SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
Microsoft Visual Basic
Microsoft Visual Basic
Visual Basic เป็นภาษาคอมพิวเตอร์
(Programming Language) ที่พัฒนาโดย
บริษัทไมโครซอฟท์ ซึ่งเป็นบริษัทยักษ์ใหญ่ที่สร้าง
ระบบปฏิบัติการ Windows 95/98 และ
Windows NT ที่เราใช้กันอยู่ในปัจจุบัน โดยตัวภาษา
เองมีรากฐานมาจากภาษา Basic ซึ่งย่อมาจาก
Beginner’s All Purpose Symbolic
Instruction ถ้าแปลให้ได้ตามความหมายก็คือ
“ชุดคาสั่งหรือภาษาคอมพิวเตอร์สาหรับผู้เริ่มต้น” ภาษา
Basic มีจดเด่นคือผู้ที่ไม่มีพื้นฐานเรื่องการเขียน
ุ
โปรแกรมเลขก็สามารถเรียนรู้และนาไปใช้งานได้อย่าง
ง่ายดายและรวดเร็ว เมื่อเทียบกับการเรียนภาษาคอมพิวเตอร์
อื่นๆ เช่น ภาษาซี (C). ปาสคาส (Pascal). ฟอร์แทรน
(Fortian) หรือ แอสเชมบลี (Assembler)

1
ไมโครซอฟท์ที่ได้พัฒนาโปรแกรมภาษา Basic มานานนับ
สิบปี ตั้งแต่ภาษา MBASIC (Microsoft Basic).
BASICA (Basic Advanced): GWBASIC
และ QuickBasic ซึ่งได้ติดตั้งมาพร้อมกับ
ระบบปฏิบัติการ Ms DOS ในที่สุดโดยใช้ชื่อว่า
QBASIC โดยแต่ละเวอร์ชันที่ออกมานั้นได้มีการพัฒนา
และเพิ่มเติมคาสั่งต่างๆเข้าไปโดยตลอด
ในอดีตโปรแกรมภาษาเหล่านี้ล้วนทางานใน Text Mode
คือเป็นตัวอักษรล้วนๆ ไม่มีภาพกราฟฟิกสวยงามแบบระบบ
Windows อย่างในปัจจุบัน จนกระทั่งเมื่อ
ระบบปฏิบัติการ Windows ได้รับความนิยมอย่างสูงและ
เข้ามาแทนที่ DOS ไมโครซอฟท์ก็เล็งเห็นว่าโปรแกรมภาษา
ใน Text Mode นั้นคงถึงกาลที่หมดสมัย จึงได้พัฒนา
ปรับปรุงโปรแกรมภาษา Basic ของตนออกมาใหม่เพื่อ
สนับสนุนการทางานในระบบ Windows ทาให้
Visual Basic ถือกาเนิดขึ้นมาตั้งแต่บัดนั้น
หน้าแรก

2
3

Visual Basic เวอร์ชันแรกคือเวอร์ชัน 1.0 ออกสู่สายตาประชาชนตั้งแต่ปี
1991 โดยในช่วงแรกนั้นยังไม่มีความสามารถต่างจากภาษา GBASIC มาก
นัก แต่จะเน้นเรื่องเครื่องมือที่ช่วยในการเขียนโปรแกรมวินโดว์ซึ่งปรากฏว่า
Visual Basic ได้รับความนิยมและประความสาเร็จเป็นอย่างดีไมโครซอฟท์
จึงพัฒนา Visual Basic ให้ดีขึ้นเรื่อยๆ ทั้งในด้านประสิทธิภาพ
ความสามารถ และเครื่องมือต่างๆเช่น เครื่องมือตรวจสอบแก้ไขโปรแกรม
(debugger)
สภาพแวดล้อมของการพัฒนาโปรแกรม การเขียนโปรแกรมแบบหลาย
วินโดว์ย่อย (MDI) และอื่นๆ อีกมากมาย สาหรับ Visual Basic ในปัจจุบัน
คือ Visual Basic 2008 ซึ่งออกมาในปี 2008 ได้เพิ่มความสามารถในการ
เขียนโปรแกรมติดต่อกับเครือข่ายอินเตอร์เน็ต การเชื่อมต่อกับระบบ
ฐานข้อมูล รวมทั้งปรับปรุงเครื่องมือและการเขียนโปรแกรมซึ่งวัตถุ (Object
Oriented Programming) ให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้นพร้อมทั้งเพิ่มเครื่องมือต่างๆอีก
มากมายที่ทาให้ใช้งายและสะดวกขึ้นกว่าเดิม โดยเราจะค่อยๆมาเรียนรู้
ส่วนประกอบและเครื่องมือต่างๆอีกมากมายที่ทาให้ใช้ง่ายและสะดวกขึ้น
กว่าเดิม

