SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
Download to read offline
โครงงานคอมพิวเตอร์
เรื่อง การท่องเที่ยว ศูนย์อนุรักษ์พันธุ์เต่าทะเล
โดย
1.นายคมวัฏ โชติพิพัฒน์วงศ์ เลขที่ 1
2.นายวิธูสิริ รอดสมบูรณ์ เลขที่ 4
3.นายภัทรพล ภัทรทิพากร เลขที่ 6
4.นายปุณยวีร์ จึงเจริญพูน เลขที่ 9
5.นายสิรวิชญ์ ปิยะอัศวจินดา เลขที่ 19
6.นายปภาวินท์ ตุลยสิทธิกุล เลขที่ 20
7.นายสิปปภาส โยมา เลขที่ 21
8.นายพงศกร รอดกระจับ เลขที่ 23
9.นายชัยวัฒน์ สิริวิวัฒน์มงคล เลขที่ 24
10.นายอภิเษก หริตวร เลขที่ 28
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนประกอบของโครงงานคอมพิวเตอร์
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557
โรงเรียนอัสสัมชัญระยอง
โครงงานคอมพิวเตอร์
เรื่อง การท่องเที่ยว ศูนย์อนุรักษ์พันธุ์เต่าทะเล
โดย
1.นายคมวัฏ โชติพิพัฒน์วงศ์ เลขที่ 1
2.นายวิธูสิริ รอดสมบูรณ์ เลขที่ 4
3.นายภัทรพล ภัทรทิพากร เลขที่ 6
4.นายปุณยวีร์ จึงเจริญพูน เลขที่ 9
5.นายสิรวิชญ์ ปิยะอัศวจินดา เลขที่ 19
6.นายปภาวินท์ ตุลยสิทธิกุล เลขที่ 20
7.นายสิปปภาส โยมา เลขที่ 21
8.นายพงศกร รอดกระจับ เลขที่ 23
9.นายชัยวัฒน์ สิริวิวัฒน์มงคล เลขที่ 24
10.นายอภิเษก หริตวร เลขที่ 28
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนประกอบของโครงงานคอมพิวเตอร์
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557
โรงเรียนอัสสัมชัญระยอง
ครูที่ปรึกษา
มิสเขมจิรา ปลงไสว
โครงงาน เรื่อง การท่องเที่ยว ศูนย์อนุรักษ์พันธุ์เต่าทะเล
ประเภทของโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ผู้จัดทาโครงงาน 1.นายคมวัฏ โชติพิพัฒน์วงศ์ เลขที่ 1
2.นายวิธูสิริ รอดสมบูรณ์ เลขที่ 4
3.นายภัทรพล ภัทรทิพากร เลขที่ 6
4.นายปุณยวีร์ จึงเจริญพูน เลขที่ 9
5.นายสิรวิชญ์ ปิยะอัศวจินดา เลขที่ 19
6.นายปภาวินท์ ตุลยสิทธิกุล เลขที่ 20
7.นายสิปปภาส โยมา เลขที่ 21
8.นายพงศกร รอดกระจับ เลขที่ 23
9.นายชัยวัฒน์ สิริวิวัฒน์มงคล เลขที่ 24
10.นายอภิเษก หริตวร เลขที่ 28
ปีการศึกษา 2557
บทคัดย่อ
การจัดทาโครงงานในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ความรู้แก่ผู้ที่สนใจเกี่ยวกับการอนุรักษ์เต่าทะเล หรือ
ต้องการศึกษาพันธุ์ของเต่าทะเล โดยสร้างเว็บไซต์ในการเผยแพร่นาเสนอให้ความรู้
ผลการจัดทาโครงงานพบว่า การพัฒนาโครงงานสร้างบล็อก ศูนย์อนุรักษ์พันธุ์เต่าทะเล เพื่อเผยแพร่
สถานที่ท่องเที่ยวที่ได้ทั้งความรู้และความเพลิดเพลิน คณะผู้จัดทาได้ดาเนินงานตามขั้นตอนการดาเนินงานที่ได้
วางแผนไว้ และได้นาเสนอเผยแพร่ผลงานผ่านเครือข่ายระบบอินเทอร์เน็ต ที่สามารถเข้าถึงได้ทุกเวลา และทุก
สถานที่ เป็นแหล่งเรียนรู้ในโลกออนไลน์และมีความรวดเร็วในการรับข้อมูลบุคคลทั่วไปสามารถเข้ารับชมได้
เป็นเว็บไซต์ที่มีประโยชน์
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานเรื่องนี้ประกอบด้วยการดาเนินงานหลายขั้นตอน นับตั้งแต่การศึกษาหาข้อมูลการทดลอง
การวิเคราะห์ผลการทดลอง การจัดทาโครงงานเป็นรูปเล่ม จนกระทั่งโครงงานนี้สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ตลอด
ระยะเวลาดังกล่าวคณะผู้จัดทาโครงงานได้รับความช่วยเหลือและคาแนะนาในด้านต่างๆ ตลอดจนได้รับ
กาลังใจจากบุคคลหลายท่าน คณะผู้จัดทาตระหนักและซาบซึ้งในความกรุณาจากทุกๆท่านเป็นอย่างยิ่ง ณ
โอกาสนี้ ขอขอบคุณทุกๆ ท่าน ดังนี้
กราบขอบพระคุณ มิสเขมจิรา ปลงไสว ครูที่ปรึกษา และคณะครูกลุ่มสาระการงานอาชีพและ
เทคโนโลยี โรงเรียนอัสสัมชัญระยอง ทุกท่านผู้ให้คาแนะนาและได้เมตตาให้ความช่วยในทุกๆ ด้าน ตลอดจนให้
ความคิด ที่ทาให้โครงงานนี้ได้เกิดขึ้น
ขอบใจเพื่อนนักเรียนทุกคนที่ได้เป็นกาลังใจสาคัญให้โครงงานนี้สาเร็จลุล่วงทุกประการ
ท้ายที่สุด ขอกราบขอบพระคุณ คุณพ่อและคุณแม่ ผู้เป็นที่รัก ผู้ให้กาลังใจและให้โอกาสการศึกษา
อันมีค่ายิ่ง
คณะผู้จัดทำ
สารบัญ
หน้า
บทคัดย่อ……………………………………………………….…………………………………………………………………. ข
กิตติกรรมประกาศ……………………………………………………….……………………………………………………. ค
สารบัญ……………………………………………………….……………………………………………………………………. ง
สารบัญภาพ……………………………………………………….……………………………………………………………… จ
บทที่
1. บทนา……………………………………………………….…………………………………………………………. 1
ที่มาและคามสาคัญของโครงงาน…………………………………………………………………………….. 1
วัตถุประสงค์……………………………………………………….………………………………………………… 1
ขอบเขตของโครงงาน……………………………………………………….……………………………………. 1
ผลที่คาดว่าจะได้รับ……………………………………………………….………………………………………. 1
2. เอกสารที่เกี่ยวข้อง……………………………………………………….………………………………………… 2
ความรู้ทั่วไปของเต่าทะเล……………………………………………………….………………………………. 2
ชีววิทยาของเต่าทะเล…………………………………………………………………………………………….. 6
วิธีการสร้างบล็อกเกอร์…………………………………………………………………………………………… 8
3. อุปกรณ์และวิธีดาเนินงาน………………………………………………………………………………………. 10
ขั้นตอนการดาเนินการ…………………………………………………………………………………………… 10
วิธีการเก็บรวมรวบข้อมูล……………………………………………………………………………………….. 10
วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนาโครงงาน………………………………… 10
4. ผลการดาเนินงาน……………………………………………………….…………………………………………. 11
5. สรุปผลการดาเนินงาน………………………………………………………………………………………….. 12
ขั้นตอนการดาเนินการ……………………………………………………….………………………………….. 12
วิธีการเก็บรวมรวบข้อมูล……………………………………………………………………………………….. 12
วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนาโครงงาน………………………………... 12
บรรณานุกรม……………………………………………………….………………………………………………. .13
สารบัญภาพ
หน้า
รูปที่ 1 การวางไข่ของเต่าทะเล……………………………………………………….…………………………………………… 2
รูปที่ 2 วงจรชีวิตของเต่าทะเล……………………………………………………….……………………………………………. 3
รูปที่ 3 การสืบทอดพันธุ์ของเต่าทะเล……………………………………………………….…………………………………. 4
รูปที่ 4 แหล่งอาศัยของเต่าทะเล……………………………………………………….………………………………………… 5
รูปที่ 5 จานวนไข่ของเต่าทะเล……………………………………………………….…………………………………………… 7
รูปที่ 6 เขียนโพสต์ของคุณเมื่อคุณ……………………………………………………….……………………………………… 9
บทที่ 1
บทนา
ที่มาและคามสาคัญของโครงงาน
ในปัจจุบันผู้คนต่างๆมักจะหาเวลา เช่น ช่วงวันหยุด เป็นต้น ไปเที่ยวกับครอบครัวหรือเพื่อนฝูง มี
จุดประสงค์คือเพื่อผ่อนคลายจากความเหนื่อยในการทางานและเพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกันในครอบครัว
ทางคณะผู้จัดทาจึงเล็งเห็นความสาคัญของจุดประสงค์ต่างๆนี้ จึงได้จัดทาเว็บบล็อกขึ้นมา เพื่อใช้เป็นตัวเลือก
ในการเลือกสถานที่ท่องเที่ยว ปัจจุบันสถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทยมีเพิ่มขึ้นมามากมายหลายแห่ง แต่
ส่วนมากจะเน้นหนักไปทางทาให้เกิดความเพลิดเพลินเพียงอย่างเดียว แต่มีสถานที่ท่องเที่ยวไม่มากนักที่จะได้
ประโยชน์มากมายทั้งความรู้และความเพลิดเพลินด้วย ผู้จัดทาหวังว่าทางผู้ใช้จะได้รับประโยชน์จากเว็บบล็อก
ที่อานวยความสะดวกของเราเว็บนี้ไม่มากก็น้อย
วัตถุประสงค์
1. เพื่อ
2. เพื่อแนะนาสถานที่ท่องเที่ยวที่ได้ทั้งความสนุกและความรู้ควบคู่กัน
ขอบเขตของโครงงาน
สร้างเว็ปไซต์เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับเต่าทะเล โดยจัดทาในบล็อกเกอร์ ในการสร้างเว็ปไซต์ และใช้
โปรแกรม Microsoft Office Word 2013 , Adobe Photoshop CS5 ในการตกแต่งและจัดเรียงเว็ปไซต์ให้
สวยงามน่าสนใจ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. ผู้สนใจมีความเข้าใจและให้ความสาคัญเกี่ยวกับเต่าทะเล
2. ได้รับความรู้เกี่ยวกับการสร้างบล็อกเกอร์
3. ได้นาเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ได้อย่างมีคุณค่าและเกิดประโยชน์
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ในการจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา เว็บไซต์ ศูนย์อนุรักษ์พันธุ์เต่าทะเล ให้
ความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน คณะผู้จัดทาได้ศึกษาข้อมูล เอกสารที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
2.1 ความรู้ทั่วไปของเต่าทะเล
2.2 ชีววิทยาของเต่าทะเล
2.3 วิธีการสร้างบล็อกเกอร์
2.1 ความรู้ทั่วไปของเต่าทะเล
2.1.1 การวางไข่ของเต่าทะเล ระยะเวลาในการฟักตัว โดยทั่วไปเต่าทะเลจะฟักตัวประมาณ 2
สัปดาห์ หลังจากการวางไข่ของแม่เต่าทะเล แต่จากการศึกษาพอที่จะสรุปได้ คือ เต่ากระจะใช้เวลาในในการ
ฟักตัวเร็วกว่าเต่าชนิดอื่น คือประมาณ 45-53 วัน เต่าตนุจะใช้เวลาในการฟักเป็นตัว ประมาณ 47-58 วัน เต่า
หญ้าจะใช้เวลาในการฟักเป็นตัวประมาณ 60 วัน เต่ามะเฟือง ใช้เวลาในการฟักเป็นตัว ประมาณ 58-65 วัน
รูปที่ 1 การวางไข่ของเต่าทะเล
หลังจากที่ลูกเต่าทะเลฟักออกจากไข่จะยังไม่ออกจากหลุมทันที จนกว่า 2-3 วันผ่านไป ลูกเต่าทะเล
