ก ปัญหาคนไทยอ่านหนังสือน้อยควรได้รับการแก้ไขอย่าง
เร่งด่วน เนื่องจากในปัจจุบันมีเทคโนโลยี และสิ่งล่อตาล่อใจมากมาย ทาให้ความสนใจในการอ่านหนังสือ
12
ของคนไทยน้อยลง ประเภทของหนังสือส่งผลต่อความสนใจในการอ่านหนังสือของคนไทย เช่น คนส่วน
ใหญ่มีความสนใจอ่านหนังสือนวนิยายมากกว่าหนังสือเรียน และอ่านหนังสือออนไลน์หรือ E-Book
มากกว่าหนังสือที่เป็นเล่ม รวมถึงสภาพแวดล้อมและช่วงเวลาที่ส่งผลต่อความต้องการอ่านหนังสือ เช่น
ชอบอ่านหนังสือเวลากลางวันมากกว่ากลางคืน ซึ่งการอ่านหนังสือมีความสาคัญต่อการพัฒนาศักยภาพทาง
ความรู้ของคน เนื่องจากคนไทยมีปัญหาการอ่านหนังสือที่น้อย ทั้งภาครัฐ และเอกชน จึงควรให้การ
สนับสนุนและส่งเสริมการอ่านหนังสือให้มากขึ้น
13
ภาคผนวก
14
ชื่อเรื่องวิจัย การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย
ผู้ศึกษา นายนวคุณ แสนเสน เลขที่ 3
สิทธินันท์ ละดาวัลย์ เลขที่ 9
นายสิรวิชญ์ สิทธิพิสัย เลขที่ 10
นายสุริยะ ชาติหวาน เลขที่ 11
นางสาวจิรฐา ศรีหาดุงน้อย เลขที่ 15
นางสาวเมธินี คาสนิท เลขที่ 35
นางสาวณัฐรดา ดวงท้าวเสศ เลขที่ 47
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1
โรงเรียนบ้านดุงวิทยา
ปีที่ศึกษา 2558
ความสาคัญของหัวเรื่องที่ค้นคว้า
ในปัจจุบันคนไทยมีผลการเรียนที่ค่อนข้างต่ากว่าเด็กของประเทศต่างๆของโลก แม้กระทั่งประเทศ
เพื่อนบ้าน ที่อยู่ในสมาคมอาเซียน เช่น ลาว พม่า สิงคโปร์ มาเลเซีย เป็นต้น เนื่องจากคนไทยในปัจจุบันเริ่ม
ไม่สนใจ และให้ความสาคัญกับการอ่านหนังสือ จะมีเหตุเริ่มจากการเข้ามาของระบบคอมพิวเตอร์ และ
อินเตอร์เน็ต เมื่อย้อนไปในสมัยที่ไม่มีคอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ตนั้น สื่อสาคัญที่ให้ความรู้กับเด็กนั้นก็คือ
หนังสือ เพราะเป็นสื่อเดียวที่มีในช่วงเวลานั้น เด็กจะค้นหาข้อมูลในการศึกษาจากหนังสือที่โรงเรียน ได้
จัดเตรียมไว้ให้ สิ่งเหล่านั้นก็เลยเป็นทางเลือกเดียวที่ทาให้เด็กมีความสนใจที่จะอ่านหนังสือ ตลอดเวลาสมัย
นั้น ไม่มีเกมหรือสื่อบันเทิงต่างๆ ที่เกิดเหมือนในปัจจุบันนี้ มีแต่เพียงหนังสือหรือไม่ก็เป็นโทรทัศน์และ
วิทยุที่ใช้สาหรับรับฟังข้อมูลต่างๆ ที่เกิดขึ้นภายในประเทศและนอกประเทศ หลังจากการเปลี่ยนแปลงไป
ของยุคสมัย การติดต่อระหว่างประเทศมีความสะดวกมากขึ้น เส้นทางในการส่ง-รับรู้ข่าวสารข้ามประเทศก็
สะดวกมากยิ่งขึ้นอีกด้วย ดังนั้น ทางคณะผู้จัดทาเลยได้ยกประเด็นนี้มาศึกษา เพื่อหาความรู้ และสาเหตุ
สาคัญ ที่มาของปัญหา และแนวทางการแก้ไขปัญหาของเรื่องนี้
15
วัตถุประสงค์
1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการอ่านหนังสือของคนไทยในปัจจุบัน
2) เพื่อรู้แนวทางในการแก้ไขปัญหาการอ่านหนังสือที่ลดน้อยลงของคนไทยในปัจจุบัน
ประโยชน์ที่ได้รับจากการค้นคว้า
1) ทราบถึงพฤติกรรมการอ่านหนังสือของคนไทยในปัจจุบัน
2) รู้แนวทางนามาแก้ไขปัญหาพฤติกรรมการอ่านหนังสือที่ลดน้อยลงของคนไทยในปัจจุบัน
ในปัจจุบันนี้โลกได้มีการก้าวหน้าในหลายๆด้าน เป็นสิ่งที่ช่วยให้มนุษย์ณ ปัจจุบันนี้มีความ
สะดวกสบายมากยิ่งขึ้น แต่อีกในด้านหนึ่งก็ดูเหมือนว่าการที่มนุษย์พยายามที่จะพัฒนา ทั้งในด้าน
เทคโนโลยีเศรษฐกิจ และคุณภาพชีวิต กลับมีผลกระทบที่เป็นต้นเหตุให้เกิดปัญหาสังคม ที่มีให้เห็นอยู่มาก
เมื่อเปรียบเทียบในด้านสภาพความเป็นอยู่ และความรู้สึกในการดารงชีพช่วงอดีตกับปัจจุบัน ก็พบว่า คน
ส่วนใหญ่ชอบความเป็นอยู่แบบอดีตมากกว่า ในช่วงเวลานั้น ปัญหาสังคมถือว่าแทบจะไม่มีให้เห็น แต่ใน
ปัจจุบันนี้ปัญหาสังคมถือว่ามีอยู่แทบทุกๆที่ ในประเทศไม่ใช่เพียงแต่แค่ในประเทศไทยเท่านั้น แต่ในทุกๆ
ประเทศก็มีปัญหาสังคมที่แตกต่างกันออกไป ซึ่งในบทความนี้ผู้เขียนต้องการเขียนถึงปัญหาสังคมในด้าน
การศึกษา เพราะถือว่าเป็นเรื่องสาคัญการศึกษา ถือว่าเป็นจุดสาคัญให้การปลูกฝังทั้งด้านจิตใจ และความรู้
ให้คนไทยสามารถตัดสินใจเลือกทางเดินชีวิตที่ถูกต้อง ซึ่งเป็นการลดปัญหาสังคมที่เกิดขึ้น ให้มีจานวน
ลดลงไปได้
จากการค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาด้านการอ่านหนังสือของคนไทย ในเรื่องการอ่านหนังสือ
เพราะการอ่านหนังสือมีประโยชน์โดยตรงกับทุกคนๆ เป็นสื่อที่จะทาให้คนในสังคมได้รับรู้ข่าวสารความรู้
และเรื่องราวต่างๆที่เกิดขึ้น ทั้งในประเทศและที่อื่นๆ ถ้าจะพูดถึงการอ่านก็เป็นส่วนหนึ่งของการดารงชีพ
ของมนุษย์ในอดีตการศึกษาถือว่ายังไม่แพร่หลายเท่าปัจจุบัน จะขยายความก็คืออดีตนั้นไม่มีกฎเกณฑ์ที่
บังคับ ให้ทุกคนต้องเรียนหนังสือ จึงทาให้กลุ่มคนที่เรียนหนังสือ จะเป็นกลุ่มคนที่มีฐานะเท่านั้น ต่อมาก็ได้
มีการเล็งเห็นถึงความสาคัญของการศึกษามากขึ้น คนที่ไม่ค่อยมีฐานะแต่มีความสนใจในการศึกษา
16
หาความรู้นั้น ก็ทาให้เริ่มมีแหล่งการศึกษาเรียนรู้เปิดมากขึ้น ในช่วงเวลาต่อๆมาทุกคนเริ่มเร็งเห็น ถึง
การศึกษาที่ควรเปิดโอกาสให้กับคน ทุกระดับ เนื่องจากโลกเริ่มมีการเปิดกว้างขึ้น การอ่านเขียนจึงเป็นส่วน
สาคัญ ที่จะทาให้ทุกคนสามารถจะเรียนรู้ และศึกษาความรู้ต่างๆ ตามที่แหล่งสถาบันการศึกษาได้สอน
การศึกษา ถือว่าเป็นปัจจัยหลักในการพัฒนาคน ให้มีความรู้เพื่อที่จะมาพัฒนาประเทศได้การอ่านหนังสือ จึง
ถือว่าเป็นเรื่องสาคัญที่สุดของการศึกษาหาความรู้ เพราะเป็นตัวช่วยให้สมองมีการพัฒนาอยู่ตลอดเวลา ทา
ให้เราสามารถที่จะคิดและตัดสินใจได้
เอกสารอ้างอิง
http://www.pr.chula.ac.th
http://www.thaihealth.or.th
http://www.tkpark.or.th
17
วิธีหรือแบบแผนการค้นคว้า การเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล เป็นต้น
ปฏิทินการดาเนินงาน
ลาดับที่ รายการปฏิบัติงาน ว/ด/ป ความรับผิดชอบ
1 เขียนโครงร่างการรายงาน พ.ค.58 รับผิดชอบร่วมกัน
2 สรุปความรู้ที่ได้จากภาคเรียนที่ 1 พ.ค.58 รับผิดชอบร่วมกัน
3 ออกแบบรูปแบบการเก็บข้อมูลใน ภาคเรียนที่
2(เซ็น แบบสารวจ)
ธ.ค. 58 รับผิดชอบร่วมกัน
4 กาหนดกลุ่มตัวอย่างที่จะเก็บข้อมูล
(อายุ10-60ปี หมู่บ้านหนองแต้)
ธ.ค. 58 รับผิดชอบร่วมกัน
5 กาหนดค่าสถิติต่างๆ เกณฑ์คะแนน ช่วงคะแนน
การแปลผลคะแนน
ธ.ค. 58 รับผิดชอบร่วมกัน
6 สรุป วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลที่ได้แปลงาน
สรุปผลที่ได้เขียนรายงาน
ม.ค. 59 รับผิดชอบร่วมกัน
7 นาเสนอผลงานในรูปแบบต่างๆ
(เช่น โปรแกรมนาเสนอวีดีโอ สื่ออินเทอร์เน็ต)
ก.พ. 59 รับผิดชอบร่วมกัน
18
แบบสารวจการศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย
1.ข้อมูลนี้จะเป็นความลับเฉพาะกรุณาตอบให้ตรงกับความเป็นจริงที่สุด
2.โปรดอ่านข้อความอย่างละเอียดและเลือกในช่องที่เป็นความจริงหรือใกล้เคียงตรงกับความคิดเห็นของ
ท่านมากที่สุดในแต่ละหัวข้อ
ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสารวจ
1.เพศ
ชาย หญิง
2.ระดับการศึกษา
ประถม
มัธยม
ปริญญาตรี
ปริญญาโท
ปริญญาเอก
3. ช่วงอายุ
10-20 ปี
21-30 ปี
31-40 ปี
41-50 ปี
51-60 ปี
19
ตอนที่ 2.ตารางแบบสอบถาม
ข้อ รายการ
เกณฑ์การประเมิน
เห็น
ด้วย
มาก
ที่สุด
(5)
เห็น
ด้วย
มาก
(4)
เห็น
ด้วย
(3)
เห็น
ด้วย
น้อย
(2)
ไม่
เห็น
ด้วย
(1)
1. การอ่านหนังสือควรเริ่มตั้งแต่วัยเด็ก
2. คุณคิดว่าปัญหาคนไทยอ่านหนังสือน้อยเป็นปัญหาที่ควรได้รับ
การแก้ไข
3. ในปัจจุบันมีสิ่งล่อตาล่อใจมากมายทีส่งผลให้การอ่านหนังสือของ
คนน้อยลง
4. คุณมักจะชอบอ่านหนังสือนวนิยายมากกว่าหนังสือเรียน
5. คุณชอบอ่านหนังสือในเวลากลางวันมากกว่าเวลากลางคืน
6. สภาพแวดล้อมมีผลกระทบต่อการอ่านหนังสือ
7. ประเภทของหนังสือมีผลต่อความสนใจในการอ่านหนังสือ
8. คุณชอบอ่านหนังสือออนไลน์ เช่น Ebookมากกว่าในเล่มหนังสือ
9. การอ่านหนังสือมีความสาคัญต่อการพัฒนาศักยภาพทางความรู้
10. ภาครัฐและเอกชนควรสนับสนุนให้คนไทยมีนิสัยรักการอ่าน
ตอนที่ 3.ข้อเสนอแนะ
