SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สมัยใหม่
computer technology
เสนอ มิสเขมจิรา ปลงไสว
เทคโนโลยีใหม่ ๆ ที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ ที่ได้มีการพัฒนาขึ้นมาใหม่
เรื่อย ๆ เพื่อความสะดวกสะบายในการใช้ในชีวิตประจาวัน และเพื่อความ
สะดวกสบาย รวดเร็วต่อการทางานในด้านต่าง ๆ ดังนั้นมนุษย์จึงได้มีการคิดค้น
ประดิษฐ์ หรือสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ อยู่เสมอ
ซอฟท์แวร์ / คอมพิวเตอร์สาหรับงานก่อสร้าง
ปัจจัยหลักที่จะก่อให้เกิดเศรษฐกิจฟองสบู่ได้ มีอยู่ 2 ปัจจัย คือ อสังหาริมทรัพย์และตลาดหุ้น
เนื่องจากมีปริมาณเม็ดเงินจานวนมาก และอุตสาหกรรมการก่อสร้างก็มีความสัมพันธ์กันโดยตรงกับ
ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ เนื่องจากเป็นสินค้า (Product) ที่จะให้อสังหาริมทรัพย์นาไปขาย และหากมี
การพิจารณาถึงขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ทาให้พบว่า หากมีการพัฒนาศักยภาพและ
ขีดความสามารถในอุตสาหกรรมการก่อสร้างให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้นแล้ว จะทาให้ระบบเศรษฐกิจดีขึ้นได้
ทั้งระบบอย่างยั่งยืนและถาวร
ความสาคัญในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สมัยใหม่
และความจริงยังกลับพบว่าปริมาณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอุตสาหกรรมการก่อสร้างทั่ว
โลกและในประเทศไทยนั้น มีอยู่ค่อนข้างน้อยเมื่อเปรียบเทียบกับปริมาณเม็ดเงินในระบบอุตสาหกรรม
นี้ อันเนื่องมาจากความรู้ด้านการก่อสร้างนั้นมีความสลับซับซ้อนมาก เมื่อเทียบกับอุตสาหกรรมอื่นๆ
และมีลักษณะการทางานที่ผันแปรไปตามปัจจัยต่างๆของโครงการ อันเนื่องมาจาก สภาพภูมิประเทศ
สถาปัตยกรรมท้องถิ่น รสนิยมของผู้อยู่อาศัย วัสดุ วิชาชีพหลายมิติ เช่น สถาปนิก วิศวกร บัญชี เป็น
ต้น กฎหมาย มาตรฐานการออกแบบ (Design Code) มาตรฐานการก่อสร้าง ความชานาญของช่าง
และผู้ออกแบบ ซึ่งทาให้การก่อสร้างนั้นเป็นงานเฉพาะตัว (Custom Made)
ในแต่ละโครงการ จึงทาให้พบว่าส่วนใหญ่การก่อสร้างในประเทศไทยยังถือว่ายังล้าหลังจาก
ประเทศอื่นอยู่มากและหากเปรียบเทียบกับอุตสาหกรรมอื่นๆในประเทศไทยเองก็ยังพบว่ามีปริมาณ
ค่อนข้างน้อย หรือ แทบจะเรียกว่าส่วนใหญ่ยังคงทางานด้วยคน (manual) หรือเป็นกระดาษกันอยู่เลย
ซึ่งมาทาเป็นกราฟเปรียบเทียบถึงต้นทุนการทางานด้วยคนและคอมพิวเตอร์จะทาให้เราพบว่า
ต้นทุนการทางานด้วยคอมพิวเตอร์มีต้นทุนที่ลดลงทุกๆปีและต้นทุนการทางานด้วยคนกลับมีต้นทุนที่
สูงขึ้นตลอดเวลาทุกปี และปัจจุบันเราได้เลยจุดคุ้มทุนมาแล้ว หากเราไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลดต้นทุนการ
ทางาน จะทาให้เรามีพื้นที่การเสียเปรียบกับคู่แข่งมากขึ้นเรื่อยๆ และในที่สุดจะทาให้เราไม่สามารถ
แข่งขันในธุรกิจนี้ได้
การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการทางานจึงเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการทางาน
(Productivity) และขีดความสามารถในการแข่งขัน (Competitive Advantage) ในคราว
เดียวกัน หากทุกคนเข้าใจหลักการนี้แล้วจะทาให้ตระหนักว่า การใช้คอมพิวเตอร์มาช่วยทางานในธุรกิจ
ก่อสร้างนั้นมีความจาเป็นอย่างมาก เนื่องจากมีปริมาณเม็ดเงินจานวนมาก ทาให้สามารถประหยัดเงินได้
ทันที
ซึ่งระบบ CAD (Computer Aided Design) ที่เอาไว้ช่วยสาหรับการเขียนแบบ ก็มีการ
วิวัฒนาการพอแยกได้เป็น 3 ยุค ดังนี้
1
- ยุคแรก การเขียนแบบด้วยมือลงบนกระดาษ ซึ่งมีข้อจากัดมากไม่สะดวกในการปรับปรุงแบบ ซึ่งเป็นการเขียน