จึงจะหันหัวขึ้นในลักษณะเตรียมโผล่พ้นพื้นทราย ตัวใดไม่สามารถโผล่พ้นทรายได้ก็จะตาย และโดยสัญชาติ
ญาณเมื่อลูกเต่าโผล่พ้นทรายมาก็จะลงสู่ทะเลทันที ซึ่งเป็นในช่วงเวลากลางคืน จากการศึกษาลูกเต่าวัยอ่อน
อายุประมาณ 2-4 สัปดาห์ พบว่าเมื่อทาการปล่อยลูกเต่าแล้ว ลูกเต่าจะเริ่มว่ายน้าแข่งกันออกสู่ทะเลลึก แต่มี
บางตัวที่ว่ายหลบซ่อนอยู่ตามโขดหินและหมู่ปะการัง และจาการศึกษายังพบอีกว่าลูกเต่าตนุที่มีอายุ ประมาณ
3 เดือนขึ้นไป ลูกเต่าจะมีกระดองที่แข็งและว่ายน้าได้ว่องไว จะมีขนาดความยาวประมาณ 4-5 นิ้ว ซึ่งเป็น
ระยะที่ปลอดภัยจาการเป็นอาหารของปลาและนก นอกจากนี้เรื่องเต่าทะเลที่น่าสนใจอีกเรื่องหนึ่งก็คือ ลูกเต่า
ทะเลที่มีขนาดเล็กกว่า 1 กก. จะไม่พบเห็นอยู่ตามธรรมชาติ
2.1.2 วงจรชีวิตของเต่าทะเล เต่าทะเลเป็นสัตว์เลื้อยคลานที่มีเลือดเย็น(อุณหภูมิเปลี่ยนแปลงตาม
อุณหภูมิแวดล้อม) อาศัยอยู่ในน้า มีกระดูกสันหลัง หายใจด้วยปอดและมีหัวใจสามห้องเหมือนสัตว์เลื้อยคลาน
ทั่วไป เนื่องจากปรับตัวมาอาศัยอยู่ในน้า ต้องดื่มกินน้าทะเลตลอดเวลาจึงมีระบบขับถ่ายที่ดีมากที่จะสกัด
เกลือแร่ออกจากร่างกาย เพื่อรักษาความสมดุลของของเหลวในร่างกาย โดยที่เกลือแร่ส่วนเกินถูกสกัดโดยการ
ทางานของไต และถูกลาเลียงออกจากร่างกายทางต่อมน้าตา ซึ่งอยู่หลังลูกตาทั้งสองข้าง ในขณะที่เต่าทะเล
ขึ้นมาอยู่บนบกจะเห็นน้าเมือกไหลออกทางตาตลอดเวลา แต่เดิมเข้าใจว่าเต่าทะเลร้องไห้เวลาขึ้นวางไข่แท้ที่
จริงเป็นการขับเกลือแร่ส่วนเกินออกจากร่างกาย ซึ่งขบวนการนี้จะเกิดตลอดเวลา แม้เมื่อเต่าทะเลจะอยู่ใน
น้า เต่าทะเลเป็นสัตว์ที่มีการเดินทางไปแหล่งอาศัยหรือแหล่งอาหารที่ไกลมาก โดยแหล่งอาศัยหรือแหล่ง
อาหารแต่ละแห่งจะมีประชากรเต่าทะเลหลายกลุ่มอาศัยอยู่ด้วยกัน Limpus et al.(1992) ได้ทาการติด
เครื่องหมายเต่าตนุและเต่าหัวฆ้อนที่ขึ้นวางไข่ที่ Queenland Australia และจากการติดตามผล พบว่าเต่า
ทะเลเหล่านี้เดินทางไปหาอาหารถึงประเทศอินโดนีเซีย ปาปัวนิวกินี และโซโลมอน เต่าทะเลทั่วไปใช้เวลา ๑๐
ปี หรืออาจมากกว่า ๒๐ ปี ในการเจริญเติบโตพอที่จะแพร่พันธุ์ได้ ความแตกต่างขึ้นอยู่กับชนิดและความ
สมบูรณ์ของเต่าทะเล แต่ละตัว
รูปที่ 2 วงจรชีวิตของเต่าทะเล
2.1.3 การสืบทอดพันธุ์ของเต่าทะเล ในแต่ละปีจะมีเต่าทะเลที่อยู่ในวัยเจริญพันธุ์ผสมพันธุ์ตาม
บริเวณต่าง ๆ ในมหาสมุทร หลังจากนั้นเต่าทะเลตัวเมียจะขึ้นหาดขุดทรายวางไข่ โดยเป็นที่น่าสังเกตว่า เต่า
ทะเลทุกชนิดขึ้นมาวางไขเฉพาะเวลากลางคืน ยกเว้น Kemp's ridley เพียงชนิดเดียวที่ขึ้นมาวางไข่ตอน
กลางวัน และส่วนใหญ่จะขึ้นมาวางไข่บนหาดที่ถือกาเนิด เต่าทะเลตัวเมียเมื่อขึ้นจากน้าก็จะคลานขึ้นมาบน
หาดเพื่อหาจุดที่เหมาะสมในการวางไข่ แต่ถ้าพบว่า หาดนั้นมีแสงสว่างและเสียงรบกวนจะคลานกลับลงน้าโดย
ไม่วางไข่ เมื่อพบจุดที่ต้องการก็จะใช้พายคู่หลังขุดหลุม จนมีลักษณะคล้ายหม้อสองหู การขุดก็จะทาอย่าง
ระมัดระวังโดยใช้พายข้างหนึ่งโกยทรายแล้วดีดออก เมื่อทรายที่ขุดมากขึ้นก็จะใช้พายอีกข้างช่วยโกยออก
ต่อจากนั้นก็จะวางไข่ ซึ่งมีลักษณะนิ่มคลุ่ม โดยเต่าแต่ละตัวสามารถที่จะขึ้นมาวางไขได้สองหรือสามครั้ง
ขณะที่วางไข่ จะสังเกตเห็นว่ามีของเหลวไหลออกมาจากตา ทั้งนี้เพื่อรักษาระดับความชื่นและป้องกันทรายเข้า
ตา ไข่เต่าแต่ละฟองจะมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 4 ถึง 7 เซนติเมตร (1.5 - 2.5 นิ้ว) หลังจากไข่เสร็จ เรียบร้อยแล้วก็
กลบหลุมและทุบทรายให้แน่น แล้วพรางหลุมโดยการกวาดทราบข้างเคียงจนสังเกตตาแหน่งได้ยาก
รูปที่ 3 การสืบทอดพันธุ์ของเต่าทะเล
ในแต่ละฤดูกาล เต่าตัวเมียจะวางไข่ทุกช่วงสัปดาห์จนกว่าจะหมดท้อง ซึ่งบางตัวอาจจะมีถึง 1,000
ฟอง โดยใช้เวลาในการขึ้นมา วางไข่บนหาด 3-8 ครั้ง แล้วจะกลับมาวางไข่อีกครั้งหลังจากเวลาผ่านไป 2-4 ปี
ดังนั้น จานวนรังในแต่ละปีจึงเปลี่ยนแปลงตลอด ด้วยสาเหตุที่ปริมาณการรอดตายของลูกเต่าทะเลน้อยมาก
ดังนั้น ในการวางไข่แต่ละครั้งจึงมีจานวนมาก ถ้าหาดที่เต่าทะเลขึ้นมาวางไข่ มีพื้นที่น้อย โอกาสที่ไข่เต่าทะเล
จะถูกทาลายโดยน้าท่วมหรือจากน้าฝนจะมีมาก อุณหภูมิภายในหลุมก็มีผลกระทบต่อการฟังตัว กล่าวคือ ถ้า
อุณหภูมิอยู่ในระดับปรกติ โอกาสที่ลูกเต่าทะเลจะฟังจากไข่เป็นเพศเมียทั้งหมดมีมาก ในทานองเดียวกัน ถ้า
อุณหภูมิภายในหลุม ต่ากว่าภายนอก ลูกเต่าทะเลที่ออกจากไข่ก็จะเป็นเพศผู้ทั้งสิ้น ไข่เต่าทะเลที่รอดจากน้า
ท่วมและสัตว์อื่นกินเป็นอาหาร ก็จะฟักออกมาเป็นตัวภายใน 60 วันพร้อมกัน เมื่อลูกเต่าทะเลออกจากไข่ก็จะ
คลานขึ้น ผิวทราย ก่อนจะถึงผิวหน้าทรายก็จะหยุดตรงจุดที่ลึกจากผิวประมาณ 5 เซนติเมตร เพื่อรอให้
อุณหภูมิภายนอกต่าจึงออกจากทราย ซึ่งส่วนใหญ่ ก็เป็นเวลากลางคืนจึงออกจากหลุมแล้วคลานลงทะเลอย่าง
รวดเร็ว ช่วงคลานลงทะเลนี้จะเป็นช่วงเวลาที่อันตรายที่สุด ลูกเต่าทะเลทุกตัวจะหันหัวไป ยังเส้นขอบฟ้าใน
ทะเลที่สว่างที่สุด ถ้ามีแสงบนหาดก็จะชักจูงให้คลานเข้าหาและในที่สุดก็จะตาย มีสัตว์หลายชนิดกินลูกเต่า
ทะเลเป็นอาหาร เช่น ในช่วงที่คลานลงทะเลก็จะเกิดอันตรายจากนก สัตว์เลื้อยคลาน หรือสัตว์ผู้ล่าอื่นๆ
รวมทั้งมนุษย์ เมื่อถึงน้าอาจจะถูกปลาฉลามกินเป็นอาหารได้
ในสัปดาห์แรก ลูกเต่าทะเลไม่สามารถที่จะดาน้าและใช้ชีวิตใต้ท้องทะเลได้เป็นเวลานาน และยังว่าย
น้าไม่แข็งพอที่จะหลบหลีกจากผู้ล่าได้ การหลบหลีกศัตรูในช่วงนี้จึงใช้วิธีหลบอาศัยและดารงชีวิตตามสาหร่าย
หรือพืชทะเลที่ล่องลอยในทะเลลึก ซึ่งใช้เวลาประมาณ 1 ปี ยังไม่มีผู้ใด รู้ว่าลูกเต่าทะเลใช้เวลาจนโตเต็มที่นาน
เท่าใด แต่ได้มีการประมาณว่าอยู่ในช่วง 8 ถึง 50 ปี เวลาอันยาวนานนี้ ทาให้มีปัญหาในการอนุรักษ์เป็น อย่าง
มาก จานวนลดลงที่เห็นได้อย่างชัดเจนนั้นเกิดจากมนุษย์และการติดอวนประมงเป็นส่วนใหญ่
2.1.4 แหล่งอาศัยของเต่าทะเล ในอดีตเคยมีเต่าทะเลชุกชุมทั้งทางอ่าวไทย และทะเลอันดามัน บริเวณ
ที่เคยพบเต่าทะเลขึ้นวางไข่ทางฝั่งอ่าวไทย ได้แก่ ชายหาดตามเกาะต่างๆ ของจังหวัดชลบุรี จังหวัดตราด
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เกาะกระ จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดปัตตานี และจังหวัดนราธิวาส ส่วนทางฝั่งอัน
ดามันพบเต่าทะเลขึ้นวางไข่บริเวณชายหาดฝั่งตะวันตกของจังหวัดภูเก็ต จังหวัดพังงา และหมู่เกาะใกล้เคียง
นอกจากนี้พบบ้าง ที่จังหวัดตรัง และจังหวัดสตูล
ปัจจุบันเต่าทะเลในพื้นที่อ่าวไทยเหลือน้อยมาก ชายหาดและเกาะที่ยังพบเป็นแหล่งวางไข่ตาม
ธรรมชาติอย่างสม่าเสมอทุกปี เหลือเพียงเกาะบริเวณอ่าวสัตหีบ จังหวัดชลบุรี ซึ่งอยู่ในเขตรักษาความ
ปลอดภัยของทหารเรือ ที่สาคัญได้แก่ เกาะคราม เกาะอีร้า และเกาะจาน เป็นต้น ส่วนทางพื้นที่ฝั่งทะเลอันดา
มัน ยังคงปรากฏการขึ้นวางไข่ ที่หาดท้ายเหมือง จังหวัดพังงา บริเวณหาดในยาง จังหวัดภูเก็ต และหมู่เกาะ
ต่างๆ ที่ยังอยู่ห่างไกลจากฝั่ง ได้แก่ หมู่เกาะสุรินทร์ หมู่เกาะสิมิลัน
รูปที่ 4 แหล่งอาศัยของเต่าทะเล
2.2 ชีววิทยาของเต่าทะเล
2.2.1 อาหารของเต่าทะเล เต่าทะเลเป็นสัตว์ที่กินพืชและสัตว์เป็นอาหาร ส่วนเต่าตนุวัยอ่อนจะกิน
พวกสัตว์เล็กๆ และเมื่อโตขึ้นจะกินพืชเพียงอย่างเดียว ส่วนเต่ากระที่จับมากทาการเลี้ยงไว้นั้นสามารถกินสัตว์
ได้ โดยธรรมชาติแล้วจะไม่พบสัตว์ในกระเพาะของมันตากตัวอย่างที่ได้พบเต่าติดอวนและตายลง เนื่องจากคอ
หักเมื่อผ่าดูและตรวจดูที่บริเวณกระเพาะของมัน ปรากฏว่ามีแต่พืช เช่น สาหร่าย (Sargassum sp.) และ
สาหร่ายสีเขียว (green algae) อยู่เป็นจานวนมาก ไม่พบสัตว์ในกระเพาะเต่าตนุ ซึ่งไม่เหมือนกับเต่ากระที่กิน
อาหารพวกสัตว์เล็กๆ เช่น แมงกะพรุน กุ้ง ปูปลา หอย และพืช รวมทั้งตะไคร่น้าตามแนวหินในระหว่างเวลา
ในตอนกลางวันจะไม่พบเต่าทะเลในบริเวณน้าตื้น จึงสันนิษฐานได้ว่าเต่าทะเลคงจะหากินในเวลากลางคืนและ
ช่วงเวลานั้นขึ้น แต่ในบางครั้งพบเต่าทะเลในบริเวณน้าที่มีความลึกประมาณ 13-15 เมตร ในช่วงเวลา
กลางวัน และด้วยเต่าทะเลเป็นสัตว์ที่ใช้ปอดในการหายใจจึงทาให้บ่อยครั้งที่พบเต่าทะเลขึ้น มาหายใจบนผิว
น้า เมื่อเต่าทะเลขึ้นมาหายใจบนผิวน้าก็จะสามารถปรับหรือลดความดันของบรรยากาศภายในได้รวดเร็ว และ
ไม่เป็นอันตรายอันเป็นคุณสมบัติพิเศษกว่าสัตว์น้าชนิดยกเว้นสัตว์น้าที่เลี้ยงลูกด้วยนาบางชนิด
เท่านั้น นอกจากนี้เต่าทะเลยังมีสัญชาติญาณอีกหลายประการที่น่าสนใจเช่นการรู้ทิศทางของทะเลในการ
ขึ้นมาวางไข่ หรือแม้แต่ลูกเต่าทะเลที่เพิ่งออกจากไข่และหลุมใหม่ๆจะมีความสามารถรู้ทิศทางในการลงสู่ทะเล
ได้ถูกต้องและความสามารถที่สาคัญอีกอย่างของเต่าทะเลก็คือการรู้เวลาว่าเมื่อใดเป็นเวลาน้าขึ้นและน้าลงซึ่ง
ทาให้เต่าทะเล สามารถ ระบุเวลาที่เหมาะสมได้เป็นต้น
2.2.2 สถานที่ที่เต่าวางไข่ สถานที่และบริเวณที่เต่าทะเลแต่ละชนิดใช้ในการวางไข่มีลักษณะคล้ายคลึง
