SlideShare a Scribd company logo
1 of 72
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา
1. นางสาวปราณี หมื่นประเสริฐ
2. นางสาวพรศิลป์ มั่นคงผ่องใส
3. นางสาวสุชาดา สุวรรณกรณ์
4. นายกิตติชัย การะภักดี
สมาชิกในกลุ่ม 4
เอกเทศสัญญา หมายถึง สัญญาชนิดที่มีชื่อซึ่งประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 3
เอกเทศสัญญามี 22ประเภท
1. ซื้อขาย
2. แลกเปลี่ยน
3. ให้
4. เช่าทรัพย์
5. เช่าซื้อ
6. จ้างแรงงาน
7. จ้างทาของ
8. รับขน
9. ยืม
10. ฝากทรัพย์
11. ค้าประกัน
12. จานอง
13. จานา
14. เก็บของในคลัง
15. ตัวแทน
16. นายหน้า
17. ประนีประนอมยอมความ
18. การพนันและขันต่อ
20. ประกันภัย
21. ตั๋วเงิน
22. หุ้นส่วนและบริษัท
สัญญาซื้อขาย หมายถึง สัญญาที่ “ผู้ขาย” โอนกรรมสิทธิ์แห่ง
ทรัพย์สินให้แก่ “ผู้ซื้อ” และผู้ซื้อตกลงว่าจะใช้ราคาทรัพย์สินนั้นให้แก่ผู้าาย
ลักษณะของสัญญาซื้อขาย
1. เป็นสัญญาต่างตอบแทน
2. เป็นสัญญาที่มีวัตถุในการโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน
3. เป็นสัญญาที่มีวัตถุประสงค์ในการชาระราคาเพื่อตอบแทนการโอนกรรมสิทธิ์ใน
ทรัพย์สิน
4. เป็นสัญญาที่มีวัตถุาองสัญญาเป็นทรัพย์สิน
สัญญาซื้อาาย
1. เป็ นสัญญาต่างตอบแทน
เป็นสัญญาที่ผู้ขายและผู้ซื้อต่างเป็นเจ้าหนี้และลูกหนี้กัน โดยผู้ขายเป็นเจ้าหนี้และผู้ซื้อ
ผู้ซื้อเป็นลูกหนี้ หากผู้ซื้อไม่ยอมชาระราคา ผู้ขายก็มีสิทธิที่จะไม่ส่งมอบทรัพย์สิน ในทางกลับกัน
กลับกันหากผู้ขายไม่ยอมส่งมอบทรัพย์สิน ผู้ซื้อก็มีสิทธิที่จะยังไม่ชาระราคา
2. เป็ นสัญญาที่มีวัตถุในการโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน
เป็นสัญญาที่ผู้ขายตกลงโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินของตนให้แก่ผู้ซื้อ หากไม่มีการโอน
โอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์ไปยังผู้ซื้อ สัญญานั้นย่อมไม่ใช่สัญญาซื้อขาย
Ex สัญญาซื้อเวลาออกอากาศสถานีวิทยุกระจายเสียงไม่ใช่สัญญาซื้อขาย เพราะไม่มี
ไม่มีการโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน แต่เป็นสัญญาให้บริการการออกกระจายเสียง
ลักษณะของสัญญาซื้อขาย
3. เป็ นสัญญาที่มีวัตถุประสงค์ในการชาระราคาเพื่อตอบแทนการโอนกรรมสิทธิ์ใน
ทรัพย์สิน
เป็นสัญญาที่ผู้ซื้อตกลงชาระราคาให้แก่ผู้ขายเพื่อตอบแทนที่ผู้ขายโอนกรรมสิทธิ์ให้แก่ตน
ให้แก่ตน โดยผู้ซื้อจะต้องชาระราคาด้วยเงินเท่านั้น หากผู้ซื้อตกลงชาระราคาด้วยทรัพย์สินอื่นที่
อื่นที่ไม่ใช่เงิน สัญญานั้นย่อมไม่ใช่สัญญาซื้อขาย แต่เป็นสัญญาแลกเปลี่ยน
Ex หนึ่งตกลงซื้อขายสุนัขให้สอง และสองตกลงชาระเงินแก่หนึ่งเป็นเงิน 2,000 บาท
บาท สัญญาดังกล่าวเป็นสัญญาซื้อขาย แต่หากสองตกลงให้ลูกหมูของตนเป็นการตอบแทน
สัญญาดังกล่าวไม่ใช่สัญญาซื้อขายแต่เป็นสัญญาลกเปลี่ยน
ลักษณะของสัญญาซื้อขาย
4. เป็ นสัญญาที่มีวัตถุของสัญญาเป็ นทรัพย์สิน
สัญญาซื้อขายเป็นสัญญาที่มีวัตถุประสงค์ในการโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน แต่ก็มี
ทรัพย์สินบางประเภทที่ตกลงซื้อขายกันตามปกติไม่ได้ เช่น สาธารณสมบัติของแผ่นดิน ที่วัด ที่
ที่ธรณีสงฆ์ ที่ศาลาสมบัติกลาง หรือทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ฯลฯ
ลักษณะของสัญญาซื้อขาย
สัญญาซื้อาายจะตกลงกันด้วยวิธีใดก็ได้ เช่น ด้วยวาจา ทางโทรศัพท์หรือตกลงกัน
เป็นหนังสือก็ได้ แต่สัญญาซื้อาายบางประเภทต้องทาตามแบบที่กฎหมายกาหนด มิฉะนั้น
สัญญาจะตกเป็นโมฆะ หรือบางกรณีต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือ มิฉะนั้นจะฟ้ องร้องให้บังคับ
คดีไม่ได้ ซึ่งมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
แบบของสัญญาซื้อขาย
1. สัญญาซื้อขายอสังหาริมทรัพย์หรือสังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษ
กฎหมายบังคับให้ต้องทาเป็ นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ หากไม่
หากไม่กระทาตามจะมีผลให้สัญญาซื้อขายนั้นตกเป็นโมฆะ
Ex แดงซื้อที่ดินหรือช้างของนายดา สัญญาดังกล่าวจะสมบูรณ์ได้ก็ต่อเมื่อทาเป็น
หนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ หากแดงและดาไม่ทาสัญญาเป็นหนังสือและจด
จดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ สัญญานั้นจะตกเป็นโมฆะ ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจะเรียกให้อีกฝ่าย
ฝ่ายปฏิบัติตามสัญญาไม่ได้
แบบของสัญญาซื้อขาย
สังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษ ได้แก่ เรือระวางตั้งแต่ ๕ ตันขึ้นไป แพ และสัตว์พาหนะ (ช้าง ม้า โค กระบือ ฯลฯ)
แบบของสัญญาซื้อขาย
๒. สัญญาจะซื้อจะขายอสังหาริมทรัพย์หรือสังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษ
สัญญาจะซื้อจะขาย หมายถึง สัญญาซื้อาายกันในอนาคต สัญญาจะซื้อจะาาย
นั้นกฎหมายไม่ได้กาหนดให้ต้องทาตามแบบเหมือนสัญญาซื้อาายอสังหาริมทรัพย์ฯ แต่
กฎหมายกาหนดให้ต้องทาเป็นหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อฝ่ายที่ต้องรับผิดชอบ
หรือวางมัดจา หรือชาระหนี้บางส่วน หากไม่กระทาการอย่างใดอย่างหนึ่ง สัญญาจะซื้อ
จะาายนั้นไม่สามารถฟ้ องร้องบังคับคดีกันได้ แต่สัญญาดังกล่าวก็ยังสมบูรณ์ไม่ตกเป็น
โมฆะ
Ex แดงและดาตกลงด้วยวาจาทาสัญญาจะซื้อจะาายที่ดินาองดา หากดาผิด
สัญญาไม่ยอมไปทาสัญญาซื้อาายกันตามที่ตกลงกันไว้ แดงไม่สามารถนาสัญญาจะซื้อจะ
าายไปฟ้ องต่อศาลเพื่อบังคับดาได้ แต่แดงยังคงสามารถเรียกร้องให้ดาไปทาสัญญาซื้อาาย
ได้เสมอ เพราะสัญญาจะซื้อจะาายมีผลสมบูรณ์ทุกประการ
แบบของสัญญาซื้อขาย
๓. สัญญาซื้อขายสังหาริมทรัพย์ที่มีราคาตั้งแต่ ๒๐,๐๐๐ บาทขึ้นไป
กฎหมายไม่ได้กาหนดให้ต้องทาตามแบบเหมือนอย่างสัญญาซื้อาาย
อสังหาริมทรัพย์หรือสังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษ แต่กฎหมายกาหนดให้ต้องทาหลักฐานเป็น
หนังสือลงลายมือชื่อฝ่ายที่ต้องรับผิด หรือวางมัดจาหรือชาระหนี้บางส่วนเช่นเดียวกับ
สัญญาจะซื้อจะาาย หากไม่กระทาการอย่างใดอย่างหนึ่ง สัญญาซื้อาายนั้นไม่สามารถ
ฟ้ องร้องบังคับคดีได้ สัญญาดังกล่าวก็ยังสมบูรณ์ไม่ตกเป็นโมฆะ
ดังนั้น สัญญาซื้อาายสังหาริมทรัพย์ที่มีราคาต่ากว่า ๒๐,๐๐๐ บาท แม่ไม่ได้ทา
เป็นหลักฐาน เป็นหนังสือลงลายมือชื่อฝ่ายที่ต้องรับผิด หรือวางมัดจา หรือชาระหนี้บางส่วน
คู่สัญญาก็สามารถฟ้ องร้องต่อศาลให้รับผิดตามสัญญาได้เสมอ
การโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ซื้อขาย
กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ซื้อาายย่อมโอนจากผู้าายไปยังผู้ซื้อทันทีที่สัญญาเกิด
Ex แดงตกลงซื้อรถยนต์าองเาียวในวันที่ 1 มกราคม ๒๕๕๐ และเาียวจะส่งมอบ
รถยนต์คันดังกล่าวให้แก่แดงในวันที่ ๑๐ มกราคม ๒๕๕๐ ดังนี้ กรรมสิทธิ์ในรถยนต์คัน
ดังกล่าวย่อมโอนไปยังแดงในวันที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๐ ซึ่งเป็นวันที่สัญญาซื้อาายเกิดาึ้น
แม้ว่าวันดังกล่าวจะยังไม่ได้ส่งมอบรถยนต์ให้แก่แดงก็ตาม
ข้อยกเว้น การโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ซื้อขาย
๑. สัญญาซื้อขายอยู่ภายใต้เงื่อนไขบังคับก่อนหรือเงื่อนเวลาเริ่มต้น
Ex แดงตกลงซื้อประมวลกฎหมายอาญาจากดา โดยมีเงื่อนไาบังคับก่อนว่า
สัญญามีผลก็ต่อมเมื่อแดงได้เา้าเรียนในคณะนิติศาสตร์ ถึงแม้ว่าสัญญาจะเกิดาึ้นแล้วแต่
กรรมสิทธิ์ในประมวลกฎหมายอาญาาองดายังไม่ได้โอนไปยังแดงจนกว่าเงื่อนไาา้างต้นจะ
สาเร็จ กล่าวคือ กรรมสิทธิ์จะโอนไปยังแดงก็ต่อเมื่อแดงได้เา้าเรียนในคณะนิติศาสตร์
ข้อยกเว้น การโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ซื้อขาย
๒. สัญญาซื้อขายทรัพย์สินที่กาหนดไว้แต่เพียงประเภท
Ex แดงเป็นพ่อค้าาายเนื้อหมูในตลาดซึ่งมีเนื้อหมูอยู่เป็นจานวนมาก ดาตกลงซื้อ
เนื้อหมูจากแดงเป็นจานวน 2 กิโลกรัม กรณีนี้ถึงแม้สัญญาซื้อาายเกิดาึ้นแล้ว แต่กรรมสิทธิ์
ในเนื้อหมูก็ยังไม่โอนจากแดงไปยังดาทันทีที่สัญญาเกิด เพราะเนื้อหมูยังไม่ได้ถูกทาให้เป็น
ทรัพย์เฉพาะสิ่ง แต่เมื่อใดที่มีการตัดแบ่งและชั่งเนื้อหมูออมมาเป็นจานวน 2 กิโลกรัมเพื่อจะ
ทาการส่งมอบ เมื่อนั้นเนื้อหมูที่ตัดแบ่งออกมาและถูกชั่งน้าหนักแล้วจึงจะกลายเป็นทรัพย์
เฉพาะสิ่งและกรรมสิทธิ์จึงไม่โอนไปยังผู้ซื้อได้เลย
ข้อยกเว้น การโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ซื้อขาย
๓. สัญญาซื้อขายทรัพย์เฉพาะสิ่งที่ยังต้องดาเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อให้รู้ราคา
Ex แดงตกลงซื้อไก่ทั้งเล้าจากเาียว โดยตกลงซื้อาายกันในราคากิโลกรัมละ ๕๐
กก.
กรรมสิทธิ์ในไก่ยังไม่ได้โอนไปยังแดงแม้ไก่ทั้งเล้าจะเป็นทรัพย์เฉพาะสิ่งแล้วก็ตาม เพราะ
คู่สัญญายังไม่รู้ราคาที่ซื้อาายกัน ดังนี้ กรรมสิทธิ์ในไก่จะโอนไปยังแดงก็ต่อเมื่อได้ชั่งน้าหนัก
ไก่ทั้งเล้าเพื่อให้รู้ราคาที่ซื้อาายกันเสียก่อน
หรือ แดงตกลงซื้อาายไก่ทั้งเล้าจากเาียวในราคา ๑๐,๐๐๐ บ. กรรมสิทธิ์ในไก่
ย่อมโอนไปยังแดงทันทีที่สัญญาเกิดตามหลักทั่วไป เพราะไก่ทั้งเล้าเป็นทรัพย์เฉพาะสิ่งและ
คู่สัญญาก็รู้ราคาที่ซื้อาายกันแล้ว
ข้อยกเว้น การโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ซื้อขาย
๔. สัญญาซื้อขายทรัพย์สินที่คู่สัญญาตกลงให้กรรมสิทธิ์ยังไม่โอนทันทีที่สัญญาเกิด
Ex แดงตกลงาายรถยนต์คนหนึ่งให้แก่าาวในราคา ๕๐๐,๐๐๐ บ. ซึ่งโดยทั่วไป
แล้วกรรมสิทธิ์ในรถยนต์คนดังกล่าวย่อมโอนไปยังาาวทันทีที่ทาสัญญา แต่หากมีการตกลง
กันให้กรรมสิทธิ์ยังไม่โอนไปจนกว่าาาวจะชาระราคาครบถ้วน ดังนี้ กรรมสิทธิ์ในรถยนต์ก็ยัง
ไม่โอนไปยังาาวทันทีที่ทาสัญญาซื้อาายกันอันเป็นผลมาจากเจตนาาองคู่สัญญาที่ตกลงกัน
สัญญาซื้อขายเฉพาะอย่าง
๑. สัญญาขายฝาก
สัญญาซื้อาายซึ่งกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินตกไปยังผู้ซื้อ โดยมีา้อตกลงกันว่าผู้าาย
อาจไถ่ทรัพย์นั้นคืนได้ภายในระยะเวลาที่กาหนด หากผู้าายไม่ไถ่คืนในระยะเวลาดังกล่าว
ผู้าายจะไม่สามารถไถ่ทรัพย์ได้อีกต่อไป
Ex ดาาายที่ดินแก่แดงโดยมีา้อตกลงว่า ภายใน ๑๐ ปีนับแต่ที่ได้ทาสัญญากันนั้น
ดาสามารถนาเงินไปไถ่ที่ดินคืนจากแดงได้เสมอ
ระยะเวลาในการไถ่ทรัพย์สินของสัญญาฝากขาย
๑. กรณีอสังหาริมทรัพย์ มีกาหนดระยะเวลาไถ่ทรัพย์สิน ๑๐ ปีนับแต่ทาสัญญาซื้อ
าาย
๒. กรณีสังหาริมทรัพย์ มีกาหนดระยะเวลาไถ่ทรัพย์สิน ๓ ปีนับแต่ทาสัญญาซื้อาาย
คู่สัญญาสามารถกาหนดระยะเวลาให้สั้นกว่าได้แต่ไม่สามารถยาวกว่าที่กฎหมายกาหนดได้
สัญญาซื้อขายเฉพาะอย่าง
๒. สัญญาขายตามตัวอย่าง ขายตามคาพรรณนา ขายเผื่อชอบ
๒.๑ สัญญาขายตามตัวอย่าง หมายถึง สัญญาที่ผู้าายให้ผู้ซื้อได้มีโอกาสตรวจดู
หรือใช้ทรัพย์สินที่จะาายเป็นตัวอย่างก่อนที่จะตกลงทาสัญญาซื้อาาย
๒.๒ สัญญาขายตามคาพรรณนา หมายถึง สัญญาที่ผู้ซื้อไม่มีโอกาสได้เห็นและ
ตรวจสอบคุณภาพาองทรัพย์สิน แต่ผู้ซื้อได้ตกลงซื้อโดยคาเชื่อตามคาพรรณนาถึงลักษณะ
รูปพรรณและคุณภาพาองสินค้าที่ผู้าายได้พรรณนาไว้
๒.๓ สัญญาขายเผื่อชอบ หมายถึง สัญญาที่มีเงื่อนไาว่าให้ผู้ซื้อได้มีโอกาส
ตรวจดูสินทรัพย์ก่อน โดยผู้ซื้อจะซื้อหรือไม่ก็ได้
๒.๔ สัญญาขายทอดตลาด หมายถึง สัญญาที่ผู้าายนาทรัพย์สินออกเสนอาาย
โดยให้ผู้ซื้อสู้ราคากัน
ความรับผิดในความชารุดบกพร่องของทรัพย์สินที่ขาย
หากทรัพย์สินที่าายนั้นชารุด ผู้าายย่อมต้องรับผิดชอบต่อผู้ซื้อ ทั้งในกรณีที่ผู้าาย
รู้อยู่แล้วหรือไม่รู้ถึงความชารุดนั้น โดยความชารุดต้องที่ผู้าายจะต้องรับผิดชอบนั้นจะต้องอยู่
ก่อนหรือาณะทาสัญญาซื้อาายหรือก่อนส่งมอบทรัพย์สิน
Ex แดงตกลงซื้อรถยนต์จากดาราคา ๕๐๐,๐๐๐ บาท หลังจากที่ดาได้ส่งมอบ
รถยนต์ให้แดงเพียง ๒ วัน ระหว่างแดงาับรถไปทางาน รถยนต์าองแดงเสียเพราะเา้าเกียร์ไม่ได้
โดยช่างพบว่าเป็นเพราะเกียร์ชารุด ทาให้แดงไม่สามารถใช้รถยนต์นั้นได้ตามปกติ เช่นนี้เป็น
กรณีที่รถยนต์มีความชารุดบกพร่องถึงานาดเป็นเหตุให้รถยนต์นั้นเสื่อมความเหมาะสมแก่
ประโยชน์อันมุ่งจะเป็นปกติ ดาาายต้องรับผิดชอบต่อแดงผู้ซื้อ แม้ว่าดาจะไม่รู้ถึงความชารุด
บกพร่องนั้นมาก่อน
ข้อยกเว้น ที่ผู้ขายไม่ต้องรับผิดชอบ
๑. ถ้าผู้ซื้อได้รู้อยู่แล้วแต่ในเวลาซื้อาายว่ามีความชารุดบกพร่องหรือควรจะรู้เช่นนั้นหากได้ใช้
ความระมัดระวังอันจะพึงคาดหมายได้แต่วิญญูชน
๒. ถ้าความชารุดบกพร่องนั้นเป็นอันเห็นประจักษ์แล้วในเวลาส่งมอบและผู้ซื้อรับเอา
ทรัพย์สินนั้นไว้โดยมิได้อิดเอื้อน
๓. ถ้าทรัพย์สินนั้นาายทอดตลาด
นอกจากนี้ ผู้าายอาจตกลงกับผู้ซื้อว่าผู้าายจะไม่ต้องรับผิดในความชารุดบกพร่อง
าองทรัพย์สินที่าายได้ โดยกาหนดา้อตกลงนั้นไว้ในสัญญาซื้อาาย
สัญญาแลกเปลี่ยน
สัญญาแลกเปลี่ยน หมายถึง สัญญาซึ่งคู่สัญญาต่างโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน
าองแต่ละฝ่ายให้กันและกัน โดยทรัพย์สินที่นามาแลกเปลี่ยนกันต้องไม่ใช่เงิน หากฝ่ายใด
ฝ่ายหนึ่งนาเงินมาแลกเปลี่ยนกับทรัพย์สินสัญญานั้นก็จะเป็นสัญญาซื้อาายทันที
Ex แดงนาหมูาองตนจานวน ๑ ตัวไปแลกกับา้าวสาราองดาจานวน ๔ กระสอบ
สัญญาดังกล่าวเป็นสัญญาแลกเปลี่ยน แต่หากดานาเงินจานวน ๓,๐๐๐ บ. ไปแลกกับหมูาอง
แดงจานวน ๑ ตัว สัญญาดังกล่าวก็จะไม่ใช่สัญญาแลกเปลี่ยนแต่เป็นสัญญาซื้อาาย
ลักษณะของสัญญาแลกเปลี่ยน
สัญญาแลกเปลี่ยนกับสัญญาซื้อาายมีลักษณะเหมือนกัน คือ สัญญาทั้งสองเป็น
สัญญาต่างตอบแทน มีวัตถุประสงค์ในการโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน แต่ต่างกันกันที่
 สัญญาซื้อาายเป็นเรื่องาองการเอาาองแลกกับเงิน
 สัญญาแลกเปลี่ยนเป็นเรื่องาองการเอาาองแลกกับาอง
สัญญาให้
สัญญาให้ หมายถึง สัญญาซึ่งบุคคลหนึ่งเรียกว่า “ผู้ให้” โอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน
าองตนโดยเสน่หาแก่บุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกว่า “ผู้รับ” และผู้รับยอมรับเอาเอาทรัพย์สินนั้น
Ex แดงถูกลอตเตอรี่จานวน ๓ ล้านบาท แดงจึงแบ่งเงินรางวัลจานวน ๕ แสนบาท
ให้แก่นายดา ซึ่งเป็นน้องชายาองตน โดยดารับเอาเงินจานวนดังกล่าวด้วยความดีใจ
ลักษณะของสัญญาให้
๑. เป็นสัญญาไม่ต่างตอบแทน
๒. เป็นสัญญาที่มีวัตถุประสงค์ในการโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน
๓. เป็นสัญญาที่ผู้โอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินให้แก่ผู้รับโดยเสน่หา
๔. เป็นสัญญาที่สมบูรณ์เมื่อส่งมอบทรัพย์สินที่ให้
แบบของสัญญาให้
สัญญาให้อสังหาริมทรัพย์หรือสังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษต้องทาเป็นหนังสือและจด
ทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ มิฉะนั้นสัญญาให้ดังกล่าวจะไม่สมบูรณ์
EX แดงทาหนังสือยกที่ดินาองตนให้แก่ดา แต่มิได้จดทะเบียนต่อเจ้าหน้าที่ สัญญา
ให้ดังกล่าวย่อมไม่สมบูรณ์
การถอนคืนการให้เพราะเหตุผู้รับประพฤติเนรคุณ