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
20
สรุปค่าร้อยละจากข้อมูลแบบสอบถาม
ตอนที่1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
1.เพศ
ชาย: จานวน15คน คิดเป็นร้อยละ50%
หญิง: จานวน15คน คิดเป็นร้อยละ50%
2.ระดับการศึกษา
ประถม: จานวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ:26.67
มัธยม: จานวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ:36.67
ปริญญาตรี: จานวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ:26.67
ปริญญาโท: จานวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ:10
ปริญญาเอก: จานวน 0 8o คิดเป็นร้อยละ:0
3. ช่วงอายุ
10-20 ปี: จานวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ:63.33
21-30 ปี: จานวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ13.33
31-40 ปี: จานวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ:10
41-50 ปี: จานวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ :10
51-60 ปี: จานวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ :3.3
21
ตอนที่ 2.ตารางแบบสอบถาม(ร้อยละ)
ข้อ รายการ
เกณฑ์การประเมิน
เห็น
ด้วย
มาก
ที่สุด
(5)
เห็น
ด้วย
มาก
(4)
เห็น
ด้วย
(3)
เห็น
ด้วย
น้อย
(2)
ไม่
เห็น
ด้วย
(1)
1. การอ่านหนังสือควรเริ่มตั้งแต่วัยเด็ก 73.33 23.33 3.33 - -
2. คุณคิดว่าปัญหาคนไทยอ่านหนังสือน้อยเป็นปัญหาที่ควร
ได้รับการแก้ไข
26.67 73.33 - - -
3. ในปัจจุบันมีสิ่งล่อตาล่อใจมากมายทีส่งผลให้การอ่านหนังสือ
ของคนน้อยลง
43.33 50 3.33 3.33 -
4. คุณมักจะชอบอ่านหนังสือนวนิยายมากกว่าหนังสือเรียน 33.33 40 23.33 3.33 -
5. คุณชอบอ่านหนังสือในเวลากลางวันมากกว่าเวลากลางคืน 16.66 46.66 26.66 10 -
6. สภาพแวดล้อมมีผลกระทบต่อการอ่านหนังสือ 16.66 43.33 36.66 33.33 -
7. ประเภทของหนังสือมีผลต่อความสนใจในการอ่านหนังสือ 30 26.66 3.33 10 -
8. คุณชอบอ่านหนังสือออนไลน์ เช่น Ebookมากกว่าในเล่ม
หนังสือ
13.33 33.33 26.66 26.66 -
9. การอ่านหนังสือมีความสาคัญต่อการพัฒนาศักยภาพทาง
ความรู้
23.33 36.66 36.66 3.33 -
10. ภาครัฐและเอกชนควรสนับสนุนให้คนไทยมีนิสัยรักการอ่าน 40 20 33.33 26.66 -
22
ตอนที่ 2.ตารางแบบสอบถาม (ค่าเฉลี่ย)
ข้อ รายการ
เกณฑ์การประเมิน ค่า
เฉลี่ยเห็น
ด้วย
มาก
ที่สุด
(5)
เห็น
ด้วย
มาก
(4)
เห็น
ด้วย
(3)
เห็น
ด้วย
น้อย
(2)
ไม่
เห็น
ด้วย
(1)
1. การอ่านหนังสือควรเริ่มตั้งแต่วัยเด็ก 22 7 1 0 0 4.7
2. คุณคิดว่าปัญหาคนไทยอ่านหนังสือน้อยเป็นปัญหาที่ควร
ได้รับการแก้ไข
8 22 0 0 0 4.27
3. ในปัจจุบันมีสิ่งล่อตาล่อใจมากมายทีส่งผลให้การอ่านหนังสือ
ของคนน้อยลง
13 15 1 1 0 4.33
4. คุณมักจะชอบอ่านหนังสือนวนิยายมากกว่าหนังสือเรียน 10 12 7 1 0 4.03
5. คุณชอบอ่านหนังสือในเวลากลางวันมากกว่าเวลากลางคืน 5 14 8 3 0 3.7
6. สภาพแวดล้อมมีผลกระทบต่อการอ่านหนังสือ 5 13 11 1 0 3.73
7. ประเภทของหนังสือมีผลต่อความสนใจในการอ่านหนังสือ 9 8 10 3 0 3.76
8. คุณชอบอ่านหนังสือออนไลน์ เช่น Ebookมากกว่าในเล่ม
หนังสือ
4 10 8 8 0 3.33
9. การอ่านหนังสือมีความสาคัญต่อการพัฒนาศักยภาพทาง
ความรู้
7 11 11 1 0 3.8
10. ภาครัฐและเอกชนควรสนับสนุนให้คนไทยมีนิสัยรักการอ่าน 12 6 10 2 0 3.93
23
สรุปผลค่าเฉลี่ยจากตารางแบบสอบถาม
1.การอ่านหนังสือควรเริ่มตั้งแต่วัยเด็ก มีค่าเฉลี่ย 4.7 มีความคิดเห็นอยู่ในระดับเห็นด้วยมากที่สุด
2.คุณคิดว่าปัญหาคนไทยอ่านหนังสือน้อยเป็นปัญหาที่ควรได้รับการแก้ไข มีค่าเฉลี่ย 4.27 มีความคิดเห็น
อยู่ในระดับเห็นด้วยมาก
3.ในปัจจุบันมีสิ่งล่อตาล่อใจมากมายทีส่งผลให้การอ่านหนังสือของคนน้อยลง มีความคิดเห็นค่าเฉลี่ย 4.33
อยู่ในระดับเห็นด้วยมาก
4.คุณมักจะชอบอ่านหนังสือนวนิยายมากกว่าหนังสือเรียน มีค่าเฉลี่ย 4.03 มีความคิดเห็นอยู่ในระดับเห็น
ด้วยมาก
5.คุณชอบอ่านหนังสือในเวลากลางวันมากกว่าเวลากลางคืน มีค่าเฉลี่ย 3.7 มีความคิดเห็นอยู่ในระดับเห็น
ด้วยมาก
6.สภาพแวดล้อมมีผลกระทบต่อการอ่านหนังสือ มีค่าเฉลี่ย 3.73 มีความคิดเห็นอยู่ในระดับเห็นด้วยมาก
7.ประเภทของหนังสือมีผลต่อความสนใจในการอ่านหนังสือ มีค่าเฉลี่ย 3.76 มีความคิดเห็นอยู่ในระดับ
เห็นด้วยมาก
8.คุณชอบอ่านหนังสือออนไลน์ เช่น Ebookมากกว่าในเล่มหนังสือ มีค่าเฉลี่ย 3.33 มีความคิดเห็นอยู่ใน
ระดับเห็นด้วยปานกลาง
9.การอ่านหนังสือมีความสาคัญต่อการพัฒนาศักยภาพทางความรู้ มีค่าเฉลี่ย 3.8 มีความคิดเห็นอยู่ในระดับ
เห็นด้วยมาก
10.ภาครัฐและเอกชนควรสนับสนุนให้คนไทยมีนิสัยรักการอ่าน มีค่าเฉลี่ย 3.93 มีความคิดเห็นอยู่ในระดับ
เห็นด้วยมาก
24
บรรณานุกรม
กิ่งแก้ว อ่วมศรี. (2546). 2546 ปีแห่งการส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้. วารสารห้องสมุด. 47, 2
(เม.ย.- มิ.ย. 2546) 1-7.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551. พิมพ์ครั้งที่ 1.
กรุงเทพฯ: กระทรวง.
ฉวีลักษณ์ บุณยะกาญจน. (2547). นวัตกรรมการศึกษาชุด จิตวิทยาการอ่าน = Psychology of reading.
พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : ธารอักษร.
ชลภัสส์ วงษ์ประเสริฐ. (2551). ทิศทางการพัฒนาสังคมไทยสู่สังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ตาม
กรอบแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10. วารสารห้องสมุด. 52, 2 (ก.ค.-ธ.ค.
2551) 1-8.
ชุติมา สัจจานันท์ และสุนทรี ศุภวงศ์. (2529). บรรณานุกรมการอ่าน. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : สมาคม
ห้องสมุดแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี.
ถนอมวงศ์ ล้ายอดมรรคผล. (2552). การอ่านให้เก่ง. พิมพ์ครั้งที่ 13. กรุงเทพฯ : กระดาษสา.
ธารง บัวศรี. (2542). ทฤษฎีหลักสูตร การออกแบบและพัฒนา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : พัฒนาศึกษา.
นงนุช ภัทราคร. (2538). สถิติการศึกษา. กรุงเทพฯ : สุวีริยสาส์น.
นิภา ศรีไพโรจน์. (2527). หลักการวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: ศึกษาพร.
นวภรณ์ ซังบุดดา และขวัญฟ้า นิยมในธรรม, บรรณาธิการ. (2546). กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน.
พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : ศูนย์พัฒนาหนังสือ กรมวิชาการ.
บัลลังก์ โรหิตเสถียร และนงศิลินี โมสิกะ. (2553). ครม.เห็นชอบให้การส่งเสริมการอ่านเป็นวาระแห่งชาติ.
เข้าถึงเมื่อ 8 ตุลาคม 2553 จาก http://www.moe-
news.net/index.php?option=com_content&task=view&id
=1377&Itemid=2&preview=popup
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542: พร้อมพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสานักงานปฏิรูปการศึกษา
พ.ศ. 2542. (2543). กรุงเทพฯ: วิญญูชน.
วิทยากร เชียงกูล. (2552). ประเทศที่ประชาชนไม่ชอบอ่านหนังสือไม่มีทางจะไปสู้ใครเขาได้. วารสาร
ห้องสมุด. 53, 2 (ฉบับพิเศษ) (ก.ค.-ธ.ค. 2552) 63-66.
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (254?). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ ฉบับที่ 10. กรุงเทพฯ : สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
สานักงานสถิติแห่งชาติ. (2548). การสารวจพฤติกรรมการอ่านหนังสือของประชากร พ.ศ.2548 = The
Reading Behavior of Population Survey 2005. กรุงเทพฯ : สานักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวง
25
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
สุนทร โคตรบรรเทา (ผู้แปล). (2526). ถนนสู่การอ่าน. กรุงเทพฯ : สุวีรินาสาส์น.
สุนันทา มั่นเศรษฐวิทย์. (2548). เทคนิควิจัยด้านการอ่าน = Reading Research Techniques. พิมพ์ครั้งที่
4. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