กัน คือ เต่าทะเลจะขึ้น ไปวางไข่ในบริเวณหาดทรายที่อยู่เหนือระดับน้าขึ้น และหาดนั้นจะต้องมีลักษณะเป็น
ทรายขาว และสะอาดซึ่งเต่าทะเลจะสร้างรังไข่เหนือระดับที่ขึ้นสูงสุด แต่ก็มีเต่าทะเลบางตัวที่ขึ้นวางไข่ไกลจาก
ระดับน้าขึ้นสูงสุด ถึง 200 เมตร เพศ และลักษณะของเพศในเต่าทะเล เต่าทะเลเพศผู้และเพศเมียแยกอยู่กัน
คนละตัว (Sex Dimorphism) และอวัยวะสืบพันธุ์จะอยู่ ภายนอกลาตัวที่เรียกว่า Intromittent Organ ซึ่ง
ลักษณะเพศของเต่าทะเลจะสามารถเห็นได้ชัดเจนหรือไม่ชัดเจนก็ขึ้นอยู่กับชนิดของเต่าทะเล เพศของเต่า
ทะเลจะอยู่ท้ายสุดของลาตัวมีลักษณะคล้ายหาง อวัยวะเพศผู้จะมีลักษณะใหญ่ ยาว และโค้งลงเล็กน้อยกว่า
อวัยวะเต่าทะเลเพศเมีย ทั้งนี้เพื่อความเหมาะสมในการผสมพันธุ์ กระดองหนังของเพศเมียจะมีลักษณะโค้ง
ออกด้านข้างเล็กน้อยในเต่าทะเลบางชนิด ส่วนเต่าทะเลเพศผู้จะมีกระดองหลังที่นูน และมีส่วนแคบยาวกกว่า
เต่าทะเลเพศเมีย รยางค์คู่หน้าของเต่าทะเลเพศผู้จะมีลักษณะยาวกว่าเต่าทะเลเพศเมีย ลักษณะเพศของเต่า
ทะเลจะยังไม่ปรากฏให้เห็นชัดในระยะวันอ่อนของเต่าทะเล
2.2.3 การดูอายุของเต่าทะเล อายุของเต่าทะเลมิได้ตัดสินกันที่ขนาดตัวของเต่าทะเล แต่จะพอใช้การ
สังเกตจากในเต่าทะเลที่มีอายุมาก สีของเกล็ดจะมีสีคล้าและมีพวกหอยนางลม เพรียงและสิ่งแปลกปลอม
เกาะติดที่กระดองหลัง และสังเกตอายุของเต่าทะเลได้จากการดูจานวนไข่ที่เกิดในเต่าที่มีอายุมากๆ อาจจะไม่
สามารถออกไข่ได้เลย ส่วนในเต่าที่อายุน้อยจะสามารถออกไข่ได้ไม่มากหรือได้จานวนที่มาก็เป็นได้ นอกจากนี้
ขนาดของไข่ก็สามารถบอกอายุได้ ถ้าเป็นไข่ของเต่าทะเลที่มีอายุมากแล้วจะมีขนาดของไข่ที่ใหญ่กว่าในแม่เต่า
ที่มีอายุน้อยๆ
2.2.4 จานวนไข่ของเต่าทะเล จากการศึกษาพบว่าเต่าทะเลที่มีอายุน้อยจะออกไข่ได้น้อย ส่วนเต่า
ทะเลที่มีอายุมากจะมีการออกไข่ได้มากกว่า จากข้อมูลที่ทาการสารวจที่ จังหวัดภูเก็ต พบว่าแม่เต่าทะเลวางไข่
เฉลี่ย แล้วประมาณ 120 ฟอง ต่อ หนึ่งครั้ง และมีจานวนมากที่สุด 226 ฟอง ต่าสุด 3 ฟอง และบางหลุมไม่
พบไข่เต่าเลย
รูปที่ 5 จานวนไข่ของเต่าทะเล
2.3 วิธีการสร้างบล็อกเกอร์
2.3.1 ความหมายของบล็อกเกอร์ (Blogger) เป็นบริการบล็อกของกูเกิล ภายหลังจากทดลอง
ให้บริการในช่วงระยะพัฒนา และลงทะเบียนได้โดยไม่ขึ้นอยู่กับกูเกิล หรือไม่จาเป็นต้องใช้จีเมลมาระยะหนึ่ง
ปัจจุบันการใช้บริการบล็อกเกอร์จาเป็นต้องใช้จีเมล์ในการกรอกเป็นรหัสผ่าน และสิ้นสุดเบต้าเมื่อเดือน
ธันวาคม พ.ศ. 2549บล็อกเกอร์ คิดค้นขึ้นโดยไพรา แลบส์ (Pyra Labs) ในปี พ.ศ. 2542 ที่อยู่ของการ
ลงทะเบียนจะอยู่ที่ blogger.com เมื่อลงทะเบียนแล้วจะบันทึกบล็อกในรูป blogname.blogspot.com
2.3.2 สร้างบล็อก เมื่อต้องการเริ่มเขียนบล็อกด้วยบล็อกเกอร์ ให้ไปที่ หน้าแรกบล็อกเกอร์ ใส่ชื่อผู้ใช้
และรหัสผ่านของคุณ จากนั้นคลิกลงชื่อเข้าใช้ ป้อนชื่อที่แสดง และยอมรับข้อกาหนดในการให้บริการของ
บล็อกเกอร์ จากนั้นคลิกที่ลิงค์ สร้างบล็อก แล้วเริ่มต้มสร้างได้เลือกที่อยู่ (URL) และชื่อบล็อก จากนั้นเลือก
เทมเพลตบล็อกที่คุณชอบ (นี่คือลักษณะหน้าตาของบล็อกเมื่อคุณเผยแพร่) จากนั้นก็เริ่มใช้ความคิดสร้างสรรค์
เพิ่มข้อมูลในโปรไฟล์ส่วนบุคคลของคุณ และปรับแต่งลักษณะของบล็อก ถ้าคุณต้องการ เริ่มต้นเขียนบล็อก
วันนี้
2.3.3 แดชบอร์ด หน้าแดชบอร์ดคือจุดเริ่มต้นของคุณเช่นเคย หน้านี้จะแสดงรายชื่อบล็อกของคุณ
ทั้งหมด และคุณสามารถคลิกที่ไอคอนถัดจากชื่อบล็อกเพื่อดาเนินการต่างๆ กับแต่ละบล็อก เช่น
 เขียนโพสต์ใหม่: คลิกที่ไอคอนดินสอสีส้มบนแดชบอร์ดเพื่อเข้าถึงเครื่องมือการแก้ไขโพสต์
 ดูโพสต์ของคุณ: ไอคอนรายการโพสต์สีเทาจะนาคุณไปยังรายการโพสต์ที่เผยแพร่แล้วและโพสต์ใน
ข้อความร่างของบล็อกนั้นๆ
 ติดตามบล็อกโปรดของคุณ: ด้านล่างรายการบล็อกของคุณ คุณจะเห็นรายการบล็อกที่คุณติดตาม
พร้อมข้อความตัวอย่างจากโพสต์ล่าสุดของบล็อกเหล่านั้น
 อื่นๆ: ดูเมนูเลื่อนลงข้างไอคอนรายการโพสต์สาหรับลิงค์ด่วนไปยัง:
o ภาพรวม
o โพสต์
o หน้าเว็บ
o ความคิดเห็น
o สถิติ
o รายได้
o การออกแบบ
o เทมเพลต
o การตั้งค่า
2.3.4 เขียนโพสต์ของคุณเมื่อคุณ ลงชื่อเข้าใช้บล็อกเกอร์แล้ว คุณจะเห็นแดชบอร์ดพร้อมด้วยรายชื่อ
บล็อก ต่อไปนี้คือสิ่งที่คุณต้องทา
1. คลิกที่ไอคอนรูปดินสอสีส้มเพื่อเขียนโพสต์ใหม่ และป้อนอะไรก็ได้ที่ต้องการแบ่งปันกับคนทั้งโลก
2. ถัดไป คุณจะเห็นหน้าเว็บของเครื่องมือแก้ไขโพสต์ เริ่มต้นด้วยการตั้งชื่อโพสต์ (ไม่จาเป็น) จากนั้น
ป้อนเนื้อหาโพสต์
3. เมื่อดาเนินการเสร็จแล้ว ให้คลิกปุ่ม ดูตัวอย่าง ที่ด้านบนเพื่อตรวจสอบให้มั่นใจว่าพร้อมที่จะ
ดาเนินการ จากนั้นคลิกที่ปุ่ม เผยแพร่ เพื่อเผยแพร่โพสต์
รูปที่ 6 เขียนโพสต์ของคุณเมื่อคุณ
บทที่ 3
อุปกรณ์และวิธีการดาเนินการ
การจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ เว็บไซต์ ศูนย์อนุรักษ์พันธุ์เต่าทะเล คณะผู้จัดทาโครงงานมีวิธี
ดาเนินงานโครงงาน ตามขั้นตอนดังต่อไปนี้
3.1 ขั้นตอนการดาเนินการ
1. คิดหัวข้อโครงงานเพื่อนาเสนออาจารย์ที่ปรึกษา
2. ศึกษาค้นคว้ารวบรวมข้อมูล ที่เกี่ยวข้องกับโครงงานในการสร้างเว็บไซต์และการตกแต่งเว็ปไซต์ให้
น่าสนใจ
3. ศึกษาวิธีการสร้างบล็อกเกอร์
4. จัดทาโครงร่างโครงงานเสนออาจารย์ที่ปรึกษา
5. ออกแบบบล็อก
6. จัดทาโครงงานสร้างบล็อก ศูนย์อนุรักษ์พันธุ์เต่าทะเล
7. เผยแพร่ผลงานผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
8. ทาเอกสารสรุปรายงานโครงงาน
3.2 วิธีการเก็บรวมรวบข้อมูล
1. ศึกษา เรื่อง ความรู้ทั่วไปของเต่าทะเล
2. ศึกษา เรื่อง วิธีการสร้างบล็อกเกอร์
3. ศึกษา เรื่อง การทางานของตัวโปรแกรมต่าง ๆ ได้แก่
3.1 Microsoft Office Word 2013
3.2 Microsoft Office PowerPoint 2013
3.3 Adobe Photoshop CS5
3.4 Adobe Premiere CS6
3.3 วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนาโครงงาน
1. เครื่องคอมพิวเตอร์พร้องเชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
2. ซอฟต์แวร์
- Microsoft Office Word 2013
- Microsoft Office PowerPoint 2013
- Adobe Premiere CS6
บทที่ 4
ผลการดาเนินงาน
การจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา สร้างเว็ปไซต์ ศูนย์อนุรักษ์พันธุ์เต่าทะเล
เนื้อหาเกี่ยวกับเต่าทะเล มีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับเต่าทะเล ซึ่งมีผลการดาเนินงานโครงงาน
ดังนี้
4.1 ผลการพัฒนาโครงงาน
การพัฒนาโครงงานสร้างเว็ปไซต์ ศูนย์อนุรักษ์พันธุ์เต่าทะเล เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับความรู้ทั่วไป
ของเต่าทะเลและการอนุรักษ์เต่าทะเล คณะผู้จัดทาได้ดาเนินตามขั้นตอนการดาเนินงานที่ได้วางแผนไว้ และได้
นาเสนอเผยแพร่ผลงานผ่านทางเครือข่ายระบบอินเทอร์เน็ต ที่สามารถเข้าถึงได้ทุกเวลาและทุกสถานที่ เป็น
แหล่งเรียนรู้ในโลกออนไลน์และรวดเร็วในการรับข้อมูล
4.2 ตัวอย่างผลงาน
บทที่ 5
สรุปผลการดาเนินงาน / ข้อเสนอแนะ
การจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ เว็บไซต์ ศูนย์อนุรักษ์พันธุ์เต่าทะเล สามารถสรุปผลการดาเนินงาน
โครงงานและข้อเสนอแนะ ดังนี้
5.1 การดาเนินงานจัดทาโครงงาน
5.1.1 วัตถุประสงค์ของโครงงาน
1. เพื่อให้ความรู้แก่ผู้สนใจเกี่ยวกับเต่าทะเล
5.1.2 วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนาโครงงาน
1. เครื่องคอมพิวเตอร์พร้องเชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
2. ซอฟต์แวร์
- Microsoft Office Word 2013
- Microsoft Office PowerPoint 2013
- Adobe Photoshop CS5
- Adobe Premiere CS6
5.2 สรุปผลการดาเนินงานโครงงาน
การดาเนินโครงงานนี้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ได้กาหนดไว้ คือ เพื่อให้ความรู้แก่ผู้สนใจเกี่ยวกับการ
อนุรักษ์พันธุ์เต่าทะเล เว็ปไซต์ ศูนย์อนุรักษ์พันธุ์เต่าทะเล เป็นเว็ปไซต์ที่จัดทาขึ้นเพื่อ เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับ
การอนุรักษ์พันธุ์เต่าทะเลนาเสนอผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ทาให้ผู้ที่สนใจสามารถเข้าถึงได้อย่าง
รวดเร็วได้รับความรู้ ความเข้าใจ เล็งเห็นความสาคัญของเต่าทะเลที่จะสูญพันธุ์ไปในที่สุด เว็ปไซต์ ศูนย์ออนุ
รักษ์พันธุ์เต่าทะเล จึงเป็นเว็ปไซต์ที่มีประโยชน์ และเป็นการนาเทคโนโลยีและซอฟต์แวร์มาพัฒนาประยุกต์ใช้
ได้อย่างมีคุณค่าและเกิดประโยชน์
5.3 ข้อเสนอแนะ
1. ควรมีการจัดทาเนื้อหาของโครงงานให้หลากหลายครบเนื้อหาในมุมลึกกว่านี้
2. ควรมีการจัดทาแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
บรรณานุกรม
คู่มือการสร้างบล็อกเกอร์ สืบค้นเมื่อ วันที่ 30 มกราคม 2558 จากเว็บไซต์:
https://support.google.com/blogger/answer/1623800?hl=th#createblog
ข้อมูลศูนย์อนุรักษ์พันธุ์เต่าทะเล สืบค้นเมื่อวันที่ 30 มกราคม 2558 จากเว็ปไซต์:
http://www.turtles.navy.mi.th/