แบบ 2 มิติ คือ เป็นรูปด้าน รูปตัด แปลนอาคาร
– ยุคที่สอง เขียนแบบด้วยโปรแกรม CAD ซึ่งยุคนี้เริ่มได้มาประมาณ 20 ปี แล้ว และปัจจุบันการทางานเกือบ
100 % ในการเรียน การสอน การทางานในวงการก่อสร้างไทยยังใช้ระบบนี้อยู่ ทาให้มีปัญหาเรื่องการเชื่อมโยงข้อมูล
กับระบบอื่นๆ เนื่องจากเป็นแค่การเขียนแบบแต่อย่างเดียว และทาให้การทางานขาดการเชื่อมต่อไปยังระบบอื่น ทาให้
โปรแกรม CAD เป็นเพียงเครื่องมือสาหรับพนักงานเขียนแบบอย่างเดียวเท่านั้น สาหรับผู้จัดการโครงการ เจ้าของ
โครงการ หรือ สถาปนิกเอง จึงไม่ค่อยให้ความสาคัญกับคอมพิวเตอร์เท่าที่ควร
– ยุคที่สาม จาลองการออกแบบอาคารบนคอมพิวเตอร์ (Building Simulation) ทาให้สถาปนิก
สามารถมองเห็นอาคารเสมือนจริงบนคอมพิวเตอร์ขณะออกแบบ ซึ่งทุกวัตถุ ( Object ) บนระบบ
คอมพิวเตอร์จะมีราคา สี คุณสมบัติวัสดุ เหมือนจริง ทาให้ทราบราคาค่าก่อสร้างทั้งอาคารได้ทุกขณะ
ลดการทางานผิดพลาดลง สามารถใช้โมเดลไปให้วิศวกรออกแบบโครงสร้าง ไฟฟ้า ประปา ได้ทันที
โดยไม่ต้องสร้างโมเดลใหม่ให้เสียเวลา ลดการซ้าซ้อนทั้งระบบ สะดวกในการนาเสนองานและการแก้ไข
แบบอาคาร หากมีการแก้ไขขยายขนาดห้องจาก 4.00 ม. เป็น 4.50 ม. ที่รูปใดรูปหนึ่ง จะทาให้
รูปทั้งหมด ทั้งรูปแปลน รูปด้าน รูปตัด รูปขยาย จะปรับปรุงแบบให้ใหม่ทันที ไม่ต้องเสียเวลาใน
การแก้ไขแบบใหม่เป็นแรมเดือนอีกต่อไป
และในยุคที่สามของ CAD นี้ ได้มีการกาหนดมาตรฐานการทางานบนระบบคอมพิวเตอร์
เพื่อให้สามารถเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างโปรแกรมต่างๆ ซึ่งเรียกว่า IFC ( Industrial
Foundation Class ) ปัจจุบันมีผู้พัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ชั้นนาของโลกได้เข้าร่วมพัฒนาและ
เป็นสมาชิก เช่น Graphisoft, Microsoft, Autodesk, Bentley เป็นต้น โดยการใช้
เทคโนโลยี XML เป็นมาตรฐานในการแลกเปลี่ยนไฟล์กัน และยังทาให้โปรแกรม CAD ออกแบบ
สถาปัตยกรรม ประมาณราคา วิศวกรโครงสร้าง บริหารโครงการ บริหารทรัพย์สิน หรือแม้กระทั่ง
ระบบบัญชี สามารถเชื่อมโยงและคุยกันได้เป็นอย่างดี
โดยการเชื่อมโยงรูปแบบ IFC นี้จะเป็นการเชื่อมโยงได้ทั้งแบบ (Drawing) และข้อมูลประกอบ
(Attribute) จากรูปแบบเดิมที่สามารถแลกเปลี่ยนได้แค่ Drawing ระหว่างโปรแกรมโดยใช้ไฟล์
DXF (Data Exchange Format) เป็นตัวกลาง
– ไฟล์แบบก่อสร้างรุ่นใหม่สามารถเก็บรูปแบบแปลนทุกขั้นตอน ตั้งแต่การออกแบบเบื้องต้นจนถึง
แบบก่อสร้างจริง (As- Build Drawing) ได้ในไฟล์เดียว โดยสามารถแยกแบบได้เป็นชุดๆ ซึ่งจาก
เดิมจะต้องเก็บไฟล์หลายสิบหลายร้อยไฟล์ ทาให้ยากในการค้นหา และเรียกใช้งานภายหลัง
การใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ที่รองรับระบบ IFC ทาให้ผู้ใช้งานทั้ง สถาปนิก วิศวกร เจ้าของ
โครงการ ที่ปรึกษาโครงการ สามารถทางานได้สะดวกรวดเร็ว ลดการทางานผิดพลาด สามารถนา
ข้อมูลไปใช้งานได้ทั้งระบบตั้งแต่การออกแบบ ประมาณราคา การก่อสร้าง การติดตั้ง การโฆษณา
ประชาสัมพันธ์
โดยตอนถัดๆไปผมจะอธิบายถึงเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สมัยใหม่ สาหรับช่วยงาน
สถาปัตยกรรม วิศวกรรม การก่อสร้าง (Construction) การบริหารโครงการ (Project
Management) การบริหารอาคาร (Facilities Management) ที่ช่วยทาให้วงการ
อสังหาริมทรัพย์ สามารถทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้ง ลดต้นทุน และทางานได้รวดเร็ว
VDO
https://www.youtube.com/watch?v=YtD_koTaIa0
แหล่งอ้างอิง
สมาชิกในกลุ่ม
1. นางสาวพินทุผล ทหราวานิช ม. 5/1 เลขที่ 40
2. นางสาวจิรัชญา สาครพานิช ม. 5/1 เลขที่ 43