More Related Content

What's hot

ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์Jiraporn
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)Pongpan Pairojana
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนพัน พัน
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อsukanya5729
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดพัน พัน
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1panisra
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5kessara61977
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดพัน พัน
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานKanistha Chudchum
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์โทโต๊ะ บินไกล
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกพัน พัน
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีWarodom Techasrisutee
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานPhongsak Kongkham
 

What's hot (20)

ขนมไทย
ขนมไทยขนมไทย
ขนมไทย
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
 
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิดโครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 

Viewers also liked

โครงงานคำควบกล้ำ
โครงงานคำควบกล้ำโครงงานคำควบกล้ำ
โครงงานคำควบกล้ำkruying pornprasartwittaya
 
โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทยโครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทยBudsayamas Srirasan
 
เค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทย
เค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทยเค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทย
เค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทยPiyarerk Bunkoson
 
โครงงานภาษาไทย 1
โครงงานภาษาไทย  1โครงงานภาษาไทย  1
โครงงานภาษาไทย 1knnkung
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถาม
แบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถามแบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถาม
แบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถามสำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013Kruthai Kidsdee
 

Viewers also liked (7)

โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทยโครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย
 
โครงงานคำควบกล้ำ
โครงงานคำควบกล้ำโครงงานคำควบกล้ำ
โครงงานคำควบกล้ำ
 
โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทยโครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย
 
เค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทย
เค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทยเค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทย
เค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทย
 
โครงงานภาษาไทย 1
โครงงานภาษาไทย  1โครงงานภาษาไทย  1
โครงงานภาษาไทย 1
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถาม
แบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถามแบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถาม
แบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถาม
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
 

Similar to โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย

วรรณกรรม 50 เรื่องที่ต้องอ่านก่อนโต
วรรณกรรม 50 เรื่องที่ต้องอ่านก่อนโตวรรณกรรม 50 เรื่องที่ต้องอ่านก่อนโต
วรรณกรรม 50 เรื่องที่ต้องอ่านก่อนโตNoiRr DaRk
 
2010 Love Read @NATION
2010 Love Read @NATION2010 Love Read @NATION
2010 Love Read @NATIONninecomp
 
50 วรรณกรรมที่ต้องได้อ่านก่อนโต
50 วรรณกรรมที่ต้องได้อ่านก่อนโต50 วรรณกรรมที่ต้องได้อ่านก่อนโต
50 วรรณกรรมที่ต้องได้อ่านก่อนโตNamchai Chewawiwat
 
งานนำเสนอIs3
งานนำเสนอIs3งานนำเสนอIs3
งานนำเสนอIs3ohm11007
 
กลยุทธ์การส่งเสริมการอ่านสำกรับวัยรุ่น
กลยุทธ์การส่งเสริมการอ่านสำกรับวัยรุ่นกลยุทธ์การส่งเสริมการอ่านสำกรับวัยรุ่น
กลยุทธ์การส่งเสริมการอ่านสำกรับวัยรุ่นSilpakorn University
 
ใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดก่อนเรียน
ใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดก่อนเรียนใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดก่อนเรียน
ใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดก่อนเรียนtassanee chaicharoen
 
ใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดหลังเรียน
ใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดหลังเรียนใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดหลังเรียน
ใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดหลังเรียนtassanee chaicharoen
 
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง สุธารักษ์ พันธ์วงศ์รัตน์
 
หอสมุด 24 ชั่วโมง
หอสมุด 24 ชั่วโมงหอสมุด 24 ชั่วโมง
หอสมุด 24 ชั่วโมงbooanniez
 
Group 48 หอสมุด 24 ชั่วโมง
Group 48  หอสมุด 24 ชั่วโมงGroup 48  หอสมุด 24 ชั่วโมง
Group 48 หอสมุด 24 ชั่วโมงbooanniez
 
ห้องสมุด 3 ดี
ห้องสมุด 3 ดีห้องสมุด 3 ดี
ห้องสมุด 3 ดีteerasak04
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1Lion_PK
 
หอสมุด 24 ชั่วโมง
หอสมุด 24 ชั่วโมงหอสมุด 24 ชั่วโมง
หอสมุด 24 ชั่วโมงbooanniez
 
เล่มที่ 6 ประเพณี
เล่มที่ 6 ประเพณีเล่มที่ 6 ประเพณี
เล่มที่ 6 ประเพณีหรร 'ษๅ
 
ภาษาจีนง่ายนิดเดียว
ภาษาจีนง่ายนิดเดียวภาษาจีนง่ายนิดเดียว
ภาษาจีนง่ายนิดเดียวThunyalak Thumphila
 

Similar to โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย (20)

วรรณกรรม 50 เรื่องที่ต้องอ่านก่อนโต
วรรณกรรม 50 เรื่องที่ต้องอ่านก่อนโตวรรณกรรม 50 เรื่องที่ต้องอ่านก่อนโต
วรรณกรรม 50 เรื่องที่ต้องอ่านก่อนโต
 
2010 Love Read @NATION
2010 Love Read @NATION2010 Love Read @NATION
2010 Love Read @NATION
 
50 วรรณกรรมที่ต้องได้อ่านก่อนโต
50 วรรณกรรมที่ต้องได้อ่านก่อนโต50 วรรณกรรมที่ต้องได้อ่านก่อนโต
50 วรรณกรรมที่ต้องได้อ่านก่อนโต
 
งานนำเสนอIs3
งานนำเสนอIs3งานนำเสนอIs3
งานนำเสนอIs3
 
กลยุทธ์การส่งเสริมการอ่านสำกรับวัยรุ่น
กลยุทธ์การส่งเสริมการอ่านสำกรับวัยรุ่นกลยุทธ์การส่งเสริมการอ่านสำกรับวัยรุ่น
กลยุทธ์การส่งเสริมการอ่านสำกรับวัยรุ่น
 
ใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดก่อนเรียน
ใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดก่อนเรียนใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดก่อนเรียน
ใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดก่อนเรียน
 
ใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดหลังเรียน
ใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดหลังเรียนใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดหลังเรียน
ใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดหลังเรียน
 
5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง
5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง 5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง
5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง
 
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง
 
5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง
5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง 5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง
5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง
 
V 283
V 283V 283
V 283
 
หอสมุด 24 ชั่วโมง
หอสมุด 24 ชั่วโมงหอสมุด 24 ชั่วโมง
หอสมุด 24 ชั่วโมง
 
Group 48 หอสมุด 24 ชั่วโมง
Group 48  หอสมุด 24 ชั่วโมงGroup 48  หอสมุด 24 ชั่วโมง
Group 48 หอสมุด 24 ชั่วโมง
 
ห้องสมุด 3 ดี
ห้องสมุด 3 ดีห้องสมุด 3 ดี
ห้องสมุด 3 ดี
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
หอสมุด 24 ชั่วโมง
หอสมุด 24 ชั่วโมงหอสมุด 24 ชั่วโมง
หอสมุด 24 ชั่วโมง
 
เล่มที่ 6 ประเพณี
เล่มที่ 6 ประเพณีเล่มที่ 6 ประเพณี
เล่มที่ 6 ประเพณี
 
แผน
แผนแผน
แผน
 
ภาษาจีนง่ายนิดเดียว
ภาษาจีนง่ายนิดเดียวภาษาจีนง่ายนิดเดียว
ภาษาจีนง่ายนิดเดียว
 
3 สุขอยู่ที่ ใจ
3 สุขอยู่ที่ ใจ 3 สุขอยู่ที่ ใจ
3 สุขอยู่ที่ ใจ
 

โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย

  • 1. 1 โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย จัดทาโดย นายนวคุณ แสนเสน เลขที่ 3 สิทธินันท์ ละดาวัลย์ เลขที่ 9 นายสิรวิชญ์ สิทธิพิสัย เลขที่ 10 นายสุริยะ ชาติหวาน เลขที่ 11 นางสาวจิรฐา ศรีหาดุงน้อย เลขที่ 15 นางสาวเมธินี คาสนิท เลขที่ 35 นางสาวณัฐรดา ดวงท้าวเสศ เลขที่ 47 เสนอ คุณครูเอกนรินทร์ แก้วอุ่นเรือน โรงเรียนบ้านดุงวิทยา ตาบลศรีสุทโธ อาเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 20
  • 2. 2 กิตติกรรมประกาศ โครงงานเรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย สาเร็จลุล่วงด้วยความกรุณาและ ช่วยเหลืออย่างสูงยิ่งจาก นายชัยนาท พรมมาลุน ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านดุงวิทยา นายเอกนรินทร์ แก้วอุ่นเรือน ครูประจาวิชา ที่ช่วยให้คาปรึกษา ช่วยแก้ไขปัญหาต่างๆ เกี่ยวกับ โครงงาน ตลอดจนเอื้อเฟื้อสถานที่ และออกแบบผลงาน นางขวัญหทัย วงศ์สุริยัน ที่ช่วยอนุเคราะห์อุปกรณ์เครื่องมือต่างๆ ในการศึกษา นายจตุพจน์ มะลิงาม และนายพินิจ สมบัติกาไร ที่ช่วยให้คาปรึกษาและอานวยความสะดวกใน การศึกษา ขอขอบคุณผู้ปกครองที่สนับสนุนงบประมาณในการทาการศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคน ไทย และชุมชนที่ให้ความร่วมมือ ความช่วยเหลือในด้านต่างๆ และให้กาลังในตลอดมา คณะผู้จัดทาโครงงานขอขอบคุณท่านที่มีส่วนเกี่ยวข้องไว้ณ โอกาสนี้ คณะผู้ศึกษา
  • 3. 3 สารบัญ เรื่อง หน้า กิตติกรรมประกาศ ก 1.สรุปผลการศึกษา 1 - 5 2.สรุปเรียงความการเก็บข้อมูลจากแบบสอบถาม และข้อเสนอแนะ 9-11 3.ตารางแบบสอบถาม 12 ภาคผนวก -โครงร่าง 14-18 -แบบสอบถาม 19 -การหาร้อยละ 20-22 -สรุปจากตารางแบบสอบถาม 23
  • 4. 4 สรุปผลการศึกษา 1. ค่านิยมและทัศนคติต่อการอ่านหนังสือของคนไทย การวิจัยพบว่าปัจจุบันคนไทย (หมายถึง กลุ่มเยาวชน และผู้ปกครอง) มีทัศนคติที่ดีต่อการอ่าน หนังสือโดยเล็งเห็นประโยชน์ และคุณค่าของการอ่านหนังสือ ซึ่งกลุ่มตัวอย่างมีความคิดเห็นว่า 1.การอ่านหนังสือทาให้ฉลาด และมีความรู้ 2.การอ่านหนังสือเป็นการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ 3.การอ่านหนังสือทาให้มีโลกทัศน์กว้างขึ้น 4.การอ่านหนังสือเป็นการเสริมสร้างจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ นอกจากข้อมูลที่ได้จากกลุ่มตัวอย่างในการสารวจความคิดเห็นทั่วประเทศแล้ว ผู้ทรงคุณวุฒิที่เข้า ร่วมระดมความคิดในโครงการวิจัยนี้มีความคิดเห็นสอดคล้องกันว่าปัจจุบันคนไทยมีทัศนคติที่ดีต่อการอ่าน หนังสือมากขึ้นกว่าในอดีตโดยปัจจัยหลักสาคัญที่ขับเคลื่อนให้คนไทยมีทัศนคติที่ดีต่อการอ่านได้แก่การ ตระหนักดีถึงประโยชน์ของการอ่านหนังสือที่มีต่อการดาเนินชีวิตในปัจจุบัน ดังนั้นปัจจุบันคนไทยจึงมี ทัศนคติต่อการอ่านหนังสือดีขึ้นอย่างมากกว่าในอดีตเห็นได้ว่า คนไทยมีทัศนคติที่ดีต่อการอ่านหนังสือ เนื่องจากมองเห็นถึงประโยชน์ และความจาเป็นของการอ่านหนังสือ สถิติการอ่านหนังสือของคนไทยเฉลี่ยเพียงปีละ 2 เล่ม ซึ่งนับว่าต่ามากๆ เมื่อเปรียบเทียบกับ ประเทศเพื่อนบ้านอย่างสิงคโปร์ ที่มีสถิติการอ่านหนังสือปีละ 40-50 เล่ม ส่วนเวียดนาม มีสถิติการอ่าน หนังสือปีละ 60 เล่ม การวิจัยครั้งนี้ และได้มีการสารวจทัศคติของคนไทยที่มีต่อการอ่านหนังสือ ดังต่อไปนี้ - กลุ่มผู้ปกครองของ (บุตรอายุ 0-6 ปี) มีทัศนคติที่ดีต่อการอ่านหนังสือมากกว่า กลุ่มเยาวชน อายุ 7-24 ปี - กลุ่มเยาวชนที่มีอายุน้อย มีทัศนคติที่ดีต่อการอ่านหนังสือมากกว่า กลุ่มเยาวชนที่มีอายุมาก - กลุ่มเยาวชนหญิง มีทัศนคติที่ดีต่อการอ่านหนังสือมากกว่า กลุ่มเยาวชนชาย พฤติกรรมคนไทยในยุคปัจจุบันนั้นอ่านผ่านช่องทางที่หลากหลายมากขึ้น ยิ่งในยุคปัจจุบันสื่อ อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นอินเทอร์เน็ต อีบุ๊ก หรือดิจิทัล คอนเทนต์ นั้นเข้ามามีบทบาทมากขึ้นต่อการ อ่านหนังสือของคนไทย แต่ก็พบว่าปัจจัยเรื่องเพศ อายุ สถานภาพ และรายได้มีผลต่อพฤติกรรมการอ่าน