More Related Content

What's hot

ประกาศสหวิทยาเขตสมเด็จ
ประกาศสหวิทยาเขตสมเด็จประกาศสหวิทยาเขตสมเด็จ
ประกาศสหวิทยาเขตสมเด็จsomdetpittayakom school
 
คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการศูนย์
คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการศูนย์คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการศูนย์
คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการศูนย์teacherhistory
 
รายงานผลการเข้าประชุมปฏิบัติการออกกลางคัน
รายงานผลการเข้าประชุมปฏิบัติการออกกลางคันรายงานผลการเข้าประชุมปฏิบัติการออกกลางคัน
รายงานผลการเข้าประชุมปฏิบัติการออกกลางคันWorrachet Boonyong
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Jom-Jam HulaHula
 
งานคอมมม
งานคอมมมงานคอมมม
งานคอมมมSilver Bullet
 
งานส่ง
งานส่งงานส่ง
งานส่งtimzaa456
 
2ปรับปฏิทินวิชาการภาค1 ปี 56 4 เม.ย.56
2ปรับปฏิทินวิชาการภาค1 ปี 56 4 เม.ย.562ปรับปฏิทินวิชาการภาค1 ปี 56 4 เม.ย.56
2ปรับปฏิทินวิชาการภาค1 ปี 56 4 เม.ย.56krupornpana55
 
ข้าวผัดกะเพรา
ข้าวผัดกะเพราข้าวผัดกะเพรา
ข้าวผัดกะเพราSilver Bullet
 
กรรมการคอมพิวเตอร์
กรรมการคอมพิวเตอร์กรรมการคอมพิวเตอร์
กรรมการคอมพิวเตอร์somchat
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ Brookside Valley Rayong
โครงงานคอมพิวเตอร์ Brookside Valley Rayongโครงงานคอมพิวเตอร์ Brookside Valley Rayong
โครงงานคอมพิวเตอร์ Brookside Valley Rayongploynun
 
16คำสั่งบริหารงานวิชาการ1 56
16คำสั่งบริหารงานวิชาการ1 5616คำสั่งบริหารงานวิชาการ1 56
16คำสั่งบริหารงานวิชาการ1 56krupornpana55
 
เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการดําเนินงานจัดการแข่งขันและคัดเลือกตัวแทนนักเรียนระดับ...
เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการดําเนินงานจัดการแข่งขันและคัดเลือกตัวแทนนักเรียนระดับ...เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการดําเนินงานจัดการแข่งขันและคัดเลือกตัวแทนนักเรียนระดับ...
เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการดําเนินงานจัดการแข่งขันและคัดเลือกตัวแทนนักเรียนระดับ...waranyuati
 
มิสเขม6
มิสเขม6มิสเขม6
มิสเขม6nutty_npk
 
FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)FURD_RSU
 
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพิวเตอร์Kanoksak Kangwanwong
 

What's hot (18)

ประกาศสหวิทยาเขตสมเด็จ
ประกาศสหวิทยาเขตสมเด็จประกาศสหวิทยาเขตสมเด็จ
ประกาศสหวิทยาเขตสมเด็จ
 
คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการศูนย์
คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการศูนย์คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการศูนย์
คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการศูนย์
 
รายงานผลการเข้าประชุมปฏิบัติการออกกลางคัน
รายงานผลการเข้าประชุมปฏิบัติการออกกลางคันรายงานผลการเข้าประชุมปฏิบัติการออกกลางคัน
รายงานผลการเข้าประชุมปฏิบัติการออกกลางคัน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
งานคอมมม
งานคอมมมงานคอมมม
งานคอมมม
 
งานส่ง
งานส่งงานส่ง
งานส่ง
 
2ปรับปฏิทินวิชาการภาค1 ปี 56 4 เม.ย.56
2ปรับปฏิทินวิชาการภาค1 ปี 56 4 เม.ย.562ปรับปฏิทินวิชาการภาค1 ปี 56 4 เม.ย.56
2ปรับปฏิทินวิชาการภาค1 ปี 56 4 เม.ย.56
 
ข้าวผัดกะเพรา
ข้าวผัดกะเพราข้าวผัดกะเพรา
ข้าวผัดกะเพรา
 
กรรมการคอมพิวเตอร์
กรรมการคอมพิวเตอร์กรรมการคอมพิวเตอร์
กรรมการคอมพิวเตอร์
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ Brookside Valley Rayong
โครงงานคอมพิวเตอร์ Brookside Valley Rayongโครงงานคอมพิวเตอร์ Brookside Valley Rayong
โครงงานคอมพิวเตอร์ Brookside Valley Rayong
 
16คำสั่งบริหารงานวิชาการ1 56
16คำสั่งบริหารงานวิชาการ1 5616คำสั่งบริหารงานวิชาการ1 56
16คำสั่งบริหารงานวิชาการ1 56
 
รายงานคอม
รายงานคอมรายงานคอม
รายงานคอม
 
เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการดําเนินงานจัดการแข่งขันและคัดเลือกตัวแทนนักเรียนระดับ...
เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการดําเนินงานจัดการแข่งขันและคัดเลือกตัวแทนนักเรียนระดับ...เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการดําเนินงานจัดการแข่งขันและคัดเลือกตัวแทนนักเรียนระดับ...
เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการดําเนินงานจัดการแข่งขันและคัดเลือกตัวแทนนักเรียนระดับ...
 