หน้าแรก
ตัวอย่าง Microsoft Visual Basic

หน้าแรก

4
5

องค์ประกอบ Microsoft Visual Basic
เมื่อเริ่มต้นใช้งาน เราจะพบกับไดอะล็อก New Project ให้คลิก
เลือก Standard EXE แล้วคลิกปุ่ม

เริ่มต้นการใช้งาน Visual Basic
จากนั้นเราจะพบหน้า จอการทางาน
Visual Basic ซึ่งเป็นลักษณะการทางานที่
เรียกว่า IDE (Integrated Development
Environment) คือ การรวบรวมเอาภาษา
โปรแกรม, ตัวแปลภาษา (Compiler),
เครื่องมือช่วยในการเขียนโปรแกรม และการ
แก้ไขโปรแกรม รวมไปถึงข้อมูลที่ใช้งานต่าง ๆ
ไว้ในหน้าจอเดียวกัน ทาให้เรียกใช้งานได้ง่าย
หน้าแรก
หน้าต่างของ Microsoft Visual Basic

หน้าแรก

7
เครื่องมือ Microsoft Visual Basic
องค์ประกอบสาคัญต่าง ๆ ของ Visual Basic
Menu Bar : เป็นส่วนที่รบคาสั่งในแบบเมนู เมื่อเราสร้างแอพ
ั
พลิเคชันด้วย Visual Basic เป็นเสมือนศูนย์กลางที่ควบคุมการ
สร้างแอพพลิเคชัน
Toolbar : ในการใช้งานเมนูบาร์สั่งงานอาจจะมีขั้นตอนที่ยุ่งยาก
เพื่อลดขั้นตอนลงเราจะคลิกที่ทลบาร์เพียงครั้งเดียว ก็สามารถ
ู
สั่งงานที่เราต้องการได้ (เป็นเหมือนคียลัดในการทางาน)
์
Toolbox : เป็นกล่องเก็บ ActiveX Control ซึ่งเราจะนามา
ประกอบเป็นส่วนต่าง ๆ ของแอพพลิเคชัน
Project Explorer : เป็นเครี่องมือที่ใช้ควบคุมการทางานของ
โปรเจ็กต์ (ในบทต่อไปเราจะรู้ว่าโปรเจ็กต์คออะไร)
ื
หน้าแรก

8
9

Properties Window : เป็นส่วนdeหนดพร็อพเพอร์ตี้ให้กับ
ออบเจ็กต์ต่าง ๆ ในแอพพลิเคชัน
Form Layout : เป็นหน้าตาคร่าว ๆ ของฟอร์มที่ได้จากการรัน
แอพพลิเคชัน ทาให้เราทราบตาแหน่งที่จะปรากฏบนจอภาพเมื่อ
แอพพลิเคชันทางาน
Form Designer : เป็นส่วนที่ได้เรามองเห็นในขณะออกแบบ
แอพพลิเคชันของ Visual Basic ซึ่งเราจะออะแบบหน้าตาของ
แอพพลิเคชันผ่านฟอร์มดีไซเนอร์
Code Window : เป็นส่วนที่เราเขียนโปรแกรม (เรียกสั้นๆ ว่า
เขียนโค้ด) เพื่อควบคุมการทางานของแอพพลิเคชัน

หน้าแรก
ข้อดีของการเขียนโปรแกรมด้วย Visual
Basic
สาเหตุที่ Visual Basic เป็นภาษาที่เหมาะสาหรับการเรียนรู้ใน
การเขียนโปรแกรมนั้นเนื่องจาก Visual Basic มีข้อดีหลาย
ประการคือ
1. ง่ายต่อการเรียนรู้เหมาะสาหรับผู้เริ่มต้น ทั้งในเรื่อง
ไวยากรณ์ของภาษาเองและเครืองมือการใช้งาน
่
2. ความนิยมของตัวภาษา โดยอาจกล่าวได้ว่าภาษา Basic นั้น
เป็นภาษาที่คนเรียนรู้และใช้งานมากที่สุดในประวัตศาสตร์ของ
ิ
คอมพิวเตอร์