  • 5. 5 หนังสือ โดยหากเป็นเพศหญิง อายุน้อย สถานภาพโสดและรายได้สูง จะอ่านหนังสือบ่อยขึ้น ซึ่งเพศหญิงมี ระยะเวลาในการอ่านหนังสือสูงกว่าเพศชาย 4 นาที/วัน และผู้ที่อาศัยอยู่ในคอนโดมิเนียม หอพัก หรืออ พาร์ตเมนต์ จะมีระยะเวลาการอ่านหนังสือเฉลี่ยต่อวันสูงกว่าผู้อาศัยอยู่ในบ้านเดี่ยวและทาวน์เฮาส์เล็กน้อย พฤติกรรมการอ่านของคนไทย ขณะที่พฤติกรรมการซื้อหนังสือนั้น จะซื้อเฉลี่ยปีละ 4 เล่ม โดย กลุ่มที่ซื้อหนังสือมากที่สุดคือคนที่อายุน้อยกว่า 20 ปี โดยซื้อเฉลี่ยปีละ 9 เล่ม รองลงมาคือคนที่อายุ 21-30 ปี ซื้อเฉลี่ยปีละ 6 เล่ม และค่อยๆ ลดจานวนลง ซึ่งเด็กไทยอ่านหนังสือปีละ 9 เล่มนั้น ในจานวน 4 เล่มเป็น การ์ตูน รวมไปถึงนิยายภาพ และอีก 3 เล่มเป็นคู่มือเตรียมสอบ โดยจะซื้อหนังสือไม่เกินครั้งละ 2 เล่ม มี ค่าใช้จ่ายในการซื้อหนังสือไม่เกินครั้งละ 500 บาท ขณะที่สถานภาพของคนโสดนิยมซื้อการ์ตูนและนว นิยายทั้งไทยและต่างประเทศมากกว่าคนที่แต่งงานแล้ว โดยผลสารวจยังระบุอีกว่าคนโสดจะซื้อหนังสือสูง กว่าคนที่แต่งงานประมาณ 42 บาท ฉะนั้นกลุ่มที่อ่านหนังสือมากจึงเป็นคนโสดและมีรายได้สูง สาหรับสิ่งที่เห็นมากขึ้นกับคนไทย โดยเฉพาะคนเกษียณที่มีอายุตั้งแต่ 61 ปีนั้นเริ่มหันมาอ่าน หนังสือกันมากขึ้น เหตุผลก็เพราะมีเวลาว่างในชีวิตมากขึ้น ซึ่งจะใช้เวลาอ่านหนังสือเฉลี่ย 4 เล่ม/ปี หนังสือ ที่นิยมอ่านส่วนใหญ่คือแนวสุขภาพ อาหาร ธรรมะ และศาสนา จากการสารวจพฤติกรรมการอ่านและซื้อหนังสือของคนไทย โดยสมาคมผู้จัดพิมพ์และผู้จัด จาหน่ายหนังสือแห่งประเทศไทย ร่วมกับคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และศูนย์วิจัยเพื่อ พัฒนาสังคมและธุรกิจ ประชาชนอายุระหว่าง 15-69 ปี ที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพฯ จ.นนทบุรี ปทุมธานี สมุทรปราการ และ 8 จังหวัดใหญ่ใน 4 ภูมิภาค ประกอบด้วย เชียงใหม่ นครสวรรค์ ขอนแก่น นครราชสีมา นครศรีธรรมราช สงขลา พิษณุโลก และชลบุรี รวม 12 จังหวัด ได้สารวจเมื่อเดือน ธ.ค. 2557 ถึง ม.ค. 2558 จานวน 3,432 ตัวอย่าง ซึ่ง 88% นั้นอ่านหนังสือประเภทตาราเรียน หนังสือพิมพ์ นิตยสาร และเว็บไซต์ ใช้ เวลาอ่านต่อวันเฉลี่ย 46 นาที ส่วนผู้ที่ไม่อ่านมีเพียง 12% ที่ระบุว่าไม่รู้จะอ่านอะไร หรือมีปัญหาทางด้าน สายตา นอกจากนี้ พฤติกรรมการซื้อหนังสือของคนไทยส่วนใหญ่ 99.1% จะซื้อหนังสือที่ร้านหนังสือ ส่วน ช่องทางอื่นๆ อาทิ ซื้อออนไลน์กับร้านหนังสือ หรือโทรสั่งยังเป็นส่วนน้อยมาก โดยคุณสมบัติของร้าน หนังสือนั้นคือการมีหนังสือที่หลากหลาย คิดเป็น 77% รองลงมาคือเลือกชมหนังสือได้ง่ายและใกล้บ้าน ที่ ทางาน สถานศึกษา 53.9% นอกจากนี้ผู้ที่ซื้อหนังสือ 20.2% เคยไปงานสัปดาห์หนังสือ งานมหกรรมหนังสือ หรืองานบุ๊กส์แฟร์อื่นๆขณะที่เมื่อเทียบเวลาการอ่านหนังสือกระดาษกับอีบุ๊คพบว่า อ่านหนังสือกระดาษ 90.51% อ่านอีบุ๊ค 9.49% ซึ่งอีบุ๊กนั้นถือว่ามีสัดส่วนค่อนข้างเล็ก เมื่อเทียบกับตลาดหนังสือกระดาษใน ประเทศไทยและยังพบว่ากลยุทธ์ในการประชาสัมพันธ์หนังสือที่จะได้ผลในกลุ่มผู้บริโภคอายุน้อยมีอิทธิพล
  • 6. 6 จากการแชร์ของโซเชียลมีเดีย ไม่ว่าจะเป็นเฟซบุ๊ก ทวิตเตอร์ และเว็บไซต์จะมีผลมาก ขณะที่ผู้บริโภคอายุ มากกว่า 40 ปี จะได้รับอิทธิพลหลักมาจากโทรทัศน์ สานักงานสถิติแห่งชาติใช้ครัวเรือน55,920ครัวเรือนเป็นตัวอย่างสารวจตั้งแต่เด็กอายุ6ขวบขึ้นไป สรุปว่า คนไทยมีอัตราการอ่านหนังสือร้อยละ 81.8 ใช้เวลาการอ่านหนังสือเฉลี่ยวันละ 37 นาที โดย กลุ่มเด็ก และเยาวชนใช้เวลาอ่านหนังสือมากที่สุด เฉลี่ย 46–50 นาทีต่อวัน มากกว่า กลุ่มวัยทางาน และ กลุ่มผู้สูงวัย ที่ ใช้เวลาอ่านหนังสือเฉลี่ย 31–33 นาทีต่อวัน และผู้ชายมีอัตราการอ่านหนังสือสูงกว่าผู้หญิงเล็กน้อย กลุ่มวัยที่ มีการอ่านหนังสือมากที่สุดคือ “วัยเด็ก” มีอัตราการอ่านหนังสือสูงสุดถึง ร้อยละ 95.1 รองมาคือ กลุ่มเยาวชน ร้อยละ 90.1 กลุ่มวัยทางานร้อยละ 83.1 และ กลุ่มสูงวัยร้อยละ 57.8 ต่าที่สุด สรุปเรียงความการเก็บข้อมูลจากแบบสอบถามและข้อเสนอแนะ ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ประชาชนในชุมชนบ้านหนองแต้ ต.โพนสูง อ.บ้านดุง จ.อุดรธานี จานวน 30 คน ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม 1.เพศ ชาย: จานวน15คน คิดเป็นร้อยละ50% หญิง: จานวน15คน คิดเป็นร้อยละ50% 2.ระดับการศึกษา ประถม: จานวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ:26.67 มัธยม: จานวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ:36.67 ปริญญาตรี: จานวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ:26.67 ปริญญาโท: จานวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ:10 ปริญญาเอก: จานวน 0 8o คิดเป็นร้อยละ:0
  • 7. 7 3. ช่วงอายุ 10-20 ปี: จานวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ:63.33 21-30 ปี: จานวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ13.33 31-40 ปี: จานวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ:10 41-50 ปี: จานวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ :10 51-60 ปี: จานวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ :3.3 ตอนที่ 2 ตารางแบบสอบถามความคิดเห็น ผลจากการทาแบบสอบถาม มีดังนี้ 1.การอ่านหนังสือควรเริ่มตั้งแต่วัยเด็ก มีผู้เห็นด้วยมากที่สุด 22 คิดเป็นร้อยละ 73.33 เห็นด้วยมาก 7 คน คิด เป็นร้อยละ 23.33 เห็นด้วยปานกลางมี 1 คน คิดเป็นร้อยละ 3.33 เห็นด้วยน้อย และไม่เห็นด้วย มี 0 คน คิด เป็นเป็นร้อยละ 0 มีค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 4.70 มีความคิดเห็นอยู่ในระดับเห็นด้วยมากที่สุด 2.คุณคิดว่าปัญหาคนไทยอ่านหนังสือน้อยเป็นปัญหาที่ควรได้รับการแก้ไข มีผู้เห็นด้วยมากที่สุด 8 คน คิด เป็นร้อยละ 26.67 เห็นด้วยมาก 22 คน คิดเป็นร้อยละ 73.33 เห็นด้วยปานกลาง เห็นด้วยน้อย และไม่เห็นด้วย มีจานวนเท่ากับ 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0 มีค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 4.27 มีความคิดเห็นอยู่ในระดับเห็นด้วยมาก 3.ในปัจจุบันมีสิ่งล่อตาล่อใจมากมายทีส่งผลให้การอ่านหนังสือของคนน้อยลง มีผู้เห็นด้วยมากที่สุด 8 คน คิดเป็นร้อยละ 43.33 เห็นด้วยมาก 15 คน คิดเป็นร้อยละ 50 เห็นด้วยปานกลาง 1 คน คิดเป็นร้อยละ 3.33 เห็นด้วยน้อย 1 คน คิดเป็นร้อยละ 3.33 ไม่เห็นด้วย 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0 ค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 4.33 มีความ คิดเห็นอยู่ในระดับเห็นด้วยมาก 4.คุณมักจะชอบอ่านหนังสือนวนิยายมากกว่าหนังสือเรียน มีผู้เห็นด้วยมากที่สุด 10 คน คิดเป็นร้อยละ 33.33 เห็นด้วยมาก 12 คน คิดเป็นร้อยละ 40 เห็นด้วยปานกลาง 7 คน คิดเป็นร้อยละ 22.33 เห็นด้วยน้อย 1 คน คิด เป็นร้อยละ 3.33 ไม่เห็นด้วย 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0 ค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 4.03 มีความคิดเห็นอยู่ในระดับเห็น ด้วยมาก