โดยหลักแล้วผู้ให้จะเรียกทรัพย์สินนั้นคืนจากผู้รับไม่ได้ แต่ถ้าผู้รับประพฤติเนรคุณ
ต่อผู้ให้ กฎหมายก็เปิดโอกาสให้ผู้ให้สามารถเรียกทรัพย์สินนั้นคืนจากผู้รับได้ซึ่งเรียกว่า “การ
ถอนคืนการให้” โดยผู้ให้จะเรียกถอนคืนการให้เพราะเหตุผู้รับประพฤติเนรคุณได้เฉพาะใน 3
กรณี ดังนี้
๑. ผู้รับได้ประทุษร้ายต่อผู้ให้อันเป็นความผิดฐานอาญาอย่างร้ายแรงตาม
ประมวลกฎหมายอาญา เช่น ผู้รับฆ่าผู้ให้ ผู้รับทาร้ายร่างกายผู้ให้
๒. ผู้รับได้ทาให้ผู้ให้เสียชื่อเสียงหรือหมิ่นประมาณผู้ให้อย่าร้ายแรง เช่น ผู้รับ
ด่าผู้ให้ซึ่งเป็นพ่อาองตนว่า “ไอ้แก่ กูไม่นับมึงเป็นพ่อ ออกไปให้พ้น”
๓. ผู้รับได้บอกปัดไม่ยอมให้สิ่งของจาเป็นเลี้ยงชีวิตแก่ผู้ให้ในเวลาที่ผู้ให้
ยากไร้และผู้รับยังสามารถจะให้ได้ เช่น หลังจากผู้ให้ยกทรัพย์สมบัติทั้งหมดาองตนให้แก้
ผู้รับซึ่งเป็นลูก ผู้ให้ก็ไม่มีทรัพย์สมบัติอะไรเหลืออยู่เลยจึงมาาออาศัยอยู่กับผู้รับเพื่อหวังให้ผู้รับ
อุปการระเลี้ยงดู ผู้รับอยู่ในฐานะที่สามารถอุปการะเลี้ยงดูผู้ให้ได้แต่ด้วยความรังเกียจผู้ให้จึง
สัญญาเช่าทรัพย์
สัญญาเช่าทรัพย์ หมายถึง สัญญาซึ่งบุคคลหนึ่งเรียกว่า “ผู้ให้เช่า” ตกลงให้บุคคลอีกคน
หนึ่งเรียกว่า “ผู้เช่า” ได้ใช้หรือได้รับประโยชน์ในทรัพย์สินตามกาหนดเวลาที่ได้ตกลงกันไว้ และผู้เช่า
ตกลงจะให้ค่าเช่าแก่ผู้ให้เช่าเป็นการตอบแทนจากการที่ตนได้ใช้หรือได้รับประโยชน์ในทรัพย์สินที่เช่า
ลักษณะของสัญญาเช่าทรัพย์
๑. เป็นสัญญาต่างตอบแทน ผู้ให้เช่าต้องส่งมอบทรัพย์สินที่ให้เช่าแก่ผู้เช่า และผู้เช่าต้องชาระค่า
เช่าแก่ผู้ให้เช่าเป็นการตอบแทน
๒. เป็นสัญญาที่ไม่ได้มีโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน เช่น แดงให้ดาเช่ารถยนต์ของตน ดาอาจนา
รถยนต์คันดังกล่าวไปให้ขาวเช่าต่ออีกทอดหนึ่ง การกระทาดังกล่าวเรียกว่า “การเช่าช่วง”
สัญญาเช่าทรัพย์
ลักษณะของสัญญาเช่าทรัพย์
๓. เป็นสัญญาที่มีระยะเวลาจากัด การเช่าสังหาริมทรัพย์นั้นคู่สัญญาจะกาหนดระยะเวลาการเช่า
นานเพียงใดก็ได้ แต่การเช่าอสังหาริมทรัพย์กฎหมายกาหนดให้เช่าได้ไม่เกิน ๓๐ ปี
๔. เป็นสัญญาที่ถือเอาคุณสมบัติของผู้เช่าเป็นสาระสาคัญ เมื่อผู้เช่ามีคุณสมบัติที่จะดูแลรักษา
ทรัพย์สินที่ให้เช่าได้ ผู้ให้เช่าก็จะยินยอมให้เช่าทรัพย์สิน ดังนั้น หากผู้เช่าตาย สัญญาย่อมระงับ
ลง และผู้เช่าจะเอาทรัพย์สินไปให้บุคคลอื่นเช่าต่อโดยผู้ให้เช่าไม่ยินยอมไม่ได้
๕. เป็นสัญญาที่ไม่มีแบบ สัญญาเช่าจึงสมบูรณ์เมื่อมีการตกลงกันระหว่างผู้ให้เช่ากับผู้เช่า แต่
หากเช่าอสังหาริมทรัพย์นั้นกฎหมายกาหนดให้ต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อฝ่ายที่ต้องรับ
ผิด มิฉะนั้นจะไม่สามารถฟ้ องร้องบังคับให้ปฏิบัติตามสัญญาเช่าได้
ผลของการโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่เช่า
เมื่อมีการโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่เช่า
กรณีสัญญาเช่าสังหาริมทรัพย์ หากมีการโอนกรรมสิทธิ์ในสังหาริมทรัพย์ที่เช่าจะ
ทาให้สัญญาเช่าระงับลง
Ex ขาวทาสัญญาเช่ารถยนต์จากดาเป็นเวลา ๒ ปี หนึ่งปีต่อมาดาได้ขายรถยนต์คน
ดังกล่าวให้แก่นายเขียว ดังนี้ สัญญาเช่ารถยนต์ระหว่างขาวกับดาย่อมระงับลง
กรณีสัญญาเช่าอสังหาริมทรัพย์ หากมีการโอนกรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพย์ที่เช่าก็
ไม่ทาให้สัญญาเช่าระงับลง
Ex ขาวทาสัญญาเช่าบ้านจากดาเป็นเวลา ๒ ปี หนึ่งปีต่อมาดาได้ขายบ้านหลังดังกล่าว
ให้แก่นายเขียว ดังนี้สัญญาเช่าบ้านระหว่างขาวกับดาย่อมไม่ระงับลง กรณีนี้สิทธิและหน้าที่ตาม
สัญญาเช่าก็จะตกแก่เขียว
สัญญาเช่าซื้อ
สัญญาเช่าซื้อ หมายถึง “ผู้ให้เช่าซื้อ” นาทรัพย์สินของตนออกให้เช่าและให้คามั่นว่าจะ
ขายทรัพย์สินดังกล่าวให้แก่ “ผู้เช่าซื้อ” โดยมีเงื่อนไขว่าผู้เช่าซื้อต้องชาระราคาทรัพย์สินนั้นเป็นงวดๆ
จนครบตามจานวนที่ได้ตกลงไว้ในสัญญา
ลักษณะของสัญญาเช่าซื้อ
๑. เป็นสัญญาต่างตอบแทน ผู้ให้เช่าซื้อต้องส่งมอบทรัพย์สินที่ให้เช่าแก่ผู้เช่าซื้อและโอนกรรม
สิทธ์ให้เมื่อผู้เช่าซื้อชาระเงินครบทุกงวด
๒. ผู้ให้เช่าซื้อไม่ต้องเป็นเจ้าของทรัพย์สินที่ให้เช่าซื้อก็ได้ เช่น นายแดงทาสัญญาเช่าซื้อกับนาย
ดา ในระหว่างที่แดงยังชาระราคารถยนต์แก่ดาไม่ครบถ้วน แดงจึงไม่ได้รับโอนกรรมสิทธิ์
รถยนต์คนดังกล่าวจากดา
สัญญาเช่าซื้อ
ลักษณะของสัญญาเช่าซื้อ
๓. ผู้ให้เช่าซื้อเอาทรัพย์สินของตนออกมาให้เช่าประกอบกับให้คามั่นแก่ผู้เช่าซื้อว่าจะขายทรัพย์สิน
นั้น สัญญาเช่าซื้อมีลักษณะเป็นสัญญาเช่าประกอบกับคามั่นว่าจะขาย
๔. เป็นสัญญาที่กรรมสิทธิ์ในทรัพย์ที่เช่าซื้อโอนไปยังผู้เช่าซื้อเมื่อผู้เช่าซื้อชาระเงินครบทุกงวด
๕. เป็นสัญญาที่มีแบบ หากไม่ทาเป็นหนังสือสัญญาจะตกเป็นโมฆะ
สัญญาจ้างแรงงาน
สัญญาจ้างแรงงาน หมายถึง “ลูกจ้าง” ตกลงที่จะทางานให้กับ “นายจ้าง” และนายจ้าง
ตกลงจะให้สินจ้างตลอดเวลาที่ทางาน
ลักษณะของสัญญาจ้างแรงงาน
๑. เป็นสัญญาต่างตอบแทน ลูกจ้างต้องทางานให้แก่นายจ้าง ส่วนนายจ้างต้องจ่ายสินจ้างให้แก่
ลูกจ้างตลอดระยะเวลาที่ลูกจ้างทางานให้
๒. เป็นสัญญาที่สาระสาคัญอยู่ที่ตัวบุคคลผู้เป็นคู่สัญญา ในการตัดสินใจเข้าทาสัญญาทั้งฝ่าย
นายจ้างลูกจ้าง จะต้องพิจารณาคุณสมบัติและบุคลิกลักษณะของแต่ละฝ่ายจนพอใจจึงจะตก
ลงเข้าทางานด้วยกัน
๓. เป็นสัญญาที่คู่สัญญามีความสัมพันธ์พิเศษแตกต่างไปจากสัญญาชนิดอื่นๆ ลูกจ้างต้อง
ทางานให้แก่นายจ้างด้วยความซื่อสัตย์สุจริต และนายจ้างมีอานาจบังคับบัญชาลูกจ้าง
๔. เป็นสัญญาที่ไม่มีแบบ สัญญาจ้างแรงงานไม่จาเป็นต้องทาเป็นหนังสือสัญญาเพียงแต่ตกลงกัน
ด้วยวาจา
สัญญาจ้างทาของ
สัญญาจ้างทาของ หมายถึง “ผู้รับจ้าง” ตกลงรับจะทาการงานสิ่งใดสิ่งหนึ่งจนสาเร็จ
ให้แก่ “ผู้ว่าจ้าง” และผู้ว่าจ้างตกลงจะให้สิจ้างเพื่อผลสาเร็จแห่งการที่ทานั้น
ลักษณะของสัญญาจ้างทาของ
๑. เป็นสัญญาต่างตอบแทน ผู้รับจ้างต้องทางานที่รับมาจนสาเร็จ ส่วนผู้ว่าจ้างตกลงจ่ายสินจ้าง
ให้เป็นการตอบแทน โดยสินจ้างจะเป็นเงินหรือทรัพย์สินอื่นใดก็ได้
๒. เป็นสัญญาที่มีวัตถุประสงค์ตรงที่ผลสาเร็จของงานที่ว่าจ้าง ถ้าผู้รับจ้างทางานไม่สาเร็จผู้ว่า
จ้างก็ไม่ต้องจ่ายสินจ้าง
๓. เป็นสัญญาที่ไม่มีแบบ สัญญาจ้างทาของไม่จาเป็นต้องทาเป็นหนังสือ เพียงแต่ตกลงกันด้วย
วาจา
ความแตกต่างระหว่างสัญญาจ้างแรงงานกับสัญญาจ้างทาของ
ประเด็น สัญญาจ้างแรงงาน สัญญาจ้างทาของ
๑. วัตถุประสงค์ของสัญญา แรงงานของลูกจ้าง ผลสาเร็จของงานที่ว่าจ้าง
๒. สินจ้าง ต้องเป็นเงินเท่านั้น อาจเป็นเงินหรือทรัพย์สินก็ได้
๓. การจ่ายสินจ้าง นายจ้างต้องจ่ายสินจ้าง
ตลอดเวลาที่ลูกจ้างทางานให้แม้
แม้ลูกจ้างจะทางานไม่สาเร็จก็
ตาม
ผู้ว่าจ้างจะจ่ายสินจ้างเมื่อผู้รับ
จ้างทางานสาเร็จ หากผู้รับจ้าง
ทางานไม่สาเร็จ ผู้ว่าจ้างก็ไม่ต้อง
ต้องจ่ายสินจ้าง
๔. อานาจบังคับบัญชา นายจ้างมีอานาจบังคับบัญชา
ลูกจ้าง
ผู้ว่าจ้างไม่มีอานาจบังตับบัญชา
ความแตกต่างระหว่างสัญญาจ้างแรงงานกับสัญญาจ้างทาของ
ประเด็น สัญญาจ้างแรงงาน สัญญาจ้างทาของ
๕. การให้บุคคลอื่นทางานแทน ลูกจ้างให้ผู้อื่นทางานแทนไม่ได้ ผู้รับจ้างสามารถให้บุคคลอื่น
ทางานแทนได้ หากสาระสาคัญ
สาระสาคัญของงานนั้นไม่ได้อยู่ที่
ที่ความรู้ความสามารถของ ผู้รับ
ผู้รับจ้าง
๖. ความรับผิดชอบในการทา
ทาละเมิด
เมื่อลูกจ้างทาละเมินในการงานที่
ที่จ้าง นายจ้างจะต้องร่วมรับผิด
ผิดกับลูกจ้างด้วย
เมื่อผู้รับจ้างทาละเมิด ผู้ว่าจ้างไม่
ไม่ต้องร่วมรับผิดกับผู้รับจ้าง เว้น
เว้นแต่การละเมิดเกิดจากการงาน
งานที่ผู้ว่าจ้างสั่งให้ทา หรือคาสั่ง
คาสั่งของผู้ว่าจ้าง
๗. ศาลที่มีอานาจพิจารณาคดี ศาลแรงงาน ศาลแพ่ง ศาลจังหวัด หรือศาล
แขวง แล้วแต่กรณี
สัญญายืม
สัญญายืมมี 2 ประเภท
๑. สัญญายืมใช้คงรูป หมายถึง “ผู้ให้ยืม” ให้บุคคลอีกคนหนึ่งเรียกว่า “ผู้ยืม” ใช้สอย
ทรัพย์สินสิ่งใดสิ่งหนึ่งได้เปล่าและผู้ยืมตกลงว่าจะคืนทรัพย์สินนั้นเมื่อได้ใช้สอยเสร็จแล้ว
ลักษณะของสัญญายืมใช้คงรูป
๑. เป็นสัญญาไม่ต่างตอบแทน คือ เป็นสัญญาที่ก่อให้เกิดหน้าที่ในการชาระหนี้แก่ผู้ยืม
เพียงฝ่ายเดียว
๒. เป็นสัญญาไม่มีค่าตอบแทน คือ เป็นสัญญาที่ให้ผู้ยืมได้ใช้สอยทรัพย์สินที่ยืมโดยไม่
ต้องเสียค่าตอบแทนใดๆ ทั้งสิน
สัญญายืม
ลักษณะของสัญญายืมใช้คงรูป
๓. เป็นสัญญาที่บริบูรณ์เมื่อมีการส่งมอบทรัพย์ที่ยืม คือ สัญญายืมใช้คงรูปเกิดขึ้นเมื่อผู้
ให้ยืมส่งมอบทรัพย์สินให้แก่ผู้ยืม หากคู่สัญญาเพียงแต่ตกลงกันโดยผู้ให้ยืมยังไม่ส่งมอบทรัพย์สิน
สัญญายืมใช้คงรูปก็ยังไม่เกิดขึ้น
๔. เป็นสัญญาที่ไม่โอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ยืม กรรมสิทธิ์ในทรัพย์ที่ยืมยังคงเป็นของผู้
ให้ยืมเสมอ ผู้ยืมมีเพียงสิทธิในการใช้สอยทรัพย์ที่ยืมเท่านั้น
๕. เป็นสัญญาที่ถือคุณสมบัติของผู้ยืมเป็นสาระสาคัญ หากผู้ยืมตาม สัญญายืมใช้คง
รูปย่อมระงับลง
สัญญายืม
๒. สัญญายืมใช้สิ้นเปลือง หมายถึง สัญญาซึ่งผู้ให้ยืมโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินชนิดใช้
แล้วหมดไปเป็นปริมาณที่มีกาหนดให้แก่ผู้ยืม และผู้ยืมตกลงว่าจะคืนทรัพย์สินเป็นประเภท ชนิด
ปริมาณเช่นเดียวกันให้แทนทรัพย์สินซึ่งยืมไป เช่น การกู้ยืมเงิน การยืมเนื้อมาประกอบอาหาร
ลักษณะของสัญญายืมใช้สิ้นเปลือง
๑. เป็นสัญญาไม่ต่างตอบแทน คือ เป็นสัญญาที่ก่อให้เกิดหน้าที่ในการชาระหนี้แก่ผู้ยืม
เพียงฝ่ายเดียว
๒. เป็นสัญญาที่จะมีค่าตอบแทนหรือไม่ก็ได้ โดยหลักแล้วผู้ยืมได้ใช้สอยทรัพย์ใช้สิ้นที่ยืม
โดยไม่ต้องเสียวค่าตอบแทน แต่คู่สัญญาอาจตกลงกันให้มีค่าตอบแทนสาหรับการยืมก็ได้
สัญญายืม
ลักษณะของสัญญายืมใช้สิ้นเปลือง
๓. เป็นสัญญาที่บริบูรณ์เมื่อมีการส่งมอบทรัพย์ที่ยืม คือ สัญญายืมใช้สิ้นเปลืองเกิดขึ้น
เมื่อผู้ให้ยืมส่งมอบทรัพย์สินให้แก่ผู้ยืม หากคู่สัญญาเพียงแต่ตกลงกันโดยผู้ให้ยืมยังไม่ส่งมอบ
ทรัพย์สิน สัญญายืมใช้สิ้นเปลืองก็ยังไม่เกิดขึ้น
๔. เป็นสัญญาที่ไม่โอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ยืม กรรมสิทธิ์ในทรัพย์ที่ยืมจะโอนจากผู้
ให้ยืมไปยังผู้ยืม
๕. เป็นสัญญาที่ไม่ถือคุณสมบัติของผู้ยืมเป็นสาระสาคัญ หากผู้ยืมตาม สัญญายืมใช้
คงรูปย่อมไม่ระงับลง
ความแตกต่างระหว่างสัญญายืมใช้คงรูปกับสัญญายืมใช้
สิ้นเปลือง
ประเด็น สัญญายืมใช้คงรูป สัญญายืมใช้สิ้นเปลือง
๑. ลักษณะการใช้ทรัพย์สิน การใช้ทรัพย์ที่ยืมจะไม่ทาให้ทรัพย์
ทรัพย์เสียภาพและไม่ทาให้
สิ้นเปลืองหมดไป
การใช้ทรัพย์สินที่ยืมจะทาให้ทรัพย์
ทรัพย์เสียภาพและสิ้นเปลืองไป
๒. การเป็นเจ้าของทรัพย์ของผู้
ผู้ให้ยืม
ผู้ให้ยืมไม่จาเป็นต้องเป็นเจ้าของ
เจ้าของทรัพย์
ผู้ยืมต้องเป็นเจ้าของทรัพย์
๓. การโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์
ทรัพย์ที่ยืม
กรรมสิทธิ์ในทรัพย์ที่ยืมไม่โอนไป
ไปเป็นของผู้ยืม
กรรมสิทธิ์ในทรัพย์ที่ยืมโอนไปเป็น
เป็นของผู้ยืม
๔. ค่าตอบแทนในการใช้สอย
สอยทรัพย์
ไม่มีค่าตอบแทนการได้ใช้ทรัพย์ มีค่าตอบแทนการได้ทรัพย์หรือไม่
หรือไม่ก็ได้
ความแตกต่างระหว่างสัญญายืมใช้คงรูปกับสัญญายืมใช้
สิ้นเปลือง
ประเด็น สัญญายืมใช้คงรูป สัญญายืมใช้สิ้นเปลือง
๕. การคืนทรัพย์สินที่ยืม ผู้ยืมต้องคืนทรัพย์สินชิ้นเดียวกับ
เดียวกับชิ้นที่ยืมมา
ผู้ยืมไม่ต้องคืนทรัพย์สินชิ้น
เดียวกับชิ้นที่ยืมมา แต่ต้องคืน
ทรัพย์สินที่มีประเภท ชนิด และ
ปริมาณเดียวกับที่ยืมมา
๖. คุณสมบัติของผู้ยืม คุณสมบัติของผู้ยืมถือเป็น
สาระสาคัญ
คุณสมบัติของผู้ยืมไม่ถือเป็น
สาระสาคัญ
สัญญายืม
สัญญากู้ยืมเงิน เป็ นสัญญายืมใช้สิ้นเปลือง อย่างหนึ่ง หมายถึง สัญญาที่ผู้ให้ยืมส่ง
มอบและโอนกรรมสิทธิ์ในเงินจานวนหนึ่งให้แก่ผู้ยืม และผู้ยืมตกลงคืนเงินในจานวนที่ตนได้รับมา
ให้แก่ผู้ให้ยืม
สัญญากู้ยืมเงินย่อมสมบูรณ์เมื่อผู้ให้ยืมส่งมอบเงินให้แก่ผู้ยืม หากไม่มีการส่งมอบเงินที่ยืม
สัญญากูยืมเงินยังไม่เกิดขึ้น
Ex ดาตกลงให้แดงกู้ยืมเงินจานวน ๕๐๐ บาท แต่ดาไม่ยอมส่งมอบเงินให้แก่แดง ดังนี้
แดงไม่สามารถเรียกร้องให้ดาส่งมอบเงินจานวน ๕๐๐ บาทนั้นให้แก่ตนได้เพราะสัญญากู้ยืมเงินยังไม่
เกิดขึ้น
สัญญายืม
หลักฐานแห่งการกู้ยืมเงิน การกู้ยืมเงินเกินกว่า ๒,๐๐๐ บาท กฎหมายกาหนดให้
ต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือที่มีการลงลายชื่อผู้ที่จะรับผิด มิฉะนั้นจะไม่สามารถฟ้ องร้องบังคับคดีได้
ดอกเบี้ยสาหรับการกู้ยืมเงิน ในกรณีที่กาหนดให้ผู้ยืมต้องเสียดอกเบี้ย กฎหมายห้ามคิด
ดอกเบี้ยเกินร้อยละ ๑๕ ต่อปี หากกาหนดอัตราดอกเบี้ยไว้เกินกว่าร้อยละ ๑๕ ต่อปี จะทาให้
ข้อตกลงที่ให้ผู้ยืมต้องเสียดอกเบี้ยเกินอัตรานั้นเป็นโมฆะ ผู้ให้ยืมไม่สามารถเรียกดอกเบี้ยได้ แต่
เรียกร้องให้คืนเงินต้นได้
Ex ดากู้ยืมเงินแดงเป็นจานวน ๑,๐๐๐ บาท โดยแดงคิดดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ ๒ ต่อ
เดือน (ร้อยละ ๑๕ ต่อปี) ดังนี้ ข้อตกลงเรื่องดอกเบี้ยตกเป็นโมฆะ แดงจึงเรียกดอกเบี้ยจากดาไม่ได้
เลย แต่แดงยังสามารถเรียกต้นเงินจานวน ๑,๐๐๐ บาทจากแดงได้อยู่
สัญญาฝากทรัพย์
สัญญาฝากทรัพย์ หมายถึง “ผู้ฝาก” ส่งมอบทรัพย์สินให้แก่ “ผู้รับฝาก” และผู้รับฝากตก
ลงว่าจะเก็บรักษาทรัพย์สินนั้นไว้ในอารักขาแห่งตนแล้วจะคืนให้
Ex แดงขับรถจักรยานยนต์ไปเที่ยวงานกาชาดประจาปีในตัวเมือง เมื่อถึงหน้างานจึงตก
ลงฝากรถคันดังกล่าวไว้กับดา ซึ่งรับฝากรถอยู่หน้างาน โดยแดงจะมารับคืนเมื่องานเลิก
ลักษณะของสัญญาฝากทรัพย์
๑. เป็นสัญญาที่อาจมีค่าตอบแทนหรือไม่ก็ได้ สัญญาฝากทรัพย์เป็นได้ทั้งสัญญามี
ค่าตอบแทนและไม่มีค่าตอบแทน ทั้งนี้าึ้นอยู่กับผู้รับฝากตกลงจะเก็บรักษากับผู้ฝาก
หรือไม่
๒. เป็นสัญญาที่ไม่โอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ฝาก กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ฝากไม่โอนไป
ยังผู้รับฝาก และผู้ฝากอาจไม่ใช่เจ้าาองกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินก็ได้
๓. เป็นสัญญาที่วีวัตถุประสงค์ให้ผู้รับฝากเก็บรักษาทรัพย์สินที่ฝากไว้ในความดูแลาองตน
หากผู้ฝากส่งมอบทรัพย์สินให้แก่ผู้รับฝากเพื่อวัตถุประสงค์อื่น สัญญานั้นย่อมไม่ใช่
สัญญาฝากทรัพย์
๔. เป็นสัญญาที่สมบูรณ์ด้วยการส่งมอบทรัพย์สินที่ฝากให้แก่ผู้รับฝาก
สัญญาฝากเงิน
ลักษณะเฉพาะาองสัญญาฝากเงิน
๑. เป็นสัญญาที่มีวัตถุาองสัญญาเป็นเงินตรา สัญญาฝากเงินต้องมีทรัพย์ที่ฝากเป็น
เงินตรา
๒. เป็นสัญญาที่มีวัตถุประสงค์ในการโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ฝาก กรรมสิทธิ์ใน
เงินตราที่ฝากจึงโอนจากผู้ฝากไปยังผู้รับฝา
๓. เป็นสัญญาที่ผู้รับฝากสามารถนาเงินตราที่รับฝากออกไปใช้สอยได้ โดยที่กรรมสิทธิ์ใน
เงินตราที่ฝากโอนไปยังผู้รับฝาก ผู้รับฝากจึงสามารถนาเงินตราที่รับฝากออกไปใช้สอยได้