หน้าแรก

10
11

3. การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง การปรับปรุงประสิทธิภาพใน
ด้านของตัวภาษาและความเร็วของการประมวลผล และ
ในเรื่องของความสามารถใหม่ๆ เช่น การติดต่อกับระบบ
ฐานข้อมูล การเชื่อมต่อกับเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
4. ผู้พัฒนาสาคัญของ Visual Basic คือบริษัท
ไมโครซอฟท์ซึ่งจัดว่าเป็นยักษ์ใหญ่ของวงการ
คอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน เราจึงสามารถมั่นใจได้ว่า Visual
Basic จะยังมีการพัฒนา ปรับปรุงและคงอยู่ไปอีกนาน

หน้าแรก
12

สมาชิกในกลุม
่
ชื่อ นาย วิศวชิต แสวงผล ชั้น ม.5/4 เลขที่ 4
ชื่อ นาย ปาณัสม์ คิดไชย ชั้น ม.5/4 เลขที่ 7
ชื่อ น.ส. จันทภา พลพิทัก ชั้น ม.5/4 เลขที่ 37

More Related Content

What's hot

ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์Tanadon Boonjumnong
 
Unit 2 Java Programming
Unit 2 Java ProgrammingUnit 2 Java Programming
Unit 2 Java ProgrammingIrinApat
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมOnrutai Intanin
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมOnrutai Intanin
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์N'Name Phuthiphong
 
ใบความรู้ที่ 11
ใบความรู้ที่ 11ใบความรู้ที่ 11
ใบความรู้ที่ 11chaiwat vichianchai
 
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษาหน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษาPhanupong Chanayut
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์Bk Tham
 
การใช้โปรแกรม Visual basic
การใช้โปรแกรม Visual basicการใช้โปรแกรม Visual basic
การใช้โปรแกรม Visual basicPongpan Pairojana
 
ประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีHathaichon Nonruongrit
 

What's hot (14)

ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 
Unit 2 Java Programming
Unit 2 Java ProgrammingUnit 2 Java Programming
Unit 2 Java Programming
 
ภาษาเบสิก
ภาษาเบสิกภาษาเบสิก
ภาษาเบสิก
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอม
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอม
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 
Gnewvb01 090401013958-phpapp01
Gnewvb01 090401013958-phpapp01Gnewvb01 090401013958-phpapp01
Gnewvb01 090401013958-phpapp01
 
ใบความรู้ที่ 11
ใบความรู้ที่ 11ใบความรู้ที่ 11
ใบความรู้ที่ 11
 
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษาหน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
 
Netbeans
NetbeansNetbeans
Netbeans
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 
การใช้โปรแกรม Visual basic
การใช้โปรแกรม Visual basicการใช้โปรแกรม Visual basic
การใช้โปรแกรม Visual basic
 
Dev cusing (1)
Dev cusing (1)Dev cusing (1)
Dev cusing (1)
 
ประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซี
 

Viewers also liked

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Visual basic 6.0
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Visual basic 6.0ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Visual basic 6.0
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Visual basic 6.0พลอย จ้า
 
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้นใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้นNattapon
 
บริการต่าง ๆ บนเครือข่ายบนอินเทอร์เน็ต
บริการต่าง ๆ บนเครือข่ายบนอินเทอร์เน็ตบริการต่าง ๆ บนเครือข่ายบนอินเทอร์เน็ต
บริการต่าง ๆ บนเครือข่ายบนอินเทอร์เน็ตKhemjira_P
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์Punsorn Fongsiri
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์WinNie Sjr
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์Punsorn Fongsiri
 
ใบความรู้ที่ 5 เรื่องโปรแกรมคำนวณเลข
ใบความรู้ที่ 5 เรื่องโปรแกรมคำนวณเลขใบความรู้ที่ 5 เรื่องโปรแกรมคำนวณเลข
ใบความรู้ที่ 5 เรื่องโปรแกรมคำนวณเลขNattapon
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สมัยใหม่
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สมัยใหม่เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สมัยใหม่
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สมัยใหม่jiratchaya sakornphanich
 