  • 8. 8 5.คุณชอบอ่านหนังสือในเวลากลางวันมากกว่าเวลากลางคืน มีผู้เห็นด้วยมากที่สุด 5 คน คิดเป็นร้อยละ 16.66 เห็นด้วยมาก 14 คน คิดเป็นร้อยละ 46.66 เห็นด้วยปานกลาง 8 คน คิดเป็นร้อยละ 26.66 เห็นด้วยน้อย 3 คน คิดเป็นร้อยละ 10 ไม่เห็นด้วย 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0 ค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 3.70 มีความคิดเห็นอยู่ใน ระดับเห็นด้วยมาก 6.สภาพแวดล้อมมีผลกระทบต่อการอ่านหนังสือ มีผู้เห็นด้วยมากที่สุด 5 คน คิดเป็นร้อยละ 16.66 เห็นด้วย มาก 13 คน คิดเป็นร้อยละ 43.33 เห็นด้วยปานกลาง 11 คน คิดเป็นร้อยละ 36.66 เห็นด้วยน้อย 1 คน คิดเป็น ร้อยละ 3.33 ไม่เห็นด้วย 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0 ค่าเฉลี่ยรวม 3.76 มีความคิดเห็นอยู่ในระดับเห็นด้วยมาก 7.ประเภทของหนังสือมีผลต่อความสนใจในการอ่านหนังสือ มีผู้เห็นด้วยมากที่สุด 9 คน คิดเป็นร้อยละ 30 เห็นด้วยมาก 8 คน คิดเป็นร้อยละ 26.66 เห็นด้วยปานกลาง 10 คน คิดเป็นร้อยละ 33.33 เห็นด้วยน้อย 3 คน คิดเป็นร้อยละ 10 ไม่เห็นด้วย 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0 ค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 3.76 มีความคิดเห็นอยู่ในระดับเห็น ด้วยมาก 8. คุณชอบอ่านหนังสือออนไลน์ เช่น Ebookมากกว่าในเล่มหนังสือ มีผู้เห็นด้วยมากที่สุด 4 คน คิดเป็นร้อย ละ 13.33 เห็นด้วยมาก 10 คน คิดเป็นร้อยละ 33.33 เห็นด้วยปานกลาง 8 คน คิดเป็นร้อยละ 26.66 เห็นด้วย น้อย 8 คน คิดเป็นร้อยละ 26.66 ไม่เห็นด้วย 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0 ค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 3.33 มีความคิดเห็น อยู่ในระดับเห็นด้วย 9. การอ่านหนังสือมีความสาคัญต่อการพัฒนาศักยภาพทางความรู้ มีผู้เห็นด้วยมากที่สุด 7 คน คิดเป็นร้อยละ 23.33 เห็นด้วยมาก 11 คน คิดเป็นร้อยละ 36.66 เห็นด้วยปานกลาง 11 คน คิดเป็นร้อยละ 36.66 เห็นด้วยน้อย คน คิดเป็นร้อยละ 3.33 ไม่เห็นด้วย 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0 ค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 3.8 มีความคิดเห็นอยู่ในระดับ เห็นด้วยมาก 10. ภาครัฐและเอกชนควรสนับสนุนให้คนไทยมีนิสัยรักการอ่าน มีผู้เห็นด้วยมากที่สุด 12 คน คิดเป็นร้อยละ 40 เห็นด้วยมาก 6 คน คิดเป็นร้อยละ 20 เห็นด้วยปานกลาง 10 คน คิดเป็นร้อยละ 33.33 เห็นด้วยน้อย 2 คน คิดเป็นร้อยละ 6.66 ไม่เห็นด้วย 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0 ค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 3.93 มีความคิดเห็นอยู่ในระดับ เห็นด้วยมาก
  • 9. 9 สรุปแบบสารวจการศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย การศึกษาเกี่ยวกับการศึกษาปัญหาการอ่าหนังสือของคนไทย จากการสารวจจากการกรอกแบบสอบถามของ กลุ่มตัวอย่าง จานวน 30 คน ซึ่งผู้ศึกษาได้ดาเนินการวิเคราะห์ข้อมูลและแปลผลข้อมูลตามลาดับ ดังนี้ ตารางแสดงจานวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม 1.เพศ เพศ จานวน(คน) ร้อยละ ชาย 15 50 หญิง 15 50 2.ระดับการศึกษา ระดับการศึกษา จานวน(คน) ร้อยละ ประถมศึกษา 8 26.67 มัธยมศึกษา 11 36.67 ปริญญาตรี 8 26.67 ปริญญาโท 3 10 ปริญญาเอก 0 0
  • 10. 10 3.ช่วงอายุ ช่วงอายุ จานวน(คน) ร้อยละ 10-20 19 63.33 21-30 4 13.33 31-40 3 10 41-50 3 10 51-60 1 3.3 เกณฑ์ค่าเฉลี่ย คะแนน 1.00 – 1.49 คือ ไม่เห็นด้วย คะแนน 1.50 – 2.49 คือ เห็นด้วยน้อย คะแนน 2.50 – 3.49 คือ เห็นด้วยปานกลาง คะแนน 3.50 – 4.49 คือ เห็นด้วยมาก คะแนน 4.50 – 5.00 คือ เห็นด้วยมากที่สุด
  • 11. 11 ตารางแสดงค่าเฉลี่ยของการเลือกตอบระดับการประเมินในแต่ละข้อของกลุ่มตัวอย่าง รายการ X ระดับ 1.การอ่านหนังสือควรเริ่มตั้งแต่วัยเด็ก 4.70 เห็นด้วยมากที่สุด 2.คุณคิดว่าปัญหาคนไทยอ่านหนังสือน้อยเป็นปัญหาที่ควรได้รับ การแก้ไข 4.27 เห็นด้วยมาก 3.ในปัจจุบันมีสิ่งล่อตาล่อใจมากมายทีส่งผลให้การอ่านหนังสือ ของคนน้อยลง 4.33 เห็นด้วยมาก 4.คุณมักจะชอบอ่านหนังสือนวนิยายมากกว่าหนังสือเรียน 4.03 เห็นด้วยมาก 5.คุณชอบอ่านหนังสือในเวลากลางวันมากกว่าเวลากลางคืน 3.70 เห็นด้วยมาก 6.สภาพแวดล้อมมีผลกระทบต่อการอ่านหนังสือ 3.73 เห็นด้วยมาก 7.ประเภทของหนังสือมีผลต่อความสนใจในการอ่านหนังสือ 3.76 เห็นด้วยมาก 8.คุณชอบอ่านหนังสือออนไลน์ เช่น E-book มากกว่าในเล่ม หนังสือ 3.33 เห็นด้วยปานกลาง 9.การอ่านหนังสือมีความสาคัญต่อการพัฒนาศักยภาพทางความรู้ 3.80 เห็นด้วยมาก 10.ภาครัฐและเอกชนควรสนับสนุนให้คนไทยมีนิสัยรักการอ่าน 3.93 เห็นด้วยมาก สรุป การอ่านหนังสือควรเริ่มต้นตั้งแต่วัยเด็ก ปัญหาคนไทยอ่านหนังสือน้อยควรได้รับการแก้ไขอย่าง เร่งด่วน เนื่องจากในปัจจุบันมีเทคโนโลยี และสิ่งล่อตาล่อใจมากมาย ทาให้ความสนใจในการอ่านหนังสือ
  • 12. 12 ของคนไทยน้อยลง ประเภทของหนังสือส่งผลต่อความสนใจในการอ่านหนังสือของคนไทย เช่น คนส่วน ใหญ่มีความสนใจอ่านหนังสือนวนิยายมากกว่าหนังสือเรียน และอ่านหนังสือออนไลน์หรือ E-Book มากกว่าหนังสือที่เป็นเล่ม รวมถึงสภาพแวดล้อมและช่วงเวลาที่ส่งผลต่อความต้องการอ่านหนังสือ เช่น ชอบอ่านหนังสือเวลากลางวันมากกว่ากลางคืน ซึ่งการอ่านหนังสือมีความสาคัญต่อการพัฒนาศักยภาพทาง ความรู้ของคน เนื่องจากคนไทยมีปัญหาการอ่านหนังสือที่น้อย ทั้งภาครัฐ และเอกชน จึงควรให้การ สนับสนุนและส่งเสริมการอ่านหนังสือให้มากขึ้น
  • 14. 14 ชื่อเรื่องวิจัย การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย ผู้ศึกษา นายนวคุณ แสนเสน เลขที่ 3 สิทธินันท์ ละดาวัลย์ เลขที่ 9 นายสิรวิชญ์ สิทธิพิสัย เลขที่ 10 นายสุริยะ ชาติหวาน เลขที่ 11 นางสาวจิรฐา ศรีหาดุงน้อย เลขที่ 15 นางสาวเมธินี คาสนิท เลขที่ 35 นางสาวณัฐรดา ดวงท้าวเสศ เลขที่ 47 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1 โรงเรียนบ้านดุงวิทยา ปีที่ศึกษา 2558 ความสาคัญของหัวเรื่องที่ค้นคว้า ในปัจจุบันคนไทยมีผลการเรียนที่ค่อนข้างต่ากว่าเด็กของประเทศต่างๆของโลก แม้กระทั่งประเทศ เพื่อนบ้าน ที่อยู่ในสมาคมอาเซียน เช่น ลาว พม่า สิงคโปร์ มาเลเซีย เป็นต้น เนื่องจากคนไทยในปัจจุบันเริ่ม ไม่สนใจ และให้ความสาคัญกับการอ่านหนังสือ จะมีเหตุเริ่มจากการเข้ามาของระบบคอมพิวเตอร์ และ อินเตอร์เน็ต เมื่อย้อนไปในสมัยที่ไม่มีคอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ตนั้น สื่อสาคัญที่ให้ความรู้กับเด็กนั้นก็คือ หนังสือ เพราะเป็นสื่อเดียวที่มีในช่วงเวลานั้น เด็กจะค้นหาข้อมูลในการศึกษาจากหนังสือที่โรงเรียน ได้ จัดเตรียมไว้ให้ สิ่งเหล่านั้นก็เลยเป็นทางเลือกเดียวที่ทาให้เด็กมีความสนใจที่จะอ่านหนังสือ ตลอดเวลาสมัย นั้น ไม่มีเกมหรือสื่อบันเทิงต่างๆ ที่เกิดเหมือนในปัจจุบันนี้ มีแต่เพียงหนังสือหรือไม่ก็เป็นโทรทัศน์และ วิทยุที่ใช้สาหรับรับฟังข้อมูลต่างๆ ที่เกิดขึ้นภายในประเทศและนอกประเทศ หลังจากการเปลี่ยนแปลงไป ของยุคสมัย การติดต่อระหว่างประเทศมีความสะดวกมากขึ้น เส้นทางในการส่ง-รับรู้ข่าวสารข้ามประเทศก็ สะดวกมากยิ่งขึ้นอีกด้วย ดังนั้น ทางคณะผู้จัดทาเลยได้ยกประเด็นนี้มาศึกษา เพื่อหาความรู้ และสาเหตุ สาคัญ ที่มาของปัญหา และแนวทางการแก้ไขปัญหาของเรื่องนี้