More Related Content

Viewers also liked

โปรแกรม Microsoft visual basic
โปรแกรม Microsoft visual basicโปรแกรม Microsoft visual basic
โปรแกรม Microsoft visual basicWisawachitComputerWork
 
อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์1
อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์1อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์1
อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์1jiratchaya sakornphanich
 
อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์jiratchaya sakornphanich
 
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูลอุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูลjiratchaya sakornphanich
 
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่Sukkhawit Chamruang
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์Rijin7
 
วิชาคอมพิวเตอร์ (ง32202)
วิชาคอมพิวเตอร์  (ง32202)วิชาคอมพิวเตอร์  (ง32202)
วิชาคอมพิวเตอร์ (ง32202)Khemjira_P
 
Course Outline ม.5 ปี 2559
Course Outline ม.5 ปี 2559Course Outline ม.5 ปี 2559
Course Outline ม.5 ปี 2559Khemjira_P
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์Khemjira_P
 

Viewers also liked (11)

โปรแกรม Microsoft visual basic
โปรแกรม Microsoft visual basicโปรแกรม Microsoft visual basic
โปรแกรม Microsoft visual basic
 
อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์1
อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์1อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์1
อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์1
 
อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูลอุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
 
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
วิชาคอมพิวเตอร์ (ง32202)
วิชาคอมพิวเตอร์  (ง32202)วิชาคอมพิวเตอร์  (ง32202)
วิชาคอมพิวเตอร์ (ง32202)
 
Course Outline ม.5 ปี 2559
Course Outline ม.5 ปี 2559Course Outline ม.5 ปี 2559
Course Outline ม.5 ปี 2559
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
 
Com (1)
Com (1)Com (1)
Com (1)
 