ใบความรู้ที่ 4 การเขียนโปรแกรมด้วย visual basic 2010
ใบความรู้ที่ 4 การเขียนโปรแกรมด้วย visual basic 2010ใบความรู้ที่ 4 การเขียนโปรแกรมด้วย visual basic 2010
ใบความรู้ที่ 4 การเขียนโปรแกรมด้วย visual basic 2010Nattapon
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ 1
โครงงานคอมพิวเตอร์ 1โครงงานคอมพิวเตอร์ 1
โครงงานคอมพิวเตอร์ 1Punyawee Keng
 
อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์1
อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์1อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์1
อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์1jiratchaya sakornphanich
 
อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์jiratchaya sakornphanich
 
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูลอุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูลjiratchaya sakornphanich
 
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้นใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้นNattapon
 
ส่วนประกอบของโปรแกรม Visual basic 6
ส่วนประกอบของโปรแกรม Visual basic 6ส่วนประกอบของโปรแกรม Visual basic 6
ส่วนประกอบของโปรแกรม Visual basic 6Tom Nuntiya
 
พื้นฐานการเขียนโปรแกรม Visual Basic 6.0
พื้นฐานการเขียนโปรแกรมVisual Basic 6.0พื้นฐานการเขียนโปรแกรมVisual Basic 6.0
พื้นฐานการเขียนโปรแกรม Visual Basic 6.0Bass Bass
 
Course Outline ม.5 ปี 2559
Course Outline ม.5 ปี 2559Course Outline ม.5 ปี 2559
Course Outline ม.5 ปี 2559Khemjira_P
 
วิชาคอมพิวเตอร์ (ง32202)
วิชาคอมพิวเตอร์  (ง32202)วิชาคอมพิวเตอร์  (ง32202)
วิชาคอมพิวเตอร์ (ง32202)Khemjira_P
 

Viewers also liked (20)

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Visual basic 6.0
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Visual basic 6.0ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Visual basic 6.0
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Visual basic 6.0
 
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้นใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
 
บริการต่าง ๆ บนเครือข่ายบนอินเทอร์เน็ต
บริการต่าง ๆ บนเครือข่ายบนอินเทอร์เน็ตบริการต่าง ๆ บนเครือข่ายบนอินเทอร์เน็ต
บริการต่าง ๆ บนเครือข่ายบนอินเทอร์เน็ต
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 5 เรื่องโปรแกรมคำนวณเลข
ใบความรู้ที่ 5 เรื่องโปรแกรมคำนวณเลขใบความรู้ที่ 5 เรื่องโปรแกรมคำนวณเลข
ใบความรู้ที่ 5 เรื่องโปรแกรมคำนวณเลข
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สมัยใหม่
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สมัยใหม่เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สมัยใหม่
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สมัยใหม่
 
ใบความรู้ที่ 4 การเขียนโปรแกรมด้วย visual basic 2010
ใบความรู้ที่ 4 การเขียนโปรแกรมด้วย visual basic 2010ใบความรู้ที่ 4 การเขียนโปรแกรมด้วย visual basic 2010
ใบความรู้ที่ 4 การเขียนโปรแกรมด้วย visual basic 2010
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ 1
โครงงานคอมพิวเตอร์ 1โครงงานคอมพิวเตอร์ 1
โครงงานคอมพิวเตอร์ 1
 
อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์1
อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์1อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์1
อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์1
 
อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูลอุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
 
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้นใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
 
ส่วนประกอบของโปรแกรม Visual basic 6
ส่วนประกอบของโปรแกรม Visual basic 6ส่วนประกอบของโปรแกรม Visual basic 6
ส่วนประกอบของโปรแกรม Visual basic 6
 
พื้นฐานการเขียนโปรแกรม Visual Basic 6.0
พื้นฐานการเขียนโปรแกรมVisual Basic 6.0พื้นฐานการเขียนโปรแกรมVisual Basic 6.0
พื้นฐานการเขียนโปรแกรม Visual Basic 6.0
 
หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)
หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)
หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
Course Outline ม.5 ปี 2559
Course Outline ม.5 ปี 2559Course Outline ม.5 ปี 2559
Course Outline ม.5 ปี 2559
 
วิชาคอมพิวเตอร์ (ง32202)
วิชาคอมพิวเตอร์  (ง32202)วิชาคอมพิวเตอร์  (ง32202)
วิชาคอมพิวเตอร์ (ง32202)
 

Similar to โปรแกรม Microsoft visual basic

ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์Supanan Fom
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Patitta Intarasopa
 
งานนำเสนอ การเขียนคำสั่่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
งานนำเสนอ การเขียนคำสั่่งควบคุมขั้นพื้นฐานงานนำเสนอ การเขียนคำสั่่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
งานนำเสนอ การเขียนคำสั่่งควบคุมขั้นพื้นฐานNoTe Tumrong
 
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์Pokypoky Leonardo
 
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรมSarocha Makranit
 
การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++Naowarat Jaikaroon
 
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์Saipanyarangsit School
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหา
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหาบทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหา
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหาVisiene Lssbh
 
อมรวรรณ สุดชาดี เลขที่ 25
อมรวรรณ สุดชาดี เลขที่ 25อมรวรรณ สุดชาดี เลขที่ 25
อมรวรรณ สุดชาดี เลขที่ 25Fai Sudhadee
 
eruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docx
eruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docxeruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docx
eruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docxssuser07f67b
 
โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5wipawanmmiiww
 
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_Aoy-Phisit Modify-Computer
 
งานคอมกลุ่ม
งานคอมกลุ่มงานคอมกลุ่ม
งานคอมกลุ่มGroup1st
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์bpatra
 

Similar to โปรแกรม Microsoft visual basic (20)

ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอ การเขียนคำสั่่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
งานนำเสนอ การเขียนคำสั่่งควบคุมขั้นพื้นฐานงานนำเสนอ การเขียนคำสั่่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
งานนำเสนอ การเขียนคำสั่่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
vb.net
vb.netvb.net
vb.net
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3
 
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
 
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
 
งาน #1
งาน #1งาน #1
งาน #1
 
การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++
 
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
 
Software
SoftwareSoftware
Software
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหา
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหาบทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหา
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหา
 
ฝ้าย 55
ฝ้าย 55ฝ้าย 55
ฝ้าย 55
 
อมรวรรณ สุดชาดี เลขที่ 25
อมรวรรณ สุดชาดี เลขที่ 25อมรวรรณ สุดชาดี เลขที่ 25
อมรวรรณ สุดชาดี เลขที่ 25
 
ฝ้าย 55
ฝ้าย 55ฝ้าย 55
ฝ้าย 55
 
eruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docx
eruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docxeruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docx
eruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docx
 
โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5
 
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
 
งานคอมกลุ่ม
งานคอมกลุ่มงานคอมกลุ่ม
งานคอมกลุ่ม
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 