๔. เป็นสัญญาที่ผู้รับฝากไม่ต้องคืนด้วยเงินตราอันเดียวกับที่ฝาก
สัญญาค้าประกัน
สัญญาค้าประกัน หมายถึง “ผู้ค้าประกัน” ผูกพันตนต่อ “เจ้าหนี้” คนหนึ่งเพื่อชาระใน
เมื่อลูกหนี้ไม่ชาระหนี้นั้น
Ex แดงกู้เงินจากดาโดยมีเขียวมาทาสัญญาค้าประกันกับดาเพื่อประกันหนี้เงินกู้ของแดง
เมื่อหนี้ถึงกาหนดชาระ แดงไม่ยอมชาระหนี้เงินกู้ ดาสามารถเรียกให้เขียวชาระหนี้เงินกู้ในฐานะ
เป็นผู้ค้าประกันได้
ลักษณะของสัญญาค้าประกัน
๑. เป็นสัญญาอุปกรณ์ การค้าประกันต้องมีหนี้ประธานระหว่างเจ้าหนี้กับลูกหนี้ก่อนเสมอ
สัญญาค้าประกันนั้นเป็นเพียงสัญญาอุปกรณ์าองหนี้ประธานซึ่งมีาึ้นเพื่อให้เจ้าหนี้มี
หลักประกันการชาระหนี้าองลูกหนี้ได้มั่นคงยิ่งาึ้น
๒. เป็นสัญญาระหว่างเจ่าหนี้กับผู้ค้าประกัน ผู้ค้าประกันต้องเป็นบุคคลภายนอกซึ่งไม่ใช่
เจ้าหนี้หรือลูกหนี้
๓. เป็นสัญญาที่ผู้ค้าประกันจะชาระหนี้แทนเมื่อลูกหนี้ผิดนัดไม่ชาระหนี้ หน้าที่ชาระหนี้าอง
ผู้ค้าประกันจะเกิดาึ้นก็ต่อเมื่อลูกหนี้ผิดนัด
๔. เป็นสัญญาที่ไม่มีแบบ สัญญาค้าประกันจึงสมบูรณ์เมื่อมีการตกลงกันระหว่างผู้ค้า
ประกันกับเจ้าหนี้ ไม่ว่าจะตกลงกันด้วยวาจาหรือลายลักษณ์อักษร
สัญญาจานอง
สัญญาจานอง หมายถึง “ผู้จานอง” เอาทรัพย์สินตราไว้กับ “ผู้รับจานอง” เป็นประกัน
การชาระหนี้โดยไม่ต้องส่งมอบทรัพย์สินนั้นให้แก่ผู้รับจานอง
Ex แดงกู้เงินจากดาจานวน ๑ ล้านบาท และแดงได้ทาสัญญาจานองกับดา โดยนาที่ดิน
ของตนมาจดทะเบียนจานองเพื่อประกันหนี้กู้ยืมเงิน หากต่อมาแดงไม่มาชาระหนี้ภายในกาหนด ดา
สามารถฟ้ องศาลให้บังคับที่ดินที่นามาจานองไปขายทอดตลาดเพื่อนาเงินมาชาระหนี้เงินกู้ได้
ลักษณะของสัญญาจานอง
๑. เป็นสัญญาอุปกรณ์ สัญญาจานองเป็นสัญญาเช่นเดียวกับสัญญาค้าประกัน หากหนี้
าองลูกหนี้ซึ่งเป็นนี้ประธานระงับไปย่อมทาให้สัญญาจานองระงับไปด้วย
๒. ผู้จานองจะเป็นลูกหนี้หรือบุคคลภายนอกก็ได้ แต่ผู้จานองต้องเป็นเจ้าาองทรัพย์ที่นามา
จานอง ผู้จานองจะเอาทรัพย์าองบุคคลอื่นมาจานองไม่ได้
๓. เป็นสัญญาที่ไม่มีการส่งมอบทรัพย์สินที่จานอง ผู้จานาจะต้องส่งมอบทรัพย์สินที่จานาให้
ผู้รับจานา
๔. เป็นสัญญาที่มีแบบ ต้องทาหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ มิเช่นนั้น
สัญญาจะตกเป็นโมฆะ
ทรัพย์สินที่จานองได้
๑. อสังหาริมทรัพย์
๒. สังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษ เช่น เรือระวางตั้งแต่ ๕ ตันาึ้นไป สัตว์พาหนะ แพที่อยู่อาศัย
๓. สังหาริมทรัพย์อื่น เช่น เครื่องจักร เครื่องบิน รถยนต์ที่จดทะเบียนแล้ว รถพ่วง รถบด
ถนน รถแทรคเตอร์ที่จดทะเบียนแล้ว ฯลฯ
ผลของการบังคับจานอง
หากบังคับทรัพย์สินที่จานองไปาายทอดตลาดได้เงินมาไม่พอที่จะชาระหนี้ที่ลูกหนี้
ค้างชาระอยู่ เจ้าหนี้ได้รับชาระเงินเพียงเท่าที่าายทอดตลาดทรัพย์ที่จานองได้ ลูกหนี้ไม่ต้อง
รับผิดชอบในส่วนที่าาด
สัญญาจานา
สัญญาจานา หมายถึง “ผู้จานา” ส่งมอบสังหาริมทรัพย์สิ่งหนึ่งให้แก่ “ผู้รับจานา” เพื่อ
เป็นประกันการชาระหนี้
Ex ดากู้เงินจากแดงจานวน ๕,๐๐๐ บาท และดาได้ทาสัญญาจานากับแดง โดยดามอบ
สร้อยคอทองคาให้กับแดงยึดถือไปเป็นประกันการชาระหนี้ หากดาไม่ชาระหนี้ภายในกาหนด แดง
สามารถนาสร้อยคอทองคาออกขายทอดตลาดใช้หนี้ได้โดยไม่ต้องฟ้ องศาล
ลักษณะของสัญญาจานา
๑. เป็นสัญญาอุปกรณ์ สัญญาจานาเป็นสัญญาเช่นเดียวกับสัญญาค้าประกัน หากหนี้าอง
ลูกหนี้ซึ่งเป็นนี้ประธานระงับไปย่อมทาให้สัญญาจานองระงับไปด้วย
๒. ผู้จานาจะเป็นลูกหนี้หรือบุคคลภายนอกก็ได้ แต่ผู้จานาต้องเป็นเจ้าาองทรัพย์ที่นามา
จานา ผู้จานาจะเอาทรัพย์าองบุคคลอื่นมาจานาไม่ได้
๓. เป็นสัญญาที่ต้องส่งมอบทรัพย์สินที่จานาแก่ผู้รับจานา ถ้าไม่มีการส่งมอบทรัพย์สัญญา
จานา จะไม่เกิดาึ้น และเมื่อใดที่ผู้รับจานาส่งมอบทรัพย์ที่จานาคืนแก่ผู้จานาสัญญา
จานาจะระงับทันที
๔. เป็นสัญญาที่ไม่มีแบบ สัญญาจานาจึงสมบูรณ์เมื่อมีการตกลงกันระหว่างผู้จานากับ
ผู้รับจานา ไม่ว่าจะตกลงกันด้วยวาจาหรือลายลักษณ์อักษร
ทรัพย์สินที่จานาได้
ต้องเป็นสังหาริมทรัพย์ และทรัพย์ที่นามาจานาต้องเป็นาองผู้จานาเท่านั้นจานา
ทรัพย์าองผู้อื่นมาจานาไม่ได้ อนึ่ง มีา้อสังเกตว่า สังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษ เช่น เรือระวาง
ตั้งแต่ ๕ ตันาึ้นไป สัตว์พาหนะ แพที่อยู่อาศัย รวมไปถึงสังหาริมทรัพย์อื่น เช่น เครื่องจักร
เครื่องบิน รถยนต์ที่จดทะเบียนแล้ว รถพ่วง รถบดถนน รถแทรคเตอร์ที่จดทะเบียนแล้ว
สามารถนาไปจานองหรือจานาก็ได้
ผลของการบังคับจานอง
หากบังคับทรัพย์สินที่จานาไปาายทอดตลาดได้เงินไม่พอที่จะชาระหนี้ที่ลูกหนี้ค้าง
ชาระอยู่ ลูกหนี้ยังต้องรับผิดชอบในส่วนที่าาด
ความแตกต่างระหว่างสัญญาจานองกับสัญญาจานา
ประเด็น สัญญาจานอง สัญญาจานา
๑. ทรัพย์ที่นามาประกัน อสังหาริมทรัพย์ สังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษ สังหาริมทรัพย์ทุกชนิด
๒. แบบของสัญญา ทาเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงาน
พนักงานเจ้าหน้าที่
ไม่มีแบบ
๓. การส่งมอบทรัพย์ที่
นามาประกัน
ไม่ต้องส่งมอบทรัพย์ที่จานอง ต้องส่งมอบทรัพย์ที่จานา
๔. การบังคับทรัพย์ที่นามา
นามาประกัน
ต้องฟ้ องศาลเพื่อขายทอดตลาด ขายทอดตลาดได้เองโดยไม่
ต้องขึ้นศาล
ความแตกต่างระหว่างสัญญาจานองกับสัญญาจานา
ประเด็น สัญญาจานอง สัญญาจานา
๔. การบังคับทรัพย์ที่นามา
ประกัน
ต้องฟ้ องศาลเพื่อขายทอดตลาด ขายทอดตลาดได้เองโดยไม่ต้อง
ขึ้นศาล
๕. ความรับผิดของลูกหนี้ใน
หนี้ที่เหลือจากการบังคับทรัพย์
ทรัพย์ที่ประกัน
ลูกหนี้ไม่ต้องรับผิดชอบในส่วน
ส่วนที่เหลือ
ลูกหนี้ต้องรับผิดชอบในส่วนที่
เหลือ
ความหมายของสัญญาประกันภัย
สัญญาประกันภัย หมายถึง สัญญาซึ่งบุคคลหนึ่ง เรียกว่า “ผู้รับประกันภัย”
ตกลงจะใช้ค่าสินไหมทดแทน หรือใช้เงินจานวนหนึ่งให้ในกรณีวินาศภัยเกิดขึ้น
หรือในเหตุอย่างอื่นในอนาคตตามที่ระบุไว้ในสัญญา และบุคคลอีกคนหนึ่งเรียกว่า
“ผู้เอาประกันภัย” ตกลงจะส่งเงินซึ่งเรียกว่า “เบี้ยประกันภัย”
ลักษณะของสัญญาประกันภัย
สัญญาประกันภัยมีลักษณะที่สาคัญดังนี้
๑) เป็ นสัญญาต่างตอบแทน กล่าวคือ คู่สัญญาทั้งสองฝ่ายมีหน้าที่ที่จะต้อง
ปฏิบัติต่อกัน ได้แก่ ผู้เอาประกันภัยมีหน้าที่ชาระเบี้ยประกันภัย และผู้รับประรับประกันภัยมี
หน้าที่จ่ายค่าสินไหมทดแทนหรือชดใช้เงินจานวนหนึ่งให้ตามเงื่อนไขที่กาหนดไว้เป็นการตอบแทน
๒) เป็ นสัญญาเสี่ยงโชค กล่าวคือ เงื่อนไขในการจ่ายค่าสินไหมทดแทนหรือชดใช้
เงินของฝ่ายผู้รับประกันภัยนั้นขึ้นอยู่กับเหตุการณ์ในอนาคตซึ่งไม่แน่นอนว่าจะเกิดขึ้นหรือไม่และ
เมื่อใด
๓) เป็นสัญญาที่อาศัยความซื่อสัตย์สุจริตอย่างยิ่งของคู่สัญญา ดังนั้น
หากผู้เอาประกันภัยไม่เปิดเผยา้อความจริงหรือให้า้อความเท็จซึ่งอาจทาให้ผู้รับประกันภัย
เรียกเบี้ยประกันภัยสูงาึ้นหรือไม่รับทาสัญญาประกันภัย มีผลทาให้สัญญาประกันภัย
ดังกล่าวตกเป็นโมฆียะ เช่น แดงเป็นโรคมะเร็งซึ่งหากผู้รับประกันภัยทราบก็จะไม่รับทา
ประกันชีวิตาองแดง แต่แดงได้ทาประกันชีวิตกับบริษัท ดา จากัด โดยไม่บอกว่าตนเป็น
โรคมะเร็ง สัญญาประกันชีวิตดังกล่าวจึงเป็นโมฆียะ
ลักษณะของสัญญาประกันภัย
๔) เป็นสัญญาที่ผู้รับประกันภัยต้องเป็นบริษัทจากัดหรือบริษัทมหาชน
จากัด ดังนั้น ผู้รับประกันภัยจะเป็นบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลอื่น (เช่น ห้างหุ้นส่วน
จากัด สมาคม) ไม่ได้
๕) เป็นสัญญาที่ไม่มีแบบ ดังนั้น สัญญาประกันภัยจึงสมบูรณ์เมื่อมีการตกลง
กันระหว่างผู้รับประกันภัยกับผู้เอาประกันภัยไม่ว่าจะด้วยวิธีใด แต่การที่จะฟ้ องให้รับผิด
ตามสัญญาประกันภัยได้นั้น จะต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อฝ่ายที่ต้องรับผิด
เป็นสาคัญ แต่อย่างไรก็ดีสัญญาประกันภัยที่ไม่มีหลักฐานเป็นหนังสือนั้นก็ไม่เป็นโมฆะแต่
อย่างใดยังมีผลสมบูรณ์เพียงแต่ไม่สามารถฟ้ องร้องบังคับคดีกันได้เท่านั้น
ลักษณะของสัญญาประกันภัย
ประเภทของสัญญาประกันภัย
สัญญาประกันภัยแบ่งออกเป็น ๒ ประเภท ได้แก่
๑) สัญญาประกันวินาศภัย หมายถึง สัญญาซึ่งผู้รับประกันวินาศภัยตกลงจะใช้ค่า
สินไหมทดแทนให้แก่ผู้เอาประกันวินาศภัย เมื่อมีความเสียหายอย่างใด ๆ เกิดขึ้นตามที่ตกลงกันไว้
ในสัญญา โดยผู้เอาประกันวินาศภัยตกลงจะส่งเบี้ยประกันให้กับผู้รับประกันวินาศภัยเป็นการตอบ
แทน เช่น แดงตกลงทาสัญญาประกันอัคคีภัยสาหรับบ้านของตนกับบริษัท ดา จากัด หรือแดง
ตกลงทาสัญญาประกันความเสียหายที่เกิดแก่รถยนต์ของตนกับบริษัท ดา จากัด
๒) สัญญาประกันชีวิต หมายถึง สัญญาซึ่งผู้รับประกันชีวิตตกลงจะใช้เงิน
จานวนหนึ่งให้แก่ผู้เอาประกันชีวิตหรือผู้รับประโยชน์ เมื่อผู้เอาประกันชีวิตหรือผู้ที่ได้ถูกเอา
ประกันชีวิตถึงแก่ความตาย หรือเมื่อผู้นั้นมีชีวิตอยู่จนถึงเวลาที่ได้ตกลงกันไว้ และผู้เอา
ประกันชีวิตได้ตกลงส่งเบี้ยประกันให้แก่ผู้รับประกันชีวิต เช่น เาียวตกลงทาสัญญาประกัน
ชีวิตาองตนกับบริษัท ดา จากัด โดยตกลงว่าหากเาียวตาย บริษัท ดา จากัด จะจ่ายเงิน
ให้แก่บุตราองเาียว ซึ่งเป็นผู้รับประโยชน์ตามสัญญาประกันชีวิต
ประเภทของสัญญาประกันภัย
สัญญาตั๋วเงิน หมายถึง สัญญาอย่างหนึ่งซึ่งได้ทาเป็นหนังสือตราสารอันเรียกว่า
“ตั๋วเงิน” เพื่อสั่งให้จ่ายเงินหรือสัญญาว่าจะจ่ายเงิน เช่น ดาออกเช็คสั่งธนาคารจ่ายเงิน
จานวน ๒,๐๐๐ บาท ให้แก่แดง ถือเป็นสัญญาตั๋วเงินอย่างหนึ่ง
ลักษณะของสัญญาตั๋วเงิน
๑) สัญญาตั๋วเงินต้องทาเป็ นหนังสือตราสาร กล่าวคือ ต้องทาเป็นลายลักษณ์
อักษร และมีลายมือชื่อผู้ออกตราสาร หนังสือตราสารต้องมีเนื้อความตามที่กฎหมายกาหนด
หนังสือตราสารประกอบไปด้วยสิทธิทางหนี้ ซึ่งผู้รับตราสารมีสิทธิเรียกร้องตามเนื้อความในตรา
สารและสิทธิทางทรัพย์ในตราสารซึ่งผู้ออกตราสารส่งมอบให้ผู้รับตราสาร
Ex ดาออกเช็คสั่งธนาคารจ่ายเงิน จานวน ๒๐,๐๐๐ บาท ให้แก่แดง สิทธิทางหนี้
คือ แดงมีสิทธินาเช็คไปยื่นให้ธนาคารจ่ายเงินได้ ส่วนสิทธิทางทรัพย์ คือ แดงเป็นเจ้าของ
หนังสือตราสาร (เช็ค) ดังกล่าว
๒) วัตถุแห่งหนี้ตามสัญญาตั๋วเงินต้องเป็นเงินตรา กล่าวคือ สัญญาตั๋วเงิน
ต้องสั่งให้จ่ายเงินเท่านั้น จะสั่งให้กระทาการ งดเว้นกระทาการ หรือส่งมอบทรัพย์สินอื่น
นอกจากเงินตราไม่ได้
Ex แดงออกตั๋วแลกเงินสั่งดาให้ส่งมอบทองคาหนัก ๕ บาท ให้แก่เาียวเพื่อชาระ
ค่าสินค้า สัญญาดังกล่าวไม่ใช่สัญญาตั๋วเงินเพราะไม่ได้มีคาสั่งให้จ่ายเงิน
ลักษณะของสัญญาตั๋วเงิน
ประเภทของตั๋วเงิน
๑) ตั๋วแลกเงิน หมายถึง หนังสือตราสารซึ่งบุคคลคนหนึ่ง เรียกว่า “ผู้สั่งจ่าย”
สั่งบุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกว่า “ผู้จ่าย” ให้ใช้เงินจานวนหนึ่งแก่บุคคลอีกคนหนึ่ง หรือให้ใช้
ตามคาสั่งาองบุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกว่า “ผู้รับเงิน” เช่น แดงออกตั๋วแลกเงินสั่งดาให้
จ่ายเงินจานวน ๑๐,๐๐๐ บาท ให้แก่เาียวเพื่อชาระค่าสินค้า
๒) ตั๋วสัญญาใช้เงิน หมายถึง หนังสือตราสารซึ่งบุคคลคนหนึ่ง เรียกว่า “ผู้
ออกตั๋ว” ให้คามั่นสัญญาว่าจะใช้เงินจานวนหนึ่งให้แก่บุคคลอีกคนหนึ่ง หรือให้ใช้ตามคาสั่ง
าองบุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกว่า “ผู้รับเงิน” เช่น แดงออกตั๋วสัญญาใช้เงินโดยแดงสัญญาว่า
จะจ่ายเงินให้แก่ดาเพื่อชาระหนี้ค่าเช่าบ้าน
๓) เช็ค หมายถึง หนังสือตราสารซึ่งบุคคลคนหนึ่ง เรียกว่า “ผู้สั่งจ่าย” สั่ง
“ธนาคาร” ให้ใช้เงินจานวนหนึ่งเมื่อทวงถามให้แก่บุคคลอีกคนหนึ่ง หรือให้ใช้ตามคาสั่งาอง
บุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกว่า “ผู้รับเงิน” เช่น ดาออกเช็คสั่งธนาคารจ่ายเงินจานวน ๑๐,๐๐๐
บาท ให้แก่แดงเพื่อชาระหนี้เงินกู้
ข้อสังเกต ตั๋วสัญญาใช้เงินมีบุคคลที่เกี่ยวา้องเพียง ๒ ฝ่ายเท่านั้น ซึ่งต่างจาก
ตั๋วแลกเงินและเช็คที่มีบุคคลที่เกี่ยวา้อง ๓ ฝ่าย
ประเภทของตั๋วเงิน
สัญญาจัดตั้งห้างหุ้นส่วนหรือบริษัท หมายถึง สัญญาซึ่งบุคคลตั้งแต่ ๒ คน
าึ้นไปตกลงเา้ากันเพื่อกระทากิจการร่วมกัน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อแบ่งปันกาไรที่เกิดาึ้นจาก
กิจการที่ทานั้น
ลักษณะของสัญญาจัดตั้งห้างหุ้นส่วนหรือบริษัท
สัญญาจัดตั้งห้างหุ้นส่วนหรือบริษัทมีลักษณะที่สาคัญ ดังนี้
๑) ต้องมีบุคคลตั้งแต่ ๒ คนขึ้นไปร่วมกันจัดตั้งห้างหุ้นส่วนหรือบริษัท
อย่างไรก็ดีหากต้องการจัดตั้งเป็นบริษัทต้องมีผู้เริ่มก่อการ (ผู้จัดตั้ง)
ตั้งแต่ ๗ คนาึ้นไป ดังนั้น หากมีบุคคลเพียงคนเดียวแม้จะประกอบกิจการการค้าก็ไม่ถือว่า
เป็นหุ้นส่วนหรือบริษัท
๒) ต้องเข้าทากิจการร่วมกัน คู่สัญญาทุกคนต้องนาเงินหรือทรัพย์สินอื่นหรือ
แรงงาน เพื่อแสวงหากาไรร่วมกัน และทุกคนต้องมีส่วนร่วมในการดาเนินกิจการ
๓) ต้องมีวัตถุประสงค์เพื่อแบ่งปันกาไร หากไม่มีวัตถุประสงค์เพื่อแบ่งปันกาไร
ก็ไม่เป็นหุ้นส่วนหรือบริษัท แต่อาจเป็นสมาคมหรือมูลนิธิ
ประเภทของห้างหุ้นส่วน
ห้างหุ้นส่วนมี ๓ ประเภท ได้แก่
๑) ห้างหุ้นส่วนสามัญ หมายถึง ห้างหุ้นส่วนที่ไม่ได้นาไปจดทะเบียนและมีหุ้นส่วน
ประเภทเดียว ได้แก่ หุ้นส่วนไม่จากัดความรับผิด กล่าวคือ ทุกคนต้องรับผิดร่วมกันโดยไม่จากัด
จานวน ห้างหุ้นส่วนสามัญไม่มีฐานะเป็นนิติบุคคล
๒) ห้างหุ้นส่วนสามัญจดทะเบียน หมายถึง ห้างหุ้นส่วนที่จดทะเบียนโดยมีฐานะเป็นนิติ
บุคคล และมีหุ้นส่วนประเภทเดียว ได้แก่ หุ้นส่วนไม่จากัดความรับผิด เช่นเดียวกับห้างหุ้นส่วน
สามัญ
๓) ห้างหุ้นส่วนจากัด หมายถึง ห้างหุ้นส่วนที่จดทะเบียนโดยมีฐานะเป็นนิติ
บุคคล เช่นเดียวกับห้างหุ้นส่วนสามัญจดทะเบียน แต่มีหุ้นส่วน ๒ ประเภท ได้แก่
(๑) หุ้นส่วนไม่จากัดความรับผิด
(๒) หุ้นส่วนจากัดความรับผิด ซึ่งหมายถึง หุ้นส่วนที่ต้องรับผิดไม่เกินจานวนที่
ลงจะลงหุ้นไว้
Ex แดงเป็นหุ้นส่วนประเภทจากัดความรับผิดตกลงจะลงหุ้นเป็นเงิน ๑ แสน
บาท เมื่อห้างเลิกกิจการและมีหนี้ที่จะต้องชาระ แดงจะต้องรับผิดในหนี้นั้นไม่เกิน ๑ แสน
บาท ถ้าแดงได้นาเงินมาลงหุ้นจนครบ ๑ แสนบาทตามที่ได้ตกลงไว้แล้ว ความรับผิดชอบ
าองแดงก็หมดไป แต่ถ้าแดงส่งเงินให้กับห้างไปเพียง ๕ หมื่นบาท แดงก็ยังมีความรับผิด
อีก ๕ หมื่นบาท
ประเภทของห้างหุ้นส่วน
ประเภทของบริษัท
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ได้บัญญัติถึงบริษัทไว้เพียงประเภทเดียว คือ
บริษัทจากัด แต่ยังมีบริษัทอีกประเภทหนึ่งคือ บริษัทมหาชนจากัด ซึ่งบัญญัติไว้ใน
พระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจากัด พ.ศ. ๒๕๓๕
บริษัททั้งสองประเภทกฎหมายบังคับให้ต้องจดทะเบียนเท่านั้น โดยบริษัทจากัดต้องมีผู้
เริ่มก่อการตั้งแต่ ๗ คนขึ้นไป ส่วนบริษัทมหาชนจากัดต้องมีผู้เริ่มก่อการตั้งแต่ ๑๕ คน
อีกทั้งผู้ถือหุ้นของบริษัททั้งสองประเภทมีความรับผิดไม่เกินจานวนที่ตนตกลงจะลงหุ้นไว้
เช่นเดียวกับหุ้นส่วนจากัดความรับผิด