มิสเขม6
มิสเขม6มิสเขม6
มิสเขม6
 
FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)
 
10/2559
10/255910/2559
10/2559
 
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพิวเตอร์
 

Viewers also liked

อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์Khemjira_P
 
ผลกระทบต่อการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางด้านบวก
ผลกระทบต่อการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางด้านบวกผลกระทบต่อการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางด้านบวก
ผลกระทบต่อการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางด้านบวกKhemjira_P
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4gybrathtikan
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ gybrathtikan
 
สรุปการปฏิบัติกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
สรุปการปฏิบัติกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์สรุปการปฏิบัติกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
สรุปการปฏิบัติกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์Khemjira_P
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์Punsorn Fongsiri
 
บริการต่าง ๆ บนเครือข่ายบนอินเทอร์เน็ต
บริการต่าง ๆ บนเครือข่ายบนอินเทอร์เน็ตบริการต่าง ๆ บนเครือข่ายบนอินเทอร์เน็ต
บริการต่าง ๆ บนเครือข่ายบนอินเทอร์เน็ตKhemjira_P
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์Punsorn Fongsiri
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์WinNie Sjr
 
ตารางแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มิสเขมจิรา ปลงไสว_-_2-59
ตารางแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มิสเขมจิรา ปลงไสว_-_2-59ตารางแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มิสเขมจิรา ปลงไสว_-_2-59
ตารางแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มิสเขมจิรา ปลงไสว_-_2-59Khemjira_P
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สมัยใหม่
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สมัยใหม่เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สมัยใหม่
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สมัยใหม่jiratchaya sakornphanich
 
โปรแกรม Microsoft visual basic
โปรแกรม Microsoft visual basicโปรแกรม Microsoft visual basic
โปรแกรม Microsoft visual basicWisawachitComputerWork
 
อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์jiratchaya sakornphanich
 
อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์1
อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์1อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์1
อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์1jiratchaya sakornphanich
 
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูลอุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูลjiratchaya sakornphanich
 
ผังงาน
ผังงานผังงาน
ผังงานkhemji plong
 
ตัวอย่าง โครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่าง  โครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่าง  โครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่าง โครงงานคอมพิวเตอร์Fearn_clash
 

Viewers also liked (20)

อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
 
Com (1)
Com (1)Com (1)
Com (1)
 
Slide it
Slide itSlide it
Slide it
 
ผลกระทบต่อการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางด้านบวก
ผลกระทบต่อการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางด้านบวกผลกระทบต่อการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางด้านบวก
ผลกระทบต่อการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางด้านบวก
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Flow chart
Flow chartFlow chart
Flow chart
 
สรุปการปฏิบัติกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
สรุปการปฏิบัติกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์สรุปการปฏิบัติกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
สรุปการปฏิบัติกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
 
บริการต่าง ๆ บนเครือข่ายบนอินเทอร์เน็ต
บริการต่าง ๆ บนเครือข่ายบนอินเทอร์เน็ตบริการต่าง ๆ บนเครือข่ายบนอินเทอร์เน็ต
บริการต่าง ๆ บนเครือข่ายบนอินเทอร์เน็ต
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
 
ตารางแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มิสเขมจิรา ปลงไสว_-_2-59
ตารางแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มิสเขมจิรา ปลงไสว_-_2-59ตารางแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มิสเขมจิรา ปลงไสว_-_2-59
ตารางแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มิสเขมจิรา ปลงไสว_-_2-59
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สมัยใหม่
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สมัยใหม่เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สมัยใหม่
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สมัยใหม่
 
โปรแกรม Microsoft visual basic
โปรแกรม Microsoft visual basicโปรแกรม Microsoft visual basic
โปรแกรม Microsoft visual basic
 
อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์1
อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์1อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์1
อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์1
 
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูลอุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
 
ผังงาน
ผังงานผังงาน
ผังงาน
 
ตัวอย่าง โครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่าง  โครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่าง  โครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่าง โครงงานคอมพิวเตอร์
 

Similar to โครงงานคอมพิวเตอร์ 1

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Punyawee Keng
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เกาะแสมสาร
โครงงานคอมพิวเตอร์ เกาะแสมสารโครงงานคอมพิวเตอร์ เกาะแสมสาร
โครงงานคอมพิวเตอร์ เกาะแสมสารIzezjk
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ brookside valley rayong
โครงงานคอมพิวเตอร์ brookside valley rayongโครงงานคอมพิวเตอร์ brookside valley rayong
โครงงานคอมพิวเตอร์ brookside valley rayongploynun
 
Brookside Valley Rayong
Brookside Valley RayongBrookside Valley Rayong
Brookside Valley Rayongploynun
 
โครงงานกอท
โครงงานกอทโครงงานกอท
โครงงานกอทManaf Joraka
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เขาแหลมหญ้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เขาแหลมหญ้าโครงงานคอมพิวเตอร์ เขาแหลมหญ้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เขาแหลมหญ้าGuy Nuttanon
 
โครงงานถั่วกวนอบควันเทียน1 1
โครงงานถั่วกวนอบควันเทียน1 1โครงงานถั่วกวนอบควันเทียน1 1
โครงงานถั่วกวนอบควันเทียน1 1Tewit Chotchang
 
Dooshell
DooshellDooshell
DooshellTaiXing
 
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบเหินฟ้า
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบเหินฟ้าโครงงานเรื่อง กล้วยฉาบเหินฟ้า
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบเหินฟ้าSahassawat Kitcharoen
 
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้าKruthai Kidsdee
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2552
Postharvest Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2552Postharvest Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2552
Postharvest Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2552Postharvest Technology Innovation Center
 
โครงงานกอท
โครงงานกอทโครงงานกอท
โครงงานกอทManaf Joraka
 
รูปเล่มโครงงาน สวนสัตว์เปิดเขาเขียว
รูปเล่มโครงงาน สวนสัตว์เปิดเขาเขียวรูปเล่มโครงงาน สวนสัตว์เปิดเขาเขียว
รูปเล่มโครงงาน สวนสัตว์เปิดเขาเขียวjakp191240
 
072อริยสัจจสี่ม.๕
072อริยสัจจสี่ม.๕072อริยสัจจสี่ม.๕
072อริยสัจจสี่ม.๕niralai
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ร้านอาหาร1
โครงงานคอมพิวเตอร์ร้านอาหาร1โครงงานคอมพิวเตอร์ร้านอาหาร1
โครงงานคอมพิวเตอร์ร้านอาหาร1Namtarnniiz Psn
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้thanapisit marakul na ayudhya
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6supakarn
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6supakarn
 

Similar to โครงงานคอมพิวเตอร์ 1 (20)

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
คอมจ้ะ
คอมจ้ะคอมจ้ะ
คอมจ้ะ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เกาะแสมสาร
โครงงานคอมพิวเตอร์ เกาะแสมสารโครงงานคอมพิวเตอร์ เกาะแสมสาร
โครงงานคอมพิวเตอร์ เกาะแสมสาร
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ brookside valley rayong
โครงงานคอมพิวเตอร์ brookside valley rayongโครงงานคอมพิวเตอร์ brookside valley rayong
โครงงานคอมพิวเตอร์ brookside valley rayong
 
Brookside Valley Rayong
Brookside Valley RayongBrookside Valley Rayong
Brookside Valley Rayong
 
โครงงานกอท
โครงงานกอทโครงงานกอท
โครงงานกอท
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เขาแหลมหญ้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เขาแหลมหญ้าโครงงานคอมพิวเตอร์ เขาแหลมหญ้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เขาแหลมหญ้า
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
โครงงานถั่วกวนอบควันเทียน1 1
โครงงานถั่วกวนอบควันเทียน1 1โครงงานถั่วกวนอบควันเทียน1 1
โครงงานถั่วกวนอบควันเทียน1 1
 
Dooshell
DooshellDooshell
Dooshell
 
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบเหินฟ้า
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบเหินฟ้าโครงงานเรื่อง กล้วยฉาบเหินฟ้า
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบเหินฟ้า
 
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2552
Postharvest Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2552Postharvest Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2552
Postharvest Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2552
 
โครงงานกอท
โครงงานกอทโครงงานกอท
โครงงานกอท
 
รูปเล่มโครงงาน สวนสัตว์เปิดเขาเขียว
รูปเล่มโครงงาน สวนสัตว์เปิดเขาเขียวรูปเล่มโครงงาน สวนสัตว์เปิดเขาเขียว
รูปเล่มโครงงาน สวนสัตว์เปิดเขาเขียว
 
072อริยสัจจสี่ม.๕
072อริยสัจจสี่ม.๕072อริยสัจจสี่ม.๕
072อริยสัจจสี่ม.๕
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ร้านอาหาร1
โครงงานคอมพิวเตอร์ร้านอาหาร1โครงงานคอมพิวเตอร์ร้านอาหาร1
โครงงานคอมพิวเตอร์ร้านอาหาร1
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6
 