โปรแกรม Microsoft visual basic

  • 2. Microsoft Visual Basic Visual Basic เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ (Programming Language) ที่พัฒนาโดย บริษัทไมโครซอฟท์ ซึ่งเป็นบริษัทยักษ์ใหญ่ที่สร้าง ระบบปฏิบัติการ Windows 95/98 และ Windows NT ที่เราใช้กันอยู่ในปัจจุบัน โดยตัวภาษา เองมีรากฐานมาจากภาษา Basic ซึ่งย่อมาจาก Beginner’s All Purpose Symbolic Instruction ถ้าแปลให้ได้ตามความหมายก็คือ “ชุดคาสั่งหรือภาษาคอมพิวเตอร์สาหรับผู้เริ่มต้น” ภาษา Basic มีจดเด่นคือผู้ที่ไม่มีพื้นฐานเรื่องการเขียน ุ โปรแกรมเลขก็สามารถเรียนรู้และนาไปใช้งานได้อย่าง ง่ายดายและรวดเร็ว เมื่อเทียบกับการเรียนภาษาคอมพิวเตอร์ อื่นๆ เช่น ภาษาซี (C). ปาสคาส (Pascal). ฟอร์แทรน (Fortian) หรือ แอสเชมบลี (Assembler) 1
  • 3. ไมโครซอฟท์ที่ได้พัฒนาโปรแกรมภาษา Basic มานานนับ สิบปี ตั้งแต่ภาษา MBASIC (Microsoft Basic). BASICA (Basic Advanced): GWBASIC และ QuickBasic ซึ่งได้ติดตั้งมาพร้อมกับ ระบบปฏิบัติการ Ms DOS ในที่สุดโดยใช้ชื่อว่า QBASIC โดยแต่ละเวอร์ชันที่ออกมานั้นได้มีการพัฒนา และเพิ่มเติมคาสั่งต่างๆเข้าไปโดยตลอด ในอดีตโปรแกรมภาษาเหล่านี้ล้วนทางานใน Text Mode คือเป็นตัวอักษรล้วนๆ ไม่มีภาพกราฟฟิกสวยงามแบบระบบ Windows อย่างในปัจจุบัน จนกระทั่งเมื่อ ระบบปฏิบัติการ Windows ได้รับความนิยมอย่างสูงและ เข้ามาแทนที่ DOS ไมโครซอฟท์ก็เล็งเห็นว่าโปรแกรมภาษา ใน Text Mode นั้นคงถึงกาลที่หมดสมัย จึงได้พัฒนา ปรับปรุงโปรแกรมภาษา Basic ของตนออกมาใหม่เพื่อ สนับสนุนการทางานในระบบ Windows ทาให้ Visual Basic ถือกาเนิดขึ้นมาตั้งแต่บัดนั้น หน้าแรก 2
  • 4. 3 Visual Basic เวอร์ชันแรกคือเวอร์ชัน 1.0 ออกสู่สายตาประชาชนตั้งแต่ปี 1991 โดยในช่วงแรกนั้นยังไม่มีความสามารถต่างจากภาษา GBASIC มาก นัก แต่จะเน้นเรื่องเครื่องมือที่ช่วยในการเขียนโปรแกรมวินโดว์ซึ่งปรากฏว่า Visual Basic ได้รับความนิยมและประความสาเร็จเป็นอย่างดีไมโครซอฟท์ จึงพัฒนา Visual Basic ให้ดีขึ้นเรื่อยๆ ทั้งในด้านประสิทธิภาพ ความสามารถ และเครื่องมือต่างๆเช่น เครื่องมือตรวจสอบแก้ไขโปรแกรม (debugger) สภาพแวดล้อมของการพัฒนาโปรแกรม การเขียนโปรแกรมแบบหลาย วินโดว์ย่อย (MDI) และอื่นๆ อีกมากมาย สาหรับ Visual Basic ในปัจจุบัน คือ Visual Basic 2008 ซึ่งออกมาในปี 2008 ได้เพิ่มความสามารถในการ เขียนโปรแกรมติดต่อกับเครือข่ายอินเตอร์เน็ต การเชื่อมต่อกับระบบ ฐานข้อมูล รวมทั้งปรับปรุงเครื่องมือและการเขียนโปรแกรมซึ่งวัตถุ (Object Oriented Programming) ให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้นพร้อมทั้งเพิ่มเครื่องมือต่างๆอีก มากมายที่ทาให้ใช้งายและสะดวกขึ้นกว่าเดิม โดยเราจะค่อยๆมาเรียนรู้ ส่วนประกอบและเครื่องมือต่างๆอีกมากมายที่ทาให้ใช้ง่ายและสะดวกขึ้น กว่าเดิม หน้าแรก
  • 5. ตัวอย่าง Microsoft Visual Basic หน้าแรก 4