More Related Content

What's hot

กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้montira
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันEyezz Alazy
 
บทที่ 4หนี้
บทที่ 4หนี้บทที่ 4หนี้
บทที่ 4หนี้Chi Wasana
 
กฎหมายทะเบียนราษฎร
กฎหมายทะเบียนราษฎรกฎหมายทะเบียนราษฎร
กฎหมายทะเบียนราษฎรYosiri
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาkrudow14
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินYosiri
 
แบบฝึกหัดกฎหมายเอกเทศสัญญา 1
แบบฝึกหัดกฎหมายเอกเทศสัญญา 1แบบฝึกหัดกฎหมายเอกเทศสัญญา 1
แบบฝึกหัดกฎหมายเอกเทศสัญญา 1Nurat Puankhamma
 
เหตุการณ์ปฏิวัติ
เหตุการณ์ปฏิวัติเหตุการณ์ปฏิวัติ
เหตุการณ์ปฏิวัติtinnaphop jampafaed
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินYosiri
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้Yosiri
 
กฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรมกฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรมYosiri
 
ความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมายความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมายbilly ratchadamri
 
บทที่ 5 ซื้อขาย
บทที่ 5 ซื้อขายบทที่ 5 ซื้อขาย
บทที่ 5 ซื้อขายChi Wasana
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม Yosiri
 
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีKey of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีPracha Wongsrida
 
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Pracha Wongsrida
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้าเรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 

What's hot (20)

กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
 
บทที่ 4หนี้
บทที่ 4หนี้บทที่ 4หนี้
บทที่ 4หนี้
 
กฎหมายทะเบียนราษฎร
กฎหมายทะเบียนราษฎรกฎหมายทะเบียนราษฎร
กฎหมายทะเบียนราษฎร
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธา
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สิน
 
แบบฝึกหัดกฎหมายเอกเทศสัญญา 1
แบบฝึกหัดกฎหมายเอกเทศสัญญา 1แบบฝึกหัดกฎหมายเอกเทศสัญญา 1
แบบฝึกหัดกฎหมายเอกเทศสัญญา 1
 
เหตุการณ์ปฏิวัติ
เหตุการณ์ปฏิวัติเหตุการณ์ปฏิวัติ
เหตุการณ์ปฏิวัติ
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สิน
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้
 
กฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรมกฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรม
 
ความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมายความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมาย
 
บทที่ 5 ซื้อขาย
บทที่ 5 ซื้อขายบทที่ 5 ซื้อขาย
บทที่ 5 ซื้อขาย
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม
 
ละเมิด
ละเมิดละเมิด
ละเมิด
 
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีKey of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
 
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 

More from Yosiri

กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้Yosiri
 
ตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียนตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียนYosiri
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันกฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันYosiri
 
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญากฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญาYosiri
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญาYosiri
 
กฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัวกฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัวYosiri
 
กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล Yosiri
 
กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก Yosiri
 
บุคคล 17
บุคคล 17บุคคล 17
บุคคล 17Yosiri
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้Yosiri
 
กฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัวกฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัวYosiri
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมกฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมYosiri
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมกฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมYosiri
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินYosiri
 
กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดกกฎหมายมรดก
กฎหมายมรดกYosiri
 
กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดกกฎหมายมรดก
กฎหมายมรดกYosiri
 
ครอบครัว
ครอบครัวครอบครัว
ครอบครัวYosiri
 
กฎหมายบุุคคล ปี1/56
กฎหมายบุุคคล ปี1/56กฎหมายบุุคคล ปี1/56
กฎหมายบุุคคล ปี1/56Yosiri
 
กฎหมายเครื่องหมายการค้า
กฎหมายเครื่องหมายการค้ากฎหมายเครื่องหมายการค้า
กฎหมายเครื่องหมายการค้าYosiri
 
กฎหมายสิทธิบัตร
กฎหมายสิทธิบัตรกฎหมายสิทธิบัตร
กฎหมายสิทธิบัตรYosiri
 

More from Yosiri (20)

กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้
 
ตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียนตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียน
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันกฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
 
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญากฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
 
กฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัวกฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัว
 
กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล
 
กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก
 
บุคคล 17
บุคคล 17บุคคล 17
บุคคล 17
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้
 
กฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัวกฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัว
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมกฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมกฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สิน
 
กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดกกฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก
 
กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดกกฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก
 
ครอบครัว
ครอบครัวครอบครัว
ครอบครัว
 
กฎหมายบุุคคล ปี1/56
กฎหมายบุุคคล ปี1/56กฎหมายบุุคคล ปี1/56
กฎหมายบุุคคล ปี1/56
 
กฎหมายเครื่องหมายการค้า
กฎหมายเครื่องหมายการค้ากฎหมายเครื่องหมายการค้า
กฎหมายเครื่องหมายการค้า
 