โครงงานคอมพิวเตอร์ 1

  • 1. โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง การท่องเที่ยว ศูนย์อนุรักษ์พันธุ์เต่าทะเล โดย 1.นายคมวัฏ โชติพิพัฒน์วงศ์ เลขที่ 1 2.นายวิธูสิริ รอดสมบูรณ์ เลขที่ 4 3.นายภัทรพล ภัทรทิพากร เลขที่ 6 4.นายปุณยวีร์ จึงเจริญพูน เลขที่ 9 5.นายสิรวิชญ์ ปิยะอัศวจินดา เลขที่ 19 6.นายปภาวินท์ ตุลยสิทธิกุล เลขที่ 20 7.นายสิปปภาส โยมา เลขที่ 21 8.นายพงศกร รอดกระจับ เลขที่ 23 9.นายชัยวัฒน์ สิริวิวัฒน์มงคล เลขที่ 24 10.นายอภิเษก หริตวร เลขที่ 28 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1 รายงานฉบับนี้เป็นส่วนประกอบของโครงงานคอมพิวเตอร์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนอัสสัมชัญระยอง
  • 2. โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง การท่องเที่ยว ศูนย์อนุรักษ์พันธุ์เต่าทะเล โดย 1.นายคมวัฏ โชติพิพัฒน์วงศ์ เลขที่ 1 2.นายวิธูสิริ รอดสมบูรณ์ เลขที่ 4 3.นายภัทรพล ภัทรทิพากร เลขที่ 6 4.นายปุณยวีร์ จึงเจริญพูน เลขที่ 9 5.นายสิรวิชญ์ ปิยะอัศวจินดา เลขที่ 19 6.นายปภาวินท์ ตุลยสิทธิกุล เลขที่ 20 7.นายสิปปภาส โยมา เลขที่ 21 8.นายพงศกร รอดกระจับ เลขที่ 23 9.นายชัยวัฒน์ สิริวิวัฒน์มงคล เลขที่ 24 10.นายอภิเษก หริตวร เลขที่ 28 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1 รายงานฉบับนี้เป็นส่วนประกอบของโครงงานคอมพิวเตอร์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนอัสสัมชัญระยอง ครูที่ปรึกษา มิสเขมจิรา ปลงไสว
  • 3. โครงงาน เรื่อง การท่องเที่ยว ศูนย์อนุรักษ์พันธุ์เต่าทะเล ประเภทของโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ผู้จัดทาโครงงาน 1.นายคมวัฏ โชติพิพัฒน์วงศ์ เลขที่ 1 2.นายวิธูสิริ รอดสมบูรณ์ เลขที่ 4 3.นายภัทรพล ภัทรทิพากร เลขที่ 6 4.นายปุณยวีร์ จึงเจริญพูน เลขที่ 9 5.นายสิรวิชญ์ ปิยะอัศวจินดา เลขที่ 19 6.นายปภาวินท์ ตุลยสิทธิกุล เลขที่ 20 7.นายสิปปภาส โยมา เลขที่ 21 8.นายพงศกร รอดกระจับ เลขที่ 23 9.นายชัยวัฒน์ สิริวิวัฒน์มงคล เลขที่ 24 10.นายอภิเษก หริตวร เลขที่ 28 ปีการศึกษา 2557 บทคัดย่อ การจัดทาโครงงานในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ความรู้แก่ผู้ที่สนใจเกี่ยวกับการอนุรักษ์เต่าทะเล หรือ ต้องการศึกษาพันธุ์ของเต่าทะเล โดยสร้างเว็บไซต์ในการเผยแพร่นาเสนอให้ความรู้ ผลการจัดทาโครงงานพบว่า การพัฒนาโครงงานสร้างบล็อก ศูนย์อนุรักษ์พันธุ์เต่าทะเล เพื่อเผยแพร่ สถานที่ท่องเที่ยวที่ได้ทั้งความรู้และความเพลิดเพลิน คณะผู้จัดทาได้ดาเนินงานตามขั้นตอนการดาเนินงานที่ได้ วางแผนไว้ และได้นาเสนอเผยแพร่ผลงานผ่านเครือข่ายระบบอินเทอร์เน็ต ที่สามารถเข้าถึงได้ทุกเวลา และทุก สถานที่ เป็นแหล่งเรียนรู้ในโลกออนไลน์และมีความรวดเร็วในการรับข้อมูลบุคคลทั่วไปสามารถเข้ารับชมได้ เป็นเว็บไซต์ที่มีประโยชน์
  • 4. กิตติกรรมประกาศ โครงงานเรื่องนี้ประกอบด้วยการดาเนินงานหลายขั้นตอน นับตั้งแต่การศึกษาหาข้อมูลการทดลอง การวิเคราะห์ผลการทดลอง การจัดทาโครงงานเป็นรูปเล่ม จนกระทั่งโครงงานนี้สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ตลอด ระยะเวลาดังกล่าวคณะผู้จัดทาโครงงานได้รับความช่วยเหลือและคาแนะนาในด้านต่างๆ ตลอดจนได้รับ กาลังใจจากบุคคลหลายท่าน คณะผู้จัดทาตระหนักและซาบซึ้งในความกรุณาจากทุกๆท่านเป็นอย่างยิ่ง ณ โอกาสนี้ ขอขอบคุณทุกๆ ท่าน ดังนี้ กราบขอบพระคุณ มิสเขมจิรา ปลงไสว ครูที่ปรึกษา และคณะครูกลุ่มสาระการงานอาชีพและ เทคโนโลยี โรงเรียนอัสสัมชัญระยอง ทุกท่านผู้ให้คาแนะนาและได้เมตตาให้ความช่วยในทุกๆ ด้าน ตลอดจนให้ ความคิด ที่ทาให้โครงงานนี้ได้เกิดขึ้น ขอบใจเพื่อนนักเรียนทุกคนที่ได้เป็นกาลังใจสาคัญให้โครงงานนี้สาเร็จลุล่วงทุกประการ ท้ายที่สุด ขอกราบขอบพระคุณ คุณพ่อและคุณแม่ ผู้เป็นที่รัก ผู้ให้กาลังใจและให้โอกาสการศึกษา อันมีค่ายิ่ง คณะผู้จัดทำ
  • 5. สารบัญ หน้า บทคัดย่อ……………………………………………………….…………………………………………………………………. ข กิตติกรรมประกาศ……………………………………………………….……………………………………………………. ค สารบัญ……………………………………………………….……………………………………………………………………. ง สารบัญภาพ……………………………………………………….……………………………………………………………… จ บทที่ 1. บทนา……………………………………………………….…………………………………………………………. 1 ที่มาและคามสาคัญของโครงงาน…………………………………………………………………………….. 1 วัตถุประสงค์……………………………………………………….………………………………………………… 1 ขอบเขตของโครงงาน……………………………………………………….……………………………………. 1 ผลที่คาดว่าจะได้รับ……………………………………………………….………………………………………. 1 2. เอกสารที่เกี่ยวข้อง……………………………………………………….………………………………………… 2 ความรู้ทั่วไปของเต่าทะเล……………………………………………………….………………………………. 2 ชีววิทยาของเต่าทะเล…………………………………………………………………………………………….. 6 วิธีการสร้างบล็อกเกอร์…………………………………………………………………………………………… 8 3. อุปกรณ์และวิธีดาเนินงาน………………………………………………………………………………………. 10 ขั้นตอนการดาเนินการ…………………………………………………………………………………………… 10 วิธีการเก็บรวมรวบข้อมูล……………………………………………………………………………………….. 10 วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนาโครงงาน………………………………… 10 4. ผลการดาเนินงาน……………………………………………………….…………………………………………. 11 5. สรุปผลการดาเนินงาน………………………………………………………………………………………….. 12 ขั้นตอนการดาเนินการ……………………………………………………….………………………………….. 12 วิธีการเก็บรวมรวบข้อมูล……………………………………………………………………………………….. 12 วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนาโครงงาน………………………………... 12 บรรณานุกรม……………………………………………………….………………………………………………. .13
  • 6. สารบัญภาพ หน้า รูปที่ 1 การวางไข่ของเต่าทะเล……………………………………………………….…………………………………………… 2 รูปที่ 2 วงจรชีวิตของเต่าทะเล……………………………………………………….……………………………………………. 3 รูปที่ 3 การสืบทอดพันธุ์ของเต่าทะเล……………………………………………………….…………………………………. 4 รูปที่ 4 แหล่งอาศัยของเต่าทะเล……………………………………………………….………………………………………… 5 รูปที่ 5 จานวนไข่ของเต่าทะเล……………………………………………………….…………………………………………… 7 รูปที่ 6 เขียนโพสต์ของคุณเมื่อคุณ……………………………………………………….……………………………………… 9
  • 7. บทที่ 1 บทนา ที่มาและคามสาคัญของโครงงาน ในปัจจุบันผู้คนต่างๆมักจะหาเวลา เช่น ช่วงวันหยุด เป็นต้น ไปเที่ยวกับครอบครัวหรือเพื่อนฝูง มี จุดประสงค์คือเพื่อผ่อนคลายจากความเหนื่อยในการทางานและเพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกันในครอบครัว ทางคณะผู้จัดทาจึงเล็งเห็นความสาคัญของจุดประสงค์ต่างๆนี้ จึงได้จัดทาเว็บบล็อกขึ้นมา เพื่อใช้เป็นตัวเลือก ในการเลือกสถานที่ท่องเที่ยว ปัจจุบันสถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทยมีเพิ่มขึ้นมามากมายหลายแห่ง แต่ ส่วนมากจะเน้นหนักไปทางทาให้เกิดความเพลิดเพลินเพียงอย่างเดียว แต่มีสถานที่ท่องเที่ยวไม่มากนักที่จะได้ ประโยชน์มากมายทั้งความรู้และความเพลิดเพลินด้วย ผู้จัดทาหวังว่าทางผู้ใช้จะได้รับประโยชน์จากเว็บบล็อก ที่อานวยความสะดวกของเราเว็บนี้ไม่มากก็น้อย วัตถุประสงค์ 1. เพื่อ 2. เพื่อแนะนาสถานที่ท่องเที่ยวที่ได้ทั้งความสนุกและความรู้ควบคู่กัน ขอบเขตของโครงงาน สร้างเว็ปไซต์เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับเต่าทะเล โดยจัดทาในบล็อกเกอร์ ในการสร้างเว็ปไซต์ และใช้ โปรแกรม Microsoft Office Word 2013 , Adobe Photoshop CS5 ในการตกแต่งและจัดเรียงเว็ปไซต์ให้ สวยงามน่าสนใจ ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ผู้สนใจมีความเข้าใจและให้ความสาคัญเกี่ยวกับเต่าทะเล 2. ได้รับความรู้เกี่ยวกับการสร้างบล็อกเกอร์ 3. ได้นาเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ได้อย่างมีคุณค่าและเกิดประโยชน์
  • 8. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง ในการจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา เว็บไซต์ ศูนย์อนุรักษ์พันธุ์เต่าทะเล ให้ ความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน คณะผู้จัดทาได้ศึกษาข้อมูล เอกสารที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ 2.1 ความรู้ทั่วไปของเต่าทะเล 2.2 ชีววิทยาของเต่าทะเล 2.3 วิธีการสร้างบล็อกเกอร์ 2.1 ความรู้ทั่วไปของเต่าทะเล 2.1.1 การวางไข่ของเต่าทะเล ระยะเวลาในการฟักตัว โดยทั่วไปเต่าทะเลจะฟักตัวประมาณ 2 สัปดาห์ หลังจากการวางไข่ของแม่เต่าทะเล แต่จากการศึกษาพอที่จะสรุปได้ คือ เต่ากระจะใช้เวลาในในการ ฟักตัวเร็วกว่าเต่าชนิดอื่น คือประมาณ 45-53 วัน เต่าตนุจะใช้เวลาในการฟักเป็นตัว ประมาณ 47-58 วัน เต่า หญ้าจะใช้เวลาในการฟักเป็นตัวประมาณ 60 วัน เต่ามะเฟือง ใช้เวลาในการฟักเป็นตัว ประมาณ 58-65 วัน รูปที่ 1 การวางไข่ของเต่าทะเล หลังจากที่ลูกเต่าทะเลฟักออกจากไข่จะยังไม่ออกจากหลุมทันที จนกว่า 2-3 วันผ่านไป ลูกเต่าทะเล จึงจะหันหัวขึ้นในลักษณะเตรียมโผล่พ้นพื้นทราย ตัวใดไม่สามารถโผล่พ้นทรายได้ก็จะตาย และโดยสัญชาติ ญาณเมื่อลูกเต่าโผล่พ้นทรายมาก็จะลงสู่ทะเลทันที ซึ่งเป็นในช่วงเวลากลางคืน จากการศึกษาลูกเต่าวัยอ่อน อายุประมาณ 2-4 สัปดาห์ พบว่าเมื่อทาการปล่อยลูกเต่าแล้ว ลูกเต่าจะเริ่มว่ายน้าแข่งกันออกสู่ทะเลลึก แต่มี บางตัวที่ว่ายหลบซ่อนอยู่ตามโขดหินและหมู่ปะการัง และจาการศึกษายังพบอีกว่าลูกเต่าตนุที่มีอายุ ประมาณ