  • 6. 5 องค์ประกอบ Microsoft Visual Basic เมื่อเริ่มต้นใช้งาน เราจะพบกับไดอะล็อก New Project ให้คลิก เลือก Standard EXE แล้วคลิกปุ่ม เริ่มต้นการใช้งาน Visual Basic จากนั้นเราจะพบหน้า จอการทางาน Visual Basic ซึ่งเป็นลักษณะการทางานที่ เรียกว่า IDE (Integrated Development Environment) คือ การรวบรวมเอาภาษา โปรแกรม, ตัวแปลภาษา (Compiler), เครื่องมือช่วยในการเขียนโปรแกรม และการ แก้ไขโปรแกรม รวมไปถึงข้อมูลที่ใช้งานต่าง ๆ ไว้ในหน้าจอเดียวกัน ทาให้เรียกใช้งานได้ง่าย หน้าแรก
  • 8. เครื่องมือ Microsoft Visual Basic องค์ประกอบสาคัญต่าง ๆ ของ Visual Basic Menu Bar : เป็นส่วนที่รบคาสั่งในแบบเมนู เมื่อเราสร้างแอพ ั พลิเคชันด้วย Visual Basic เป็นเสมือนศูนย์กลางที่ควบคุมการ สร้างแอพพลิเคชัน Toolbar : ในการใช้งานเมนูบาร์สั่งงานอาจจะมีขั้นตอนที่ยุ่งยาก เพื่อลดขั้นตอนลงเราจะคลิกที่ทลบาร์เพียงครั้งเดียว ก็สามารถ ู สั่งงานที่เราต้องการได้ (เป็นเหมือนคียลัดในการทางาน) ์ Toolbox : เป็นกล่องเก็บ ActiveX Control ซึ่งเราจะนามา ประกอบเป็นส่วนต่าง ๆ ของแอพพลิเคชัน Project Explorer : เป็นเครี่องมือที่ใช้ควบคุมการทางานของ โปรเจ็กต์ (ในบทต่อไปเราจะรู้ว่าโปรเจ็กต์คออะไร) ื หน้าแรก 8
  • 9. 9 Properties Window : เป็นส่วนdeหนดพร็อพเพอร์ตี้ให้กับ ออบเจ็กต์ต่าง ๆ ในแอพพลิเคชัน Form Layout : เป็นหน้าตาคร่าว ๆ ของฟอร์มที่ได้จากการรัน แอพพลิเคชัน ทาให้เราทราบตาแหน่งที่จะปรากฏบนจอภาพเมื่อ แอพพลิเคชันทางาน Form Designer : เป็นส่วนที่ได้เรามองเห็นในขณะออกแบบ แอพพลิเคชันของ Visual Basic ซึ่งเราจะออะแบบหน้าตาของ แอพพลิเคชันผ่านฟอร์มดีไซเนอร์ Code Window : เป็นส่วนที่เราเขียนโปรแกรม (เรียกสั้นๆ ว่า เขียนโค้ด) เพื่อควบคุมการทางานของแอพพลิเคชัน หน้าแรก
  • 10. ข้อดีของการเขียนโปรแกรมด้วย Visual Basic สาเหตุที่ Visual Basic เป็นภาษาที่เหมาะสาหรับการเรียนรู้ใน การเขียนโปรแกรมนั้นเนื่องจาก Visual Basic มีข้อดีหลาย ประการคือ 1. ง่ายต่อการเรียนรู้เหมาะสาหรับผู้เริ่มต้น ทั้งในเรื่อง ไวยากรณ์ของภาษาเองและเครืองมือการใช้งาน ่ 2. ความนิยมของตัวภาษา โดยอาจกล่าวได้ว่าภาษา Basic นั้น เป็นภาษาที่คนเรียนรู้และใช้งานมากที่สุดในประวัตศาสตร์ของ ิ คอมพิวเตอร์ หน้าแรก 10
  • 11. 11 3. การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง การปรับปรุงประสิทธิภาพใน ด้านของตัวภาษาและความเร็วของการประมวลผล และ ในเรื่องของความสามารถใหม่ๆ เช่น การติดต่อกับระบบ ฐานข้อมูล การเชื่อมต่อกับเครือข่ายอินเตอร์เน็ต 4. ผู้พัฒนาสาคัญของ Visual Basic คือบริษัท ไมโครซอฟท์ซึ่งจัดว่าเป็นยักษ์ใหญ่ของวงการ คอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน เราจึงสามารถมั่นใจได้ว่า Visual Basic จะยังมีการพัฒนา ปรับปรุงและคงอยู่ไปอีกนาน หน้าแรก
  • 12. 12 สมาชิกในกลุม ่ ชื่อ นาย วิศวชิต แสวงผล ชั้น ม.5/4 เลขที่ 4 ชื่อ นาย ปาณัสม์ คิดไชย ชั้น ม.5/4 เลขที่ 7 ชื่อ น.ส. จันทภา พลพิทัก ชั้น ม.5/4 เลขที่ 37