กฎหมายสิทธิบัตร
กฎหมายสิทธิบัตรกฎหมายสิทธิบัตร
กฎหมายสิทธิบัตร
 

กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา

  • 2. 1. นางสาวปราณี หมื่นประเสริฐ 2. นางสาวพรศิลป์ มั่นคงผ่องใส 3. นางสาวสุชาดา สุวรรณกรณ์ 4. นายกิตติชัย การะภักดี สมาชิกในกลุ่ม 4
  • 3. เอกเทศสัญญา หมายถึง สัญญาชนิดที่มีชื่อซึ่งประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 3 เอกเทศสัญญามี 22ประเภท 1. ซื้อขาย 2. แลกเปลี่ยน 3. ให้ 4. เช่าทรัพย์ 5. เช่าซื้อ 6. จ้างแรงงาน 7. จ้างทาของ 8. รับขน 9. ยืม 10. ฝากทรัพย์ 11. ค้าประกัน 12. จานอง 13. จานา 14. เก็บของในคลัง 15. ตัวแทน 16. นายหน้า 17. ประนีประนอมยอมความ 18. การพนันและขันต่อ 20. ประกันภัย 21. ตั๋วเงิน 22. หุ้นส่วนและบริษัท
  • 4. สัญญาซื้อขาย หมายถึง สัญญาที่ “ผู้ขาย” โอนกรรมสิทธิ์แห่ง ทรัพย์สินให้แก่ “ผู้ซื้อ” และผู้ซื้อตกลงว่าจะใช้ราคาทรัพย์สินนั้นให้แก่ผู้าาย ลักษณะของสัญญาซื้อขาย 1. เป็นสัญญาต่างตอบแทน 2. เป็นสัญญาที่มีวัตถุในการโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน 3. เป็นสัญญาที่มีวัตถุประสงค์ในการชาระราคาเพื่อตอบแทนการโอนกรรมสิทธิ์ใน ทรัพย์สิน 4. เป็นสัญญาที่มีวัตถุาองสัญญาเป็นทรัพย์สิน สัญญาซื้อาาย
  • 5. 1. เป็ นสัญญาต่างตอบแทน เป็นสัญญาที่ผู้ขายและผู้ซื้อต่างเป็นเจ้าหนี้และลูกหนี้กัน โดยผู้ขายเป็นเจ้าหนี้และผู้ซื้อ ผู้ซื้อเป็นลูกหนี้ หากผู้ซื้อไม่ยอมชาระราคา ผู้ขายก็มีสิทธิที่จะไม่ส่งมอบทรัพย์สิน ในทางกลับกัน กลับกันหากผู้ขายไม่ยอมส่งมอบทรัพย์สิน ผู้ซื้อก็มีสิทธิที่จะยังไม่ชาระราคา 2. เป็ นสัญญาที่มีวัตถุในการโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน เป็นสัญญาที่ผู้ขายตกลงโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินของตนให้แก่ผู้ซื้อ หากไม่มีการโอน โอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์ไปยังผู้ซื้อ สัญญานั้นย่อมไม่ใช่สัญญาซื้อขาย Ex สัญญาซื้อเวลาออกอากาศสถานีวิทยุกระจายเสียงไม่ใช่สัญญาซื้อขาย เพราะไม่มี ไม่มีการโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน แต่เป็นสัญญาให้บริการการออกกระจายเสียง ลักษณะของสัญญาซื้อขาย
  • 6. 3. เป็ นสัญญาที่มีวัตถุประสงค์ในการชาระราคาเพื่อตอบแทนการโอนกรรมสิทธิ์ใน ทรัพย์สิน เป็นสัญญาที่ผู้ซื้อตกลงชาระราคาให้แก่ผู้ขายเพื่อตอบแทนที่ผู้ขายโอนกรรมสิทธิ์ให้แก่ตน ให้แก่ตน โดยผู้ซื้อจะต้องชาระราคาด้วยเงินเท่านั้น หากผู้ซื้อตกลงชาระราคาด้วยทรัพย์สินอื่นที่ อื่นที่ไม่ใช่เงิน สัญญานั้นย่อมไม่ใช่สัญญาซื้อขาย แต่เป็นสัญญาแลกเปลี่ยน Ex หนึ่งตกลงซื้อขายสุนัขให้สอง และสองตกลงชาระเงินแก่หนึ่งเป็นเงิน 2,000 บาท บาท สัญญาดังกล่าวเป็นสัญญาซื้อขาย แต่หากสองตกลงให้ลูกหมูของตนเป็นการตอบแทน สัญญาดังกล่าวไม่ใช่สัญญาซื้อขายแต่เป็นสัญญาลกเปลี่ยน ลักษณะของสัญญาซื้อขาย
  • 7. 4. เป็ นสัญญาที่มีวัตถุของสัญญาเป็ นทรัพย์สิน สัญญาซื้อขายเป็นสัญญาที่มีวัตถุประสงค์ในการโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน แต่ก็มี ทรัพย์สินบางประเภทที่ตกลงซื้อขายกันตามปกติไม่ได้ เช่น สาธารณสมบัติของแผ่นดิน ที่วัด ที่ ที่ธรณีสงฆ์ ที่ศาลาสมบัติกลาง หรือทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ฯลฯ ลักษณะของสัญญาซื้อขาย
  • 8. สัญญาซื้อาายจะตกลงกันด้วยวิธีใดก็ได้ เช่น ด้วยวาจา ทางโทรศัพท์หรือตกลงกัน เป็นหนังสือก็ได้ แต่สัญญาซื้อาายบางประเภทต้องทาตามแบบที่กฎหมายกาหนด มิฉะนั้น สัญญาจะตกเป็นโมฆะ หรือบางกรณีต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือ มิฉะนั้นจะฟ้ องร้องให้บังคับ คดีไม่ได้ ซึ่งมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ แบบของสัญญาซื้อขาย
  • 9. 1. สัญญาซื้อขายอสังหาริมทรัพย์หรือสังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษ กฎหมายบังคับให้ต้องทาเป็ นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ หากไม่ หากไม่กระทาตามจะมีผลให้สัญญาซื้อขายนั้นตกเป็นโมฆะ Ex แดงซื้อที่ดินหรือช้างของนายดา สัญญาดังกล่าวจะสมบูรณ์ได้ก็ต่อเมื่อทาเป็น หนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ หากแดงและดาไม่ทาสัญญาเป็นหนังสือและจด จดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ สัญญานั้นจะตกเป็นโมฆะ ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจะเรียกให้อีกฝ่าย ฝ่ายปฏิบัติตามสัญญาไม่ได้ แบบของสัญญาซื้อขาย สังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษ ได้แก่ เรือระวางตั้งแต่ ๕ ตันขึ้นไป แพ และสัตว์พาหนะ (ช้าง ม้า โค กระบือ ฯลฯ)
  • 10. แบบของสัญญาซื้อขาย ๒. สัญญาจะซื้อจะขายอสังหาริมทรัพย์หรือสังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษ สัญญาจะซื้อจะขาย หมายถึง สัญญาซื้อาายกันในอนาคต สัญญาจะซื้อจะาาย นั้นกฎหมายไม่ได้กาหนดให้ต้องทาตามแบบเหมือนสัญญาซื้อาายอสังหาริมทรัพย์ฯ แต่ กฎหมายกาหนดให้ต้องทาเป็นหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อฝ่ายที่ต้องรับผิดชอบ หรือวางมัดจา หรือชาระหนี้บางส่วน หากไม่กระทาการอย่างใดอย่างหนึ่ง สัญญาจะซื้อ จะาายนั้นไม่สามารถฟ้ องร้องบังคับคดีกันได้ แต่สัญญาดังกล่าวก็ยังสมบูรณ์ไม่ตกเป็น โมฆะ Ex แดงและดาตกลงด้วยวาจาทาสัญญาจะซื้อจะาายที่ดินาองดา หากดาผิด สัญญาไม่ยอมไปทาสัญญาซื้อาายกันตามที่ตกลงกันไว้ แดงไม่สามารถนาสัญญาจะซื้อจะ าายไปฟ้ องต่อศาลเพื่อบังคับดาได้ แต่แดงยังคงสามารถเรียกร้องให้ดาไปทาสัญญาซื้อาาย ได้เสมอ เพราะสัญญาจะซื้อจะาายมีผลสมบูรณ์ทุกประการ
  • 11. แบบของสัญญาซื้อขาย ๓. สัญญาซื้อขายสังหาริมทรัพย์ที่มีราคาตั้งแต่ ๒๐,๐๐๐ บาทขึ้นไป กฎหมายไม่ได้กาหนดให้ต้องทาตามแบบเหมือนอย่างสัญญาซื้อาาย อสังหาริมทรัพย์หรือสังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษ แต่กฎหมายกาหนดให้ต้องทาหลักฐานเป็น หนังสือลงลายมือชื่อฝ่ายที่ต้องรับผิด หรือวางมัดจาหรือชาระหนี้บางส่วนเช่นเดียวกับ สัญญาจะซื้อจะาาย หากไม่กระทาการอย่างใดอย่างหนึ่ง สัญญาซื้อาายนั้นไม่สามารถ ฟ้ องร้องบังคับคดีได้ สัญญาดังกล่าวก็ยังสมบูรณ์ไม่ตกเป็นโมฆะ ดังนั้น สัญญาซื้อาายสังหาริมทรัพย์ที่มีราคาต่ากว่า ๒๐,๐๐๐ บาท แม่ไม่ได้ทา เป็นหลักฐาน เป็นหนังสือลงลายมือชื่อฝ่ายที่ต้องรับผิด หรือวางมัดจา หรือชาระหนี้บางส่วน คู่สัญญาก็สามารถฟ้ องร้องต่อศาลให้รับผิดตามสัญญาได้เสมอ
  • 12. การโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ซื้อขาย กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ซื้อาายย่อมโอนจากผู้าายไปยังผู้ซื้อทันทีที่สัญญาเกิด Ex แดงตกลงซื้อรถยนต์าองเาียวในวันที่ 1 มกราคม ๒๕๕๐ และเาียวจะส่งมอบ รถยนต์คันดังกล่าวให้แก่แดงในวันที่ ๑๐ มกราคม ๒๕๕๐ ดังนี้ กรรมสิทธิ์ในรถยนต์คัน ดังกล่าวย่อมโอนไปยังแดงในวันที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๐ ซึ่งเป็นวันที่สัญญาซื้อาายเกิดาึ้น แม้ว่าวันดังกล่าวจะยังไม่ได้ส่งมอบรถยนต์ให้แก่แดงก็ตาม
  • 13. ข้อยกเว้น การโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ซื้อขาย ๑. สัญญาซื้อขายอยู่ภายใต้เงื่อนไขบังคับก่อนหรือเงื่อนเวลาเริ่มต้น Ex แดงตกลงซื้อประมวลกฎหมายอาญาจากดา โดยมีเงื่อนไาบังคับก่อนว่า สัญญามีผลก็ต่อมเมื่อแดงได้เา้าเรียนในคณะนิติศาสตร์ ถึงแม้ว่าสัญญาจะเกิดาึ้นแล้วแต่ กรรมสิทธิ์ในประมวลกฎหมายอาญาาองดายังไม่ได้โอนไปยังแดงจนกว่าเงื่อนไาา้างต้นจะ สาเร็จ กล่าวคือ กรรมสิทธิ์จะโอนไปยังแดงก็ต่อเมื่อแดงได้เา้าเรียนในคณะนิติศาสตร์
  • 14. ข้อยกเว้น การโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ซื้อขาย ๒. สัญญาซื้อขายทรัพย์สินที่กาหนดไว้แต่เพียงประเภท Ex แดงเป็นพ่อค้าาายเนื้อหมูในตลาดซึ่งมีเนื้อหมูอยู่เป็นจานวนมาก ดาตกลงซื้อ เนื้อหมูจากแดงเป็นจานวน 2 กิโลกรัม กรณีนี้ถึงแม้สัญญาซื้อาายเกิดาึ้นแล้ว แต่กรรมสิทธิ์ ในเนื้อหมูก็ยังไม่โอนจากแดงไปยังดาทันทีที่สัญญาเกิด เพราะเนื้อหมูยังไม่ได้ถูกทาให้เป็น ทรัพย์เฉพาะสิ่ง แต่เมื่อใดที่มีการตัดแบ่งและชั่งเนื้อหมูออมมาเป็นจานวน 2 กิโลกรัมเพื่อจะ ทาการส่งมอบ เมื่อนั้นเนื้อหมูที่ตัดแบ่งออกมาและถูกชั่งน้าหนักแล้วจึงจะกลายเป็นทรัพย์ เฉพาะสิ่งและกรรมสิทธิ์จึงไม่โอนไปยังผู้ซื้อได้เลย
  • 15. ข้อยกเว้น การโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ซื้อขาย ๓. สัญญาซื้อขายทรัพย์เฉพาะสิ่งที่ยังต้องดาเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อให้รู้ราคา Ex แดงตกลงซื้อไก่ทั้งเล้าจากเาียว โดยตกลงซื้อาายกันในราคากิโลกรัมละ ๕๐ กก. กรรมสิทธิ์ในไก่ยังไม่ได้โอนไปยังแดงแม้ไก่ทั้งเล้าจะเป็นทรัพย์เฉพาะสิ่งแล้วก็ตาม เพราะ คู่สัญญายังไม่รู้ราคาที่ซื้อาายกัน ดังนี้ กรรมสิทธิ์ในไก่จะโอนไปยังแดงก็ต่อเมื่อได้ชั่งน้าหนัก ไก่ทั้งเล้าเพื่อให้รู้ราคาที่ซื้อาายกันเสียก่อน หรือ แดงตกลงซื้อาายไก่ทั้งเล้าจากเาียวในราคา ๑๐,๐๐๐ บ. กรรมสิทธิ์ในไก่ ย่อมโอนไปยังแดงทันทีที่สัญญาเกิดตามหลักทั่วไป เพราะไก่ทั้งเล้าเป็นทรัพย์เฉพาะสิ่งและ คู่สัญญาก็รู้ราคาที่ซื้อาายกันแล้ว
  • 16. ข้อยกเว้น การโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ซื้อขาย ๔. สัญญาซื้อขายทรัพย์สินที่คู่สัญญาตกลงให้กรรมสิทธิ์ยังไม่โอนทันทีที่สัญญาเกิด Ex แดงตกลงาายรถยนต์คนหนึ่งให้แก่าาวในราคา ๕๐๐,๐๐๐ บ. ซึ่งโดยทั่วไป แล้วกรรมสิทธิ์ในรถยนต์คนดังกล่าวย่อมโอนไปยังาาวทันทีที่ทาสัญญา แต่หากมีการตกลง กันให้กรรมสิทธิ์ยังไม่โอนไปจนกว่าาาวจะชาระราคาครบถ้วน ดังนี้ กรรมสิทธิ์ในรถยนต์ก็ยัง ไม่โอนไปยังาาวทันทีที่ทาสัญญาซื้อาายกันอันเป็นผลมาจากเจตนาาองคู่สัญญาที่ตกลงกัน
  • 17. สัญญาซื้อขายเฉพาะอย่าง ๑. สัญญาขายฝาก สัญญาซื้อาายซึ่งกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินตกไปยังผู้ซื้อ โดยมีา้อตกลงกันว่าผู้าาย อาจไถ่ทรัพย์นั้นคืนได้ภายในระยะเวลาที่กาหนด หากผู้าายไม่ไถ่คืนในระยะเวลาดังกล่าว ผู้าายจะไม่สามารถไถ่ทรัพย์ได้อีกต่อไป Ex ดาาายที่ดินแก่แดงโดยมีา้อตกลงว่า ภายใน ๑๐ ปีนับแต่ที่ได้ทาสัญญากันนั้น ดาสามารถนาเงินไปไถ่ที่ดินคืนจากแดงได้เสมอ ระยะเวลาในการไถ่ทรัพย์สินของสัญญาฝากขาย ๑. กรณีอสังหาริมทรัพย์ มีกาหนดระยะเวลาไถ่ทรัพย์สิน ๑๐ ปีนับแต่ทาสัญญาซื้อ าาย ๒. กรณีสังหาริมทรัพย์ มีกาหนดระยะเวลาไถ่ทรัพย์สิน ๓ ปีนับแต่ทาสัญญาซื้อาาย คู่สัญญาสามารถกาหนดระยะเวลาให้สั้นกว่าได้แต่ไม่สามารถยาวกว่าที่กฎหมายกาหนดได้
  • 18. สัญญาซื้อขายเฉพาะอย่าง ๒. สัญญาขายตามตัวอย่าง ขายตามคาพรรณนา ขายเผื่อชอบ ๒.๑ สัญญาขายตามตัวอย่าง หมายถึง สัญญาที่ผู้าายให้ผู้ซื้อได้มีโอกาสตรวจดู หรือใช้ทรัพย์สินที่จะาายเป็นตัวอย่างก่อนที่จะตกลงทาสัญญาซื้อาาย ๒.๒ สัญญาขายตามคาพรรณนา หมายถึง สัญญาที่ผู้ซื้อไม่มีโอกาสได้เห็นและ ตรวจสอบคุณภาพาองทรัพย์สิน แต่ผู้ซื้อได้ตกลงซื้อโดยคาเชื่อตามคาพรรณนาถึงลักษณะ รูปพรรณและคุณภาพาองสินค้าที่ผู้าายได้พรรณนาไว้ ๒.๓ สัญญาขายเผื่อชอบ หมายถึง สัญญาที่มีเงื่อนไาว่าให้ผู้ซื้อได้มีโอกาส ตรวจดูสินทรัพย์ก่อน โดยผู้ซื้อจะซื้อหรือไม่ก็ได้ ๒.๔ สัญญาขายทอดตลาด หมายถึง สัญญาที่ผู้าายนาทรัพย์สินออกเสนอาาย โดยให้ผู้ซื้อสู้ราคากัน
  • 19. ความรับผิดในความชารุดบกพร่องของทรัพย์สินที่ขาย หากทรัพย์สินที่าายนั้นชารุด ผู้าายย่อมต้องรับผิดชอบต่อผู้ซื้อ ทั้งในกรณีที่ผู้าาย รู้อยู่แล้วหรือไม่รู้ถึงความชารุดนั้น โดยความชารุดต้องที่ผู้าายจะต้องรับผิดชอบนั้นจะต้องอยู่ ก่อนหรือาณะทาสัญญาซื้อาายหรือก่อนส่งมอบทรัพย์สิน Ex แดงตกลงซื้อรถยนต์จากดาราคา ๕๐๐,๐๐๐ บาท หลังจากที่ดาได้ส่งมอบ รถยนต์ให้แดงเพียง ๒ วัน ระหว่างแดงาับรถไปทางาน รถยนต์าองแดงเสียเพราะเา้าเกียร์ไม่ได้ โดยช่างพบว่าเป็นเพราะเกียร์ชารุด ทาให้แดงไม่สามารถใช้รถยนต์นั้นได้ตามปกติ เช่นนี้เป็น กรณีที่รถยนต์มีความชารุดบกพร่องถึงานาดเป็นเหตุให้รถยนต์นั้นเสื่อมความเหมาะสมแก่ ประโยชน์อันมุ่งจะเป็นปกติ ดาาายต้องรับผิดชอบต่อแดงผู้ซื้อ แม้ว่าดาจะไม่รู้ถึงความชารุด บกพร่องนั้นมาก่อน
  • 20. ข้อยกเว้น ที่ผู้ขายไม่ต้องรับผิดชอบ ๑. ถ้าผู้ซื้อได้รู้อยู่แล้วแต่ในเวลาซื้อาายว่ามีความชารุดบกพร่องหรือควรจะรู้เช่นนั้นหากได้ใช้ ความระมัดระวังอันจะพึงคาดหมายได้แต่วิญญูชน ๒. ถ้าความชารุดบกพร่องนั้นเป็นอันเห็นประจักษ์แล้วในเวลาส่งมอบและผู้ซื้อรับเอา ทรัพย์สินนั้นไว้โดยมิได้อิดเอื้อน ๓. ถ้าทรัพย์สินนั้นาายทอดตลาด นอกจากนี้ ผู้าายอาจตกลงกับผู้ซื้อว่าผู้าายจะไม่ต้องรับผิดในความชารุดบกพร่อง าองทรัพย์สินที่าายได้ โดยกาหนดา้อตกลงนั้นไว้ในสัญญาซื้อาาย
  • 21. สัญญาแลกเปลี่ยน สัญญาแลกเปลี่ยน หมายถึง สัญญาซึ่งคู่สัญญาต่างโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน าองแต่ละฝ่ายให้กันและกัน โดยทรัพย์สินที่นามาแลกเปลี่ยนกันต้องไม่ใช่เงิน หากฝ่ายใด ฝ่ายหนึ่งนาเงินมาแลกเปลี่ยนกับทรัพย์สินสัญญานั้นก็จะเป็นสัญญาซื้อาายทันที Ex แดงนาหมูาองตนจานวน ๑ ตัวไปแลกกับา้าวสาราองดาจานวน ๔ กระสอบ สัญญาดังกล่าวเป็นสัญญาแลกเปลี่ยน แต่หากดานาเงินจานวน ๓,๐๐๐ บ. ไปแลกกับหมูาอง แดงจานวน ๑ ตัว สัญญาดังกล่าวก็จะไม่ใช่สัญญาแลกเปลี่ยนแต่เป็นสัญญาซื้อาาย
  • 22. ลักษณะของสัญญาแลกเปลี่ยน สัญญาแลกเปลี่ยนกับสัญญาซื้อาายมีลักษณะเหมือนกัน คือ สัญญาทั้งสองเป็น สัญญาต่างตอบแทน มีวัตถุประสงค์ในการโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน แต่ต่างกันกันที่  สัญญาซื้อาายเป็นเรื่องาองการเอาาองแลกกับเงิน  สัญญาแลกเปลี่ยนเป็นเรื่องาองการเอาาองแลกกับาอง
  • 23. สัญญาให้ สัญญาให้ หมายถึง สัญญาซึ่งบุคคลหนึ่งเรียกว่า “ผู้ให้” โอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน าองตนโดยเสน่หาแก่บุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกว่า “ผู้รับ” และผู้รับยอมรับเอาเอาทรัพย์สินนั้น Ex แดงถูกลอตเตอรี่จานวน ๓ ล้านบาท แดงจึงแบ่งเงินรางวัลจานวน ๕ แสนบาท ให้แก่นายดา ซึ่งเป็นน้องชายาองตน โดยดารับเอาเงินจานวนดังกล่าวด้วยความดีใจ
  • 24. ลักษณะของสัญญาให้ ๑. เป็นสัญญาไม่ต่างตอบแทน ๒. เป็นสัญญาที่มีวัตถุประสงค์ในการโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน ๓. เป็นสัญญาที่ผู้โอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินให้แก่ผู้รับโดยเสน่หา ๔. เป็นสัญญาที่สมบูรณ์เมื่อส่งมอบทรัพย์สินที่ให้