  • 15. 15 วัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการอ่านหนังสือของคนไทยในปัจจุบัน 2) เพื่อรู้แนวทางในการแก้ไขปัญหาการอ่านหนังสือที่ลดน้อยลงของคนไทยในปัจจุบัน ประโยชน์ที่ได้รับจากการค้นคว้า 1) ทราบถึงพฤติกรรมการอ่านหนังสือของคนไทยในปัจจุบัน 2) รู้แนวทางนามาแก้ไขปัญหาพฤติกรรมการอ่านหนังสือที่ลดน้อยลงของคนไทยในปัจจุบัน ในปัจจุบันนี้โลกได้มีการก้าวหน้าในหลายๆด้าน เป็นสิ่งที่ช่วยให้มนุษย์ณ ปัจจุบันนี้มีความ สะดวกสบายมากยิ่งขึ้น แต่อีกในด้านหนึ่งก็ดูเหมือนว่าการที่มนุษย์พยายามที่จะพัฒนา ทั้งในด้าน เทคโนโลยีเศรษฐกิจ และคุณภาพชีวิต กลับมีผลกระทบที่เป็นต้นเหตุให้เกิดปัญหาสังคม ที่มีให้เห็นอยู่มาก เมื่อเปรียบเทียบในด้านสภาพความเป็นอยู่ และความรู้สึกในการดารงชีพช่วงอดีตกับปัจจุบัน ก็พบว่า คน ส่วนใหญ่ชอบความเป็นอยู่แบบอดีตมากกว่า ในช่วงเวลานั้น ปัญหาสังคมถือว่าแทบจะไม่มีให้เห็น แต่ใน ปัจจุบันนี้ปัญหาสังคมถือว่ามีอยู่แทบทุกๆที่ ในประเทศไม่ใช่เพียงแต่แค่ในประเทศไทยเท่านั้น แต่ในทุกๆ ประเทศก็มีปัญหาสังคมที่แตกต่างกันออกไป ซึ่งในบทความนี้ผู้เขียนต้องการเขียนถึงปัญหาสังคมในด้าน การศึกษา เพราะถือว่าเป็นเรื่องสาคัญการศึกษา ถือว่าเป็นจุดสาคัญให้การปลูกฝังทั้งด้านจิตใจ และความรู้ ให้คนไทยสามารถตัดสินใจเลือกทางเดินชีวิตที่ถูกต้อง ซึ่งเป็นการลดปัญหาสังคมที่เกิดขึ้น ให้มีจานวน ลดลงไปได้ จากการค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาด้านการอ่านหนังสือของคนไทย ในเรื่องการอ่านหนังสือ เพราะการอ่านหนังสือมีประโยชน์โดยตรงกับทุกคนๆ เป็นสื่อที่จะทาให้คนในสังคมได้รับรู้ข่าวสารความรู้ และเรื่องราวต่างๆที่เกิดขึ้น ทั้งในประเทศและที่อื่นๆ ถ้าจะพูดถึงการอ่านก็เป็นส่วนหนึ่งของการดารงชีพ ของมนุษย์ในอดีตการศึกษาถือว่ายังไม่แพร่หลายเท่าปัจจุบัน จะขยายความก็คืออดีตนั้นไม่มีกฎเกณฑ์ที่ บังคับ ให้ทุกคนต้องเรียนหนังสือ จึงทาให้กลุ่มคนที่เรียนหนังสือ จะเป็นกลุ่มคนที่มีฐานะเท่านั้น ต่อมาก็ได้ มีการเล็งเห็นถึงความสาคัญของการศึกษามากขึ้น คนที่ไม่ค่อยมีฐานะแต่มีความสนใจในการศึกษา
  • 16. 16 หาความรู้นั้น ก็ทาให้เริ่มมีแหล่งการศึกษาเรียนรู้เปิดมากขึ้น ในช่วงเวลาต่อๆมาทุกคนเริ่มเร็งเห็น ถึง การศึกษาที่ควรเปิดโอกาสให้กับคน ทุกระดับ เนื่องจากโลกเริ่มมีการเปิดกว้างขึ้น การอ่านเขียนจึงเป็นส่วน สาคัญ ที่จะทาให้ทุกคนสามารถจะเรียนรู้ และศึกษาความรู้ต่างๆ ตามที่แหล่งสถาบันการศึกษาได้สอน การศึกษา ถือว่าเป็นปัจจัยหลักในการพัฒนาคน ให้มีความรู้เพื่อที่จะมาพัฒนาประเทศได้การอ่านหนังสือ จึง ถือว่าเป็นเรื่องสาคัญที่สุดของการศึกษาหาความรู้ เพราะเป็นตัวช่วยให้สมองมีการพัฒนาอยู่ตลอดเวลา ทา ให้เราสามารถที่จะคิดและตัดสินใจได้ เอกสารอ้างอิง http://www.pr.chula.ac.th http://www.thaihealth.or.th http://www.tkpark.or.th
  • 17. 17 วิธีหรือแบบแผนการค้นคว้า การเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล เป็นต้น ปฏิทินการดาเนินงาน ลาดับที่ รายการปฏิบัติงาน ว/ด/ป ความรับผิดชอบ 1 เขียนโครงร่างการรายงาน พ.ค.58 รับผิดชอบร่วมกัน 2 สรุปความรู้ที่ได้จากภาคเรียนที่ 1 พ.ค.58 รับผิดชอบร่วมกัน 3 ออกแบบรูปแบบการเก็บข้อมูลใน ภาคเรียนที่ 2(เซ็น แบบสารวจ) ธ.ค. 58 รับผิดชอบร่วมกัน 4 กาหนดกลุ่มตัวอย่างที่จะเก็บข้อมูล (อายุ10-60ปี หมู่บ้านหนองแต้) ธ.ค. 58 รับผิดชอบร่วมกัน 5 กาหนดค่าสถิติต่างๆ เกณฑ์คะแนน ช่วงคะแนน การแปลผลคะแนน ธ.ค. 58 รับผิดชอบร่วมกัน 6 สรุป วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลที่ได้แปลงาน สรุปผลที่ได้เขียนรายงาน ม.ค. 59 รับผิดชอบร่วมกัน 7 นาเสนอผลงานในรูปแบบต่างๆ (เช่น โปรแกรมนาเสนอวีดีโอ สื่ออินเทอร์เน็ต) ก.พ. 59 รับผิดชอบร่วมกัน
  • 18. 18 แบบสารวจการศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย 1.ข้อมูลนี้จะเป็นความลับเฉพาะกรุณาตอบให้ตรงกับความเป็นจริงที่สุด 2.โปรดอ่านข้อความอย่างละเอียดและเลือกในช่องที่เป็นความจริงหรือใกล้เคียงตรงกับความคิดเห็นของ ท่านมากที่สุดในแต่ละหัวข้อ ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสารวจ 1.เพศ ชาย หญิง 2.ระดับการศึกษา ประถม มัธยม ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก 3. ช่วงอายุ 10-20 ปี 21-30 ปี 31-40 ปี 41-50 ปี 51-60 ปี
  • 19. 19 ตอนที่ 2.ตารางแบบสอบถาม ข้อ รายการ เกณฑ์การประเมิน เห็น ด้วย มาก ที่สุด (5) เห็น ด้วย มาก (4) เห็น ด้วย (3) เห็น ด้วย น้อย (2) ไม่ เห็น ด้วย (1) 1. การอ่านหนังสือควรเริ่มตั้งแต่วัยเด็ก 2. คุณคิดว่าปัญหาคนไทยอ่านหนังสือน้อยเป็นปัญหาที่ควรได้รับ การแก้ไข 3. ในปัจจุบันมีสิ่งล่อตาล่อใจมากมายทีส่งผลให้การอ่านหนังสือของ คนน้อยลง 4. คุณมักจะชอบอ่านหนังสือนวนิยายมากกว่าหนังสือเรียน 5. คุณชอบอ่านหนังสือในเวลากลางวันมากกว่าเวลากลางคืน 6. สภาพแวดล้อมมีผลกระทบต่อการอ่านหนังสือ 7. ประเภทของหนังสือมีผลต่อความสนใจในการอ่านหนังสือ 8. คุณชอบอ่านหนังสือออนไลน์ เช่น Ebookมากกว่าในเล่มหนังสือ 9. การอ่านหนังสือมีความสาคัญต่อการพัฒนาศักยภาพทางความรู้ 10. ภาครัฐและเอกชนควรสนับสนุนให้คนไทยมีนิสัยรักการอ่าน ตอนที่ 3.ข้อเสนอแนะ ……………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………
  • 20. 20 สรุปค่าร้อยละจากข้อมูลแบบสอบถาม ตอนที่1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม 1.เพศ ชาย: จานวน15คน คิดเป็นร้อยละ50% หญิง: จานวน15คน คิดเป็นร้อยละ50% 2.ระดับการศึกษา ประถม: จานวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ:26.67 มัธยม: จานวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ:36.67 ปริญญาตรี: จานวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ:26.67 ปริญญาโท: จานวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ:10 ปริญญาเอก: จานวน 0 8o คิดเป็นร้อยละ:0 3. ช่วงอายุ 10-20 ปี: จานวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ:63.33 21-30 ปี: จานวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ13.33 31-40 ปี: จานวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ:10 41-50 ปี: จานวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ :10 51-60 ปี: จานวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ :3.3