  • 9. 3 เดือนขึ้นไป ลูกเต่าจะมีกระดองที่แข็งและว่ายน้าได้ว่องไว จะมีขนาดความยาวประมาณ 4-5 นิ้ว ซึ่งเป็น ระยะที่ปลอดภัยจาการเป็นอาหารของปลาและนก นอกจากนี้เรื่องเต่าทะเลที่น่าสนใจอีกเรื่องหนึ่งก็คือ ลูกเต่า ทะเลที่มีขนาดเล็กกว่า 1 กก. จะไม่พบเห็นอยู่ตามธรรมชาติ 2.1.2 วงจรชีวิตของเต่าทะเล เต่าทะเลเป็นสัตว์เลื้อยคลานที่มีเลือดเย็น(อุณหภูมิเปลี่ยนแปลงตาม อุณหภูมิแวดล้อม) อาศัยอยู่ในน้า มีกระดูกสันหลัง หายใจด้วยปอดและมีหัวใจสามห้องเหมือนสัตว์เลื้อยคลาน ทั่วไป เนื่องจากปรับตัวมาอาศัยอยู่ในน้า ต้องดื่มกินน้าทะเลตลอดเวลาจึงมีระบบขับถ่ายที่ดีมากที่จะสกัด เกลือแร่ออกจากร่างกาย เพื่อรักษาความสมดุลของของเหลวในร่างกาย โดยที่เกลือแร่ส่วนเกินถูกสกัดโดยการ ทางานของไต และถูกลาเลียงออกจากร่างกายทางต่อมน้าตา ซึ่งอยู่หลังลูกตาทั้งสองข้าง ในขณะที่เต่าทะเล ขึ้นมาอยู่บนบกจะเห็นน้าเมือกไหลออกทางตาตลอดเวลา แต่เดิมเข้าใจว่าเต่าทะเลร้องไห้เวลาขึ้นวางไข่แท้ที่ จริงเป็นการขับเกลือแร่ส่วนเกินออกจากร่างกาย ซึ่งขบวนการนี้จะเกิดตลอดเวลา แม้เมื่อเต่าทะเลจะอยู่ใน น้า เต่าทะเลเป็นสัตว์ที่มีการเดินทางไปแหล่งอาศัยหรือแหล่งอาหารที่ไกลมาก โดยแหล่งอาศัยหรือแหล่ง อาหารแต่ละแห่งจะมีประชากรเต่าทะเลหลายกลุ่มอาศัยอยู่ด้วยกัน Limpus et al.(1992) ได้ทาการติด เครื่องหมายเต่าตนุและเต่าหัวฆ้อนที่ขึ้นวางไข่ที่ Queenland Australia และจากการติดตามผล พบว่าเต่า ทะเลเหล่านี้เดินทางไปหาอาหารถึงประเทศอินโดนีเซีย ปาปัวนิวกินี และโซโลมอน เต่าทะเลทั่วไปใช้เวลา ๑๐ ปี หรืออาจมากกว่า ๒๐ ปี ในการเจริญเติบโตพอที่จะแพร่พันธุ์ได้ ความแตกต่างขึ้นอยู่กับชนิดและความ สมบูรณ์ของเต่าทะเล แต่ละตัว รูปที่ 2 วงจรชีวิตของเต่าทะเล
  • 10. 2.1.3 การสืบทอดพันธุ์ของเต่าทะเล ในแต่ละปีจะมีเต่าทะเลที่อยู่ในวัยเจริญพันธุ์ผสมพันธุ์ตาม บริเวณต่าง ๆ ในมหาสมุทร หลังจากนั้นเต่าทะเลตัวเมียจะขึ้นหาดขุดทรายวางไข่ โดยเป็นที่น่าสังเกตว่า เต่า ทะเลทุกชนิดขึ้นมาวางไขเฉพาะเวลากลางคืน ยกเว้น Kemp's ridley เพียงชนิดเดียวที่ขึ้นมาวางไข่ตอน กลางวัน และส่วนใหญ่จะขึ้นมาวางไข่บนหาดที่ถือกาเนิด เต่าทะเลตัวเมียเมื่อขึ้นจากน้าก็จะคลานขึ้นมาบน หาดเพื่อหาจุดที่เหมาะสมในการวางไข่ แต่ถ้าพบว่า หาดนั้นมีแสงสว่างและเสียงรบกวนจะคลานกลับลงน้าโดย ไม่วางไข่ เมื่อพบจุดที่ต้องการก็จะใช้พายคู่หลังขุดหลุม จนมีลักษณะคล้ายหม้อสองหู การขุดก็จะทาอย่าง ระมัดระวังโดยใช้พายข้างหนึ่งโกยทรายแล้วดีดออก เมื่อทรายที่ขุดมากขึ้นก็จะใช้พายอีกข้างช่วยโกยออก ต่อจากนั้นก็จะวางไข่ ซึ่งมีลักษณะนิ่มคลุ่ม โดยเต่าแต่ละตัวสามารถที่จะขึ้นมาวางไขได้สองหรือสามครั้ง ขณะที่วางไข่ จะสังเกตเห็นว่ามีของเหลวไหลออกมาจากตา ทั้งนี้เพื่อรักษาระดับความชื่นและป้องกันทรายเข้า ตา ไข่เต่าแต่ละฟองจะมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 4 ถึง 7 เซนติเมตร (1.5 - 2.5 นิ้ว) หลังจากไข่เสร็จ เรียบร้อยแล้วก็ กลบหลุมและทุบทรายให้แน่น แล้วพรางหลุมโดยการกวาดทราบข้างเคียงจนสังเกตตาแหน่งได้ยาก รูปที่ 3 การสืบทอดพันธุ์ของเต่าทะเล ในแต่ละฤดูกาล เต่าตัวเมียจะวางไข่ทุกช่วงสัปดาห์จนกว่าจะหมดท้อง ซึ่งบางตัวอาจจะมีถึง 1,000 ฟอง โดยใช้เวลาในการขึ้นมา วางไข่บนหาด 3-8 ครั้ง แล้วจะกลับมาวางไข่อีกครั้งหลังจากเวลาผ่านไป 2-4 ปี ดังนั้น จานวนรังในแต่ละปีจึงเปลี่ยนแปลงตลอด ด้วยสาเหตุที่ปริมาณการรอดตายของลูกเต่าทะเลน้อยมาก ดังนั้น ในการวางไข่แต่ละครั้งจึงมีจานวนมาก ถ้าหาดที่เต่าทะเลขึ้นมาวางไข่ มีพื้นที่น้อย โอกาสที่ไข่เต่าทะเล จะถูกทาลายโดยน้าท่วมหรือจากน้าฝนจะมีมาก อุณหภูมิภายในหลุมก็มีผลกระทบต่อการฟังตัว กล่าวคือ ถ้า อุณหภูมิอยู่ในระดับปรกติ โอกาสที่ลูกเต่าทะเลจะฟังจากไข่เป็นเพศเมียทั้งหมดมีมาก ในทานองเดียวกัน ถ้า อุณหภูมิภายในหลุม ต่ากว่าภายนอก ลูกเต่าทะเลที่ออกจากไข่ก็จะเป็นเพศผู้ทั้งสิ้น ไข่เต่าทะเลที่รอดจากน้า ท่วมและสัตว์อื่นกินเป็นอาหาร ก็จะฟักออกมาเป็นตัวภายใน 60 วันพร้อมกัน เมื่อลูกเต่าทะเลออกจากไข่ก็จะ คลานขึ้น ผิวทราย ก่อนจะถึงผิวหน้าทรายก็จะหยุดตรงจุดที่ลึกจากผิวประมาณ 5 เซนติเมตร เพื่อรอให้ อุณหภูมิภายนอกต่าจึงออกจากทราย ซึ่งส่วนใหญ่ ก็เป็นเวลากลางคืนจึงออกจากหลุมแล้วคลานลงทะเลอย่าง
  • 11. รวดเร็ว ช่วงคลานลงทะเลนี้จะเป็นช่วงเวลาที่อันตรายที่สุด ลูกเต่าทะเลทุกตัวจะหันหัวไป ยังเส้นขอบฟ้าใน ทะเลที่สว่างที่สุด ถ้ามีแสงบนหาดก็จะชักจูงให้คลานเข้าหาและในที่สุดก็จะตาย มีสัตว์หลายชนิดกินลูกเต่า ทะเลเป็นอาหาร เช่น ในช่วงที่คลานลงทะเลก็จะเกิดอันตรายจากนก สัตว์เลื้อยคลาน หรือสัตว์ผู้ล่าอื่นๆ รวมทั้งมนุษย์ เมื่อถึงน้าอาจจะถูกปลาฉลามกินเป็นอาหารได้ ในสัปดาห์แรก ลูกเต่าทะเลไม่สามารถที่จะดาน้าและใช้ชีวิตใต้ท้องทะเลได้เป็นเวลานาน และยังว่าย น้าไม่แข็งพอที่จะหลบหลีกจากผู้ล่าได้ การหลบหลีกศัตรูในช่วงนี้จึงใช้วิธีหลบอาศัยและดารงชีวิตตามสาหร่าย หรือพืชทะเลที่ล่องลอยในทะเลลึก ซึ่งใช้เวลาประมาณ 1 ปี ยังไม่มีผู้ใด รู้ว่าลูกเต่าทะเลใช้เวลาจนโตเต็มที่นาน เท่าใด แต่ได้มีการประมาณว่าอยู่ในช่วง 8 ถึง 50 ปี เวลาอันยาวนานนี้ ทาให้มีปัญหาในการอนุรักษ์เป็น อย่าง มาก จานวนลดลงที่เห็นได้อย่างชัดเจนนั้นเกิดจากมนุษย์และการติดอวนประมงเป็นส่วนใหญ่ 2.1.4 แหล่งอาศัยของเต่าทะเล ในอดีตเคยมีเต่าทะเลชุกชุมทั้งทางอ่าวไทย และทะเลอันดามัน บริเวณ ที่เคยพบเต่าทะเลขึ้นวางไข่ทางฝั่งอ่าวไทย ได้แก่ ชายหาดตามเกาะต่างๆ ของจังหวัดชลบุรี จังหวัดตราด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เกาะกระ จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดปัตตานี และจังหวัดนราธิวาส ส่วนทางฝั่งอัน ดามันพบเต่าทะเลขึ้นวางไข่บริเวณชายหาดฝั่งตะวันตกของจังหวัดภูเก็ต จังหวัดพังงา และหมู่เกาะใกล้เคียง นอกจากนี้พบบ้าง ที่จังหวัดตรัง และจังหวัดสตูล ปัจจุบันเต่าทะเลในพื้นที่อ่าวไทยเหลือน้อยมาก ชายหาดและเกาะที่ยังพบเป็นแหล่งวางไข่ตาม ธรรมชาติอย่างสม่าเสมอทุกปี เหลือเพียงเกาะบริเวณอ่าวสัตหีบ จังหวัดชลบุรี ซึ่งอยู่ในเขตรักษาความ ปลอดภัยของทหารเรือ ที่สาคัญได้แก่ เกาะคราม เกาะอีร้า และเกาะจาน เป็นต้น ส่วนทางพื้นที่ฝั่งทะเลอันดา มัน ยังคงปรากฏการขึ้นวางไข่ ที่หาดท้ายเหมือง จังหวัดพังงา บริเวณหาดในยาง จังหวัดภูเก็ต และหมู่เกาะ ต่างๆ ที่ยังอยู่ห่างไกลจากฝั่ง ได้แก่ หมู่เกาะสุรินทร์ หมู่เกาะสิมิลัน รูปที่ 4 แหล่งอาศัยของเต่าทะเล
  • 12. 2.2 ชีววิทยาของเต่าทะเล 2.2.1 อาหารของเต่าทะเล เต่าทะเลเป็นสัตว์ที่กินพืชและสัตว์เป็นอาหาร ส่วนเต่าตนุวัยอ่อนจะกิน พวกสัตว์เล็กๆ และเมื่อโตขึ้นจะกินพืชเพียงอย่างเดียว ส่วนเต่ากระที่จับมากทาการเลี้ยงไว้นั้นสามารถกินสัตว์ ได้ โดยธรรมชาติแล้วจะไม่พบสัตว์ในกระเพาะของมันตากตัวอย่างที่ได้พบเต่าติดอวนและตายลง เนื่องจากคอ หักเมื่อผ่าดูและตรวจดูที่บริเวณกระเพาะของมัน ปรากฏว่ามีแต่พืช เช่น สาหร่าย (Sargassum sp.) และ สาหร่ายสีเขียว (green algae) อยู่เป็นจานวนมาก ไม่พบสัตว์ในกระเพาะเต่าตนุ ซึ่งไม่เหมือนกับเต่ากระที่กิน อาหารพวกสัตว์เล็กๆ เช่น แมงกะพรุน กุ้ง ปูปลา หอย และพืช รวมทั้งตะไคร่น้าตามแนวหินในระหว่างเวลา ในตอนกลางวันจะไม่พบเต่าทะเลในบริเวณน้าตื้น จึงสันนิษฐานได้ว่าเต่าทะเลคงจะหากินในเวลากลางคืนและ ช่วงเวลานั้นขึ้น แต่ในบางครั้งพบเต่าทะเลในบริเวณน้าที่มีความลึกประมาณ 13-15 เมตร ในช่วงเวลา กลางวัน และด้วยเต่าทะเลเป็นสัตว์ที่ใช้ปอดในการหายใจจึงทาให้บ่อยครั้งที่พบเต่าทะเลขึ้น มาหายใจบนผิว น้า เมื่อเต่าทะเลขึ้นมาหายใจบนผิวน้าก็จะสามารถปรับหรือลดความดันของบรรยากาศภายในได้รวดเร็ว และ ไม่เป็นอันตรายอันเป็นคุณสมบัติพิเศษกว่าสัตว์น้าชนิดยกเว้นสัตว์น้าที่เลี้ยงลูกด้วยนาบางชนิด เท่านั้น นอกจากนี้เต่าทะเลยังมีสัญชาติญาณอีกหลายประการที่น่าสนใจเช่นการรู้ทิศทางของทะเลในการ ขึ้นมาวางไข่ หรือแม้แต่ลูกเต่าทะเลที่เพิ่งออกจากไข่และหลุมใหม่ๆจะมีความสามารถรู้ทิศทางในการลงสู่ทะเล ได้ถูกต้องและความสามารถที่สาคัญอีกอย่างของเต่าทะเลก็คือการรู้เวลาว่าเมื่อใดเป็นเวลาน้าขึ้นและน้าลงซึ่ง ทาให้เต่าทะเล สามารถ ระบุเวลาที่เหมาะสมได้เป็นต้น 2.2.2 สถานที่ที่เต่าวางไข่ สถานที่และบริเวณที่เต่าทะเลแต่ละชนิดใช้ในการวางไข่มีลักษณะคล้ายคลึง กัน คือ เต่าทะเลจะขึ้น ไปวางไข่ในบริเวณหาดทรายที่อยู่เหนือระดับน้าขึ้น และหาดนั้นจะต้องมีลักษณะเป็น ทรายขาว และสะอาดซึ่งเต่าทะเลจะสร้างรังไข่เหนือระดับที่ขึ้นสูงสุด แต่ก็มีเต่าทะเลบางตัวที่ขึ้นวางไข่ไกลจาก ระดับน้าขึ้นสูงสุด ถึง 200 เมตร เพศ และลักษณะของเพศในเต่าทะเล เต่าทะเลเพศผู้และเพศเมียแยกอยู่กัน คนละตัว (Sex Dimorphism) และอวัยวะสืบพันธุ์จะอยู่ ภายนอกลาตัวที่เรียกว่า Intromittent Organ ซึ่ง ลักษณะเพศของเต่าทะเลจะสามารถเห็นได้ชัดเจนหรือไม่ชัดเจนก็ขึ้นอยู่กับชนิดของเต่าทะเล เพศของเต่า ทะเลจะอยู่ท้ายสุดของลาตัวมีลักษณะคล้ายหาง อวัยวะเพศผู้จะมีลักษณะใหญ่ ยาว และโค้งลงเล็กน้อยกว่า อวัยวะเต่าทะเลเพศเมีย ทั้งนี้เพื่อความเหมาะสมในการผสมพันธุ์ กระดองหนังของเพศเมียจะมีลักษณะโค้ง ออกด้านข้างเล็กน้อยในเต่าทะเลบางชนิด ส่วนเต่าทะเลเพศผู้จะมีกระดองหลังที่นูน และมีส่วนแคบยาวกกว่า เต่าทะเลเพศเมีย รยางค์คู่หน้าของเต่าทะเลเพศผู้จะมีลักษณะยาวกว่าเต่าทะเลเพศเมีย ลักษณะเพศของเต่า ทะเลจะยังไม่ปรากฏให้เห็นชัดในระยะวันอ่อนของเต่าทะเล