  • 26. การถอนคืนการให้เพราะเหตุผู้รับประพฤติเนรคุณ โดยหลักแล้วผู้ให้จะเรียกทรัพย์สินนั้นคืนจากผู้รับไม่ได้ แต่ถ้าผู้รับประพฤติเนรคุณ ต่อผู้ให้ กฎหมายก็เปิดโอกาสให้ผู้ให้สามารถเรียกทรัพย์สินนั้นคืนจากผู้รับได้ซึ่งเรียกว่า “การ ถอนคืนการให้” โดยผู้ให้จะเรียกถอนคืนการให้เพราะเหตุผู้รับประพฤติเนรคุณได้เฉพาะใน 3 กรณี ดังนี้ ๑. ผู้รับได้ประทุษร้ายต่อผู้ให้อันเป็นความผิดฐานอาญาอย่างร้ายแรงตาม ประมวลกฎหมายอาญา เช่น ผู้รับฆ่าผู้ให้ ผู้รับทาร้ายร่างกายผู้ให้ ๒. ผู้รับได้ทาให้ผู้ให้เสียชื่อเสียงหรือหมิ่นประมาณผู้ให้อย่าร้ายแรง เช่น ผู้รับ ด่าผู้ให้ซึ่งเป็นพ่อาองตนว่า “ไอ้แก่ กูไม่นับมึงเป็นพ่อ ออกไปให้พ้น” ๓. ผู้รับได้บอกปัดไม่ยอมให้สิ่งของจาเป็นเลี้ยงชีวิตแก่ผู้ให้ในเวลาที่ผู้ให้ ยากไร้และผู้รับยังสามารถจะให้ได้ เช่น หลังจากผู้ให้ยกทรัพย์สมบัติทั้งหมดาองตนให้แก้ ผู้รับซึ่งเป็นลูก ผู้ให้ก็ไม่มีทรัพย์สมบัติอะไรเหลืออยู่เลยจึงมาาออาศัยอยู่กับผู้รับเพื่อหวังให้ผู้รับ อุปการระเลี้ยงดู ผู้รับอยู่ในฐานะที่สามารถอุปการะเลี้ยงดูผู้ให้ได้แต่ด้วยความรังเกียจผู้ให้จึง
  • 27. สัญญาเช่าทรัพย์ สัญญาเช่าทรัพย์ หมายถึง สัญญาซึ่งบุคคลหนึ่งเรียกว่า “ผู้ให้เช่า” ตกลงให้บุคคลอีกคน หนึ่งเรียกว่า “ผู้เช่า” ได้ใช้หรือได้รับประโยชน์ในทรัพย์สินตามกาหนดเวลาที่ได้ตกลงกันไว้ และผู้เช่า ตกลงจะให้ค่าเช่าแก่ผู้ให้เช่าเป็นการตอบแทนจากการที่ตนได้ใช้หรือได้รับประโยชน์ในทรัพย์สินที่เช่า ลักษณะของสัญญาเช่าทรัพย์ ๑. เป็นสัญญาต่างตอบแทน ผู้ให้เช่าต้องส่งมอบทรัพย์สินที่ให้เช่าแก่ผู้เช่า และผู้เช่าต้องชาระค่า เช่าแก่ผู้ให้เช่าเป็นการตอบแทน ๒. เป็นสัญญาที่ไม่ได้มีโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน เช่น แดงให้ดาเช่ารถยนต์ของตน ดาอาจนา รถยนต์คันดังกล่าวไปให้ขาวเช่าต่ออีกทอดหนึ่ง การกระทาดังกล่าวเรียกว่า “การเช่าช่วง”
  • 28. สัญญาเช่าทรัพย์ ลักษณะของสัญญาเช่าทรัพย์ ๓. เป็นสัญญาที่มีระยะเวลาจากัด การเช่าสังหาริมทรัพย์นั้นคู่สัญญาจะกาหนดระยะเวลาการเช่า นานเพียงใดก็ได้ แต่การเช่าอสังหาริมทรัพย์กฎหมายกาหนดให้เช่าได้ไม่เกิน ๓๐ ปี ๔. เป็นสัญญาที่ถือเอาคุณสมบัติของผู้เช่าเป็นสาระสาคัญ เมื่อผู้เช่ามีคุณสมบัติที่จะดูแลรักษา ทรัพย์สินที่ให้เช่าได้ ผู้ให้เช่าก็จะยินยอมให้เช่าทรัพย์สิน ดังนั้น หากผู้เช่าตาย สัญญาย่อมระงับ ลง และผู้เช่าจะเอาทรัพย์สินไปให้บุคคลอื่นเช่าต่อโดยผู้ให้เช่าไม่ยินยอมไม่ได้ ๕. เป็นสัญญาที่ไม่มีแบบ สัญญาเช่าจึงสมบูรณ์เมื่อมีการตกลงกันระหว่างผู้ให้เช่ากับผู้เช่า แต่ หากเช่าอสังหาริมทรัพย์นั้นกฎหมายกาหนดให้ต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อฝ่ายที่ต้องรับ ผิด มิฉะนั้นจะไม่สามารถฟ้ องร้องบังคับให้ปฏิบัติตามสัญญาเช่าได้
  • 29. ผลของการโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่เช่า เมื่อมีการโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่เช่า กรณีสัญญาเช่าสังหาริมทรัพย์ หากมีการโอนกรรมสิทธิ์ในสังหาริมทรัพย์ที่เช่าจะ ทาให้สัญญาเช่าระงับลง Ex ขาวทาสัญญาเช่ารถยนต์จากดาเป็นเวลา ๒ ปี หนึ่งปีต่อมาดาได้ขายรถยนต์คน ดังกล่าวให้แก่นายเขียว ดังนี้ สัญญาเช่ารถยนต์ระหว่างขาวกับดาย่อมระงับลง กรณีสัญญาเช่าอสังหาริมทรัพย์ หากมีการโอนกรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพย์ที่เช่าก็ ไม่ทาให้สัญญาเช่าระงับลง Ex ขาวทาสัญญาเช่าบ้านจากดาเป็นเวลา ๒ ปี หนึ่งปีต่อมาดาได้ขายบ้านหลังดังกล่าว ให้แก่นายเขียว ดังนี้สัญญาเช่าบ้านระหว่างขาวกับดาย่อมไม่ระงับลง กรณีนี้สิทธิและหน้าที่ตาม สัญญาเช่าก็จะตกแก่เขียว
  • 30. สัญญาเช่าซื้อ สัญญาเช่าซื้อ หมายถึง “ผู้ให้เช่าซื้อ” นาทรัพย์สินของตนออกให้เช่าและให้คามั่นว่าจะ ขายทรัพย์สินดังกล่าวให้แก่ “ผู้เช่าซื้อ” โดยมีเงื่อนไขว่าผู้เช่าซื้อต้องชาระราคาทรัพย์สินนั้นเป็นงวดๆ จนครบตามจานวนที่ได้ตกลงไว้ในสัญญา ลักษณะของสัญญาเช่าซื้อ ๑. เป็นสัญญาต่างตอบแทน ผู้ให้เช่าซื้อต้องส่งมอบทรัพย์สินที่ให้เช่าแก่ผู้เช่าซื้อและโอนกรรม สิทธ์ให้เมื่อผู้เช่าซื้อชาระเงินครบทุกงวด ๒. ผู้ให้เช่าซื้อไม่ต้องเป็นเจ้าของทรัพย์สินที่ให้เช่าซื้อก็ได้ เช่น นายแดงทาสัญญาเช่าซื้อกับนาย ดา ในระหว่างที่แดงยังชาระราคารถยนต์แก่ดาไม่ครบถ้วน แดงจึงไม่ได้รับโอนกรรมสิทธิ์ รถยนต์คนดังกล่าวจากดา
  • 31. สัญญาเช่าซื้อ ลักษณะของสัญญาเช่าซื้อ ๓. ผู้ให้เช่าซื้อเอาทรัพย์สินของตนออกมาให้เช่าประกอบกับให้คามั่นแก่ผู้เช่าซื้อว่าจะขายทรัพย์สิน นั้น สัญญาเช่าซื้อมีลักษณะเป็นสัญญาเช่าประกอบกับคามั่นว่าจะขาย ๔. เป็นสัญญาที่กรรมสิทธิ์ในทรัพย์ที่เช่าซื้อโอนไปยังผู้เช่าซื้อเมื่อผู้เช่าซื้อชาระเงินครบทุกงวด ๕. เป็นสัญญาที่มีแบบ หากไม่ทาเป็นหนังสือสัญญาจะตกเป็นโมฆะ
  • 32. สัญญาจ้างแรงงาน สัญญาจ้างแรงงาน หมายถึง “ลูกจ้าง” ตกลงที่จะทางานให้กับ “นายจ้าง” และนายจ้าง ตกลงจะให้สินจ้างตลอดเวลาที่ทางาน ลักษณะของสัญญาจ้างแรงงาน ๑. เป็นสัญญาต่างตอบแทน ลูกจ้างต้องทางานให้แก่นายจ้าง ส่วนนายจ้างต้องจ่ายสินจ้างให้แก่ ลูกจ้างตลอดระยะเวลาที่ลูกจ้างทางานให้ ๒. เป็นสัญญาที่สาระสาคัญอยู่ที่ตัวบุคคลผู้เป็นคู่สัญญา ในการตัดสินใจเข้าทาสัญญาทั้งฝ่าย นายจ้างลูกจ้าง จะต้องพิจารณาคุณสมบัติและบุคลิกลักษณะของแต่ละฝ่ายจนพอใจจึงจะตก ลงเข้าทางานด้วยกัน ๓. เป็นสัญญาที่คู่สัญญามีความสัมพันธ์พิเศษแตกต่างไปจากสัญญาชนิดอื่นๆ ลูกจ้างต้อง ทางานให้แก่นายจ้างด้วยความซื่อสัตย์สุจริต และนายจ้างมีอานาจบังคับบัญชาลูกจ้าง ๔. เป็นสัญญาที่ไม่มีแบบ สัญญาจ้างแรงงานไม่จาเป็นต้องทาเป็นหนังสือสัญญาเพียงแต่ตกลงกัน ด้วยวาจา
  • 33. สัญญาจ้างทาของ สัญญาจ้างทาของ หมายถึง “ผู้รับจ้าง” ตกลงรับจะทาการงานสิ่งใดสิ่งหนึ่งจนสาเร็จ ให้แก่ “ผู้ว่าจ้าง” และผู้ว่าจ้างตกลงจะให้สิจ้างเพื่อผลสาเร็จแห่งการที่ทานั้น ลักษณะของสัญญาจ้างทาของ ๑. เป็นสัญญาต่างตอบแทน ผู้รับจ้างต้องทางานที่รับมาจนสาเร็จ ส่วนผู้ว่าจ้างตกลงจ่ายสินจ้าง ให้เป็นการตอบแทน โดยสินจ้างจะเป็นเงินหรือทรัพย์สินอื่นใดก็ได้ ๒. เป็นสัญญาที่มีวัตถุประสงค์ตรงที่ผลสาเร็จของงานที่ว่าจ้าง ถ้าผู้รับจ้างทางานไม่สาเร็จผู้ว่า จ้างก็ไม่ต้องจ่ายสินจ้าง ๓. เป็นสัญญาที่ไม่มีแบบ สัญญาจ้างทาของไม่จาเป็นต้องทาเป็นหนังสือ เพียงแต่ตกลงกันด้วย วาจา
  • 34. ความแตกต่างระหว่างสัญญาจ้างแรงงานกับสัญญาจ้างทาของ ประเด็น สัญญาจ้างแรงงาน สัญญาจ้างทาของ ๑. วัตถุประสงค์ของสัญญา แรงงานของลูกจ้าง ผลสาเร็จของงานที่ว่าจ้าง ๒. สินจ้าง ต้องเป็นเงินเท่านั้น อาจเป็นเงินหรือทรัพย์สินก็ได้ ๓. การจ่ายสินจ้าง นายจ้างต้องจ่ายสินจ้าง ตลอดเวลาที่ลูกจ้างทางานให้แม้ แม้ลูกจ้างจะทางานไม่สาเร็จก็ ตาม ผู้ว่าจ้างจะจ่ายสินจ้างเมื่อผู้รับ จ้างทางานสาเร็จ หากผู้รับจ้าง ทางานไม่สาเร็จ ผู้ว่าจ้างก็ไม่ต้อง ต้องจ่ายสินจ้าง ๔. อานาจบังคับบัญชา นายจ้างมีอานาจบังคับบัญชา ลูกจ้าง ผู้ว่าจ้างไม่มีอานาจบังตับบัญชา
  • 35. ความแตกต่างระหว่างสัญญาจ้างแรงงานกับสัญญาจ้างทาของ ประเด็น สัญญาจ้างแรงงาน สัญญาจ้างทาของ ๕. การให้บุคคลอื่นทางานแทน ลูกจ้างให้ผู้อื่นทางานแทนไม่ได้ ผู้รับจ้างสามารถให้บุคคลอื่น ทางานแทนได้ หากสาระสาคัญ สาระสาคัญของงานนั้นไม่ได้อยู่ที่ ที่ความรู้ความสามารถของ ผู้รับ ผู้รับจ้าง ๖. ความรับผิดชอบในการทา ทาละเมิด เมื่อลูกจ้างทาละเมินในการงานที่ ที่จ้าง นายจ้างจะต้องร่วมรับผิด ผิดกับลูกจ้างด้วย เมื่อผู้รับจ้างทาละเมิด ผู้ว่าจ้างไม่ ไม่ต้องร่วมรับผิดกับผู้รับจ้าง เว้น เว้นแต่การละเมิดเกิดจากการงาน งานที่ผู้ว่าจ้างสั่งให้ทา หรือคาสั่ง คาสั่งของผู้ว่าจ้าง ๗. ศาลที่มีอานาจพิจารณาคดี ศาลแรงงาน ศาลแพ่ง ศาลจังหวัด หรือศาล แขวง แล้วแต่กรณี
  • 36. สัญญายืม สัญญายืมมี 2 ประเภท ๑. สัญญายืมใช้คงรูป หมายถึง “ผู้ให้ยืม” ให้บุคคลอีกคนหนึ่งเรียกว่า “ผู้ยืม” ใช้สอย ทรัพย์สินสิ่งใดสิ่งหนึ่งได้เปล่าและผู้ยืมตกลงว่าจะคืนทรัพย์สินนั้นเมื่อได้ใช้สอยเสร็จแล้ว ลักษณะของสัญญายืมใช้คงรูป ๑. เป็นสัญญาไม่ต่างตอบแทน คือ เป็นสัญญาที่ก่อให้เกิดหน้าที่ในการชาระหนี้แก่ผู้ยืม เพียงฝ่ายเดียว ๒. เป็นสัญญาไม่มีค่าตอบแทน คือ เป็นสัญญาที่ให้ผู้ยืมได้ใช้สอยทรัพย์สินที่ยืมโดยไม่ ต้องเสียค่าตอบแทนใดๆ ทั้งสิน
  • 37. สัญญายืม ลักษณะของสัญญายืมใช้คงรูป ๓. เป็นสัญญาที่บริบูรณ์เมื่อมีการส่งมอบทรัพย์ที่ยืม คือ สัญญายืมใช้คงรูปเกิดขึ้นเมื่อผู้ ให้ยืมส่งมอบทรัพย์สินให้แก่ผู้ยืม หากคู่สัญญาเพียงแต่ตกลงกันโดยผู้ให้ยืมยังไม่ส่งมอบทรัพย์สิน สัญญายืมใช้คงรูปก็ยังไม่เกิดขึ้น ๔. เป็นสัญญาที่ไม่โอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ยืม กรรมสิทธิ์ในทรัพย์ที่ยืมยังคงเป็นของผู้ ให้ยืมเสมอ ผู้ยืมมีเพียงสิทธิในการใช้สอยทรัพย์ที่ยืมเท่านั้น ๕. เป็นสัญญาที่ถือคุณสมบัติของผู้ยืมเป็นสาระสาคัญ หากผู้ยืมตาม สัญญายืมใช้คง รูปย่อมระงับลง
  • 38. สัญญายืม ๒. สัญญายืมใช้สิ้นเปลือง หมายถึง สัญญาซึ่งผู้ให้ยืมโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินชนิดใช้ แล้วหมดไปเป็นปริมาณที่มีกาหนดให้แก่ผู้ยืม และผู้ยืมตกลงว่าจะคืนทรัพย์สินเป็นประเภท ชนิด ปริมาณเช่นเดียวกันให้แทนทรัพย์สินซึ่งยืมไป เช่น การกู้ยืมเงิน การยืมเนื้อมาประกอบอาหาร ลักษณะของสัญญายืมใช้สิ้นเปลือง ๑. เป็นสัญญาไม่ต่างตอบแทน คือ เป็นสัญญาที่ก่อให้เกิดหน้าที่ในการชาระหนี้แก่ผู้ยืม เพียงฝ่ายเดียว ๒. เป็นสัญญาที่จะมีค่าตอบแทนหรือไม่ก็ได้ โดยหลักแล้วผู้ยืมได้ใช้สอยทรัพย์ใช้สิ้นที่ยืม โดยไม่ต้องเสียวค่าตอบแทน แต่คู่สัญญาอาจตกลงกันให้มีค่าตอบแทนสาหรับการยืมก็ได้
  • 39. สัญญายืม ลักษณะของสัญญายืมใช้สิ้นเปลือง ๓. เป็นสัญญาที่บริบูรณ์เมื่อมีการส่งมอบทรัพย์ที่ยืม คือ สัญญายืมใช้สิ้นเปลืองเกิดขึ้น เมื่อผู้ให้ยืมส่งมอบทรัพย์สินให้แก่ผู้ยืม หากคู่สัญญาเพียงแต่ตกลงกันโดยผู้ให้ยืมยังไม่ส่งมอบ ทรัพย์สิน สัญญายืมใช้สิ้นเปลืองก็ยังไม่เกิดขึ้น ๔. เป็นสัญญาที่ไม่โอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ยืม กรรมสิทธิ์ในทรัพย์ที่ยืมจะโอนจากผู้ ให้ยืมไปยังผู้ยืม ๕. เป็นสัญญาที่ไม่ถือคุณสมบัติของผู้ยืมเป็นสาระสาคัญ หากผู้ยืมตาม สัญญายืมใช้ คงรูปย่อมไม่ระงับลง
  • 40. ความแตกต่างระหว่างสัญญายืมใช้คงรูปกับสัญญายืมใช้ สิ้นเปลือง ประเด็น สัญญายืมใช้คงรูป สัญญายืมใช้สิ้นเปลือง ๑. ลักษณะการใช้ทรัพย์สิน การใช้ทรัพย์ที่ยืมจะไม่ทาให้ทรัพย์ ทรัพย์เสียภาพและไม่ทาให้ สิ้นเปลืองหมดไป การใช้ทรัพย์สินที่ยืมจะทาให้ทรัพย์ ทรัพย์เสียภาพและสิ้นเปลืองไป ๒. การเป็นเจ้าของทรัพย์ของผู้ ผู้ให้ยืม ผู้ให้ยืมไม่จาเป็นต้องเป็นเจ้าของ เจ้าของทรัพย์ ผู้ยืมต้องเป็นเจ้าของทรัพย์ ๓. การโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์ ทรัพย์ที่ยืม กรรมสิทธิ์ในทรัพย์ที่ยืมไม่โอนไป ไปเป็นของผู้ยืม กรรมสิทธิ์ในทรัพย์ที่ยืมโอนไปเป็น เป็นของผู้ยืม ๔. ค่าตอบแทนในการใช้สอย สอยทรัพย์ ไม่มีค่าตอบแทนการได้ใช้ทรัพย์ มีค่าตอบแทนการได้ทรัพย์หรือไม่ หรือไม่ก็ได้
  • 41. ความแตกต่างระหว่างสัญญายืมใช้คงรูปกับสัญญายืมใช้ สิ้นเปลือง ประเด็น สัญญายืมใช้คงรูป สัญญายืมใช้สิ้นเปลือง ๕. การคืนทรัพย์สินที่ยืม ผู้ยืมต้องคืนทรัพย์สินชิ้นเดียวกับ เดียวกับชิ้นที่ยืมมา ผู้ยืมไม่ต้องคืนทรัพย์สินชิ้น เดียวกับชิ้นที่ยืมมา แต่ต้องคืน ทรัพย์สินที่มีประเภท ชนิด และ ปริมาณเดียวกับที่ยืมมา ๖. คุณสมบัติของผู้ยืม คุณสมบัติของผู้ยืมถือเป็น สาระสาคัญ คุณสมบัติของผู้ยืมไม่ถือเป็น สาระสาคัญ
  • 42. สัญญายืม สัญญากู้ยืมเงิน เป็ นสัญญายืมใช้สิ้นเปลือง อย่างหนึ่ง หมายถึง สัญญาที่ผู้ให้ยืมส่ง มอบและโอนกรรมสิทธิ์ในเงินจานวนหนึ่งให้แก่ผู้ยืม และผู้ยืมตกลงคืนเงินในจานวนที่ตนได้รับมา ให้แก่ผู้ให้ยืม สัญญากู้ยืมเงินย่อมสมบูรณ์เมื่อผู้ให้ยืมส่งมอบเงินให้แก่ผู้ยืม หากไม่มีการส่งมอบเงินที่ยืม สัญญากูยืมเงินยังไม่เกิดขึ้น Ex ดาตกลงให้แดงกู้ยืมเงินจานวน ๕๐๐ บาท แต่ดาไม่ยอมส่งมอบเงินให้แก่แดง ดังนี้ แดงไม่สามารถเรียกร้องให้ดาส่งมอบเงินจานวน ๕๐๐ บาทนั้นให้แก่ตนได้เพราะสัญญากู้ยืมเงินยังไม่ เกิดขึ้น
  • 43. สัญญายืม หลักฐานแห่งการกู้ยืมเงิน การกู้ยืมเงินเกินกว่า ๒,๐๐๐ บาท กฎหมายกาหนดให้ ต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือที่มีการลงลายชื่อผู้ที่จะรับผิด มิฉะนั้นจะไม่สามารถฟ้ องร้องบังคับคดีได้ ดอกเบี้ยสาหรับการกู้ยืมเงิน ในกรณีที่กาหนดให้ผู้ยืมต้องเสียดอกเบี้ย กฎหมายห้ามคิด ดอกเบี้ยเกินร้อยละ ๑๕ ต่อปี หากกาหนดอัตราดอกเบี้ยไว้เกินกว่าร้อยละ ๑๕ ต่อปี จะทาให้ ข้อตกลงที่ให้ผู้ยืมต้องเสียดอกเบี้ยเกินอัตรานั้นเป็นโมฆะ ผู้ให้ยืมไม่สามารถเรียกดอกเบี้ยได้ แต่ เรียกร้องให้คืนเงินต้นได้ Ex ดากู้ยืมเงินแดงเป็นจานวน ๑,๐๐๐ บาท โดยแดงคิดดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ ๒ ต่อ เดือน (ร้อยละ ๑๕ ต่อปี) ดังนี้ ข้อตกลงเรื่องดอกเบี้ยตกเป็นโมฆะ แดงจึงเรียกดอกเบี้ยจากดาไม่ได้ เลย แต่แดงยังสามารถเรียกต้นเงินจานวน ๑,๐๐๐ บาทจากแดงได้อยู่
  • 44. สัญญาฝากทรัพย์ สัญญาฝากทรัพย์ หมายถึง “ผู้ฝาก” ส่งมอบทรัพย์สินให้แก่ “ผู้รับฝาก” และผู้รับฝากตก ลงว่าจะเก็บรักษาทรัพย์สินนั้นไว้ในอารักขาแห่งตนแล้วจะคืนให้ Ex แดงขับรถจักรยานยนต์ไปเที่ยวงานกาชาดประจาปีในตัวเมือง เมื่อถึงหน้างานจึงตก ลงฝากรถคันดังกล่าวไว้กับดา ซึ่งรับฝากรถอยู่หน้างาน โดยแดงจะมารับคืนเมื่องานเลิก
  • 45. ลักษณะของสัญญาฝากทรัพย์ ๑. เป็นสัญญาที่อาจมีค่าตอบแทนหรือไม่ก็ได้ สัญญาฝากทรัพย์เป็นได้ทั้งสัญญามี ค่าตอบแทนและไม่มีค่าตอบแทน ทั้งนี้าึ้นอยู่กับผู้รับฝากตกลงจะเก็บรักษากับผู้ฝาก หรือไม่ ๒. เป็นสัญญาที่ไม่โอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ฝาก กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ฝากไม่โอนไป ยังผู้รับฝาก และผู้ฝากอาจไม่ใช่เจ้าาองกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินก็ได้ ๓. เป็นสัญญาที่วีวัตถุประสงค์ให้ผู้รับฝากเก็บรักษาทรัพย์สินที่ฝากไว้ในความดูแลาองตน หากผู้ฝากส่งมอบทรัพย์สินให้แก่ผู้รับฝากเพื่อวัตถุประสงค์อื่น สัญญานั้นย่อมไม่ใช่ สัญญาฝากทรัพย์ ๔. เป็นสัญญาที่สมบูรณ์ด้วยการส่งมอบทรัพย์สินที่ฝากให้แก่ผู้รับฝาก
  • 46. สัญญาฝากเงิน ลักษณะเฉพาะาองสัญญาฝากเงิน ๑. เป็นสัญญาที่มีวัตถุาองสัญญาเป็นเงินตรา สัญญาฝากเงินต้องมีทรัพย์ที่ฝากเป็น เงินตรา ๒. เป็นสัญญาที่มีวัตถุประสงค์ในการโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ฝาก กรรมสิทธิ์ใน เงินตราที่ฝากจึงโอนจากผู้ฝากไปยังผู้รับฝา ๓. เป็นสัญญาที่ผู้รับฝากสามารถนาเงินตราที่รับฝากออกไปใช้สอยได้ โดยที่กรรมสิทธิ์ใน เงินตราที่ฝากโอนไปยังผู้รับฝาก ผู้รับฝากจึงสามารถนาเงินตราที่รับฝากออกไปใช้สอยได้ ๔. เป็นสัญญาที่ผู้รับฝากไม่ต้องคืนด้วยเงินตราอันเดียวกับที่ฝาก