  • 21. 21 ตอนที่ 2.ตารางแบบสอบถาม(ร้อยละ) ข้อ รายการ เกณฑ์การประเมิน เห็น ด้วย มาก ที่สุด (5) เห็น ด้วย มาก (4) เห็น ด้วย (3) เห็น ด้วย น้อย (2) ไม่ เห็น ด้วย (1) 1. การอ่านหนังสือควรเริ่มตั้งแต่วัยเด็ก 73.33 23.33 3.33 - - 2. คุณคิดว่าปัญหาคนไทยอ่านหนังสือน้อยเป็นปัญหาที่ควร ได้รับการแก้ไข 26.67 73.33 - - - 3. ในปัจจุบันมีสิ่งล่อตาล่อใจมากมายทีส่งผลให้การอ่านหนังสือ ของคนน้อยลง 43.33 50 3.33 3.33 - 4. คุณมักจะชอบอ่านหนังสือนวนิยายมากกว่าหนังสือเรียน 33.33 40 23.33 3.33 - 5. คุณชอบอ่านหนังสือในเวลากลางวันมากกว่าเวลากลางคืน 16.66 46.66 26.66 10 - 6. สภาพแวดล้อมมีผลกระทบต่อการอ่านหนังสือ 16.66 43.33 36.66 33.33 - 7. ประเภทของหนังสือมีผลต่อความสนใจในการอ่านหนังสือ 30 26.66 3.33 10 - 8. คุณชอบอ่านหนังสือออนไลน์ เช่น Ebookมากกว่าในเล่ม หนังสือ 13.33 33.33 26.66 26.66 - 9. การอ่านหนังสือมีความสาคัญต่อการพัฒนาศักยภาพทาง ความรู้ 23.33 36.66 36.66 3.33 - 10. ภาครัฐและเอกชนควรสนับสนุนให้คนไทยมีนิสัยรักการอ่าน 40 20 33.33 26.66 -
  • 22. 22 ตอนที่ 2.ตารางแบบสอบถาม (ค่าเฉลี่ย) ข้อ รายการ เกณฑ์การประเมิน ค่า เฉลี่ยเห็น ด้วย มาก ที่สุด (5) เห็น ด้วย มาก (4) เห็น ด้วย (3) เห็น ด้วย น้อย (2) ไม่ เห็น ด้วย (1) 1. การอ่านหนังสือควรเริ่มตั้งแต่วัยเด็ก 22 7 1 0 0 4.7 2. คุณคิดว่าปัญหาคนไทยอ่านหนังสือน้อยเป็นปัญหาที่ควร ได้รับการแก้ไข 8 22 0 0 0 4.27 3. ในปัจจุบันมีสิ่งล่อตาล่อใจมากมายทีส่งผลให้การอ่านหนังสือ ของคนน้อยลง 13 15 1 1 0 4.33 4. คุณมักจะชอบอ่านหนังสือนวนิยายมากกว่าหนังสือเรียน 10 12 7 1 0 4.03 5. คุณชอบอ่านหนังสือในเวลากลางวันมากกว่าเวลากลางคืน 5 14 8 3 0 3.7 6. สภาพแวดล้อมมีผลกระทบต่อการอ่านหนังสือ 5 13 11 1 0 3.73 7. ประเภทของหนังสือมีผลต่อความสนใจในการอ่านหนังสือ 9 8 10 3 0 3.76 8. คุณชอบอ่านหนังสือออนไลน์ เช่น Ebookมากกว่าในเล่ม หนังสือ 4 10 8 8 0 3.33 9. การอ่านหนังสือมีความสาคัญต่อการพัฒนาศักยภาพทาง ความรู้ 7 11 11 1 0 3.8 10. ภาครัฐและเอกชนควรสนับสนุนให้คนไทยมีนิสัยรักการอ่าน 12 6 10 2 0 3.93
  • 23. 23 สรุปผลค่าเฉลี่ยจากตารางแบบสอบถาม 1.การอ่านหนังสือควรเริ่มตั้งแต่วัยเด็ก มีค่าเฉลี่ย 4.7 มีความคิดเห็นอยู่ในระดับเห็นด้วยมากที่สุด 2.คุณคิดว่าปัญหาคนไทยอ่านหนังสือน้อยเป็นปัญหาที่ควรได้รับการแก้ไข มีค่าเฉลี่ย 4.27 มีความคิดเห็น อยู่ในระดับเห็นด้วยมาก 3.ในปัจจุบันมีสิ่งล่อตาล่อใจมากมายทีส่งผลให้การอ่านหนังสือของคนน้อยลง มีความคิดเห็นค่าเฉลี่ย 4.33 อยู่ในระดับเห็นด้วยมาก 4.คุณมักจะชอบอ่านหนังสือนวนิยายมากกว่าหนังสือเรียน มีค่าเฉลี่ย 4.03 มีความคิดเห็นอยู่ในระดับเห็น ด้วยมาก 5.คุณชอบอ่านหนังสือในเวลากลางวันมากกว่าเวลากลางคืน มีค่าเฉลี่ย 3.7 มีความคิดเห็นอยู่ในระดับเห็น ด้วยมาก 6.สภาพแวดล้อมมีผลกระทบต่อการอ่านหนังสือ มีค่าเฉลี่ย 3.73 มีความคิดเห็นอยู่ในระดับเห็นด้วยมาก 7.ประเภทของหนังสือมีผลต่อความสนใจในการอ่านหนังสือ มีค่าเฉลี่ย 3.76 มีความคิดเห็นอยู่ในระดับ เห็นด้วยมาก 8.คุณชอบอ่านหนังสือออนไลน์ เช่น Ebookมากกว่าในเล่มหนังสือ มีค่าเฉลี่ย 3.33 มีความคิดเห็นอยู่ใน ระดับเห็นด้วยปานกลาง 9.การอ่านหนังสือมีความสาคัญต่อการพัฒนาศักยภาพทางความรู้ มีค่าเฉลี่ย 3.8 มีความคิดเห็นอยู่ในระดับ เห็นด้วยมาก 10.ภาครัฐและเอกชนควรสนับสนุนให้คนไทยมีนิสัยรักการอ่าน มีค่าเฉลี่ย 3.93 มีความคิดเห็นอยู่ในระดับ เห็นด้วยมาก
  • 24. 24 บรรณานุกรม กิ่งแก้ว อ่วมศรี. (2546). 2546 ปีแห่งการส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้. วารสารห้องสมุด. 47, 2 (เม.ย.- มิ.ย. 2546) 1-7. กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: กระทรวง. ฉวีลักษณ์ บุณยะกาญจน. (2547). นวัตกรรมการศึกษาชุด จิตวิทยาการอ่าน = Psychology of reading. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : ธารอักษร. ชลภัสส์ วงษ์ประเสริฐ. (2551). ทิศทางการพัฒนาสังคมไทยสู่สังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ตาม กรอบแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10. วารสารห้องสมุด. 52, 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2551) 1-8. ชุติมา สัจจานันท์ และสุนทรี ศุภวงศ์. (2529). บรรณานุกรมการอ่าน. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : สมาคม ห้องสมุดแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. ถนอมวงศ์ ล้ายอดมรรคผล. (2552). การอ่านให้เก่ง. พิมพ์ครั้งที่ 13. กรุงเทพฯ : กระดาษสา. ธารง บัวศรี. (2542). ทฤษฎีหลักสูตร การออกแบบและพัฒนา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : พัฒนาศึกษา. นงนุช ภัทราคร. (2538). สถิติการศึกษา. กรุงเทพฯ : สุวีริยสาส์น. นิภา ศรีไพโรจน์. (2527). หลักการวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: ศึกษาพร. นวภรณ์ ซังบุดดา และขวัญฟ้า นิยมในธรรม, บรรณาธิการ. (2546). กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : ศูนย์พัฒนาหนังสือ กรมวิชาการ. บัลลังก์ โรหิตเสถียร และนงศิลินี โมสิกะ. (2553). ครม.เห็นชอบให้การส่งเสริมการอ่านเป็นวาระแห่งชาติ. เข้าถึงเมื่อ 8 ตุลาคม 2553 จาก http://www.moe- news.net/index.php?option=com_content&task=view&id =1377&Itemid=2&preview=popup พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542: พร้อมพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสานักงานปฏิรูปการศึกษา พ.ศ. 2542. (2543). กรุงเทพฯ: วิญญูชน. วิทยากร เชียงกูล. (2552). ประเทศที่ประชาชนไม่ชอบอ่านหนังสือไม่มีทางจะไปสู้ใครเขาได้. วารสาร ห้องสมุด. 53, 2 (ฉบับพิเศษ) (ก.ค.-ธ.ค. 2552) 63-66. สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (254?). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 10. กรุงเทพฯ : สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. สานักงานสถิติแห่งชาติ. (2548). การสารวจพฤติกรรมการอ่านหนังสือของประชากร พ.ศ.2548 = The Reading Behavior of Population Survey 2005. กรุงเทพฯ : สานักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวง
  • 25. 25 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. สุนทร โคตรบรรเทา (ผู้แปล). (2526). ถนนสู่การอ่าน. กรุงเทพฯ : สุวีรินาสาส์น. สุนันทา มั่นเศรษฐวิทย์. (2548). เทคนิควิจัยด้านการอ่าน = Reading Research Techniques. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.