  • 13. 2.2.3 การดูอายุของเต่าทะเล อายุของเต่าทะเลมิได้ตัดสินกันที่ขนาดตัวของเต่าทะเล แต่จะพอใช้การ สังเกตจากในเต่าทะเลที่มีอายุมาก สีของเกล็ดจะมีสีคล้าและมีพวกหอยนางลม เพรียงและสิ่งแปลกปลอม เกาะติดที่กระดองหลัง และสังเกตอายุของเต่าทะเลได้จากการดูจานวนไข่ที่เกิดในเต่าที่มีอายุมากๆ อาจจะไม่ สามารถออกไข่ได้เลย ส่วนในเต่าที่อายุน้อยจะสามารถออกไข่ได้ไม่มากหรือได้จานวนที่มาก็เป็นได้ นอกจากนี้ ขนาดของไข่ก็สามารถบอกอายุได้ ถ้าเป็นไข่ของเต่าทะเลที่มีอายุมากแล้วจะมีขนาดของไข่ที่ใหญ่กว่าในแม่เต่า ที่มีอายุน้อยๆ 2.2.4 จานวนไข่ของเต่าทะเล จากการศึกษาพบว่าเต่าทะเลที่มีอายุน้อยจะออกไข่ได้น้อย ส่วนเต่า ทะเลที่มีอายุมากจะมีการออกไข่ได้มากกว่า จากข้อมูลที่ทาการสารวจที่ จังหวัดภูเก็ต พบว่าแม่เต่าทะเลวางไข่ เฉลี่ย แล้วประมาณ 120 ฟอง ต่อ หนึ่งครั้ง และมีจานวนมากที่สุด 226 ฟอง ต่าสุด 3 ฟอง และบางหลุมไม่ พบไข่เต่าเลย รูปที่ 5 จานวนไข่ของเต่าทะเล 2.3 วิธีการสร้างบล็อกเกอร์ 2.3.1 ความหมายของบล็อกเกอร์ (Blogger) เป็นบริการบล็อกของกูเกิล ภายหลังจากทดลอง ให้บริการในช่วงระยะพัฒนา และลงทะเบียนได้โดยไม่ขึ้นอยู่กับกูเกิล หรือไม่จาเป็นต้องใช้จีเมลมาระยะหนึ่ง ปัจจุบันการใช้บริการบล็อกเกอร์จาเป็นต้องใช้จีเมล์ในการกรอกเป็นรหัสผ่าน และสิ้นสุดเบต้าเมื่อเดือน ธันวาคม พ.ศ. 2549บล็อกเกอร์ คิดค้นขึ้นโดยไพรา แลบส์ (Pyra Labs) ในปี พ.ศ. 2542 ที่อยู่ของการ ลงทะเบียนจะอยู่ที่ blogger.com เมื่อลงทะเบียนแล้วจะบันทึกบล็อกในรูป blogname.blogspot.com 2.3.2 สร้างบล็อก เมื่อต้องการเริ่มเขียนบล็อกด้วยบล็อกเกอร์ ให้ไปที่ หน้าแรกบล็อกเกอร์ ใส่ชื่อผู้ใช้ และรหัสผ่านของคุณ จากนั้นคลิกลงชื่อเข้าใช้ ป้อนชื่อที่แสดง และยอมรับข้อกาหนดในการให้บริการของ บล็อกเกอร์ จากนั้นคลิกที่ลิงค์ สร้างบล็อก แล้วเริ่มต้มสร้างได้เลือกที่อยู่ (URL) และชื่อบล็อก จากนั้นเลือก เทมเพลตบล็อกที่คุณชอบ (นี่คือลักษณะหน้าตาของบล็อกเมื่อคุณเผยแพร่) จากนั้นก็เริ่มใช้ความคิดสร้างสรรค์
  • 14. เพิ่มข้อมูลในโปรไฟล์ส่วนบุคคลของคุณ และปรับแต่งลักษณะของบล็อก ถ้าคุณต้องการ เริ่มต้นเขียนบล็อก วันนี้ 2.3.3 แดชบอร์ด หน้าแดชบอร์ดคือจุดเริ่มต้นของคุณเช่นเคย หน้านี้จะแสดงรายชื่อบล็อกของคุณ ทั้งหมด และคุณสามารถคลิกที่ไอคอนถัดจากชื่อบล็อกเพื่อดาเนินการต่างๆ กับแต่ละบล็อก เช่น  เขียนโพสต์ใหม่: คลิกที่ไอคอนดินสอสีส้มบนแดชบอร์ดเพื่อเข้าถึงเครื่องมือการแก้ไขโพสต์  ดูโพสต์ของคุณ: ไอคอนรายการโพสต์สีเทาจะนาคุณไปยังรายการโพสต์ที่เผยแพร่แล้วและโพสต์ใน ข้อความร่างของบล็อกนั้นๆ  ติดตามบล็อกโปรดของคุณ: ด้านล่างรายการบล็อกของคุณ คุณจะเห็นรายการบล็อกที่คุณติดตาม พร้อมข้อความตัวอย่างจากโพสต์ล่าสุดของบล็อกเหล่านั้น  อื่นๆ: ดูเมนูเลื่อนลงข้างไอคอนรายการโพสต์สาหรับลิงค์ด่วนไปยัง: o ภาพรวม o โพสต์ o หน้าเว็บ o ความคิดเห็น o สถิติ o รายได้ o การออกแบบ o เทมเพลต o การตั้งค่า 2.3.4 เขียนโพสต์ของคุณเมื่อคุณ ลงชื่อเข้าใช้บล็อกเกอร์แล้ว คุณจะเห็นแดชบอร์ดพร้อมด้วยรายชื่อ บล็อก ต่อไปนี้คือสิ่งที่คุณต้องทา 1. คลิกที่ไอคอนรูปดินสอสีส้มเพื่อเขียนโพสต์ใหม่ และป้อนอะไรก็ได้ที่ต้องการแบ่งปันกับคนทั้งโลก 2. ถัดไป คุณจะเห็นหน้าเว็บของเครื่องมือแก้ไขโพสต์ เริ่มต้นด้วยการตั้งชื่อโพสต์ (ไม่จาเป็น) จากนั้น ป้อนเนื้อหาโพสต์ 3. เมื่อดาเนินการเสร็จแล้ว ให้คลิกปุ่ม ดูตัวอย่าง ที่ด้านบนเพื่อตรวจสอบให้มั่นใจว่าพร้อมที่จะ ดาเนินการ จากนั้นคลิกที่ปุ่ม เผยแพร่ เพื่อเผยแพร่โพสต์
  • 16. บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีการดาเนินการ การจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ เว็บไซต์ ศูนย์อนุรักษ์พันธุ์เต่าทะเล คณะผู้จัดทาโครงงานมีวิธี ดาเนินงานโครงงาน ตามขั้นตอนดังต่อไปนี้ 3.1 ขั้นตอนการดาเนินการ 1. คิดหัวข้อโครงงานเพื่อนาเสนออาจารย์ที่ปรึกษา 2. ศึกษาค้นคว้ารวบรวมข้อมูล ที่เกี่ยวข้องกับโครงงานในการสร้างเว็บไซต์และการตกแต่งเว็ปไซต์ให้ น่าสนใจ 3. ศึกษาวิธีการสร้างบล็อกเกอร์ 4. จัดทาโครงร่างโครงงานเสนออาจารย์ที่ปรึกษา 5. ออกแบบบล็อก 6. จัดทาโครงงานสร้างบล็อก ศูนย์อนุรักษ์พันธุ์เต่าทะเล 7. เผยแพร่ผลงานผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 8. ทาเอกสารสรุปรายงานโครงงาน 3.2 วิธีการเก็บรวมรวบข้อมูล 1. ศึกษา เรื่อง ความรู้ทั่วไปของเต่าทะเล 2. ศึกษา เรื่อง วิธีการสร้างบล็อกเกอร์ 3. ศึกษา เรื่อง การทางานของตัวโปรแกรมต่าง ๆ ได้แก่ 3.1 Microsoft Office Word 2013 3.2 Microsoft Office PowerPoint 2013 3.3 Adobe Photoshop CS5 3.4 Adobe Premiere CS6 3.3 วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนาโครงงาน 1. เครื่องคอมพิวเตอร์พร้องเชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 2. ซอฟต์แวร์ - Microsoft Office Word 2013 - Microsoft Office PowerPoint 2013 - Adobe Premiere CS6
  • 17. บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน การจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา สร้างเว็ปไซต์ ศูนย์อนุรักษ์พันธุ์เต่าทะเล เนื้อหาเกี่ยวกับเต่าทะเล มีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับเต่าทะเล ซึ่งมีผลการดาเนินงานโครงงาน ดังนี้ 4.1 ผลการพัฒนาโครงงาน การพัฒนาโครงงานสร้างเว็ปไซต์ ศูนย์อนุรักษ์พันธุ์เต่าทะเล เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับความรู้ทั่วไป ของเต่าทะเลและการอนุรักษ์เต่าทะเล คณะผู้จัดทาได้ดาเนินตามขั้นตอนการดาเนินงานที่ได้วางแผนไว้ และได้ นาเสนอเผยแพร่ผลงานผ่านทางเครือข่ายระบบอินเทอร์เน็ต ที่สามารถเข้าถึงได้ทุกเวลาและทุกสถานที่ เป็น แหล่งเรียนรู้ในโลกออนไลน์และรวดเร็วในการรับข้อมูล 4.2 ตัวอย่างผลงาน
  • 18. บทที่ 5 สรุปผลการดาเนินงาน / ข้อเสนอแนะ การจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ เว็บไซต์ ศูนย์อนุรักษ์พันธุ์เต่าทะเล สามารถสรุปผลการดาเนินงาน โครงงานและข้อเสนอแนะ ดังนี้ 5.1 การดาเนินงานจัดทาโครงงาน 5.1.1 วัตถุประสงค์ของโครงงาน 1. เพื่อให้ความรู้แก่ผู้สนใจเกี่ยวกับเต่าทะเล 5.1.2 วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนาโครงงาน 1. เครื่องคอมพิวเตอร์พร้องเชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 2. ซอฟต์แวร์ - Microsoft Office Word 2013 - Microsoft Office PowerPoint 2013 - Adobe Photoshop CS5 - Adobe Premiere CS6 5.2 สรุปผลการดาเนินงานโครงงาน การดาเนินโครงงานนี้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ได้กาหนดไว้ คือ เพื่อให้ความรู้แก่ผู้สนใจเกี่ยวกับการ อนุรักษ์พันธุ์เต่าทะเล เว็ปไซต์ ศูนย์อนุรักษ์พันธุ์เต่าทะเล เป็นเว็ปไซต์ที่จัดทาขึ้นเพื่อ เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับ การอนุรักษ์พันธุ์เต่าทะเลนาเสนอผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ทาให้ผู้ที่สนใจสามารถเข้าถึงได้อย่าง รวดเร็วได้รับความรู้ ความเข้าใจ เล็งเห็นความสาคัญของเต่าทะเลที่จะสูญพันธุ์ไปในที่สุด เว็ปไซต์ ศูนย์ออนุ รักษ์พันธุ์เต่าทะเล จึงเป็นเว็ปไซต์ที่มีประโยชน์ และเป็นการนาเทคโนโลยีและซอฟต์แวร์มาพัฒนาประยุกต์ใช้ ได้อย่างมีคุณค่าและเกิดประโยชน์ 5.3 ข้อเสนอแนะ 1. ควรมีการจัดทาเนื้อหาของโครงงานให้หลากหลายครบเนื้อหาในมุมลึกกว่านี้ 2. ควรมีการจัดทาแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
  • 19. บรรณานุกรม คู่มือการสร้างบล็อกเกอร์ สืบค้นเมื่อ วันที่ 30 มกราคม 2558 จากเว็บไซต์: https://support.google.com/blogger/answer/1623800?hl=th#createblog ข้อมูลศูนย์อนุรักษ์พันธุ์เต่าทะเล สืบค้นเมื่อวันที่ 30 มกราคม 2558 จากเว็ปไซต์: http://www.turtles.navy.mi.th/