  • 47. สัญญาค้าประกัน สัญญาค้าประกัน หมายถึง “ผู้ค้าประกัน” ผูกพันตนต่อ “เจ้าหนี้” คนหนึ่งเพื่อชาระใน เมื่อลูกหนี้ไม่ชาระหนี้นั้น Ex แดงกู้เงินจากดาโดยมีเขียวมาทาสัญญาค้าประกันกับดาเพื่อประกันหนี้เงินกู้ของแดง เมื่อหนี้ถึงกาหนดชาระ แดงไม่ยอมชาระหนี้เงินกู้ ดาสามารถเรียกให้เขียวชาระหนี้เงินกู้ในฐานะ เป็นผู้ค้าประกันได้
  • 48. ลักษณะของสัญญาค้าประกัน ๑. เป็นสัญญาอุปกรณ์ การค้าประกันต้องมีหนี้ประธานระหว่างเจ้าหนี้กับลูกหนี้ก่อนเสมอ สัญญาค้าประกันนั้นเป็นเพียงสัญญาอุปกรณ์าองหนี้ประธานซึ่งมีาึ้นเพื่อให้เจ้าหนี้มี หลักประกันการชาระหนี้าองลูกหนี้ได้มั่นคงยิ่งาึ้น ๒. เป็นสัญญาระหว่างเจ่าหนี้กับผู้ค้าประกัน ผู้ค้าประกันต้องเป็นบุคคลภายนอกซึ่งไม่ใช่ เจ้าหนี้หรือลูกหนี้ ๓. เป็นสัญญาที่ผู้ค้าประกันจะชาระหนี้แทนเมื่อลูกหนี้ผิดนัดไม่ชาระหนี้ หน้าที่ชาระหนี้าอง ผู้ค้าประกันจะเกิดาึ้นก็ต่อเมื่อลูกหนี้ผิดนัด ๔. เป็นสัญญาที่ไม่มีแบบ สัญญาค้าประกันจึงสมบูรณ์เมื่อมีการตกลงกันระหว่างผู้ค้า ประกันกับเจ้าหนี้ ไม่ว่าจะตกลงกันด้วยวาจาหรือลายลักษณ์อักษร
  • 49. สัญญาจานอง สัญญาจานอง หมายถึง “ผู้จานอง” เอาทรัพย์สินตราไว้กับ “ผู้รับจานอง” เป็นประกัน การชาระหนี้โดยไม่ต้องส่งมอบทรัพย์สินนั้นให้แก่ผู้รับจานอง Ex แดงกู้เงินจากดาจานวน ๑ ล้านบาท และแดงได้ทาสัญญาจานองกับดา โดยนาที่ดิน ของตนมาจดทะเบียนจานองเพื่อประกันหนี้กู้ยืมเงิน หากต่อมาแดงไม่มาชาระหนี้ภายในกาหนด ดา สามารถฟ้ องศาลให้บังคับที่ดินที่นามาจานองไปขายทอดตลาดเพื่อนาเงินมาชาระหนี้เงินกู้ได้
  • 50. ลักษณะของสัญญาจานอง ๑. เป็นสัญญาอุปกรณ์ สัญญาจานองเป็นสัญญาเช่นเดียวกับสัญญาค้าประกัน หากหนี้ าองลูกหนี้ซึ่งเป็นนี้ประธานระงับไปย่อมทาให้สัญญาจานองระงับไปด้วย ๒. ผู้จานองจะเป็นลูกหนี้หรือบุคคลภายนอกก็ได้ แต่ผู้จานองต้องเป็นเจ้าาองทรัพย์ที่นามา จานอง ผู้จานองจะเอาทรัพย์าองบุคคลอื่นมาจานองไม่ได้ ๓. เป็นสัญญาที่ไม่มีการส่งมอบทรัพย์สินที่จานอง ผู้จานาจะต้องส่งมอบทรัพย์สินที่จานาให้ ผู้รับจานา ๔. เป็นสัญญาที่มีแบบ ต้องทาหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ มิเช่นนั้น สัญญาจะตกเป็นโมฆะ
  • 51. ทรัพย์สินที่จานองได้ ๑. อสังหาริมทรัพย์ ๒. สังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษ เช่น เรือระวางตั้งแต่ ๕ ตันาึ้นไป สัตว์พาหนะ แพที่อยู่อาศัย ๓. สังหาริมทรัพย์อื่น เช่น เครื่องจักร เครื่องบิน รถยนต์ที่จดทะเบียนแล้ว รถพ่วง รถบด ถนน รถแทรคเตอร์ที่จดทะเบียนแล้ว ฯลฯ ผลของการบังคับจานอง หากบังคับทรัพย์สินที่จานองไปาายทอดตลาดได้เงินมาไม่พอที่จะชาระหนี้ที่ลูกหนี้ ค้างชาระอยู่ เจ้าหนี้ได้รับชาระเงินเพียงเท่าที่าายทอดตลาดทรัพย์ที่จานองได้ ลูกหนี้ไม่ต้อง รับผิดชอบในส่วนที่าาด
  • 52. สัญญาจานา สัญญาจานา หมายถึง “ผู้จานา” ส่งมอบสังหาริมทรัพย์สิ่งหนึ่งให้แก่ “ผู้รับจานา” เพื่อ เป็นประกันการชาระหนี้ Ex ดากู้เงินจากแดงจานวน ๕,๐๐๐ บาท และดาได้ทาสัญญาจานากับแดง โดยดามอบ สร้อยคอทองคาให้กับแดงยึดถือไปเป็นประกันการชาระหนี้ หากดาไม่ชาระหนี้ภายในกาหนด แดง สามารถนาสร้อยคอทองคาออกขายทอดตลาดใช้หนี้ได้โดยไม่ต้องฟ้ องศาล
  • 53. ลักษณะของสัญญาจานา ๑. เป็นสัญญาอุปกรณ์ สัญญาจานาเป็นสัญญาเช่นเดียวกับสัญญาค้าประกัน หากหนี้าอง ลูกหนี้ซึ่งเป็นนี้ประธานระงับไปย่อมทาให้สัญญาจานองระงับไปด้วย ๒. ผู้จานาจะเป็นลูกหนี้หรือบุคคลภายนอกก็ได้ แต่ผู้จานาต้องเป็นเจ้าาองทรัพย์ที่นามา จานา ผู้จานาจะเอาทรัพย์าองบุคคลอื่นมาจานาไม่ได้ ๓. เป็นสัญญาที่ต้องส่งมอบทรัพย์สินที่จานาแก่ผู้รับจานา ถ้าไม่มีการส่งมอบทรัพย์สัญญา จานา จะไม่เกิดาึ้น และเมื่อใดที่ผู้รับจานาส่งมอบทรัพย์ที่จานาคืนแก่ผู้จานาสัญญา จานาจะระงับทันที ๔. เป็นสัญญาที่ไม่มีแบบ สัญญาจานาจึงสมบูรณ์เมื่อมีการตกลงกันระหว่างผู้จานากับ ผู้รับจานา ไม่ว่าจะตกลงกันด้วยวาจาหรือลายลักษณ์อักษร
  • 54. ทรัพย์สินที่จานาได้ ต้องเป็นสังหาริมทรัพย์ และทรัพย์ที่นามาจานาต้องเป็นาองผู้จานาเท่านั้นจานา ทรัพย์าองผู้อื่นมาจานาไม่ได้ อนึ่ง มีา้อสังเกตว่า สังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษ เช่น เรือระวาง ตั้งแต่ ๕ ตันาึ้นไป สัตว์พาหนะ แพที่อยู่อาศัย รวมไปถึงสังหาริมทรัพย์อื่น เช่น เครื่องจักร เครื่องบิน รถยนต์ที่จดทะเบียนแล้ว รถพ่วง รถบดถนน รถแทรคเตอร์ที่จดทะเบียนแล้ว สามารถนาไปจานองหรือจานาก็ได้ ผลของการบังคับจานอง หากบังคับทรัพย์สินที่จานาไปาายทอดตลาดได้เงินไม่พอที่จะชาระหนี้ที่ลูกหนี้ค้าง ชาระอยู่ ลูกหนี้ยังต้องรับผิดชอบในส่วนที่าาด
  • 55. ความแตกต่างระหว่างสัญญาจานองกับสัญญาจานา ประเด็น สัญญาจานอง สัญญาจานา ๑. ทรัพย์ที่นามาประกัน อสังหาริมทรัพย์ สังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษ สังหาริมทรัพย์ทุกชนิด ๒. แบบของสัญญา ทาเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงาน พนักงานเจ้าหน้าที่ ไม่มีแบบ ๓. การส่งมอบทรัพย์ที่ นามาประกัน ไม่ต้องส่งมอบทรัพย์ที่จานอง ต้องส่งมอบทรัพย์ที่จานา ๔. การบังคับทรัพย์ที่นามา นามาประกัน ต้องฟ้ องศาลเพื่อขายทอดตลาด ขายทอดตลาดได้เองโดยไม่ ต้องขึ้นศาล
  • 56. ความแตกต่างระหว่างสัญญาจานองกับสัญญาจานา ประเด็น สัญญาจานอง สัญญาจานา ๔. การบังคับทรัพย์ที่นามา ประกัน ต้องฟ้ องศาลเพื่อขายทอดตลาด ขายทอดตลาดได้เองโดยไม่ต้อง ขึ้นศาล ๕. ความรับผิดของลูกหนี้ใน หนี้ที่เหลือจากการบังคับทรัพย์ ทรัพย์ที่ประกัน ลูกหนี้ไม่ต้องรับผิดชอบในส่วน ส่วนที่เหลือ ลูกหนี้ต้องรับผิดชอบในส่วนที่ เหลือ
  • 57. ความหมายของสัญญาประกันภัย สัญญาประกันภัย หมายถึง สัญญาซึ่งบุคคลหนึ่ง เรียกว่า “ผู้รับประกันภัย” ตกลงจะใช้ค่าสินไหมทดแทน หรือใช้เงินจานวนหนึ่งให้ในกรณีวินาศภัยเกิดขึ้น หรือในเหตุอย่างอื่นในอนาคตตามที่ระบุไว้ในสัญญา และบุคคลอีกคนหนึ่งเรียกว่า “ผู้เอาประกันภัย” ตกลงจะส่งเงินซึ่งเรียกว่า “เบี้ยประกันภัย”
  • 58. ลักษณะของสัญญาประกันภัย สัญญาประกันภัยมีลักษณะที่สาคัญดังนี้ ๑) เป็ นสัญญาต่างตอบแทน กล่าวคือ คู่สัญญาทั้งสองฝ่ายมีหน้าที่ที่จะต้อง ปฏิบัติต่อกัน ได้แก่ ผู้เอาประกันภัยมีหน้าที่ชาระเบี้ยประกันภัย และผู้รับประรับประกันภัยมี หน้าที่จ่ายค่าสินไหมทดแทนหรือชดใช้เงินจานวนหนึ่งให้ตามเงื่อนไขที่กาหนดไว้เป็นการตอบแทน ๒) เป็ นสัญญาเสี่ยงโชค กล่าวคือ เงื่อนไขในการจ่ายค่าสินไหมทดแทนหรือชดใช้ เงินของฝ่ายผู้รับประกันภัยนั้นขึ้นอยู่กับเหตุการณ์ในอนาคตซึ่งไม่แน่นอนว่าจะเกิดขึ้นหรือไม่และ เมื่อใด
  • 59. ๓) เป็นสัญญาที่อาศัยความซื่อสัตย์สุจริตอย่างยิ่งของคู่สัญญา ดังนั้น หากผู้เอาประกันภัยไม่เปิดเผยา้อความจริงหรือให้า้อความเท็จซึ่งอาจทาให้ผู้รับประกันภัย เรียกเบี้ยประกันภัยสูงาึ้นหรือไม่รับทาสัญญาประกันภัย มีผลทาให้สัญญาประกันภัย ดังกล่าวตกเป็นโมฆียะ เช่น แดงเป็นโรคมะเร็งซึ่งหากผู้รับประกันภัยทราบก็จะไม่รับทา ประกันชีวิตาองแดง แต่แดงได้ทาประกันชีวิตกับบริษัท ดา จากัด โดยไม่บอกว่าตนเป็น โรคมะเร็ง สัญญาประกันชีวิตดังกล่าวจึงเป็นโมฆียะ ลักษณะของสัญญาประกันภัย ๔) เป็นสัญญาที่ผู้รับประกันภัยต้องเป็นบริษัทจากัดหรือบริษัทมหาชน จากัด ดังนั้น ผู้รับประกันภัยจะเป็นบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลอื่น (เช่น ห้างหุ้นส่วน จากัด สมาคม) ไม่ได้
  • 60. ๕) เป็นสัญญาที่ไม่มีแบบ ดังนั้น สัญญาประกันภัยจึงสมบูรณ์เมื่อมีการตกลง กันระหว่างผู้รับประกันภัยกับผู้เอาประกันภัยไม่ว่าจะด้วยวิธีใด แต่การที่จะฟ้ องให้รับผิด ตามสัญญาประกันภัยได้นั้น จะต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อฝ่ายที่ต้องรับผิด เป็นสาคัญ แต่อย่างไรก็ดีสัญญาประกันภัยที่ไม่มีหลักฐานเป็นหนังสือนั้นก็ไม่เป็นโมฆะแต่ อย่างใดยังมีผลสมบูรณ์เพียงแต่ไม่สามารถฟ้ องร้องบังคับคดีกันได้เท่านั้น ลักษณะของสัญญาประกันภัย
  • 61. ประเภทของสัญญาประกันภัย สัญญาประกันภัยแบ่งออกเป็น ๒ ประเภท ได้แก่ ๑) สัญญาประกันวินาศภัย หมายถึง สัญญาซึ่งผู้รับประกันวินาศภัยตกลงจะใช้ค่า สินไหมทดแทนให้แก่ผู้เอาประกันวินาศภัย เมื่อมีความเสียหายอย่างใด ๆ เกิดขึ้นตามที่ตกลงกันไว้ ในสัญญา โดยผู้เอาประกันวินาศภัยตกลงจะส่งเบี้ยประกันให้กับผู้รับประกันวินาศภัยเป็นการตอบ แทน เช่น แดงตกลงทาสัญญาประกันอัคคีภัยสาหรับบ้านของตนกับบริษัท ดา จากัด หรือแดง ตกลงทาสัญญาประกันความเสียหายที่เกิดแก่รถยนต์ของตนกับบริษัท ดา จากัด
  • 62. ๒) สัญญาประกันชีวิต หมายถึง สัญญาซึ่งผู้รับประกันชีวิตตกลงจะใช้เงิน จานวนหนึ่งให้แก่ผู้เอาประกันชีวิตหรือผู้รับประโยชน์ เมื่อผู้เอาประกันชีวิตหรือผู้ที่ได้ถูกเอา ประกันชีวิตถึงแก่ความตาย หรือเมื่อผู้นั้นมีชีวิตอยู่จนถึงเวลาที่ได้ตกลงกันไว้ และผู้เอา ประกันชีวิตได้ตกลงส่งเบี้ยประกันให้แก่ผู้รับประกันชีวิต เช่น เาียวตกลงทาสัญญาประกัน ชีวิตาองตนกับบริษัท ดา จากัด โดยตกลงว่าหากเาียวตาย บริษัท ดา จากัด จะจ่ายเงิน ให้แก่บุตราองเาียว ซึ่งเป็นผู้รับประโยชน์ตามสัญญาประกันชีวิต ประเภทของสัญญาประกันภัย
  • 63. สัญญาตั๋วเงิน หมายถึง สัญญาอย่างหนึ่งซึ่งได้ทาเป็นหนังสือตราสารอันเรียกว่า “ตั๋วเงิน” เพื่อสั่งให้จ่ายเงินหรือสัญญาว่าจะจ่ายเงิน เช่น ดาออกเช็คสั่งธนาคารจ่ายเงิน จานวน ๒,๐๐๐ บาท ให้แก่แดง ถือเป็นสัญญาตั๋วเงินอย่างหนึ่ง
  • 64. ลักษณะของสัญญาตั๋วเงิน ๑) สัญญาตั๋วเงินต้องทาเป็ นหนังสือตราสาร กล่าวคือ ต้องทาเป็นลายลักษณ์ อักษร และมีลายมือชื่อผู้ออกตราสาร หนังสือตราสารต้องมีเนื้อความตามที่กฎหมายกาหนด หนังสือตราสารประกอบไปด้วยสิทธิทางหนี้ ซึ่งผู้รับตราสารมีสิทธิเรียกร้องตามเนื้อความในตรา สารและสิทธิทางทรัพย์ในตราสารซึ่งผู้ออกตราสารส่งมอบให้ผู้รับตราสาร Ex ดาออกเช็คสั่งธนาคารจ่ายเงิน จานวน ๒๐,๐๐๐ บาท ให้แก่แดง สิทธิทางหนี้ คือ แดงมีสิทธินาเช็คไปยื่นให้ธนาคารจ่ายเงินได้ ส่วนสิทธิทางทรัพย์ คือ แดงเป็นเจ้าของ หนังสือตราสาร (เช็ค) ดังกล่าว
  • 65. ๒) วัตถุแห่งหนี้ตามสัญญาตั๋วเงินต้องเป็นเงินตรา กล่าวคือ สัญญาตั๋วเงิน ต้องสั่งให้จ่ายเงินเท่านั้น จะสั่งให้กระทาการ งดเว้นกระทาการ หรือส่งมอบทรัพย์สินอื่น นอกจากเงินตราไม่ได้ Ex แดงออกตั๋วแลกเงินสั่งดาให้ส่งมอบทองคาหนัก ๕ บาท ให้แก่เาียวเพื่อชาระ ค่าสินค้า สัญญาดังกล่าวไม่ใช่สัญญาตั๋วเงินเพราะไม่ได้มีคาสั่งให้จ่ายเงิน ลักษณะของสัญญาตั๋วเงิน
  • 66. ประเภทของตั๋วเงิน ๑) ตั๋วแลกเงิน หมายถึง หนังสือตราสารซึ่งบุคคลคนหนึ่ง เรียกว่า “ผู้สั่งจ่าย” สั่งบุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกว่า “ผู้จ่าย” ให้ใช้เงินจานวนหนึ่งแก่บุคคลอีกคนหนึ่ง หรือให้ใช้ ตามคาสั่งาองบุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกว่า “ผู้รับเงิน” เช่น แดงออกตั๋วแลกเงินสั่งดาให้ จ่ายเงินจานวน ๑๐,๐๐๐ บาท ให้แก่เาียวเพื่อชาระค่าสินค้า ๒) ตั๋วสัญญาใช้เงิน หมายถึง หนังสือตราสารซึ่งบุคคลคนหนึ่ง เรียกว่า “ผู้ ออกตั๋ว” ให้คามั่นสัญญาว่าจะใช้เงินจานวนหนึ่งให้แก่บุคคลอีกคนหนึ่ง หรือให้ใช้ตามคาสั่ง าองบุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกว่า “ผู้รับเงิน” เช่น แดงออกตั๋วสัญญาใช้เงินโดยแดงสัญญาว่า จะจ่ายเงินให้แก่ดาเพื่อชาระหนี้ค่าเช่าบ้าน
  • 67. ๓) เช็ค หมายถึง หนังสือตราสารซึ่งบุคคลคนหนึ่ง เรียกว่า “ผู้สั่งจ่าย” สั่ง “ธนาคาร” ให้ใช้เงินจานวนหนึ่งเมื่อทวงถามให้แก่บุคคลอีกคนหนึ่ง หรือให้ใช้ตามคาสั่งาอง บุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกว่า “ผู้รับเงิน” เช่น ดาออกเช็คสั่งธนาคารจ่ายเงินจานวน ๑๐,๐๐๐ บาท ให้แก่แดงเพื่อชาระหนี้เงินกู้ ข้อสังเกต ตั๋วสัญญาใช้เงินมีบุคคลที่เกี่ยวา้องเพียง ๒ ฝ่ายเท่านั้น ซึ่งต่างจาก ตั๋วแลกเงินและเช็คที่มีบุคคลที่เกี่ยวา้อง ๓ ฝ่าย ประเภทของตั๋วเงิน
  • 68. สัญญาจัดตั้งห้างหุ้นส่วนหรือบริษัท หมายถึง สัญญาซึ่งบุคคลตั้งแต่ ๒ คน าึ้นไปตกลงเา้ากันเพื่อกระทากิจการร่วมกัน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อแบ่งปันกาไรที่เกิดาึ้นจาก กิจการที่ทานั้น
  • 69. ลักษณะของสัญญาจัดตั้งห้างหุ้นส่วนหรือบริษัท สัญญาจัดตั้งห้างหุ้นส่วนหรือบริษัทมีลักษณะที่สาคัญ ดังนี้ ๑) ต้องมีบุคคลตั้งแต่ ๒ คนขึ้นไปร่วมกันจัดตั้งห้างหุ้นส่วนหรือบริษัท อย่างไรก็ดีหากต้องการจัดตั้งเป็นบริษัทต้องมีผู้เริ่มก่อการ (ผู้จัดตั้ง) ตั้งแต่ ๗ คนาึ้นไป ดังนั้น หากมีบุคคลเพียงคนเดียวแม้จะประกอบกิจการการค้าก็ไม่ถือว่า เป็นหุ้นส่วนหรือบริษัท ๒) ต้องเข้าทากิจการร่วมกัน คู่สัญญาทุกคนต้องนาเงินหรือทรัพย์สินอื่นหรือ แรงงาน เพื่อแสวงหากาไรร่วมกัน และทุกคนต้องมีส่วนร่วมในการดาเนินกิจการ ๓) ต้องมีวัตถุประสงค์เพื่อแบ่งปันกาไร หากไม่มีวัตถุประสงค์เพื่อแบ่งปันกาไร ก็ไม่เป็นหุ้นส่วนหรือบริษัท แต่อาจเป็นสมาคมหรือมูลนิธิ
  • 70. ประเภทของห้างหุ้นส่วน ห้างหุ้นส่วนมี ๓ ประเภท ได้แก่ ๑) ห้างหุ้นส่วนสามัญ หมายถึง ห้างหุ้นส่วนที่ไม่ได้นาไปจดทะเบียนและมีหุ้นส่วน ประเภทเดียว ได้แก่ หุ้นส่วนไม่จากัดความรับผิด กล่าวคือ ทุกคนต้องรับผิดร่วมกันโดยไม่จากัด จานวน ห้างหุ้นส่วนสามัญไม่มีฐานะเป็นนิติบุคคล ๒) ห้างหุ้นส่วนสามัญจดทะเบียน หมายถึง ห้างหุ้นส่วนที่จดทะเบียนโดยมีฐานะเป็นนิติ บุคคล และมีหุ้นส่วนประเภทเดียว ได้แก่ หุ้นส่วนไม่จากัดความรับผิด เช่นเดียวกับห้างหุ้นส่วน สามัญ
  • 71. ๓) ห้างหุ้นส่วนจากัด หมายถึง ห้างหุ้นส่วนที่จดทะเบียนโดยมีฐานะเป็นนิติ บุคคล เช่นเดียวกับห้างหุ้นส่วนสามัญจดทะเบียน แต่มีหุ้นส่วน ๒ ประเภท ได้แก่ (๑) หุ้นส่วนไม่จากัดความรับผิด (๒) หุ้นส่วนจากัดความรับผิด ซึ่งหมายถึง หุ้นส่วนที่ต้องรับผิดไม่เกินจานวนที่ ลงจะลงหุ้นไว้ Ex แดงเป็นหุ้นส่วนประเภทจากัดความรับผิดตกลงจะลงหุ้นเป็นเงิน ๑ แสน บาท เมื่อห้างเลิกกิจการและมีหนี้ที่จะต้องชาระ แดงจะต้องรับผิดในหนี้นั้นไม่เกิน ๑ แสน บาท ถ้าแดงได้นาเงินมาลงหุ้นจนครบ ๑ แสนบาทตามที่ได้ตกลงไว้แล้ว ความรับผิดชอบ าองแดงก็หมดไป แต่ถ้าแดงส่งเงินให้กับห้างไปเพียง ๕ หมื่นบาท แดงก็ยังมีความรับผิด อีก ๕ หมื่นบาท ประเภทของห้างหุ้นส่วน
  • 72. ประเภทของบริษัท ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ได้บัญญัติถึงบริษัทไว้เพียงประเภทเดียว คือ บริษัทจากัด แต่ยังมีบริษัทอีกประเภทหนึ่งคือ บริษัทมหาชนจากัด ซึ่งบัญญัติไว้ใน พระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจากัด พ.ศ. ๒๕๓๕ บริษัททั้งสองประเภทกฎหมายบังคับให้ต้องจดทะเบียนเท่านั้น โดยบริษัทจากัดต้องมีผู้ เริ่มก่อการตั้งแต่ ๗ คนขึ้นไป ส่วนบริษัทมหาชนจากัดต้องมีผู้เริ่มก่อการตั้งแต่ ๑๕ คน อีกทั้งผู้ถือหุ้นของบริษัททั้งสองประเภทมีความรับผิดไม่เกินจานวนที่ตนตกลงจะลงหุ้นไว้ เช่นเดียวกับหุ้นส่วนจากัดความรับผิด