Similar to เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สมัยใหม่

เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศKrunee Thitthamon
 
เรื่อง ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่อง ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ32040954
 
เรื่อง ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่อง ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ32040954
 
เรื่อง ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่อง ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ32040954
 
บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศPokypoky Leonardo
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อเศรษฐกิจ
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อเศรษฐกิจผลกระทบของเทคโนโลยีต่อเศรษฐกิจ
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อเศรษฐกิจNATTAWANKONGBURAN
 
Digital Disruption กับการเปลี่ยนแปลงยุค Next Normal
Digital Disruption  กับการเปลี่ยนแปลงยุค Next NormalDigital Disruption  กับการเปลี่ยนแปลงยุค Next Normal
Digital Disruption กับการเปลี่ยนแปลงยุค Next NormalDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศผลของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศป.ปลา ตากลม
 
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศบทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศwilaiporntoey
 
1.บทนำ เศรษฐกิจดิจิทัล (Digital Economy).pptx
1.บทนำ เศรษฐกิจดิจิทัล (Digital Economy).pptx1.บทนำ เศรษฐกิจดิจิทัล (Digital Economy).pptx
1.บทนำ เศรษฐกิจดิจิทัล (Digital Economy).pptxThachaLawanna1
 
Internet of Things เทรนอนาคต ที่ต้องรู้
Internet of Things เทรนอนาคต ที่ต้องรู้Internet of Things เทรนอนาคต ที่ต้องรู้
Internet of Things เทรนอนาคต ที่ต้องรู้Adun Nanthakaew
 

Similar to เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สมัยใหม่ (20)

Chapter2 part1
Chapter2 part1Chapter2 part1
Chapter2 part1
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เรื่อง ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่อง ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เรื่อง ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่อง ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เรื่อง ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่อง ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Lesson1
Lesson1Lesson1
Lesson1
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อเศรษฐกิจ
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อเศรษฐกิจผลกระทบของเทคโนโลยีต่อเศรษฐกิจ
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อเศรษฐกิจ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่8กฎหมายคอมพิวเตอร์[1]
บทที่8กฎหมายคอมพิวเตอร์[1]บทที่8กฎหมายคอมพิวเตอร์[1]
บทที่8กฎหมายคอมพิวเตอร์[1]
 
Digital Disruption กับการเปลี่ยนแปลงยุค Next Normal
Digital Disruption  กับการเปลี่ยนแปลงยุค Next NormalDigital Disruption  กับการเปลี่ยนแปลงยุค Next Normal
Digital Disruption กับการเปลี่ยนแปลงยุค Next Normal
 
Smart industry vol32
Smart industry vol32 Smart industry vol32
Smart industry vol32
 
Smart industry Vol.35/2562
Smart industry Vol.35/2562Smart industry Vol.35/2562
Smart industry Vol.35/2562
 
ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศผลของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศบทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
 
e-Commerce
e-Commercee-Commerce
e-Commerce
 
Computer for CIO
Computer for CIOComputer for CIO
Computer for CIO
 
1.บทนำ เศรษฐกิจดิจิทัล (Digital Economy).pptx
1.บทนำ เศรษฐกิจดิจิทัล (Digital Economy).pptx1.บทนำ เศรษฐกิจดิจิทัล (Digital Economy).pptx
1.บทนำ เศรษฐกิจดิจิทัล (Digital Economy).pptx
 
Mi Magazine issue 01/2016
Mi Magazine issue 01/2016Mi Magazine issue 01/2016
Mi Magazine issue 01/2016
 
Internet of Things เทรนอนาคต ที่ต้องรู้
Internet of Things เทรนอนาคต ที่ต้องรู้Internet of Things เทรนอนาคต ที่ต้องรู้
Internet of Things เทรนอนาคต ที่ต้องรู้
 

More from jiratchaya sakornphanich

อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์jiratchaya sakornphanich
 
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูลอุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูลjiratchaya sakornphanich
 
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูลอุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูลjiratchaya sakornphanich
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สมัยใหม่
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สมัยใหม่เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สมัยใหม่
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สมัยใหม่jiratchaya sakornphanich
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สมัยใหม่ (powerpoint)
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สมัยใหม่ (powerpoint)เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สมัยใหม่ (powerpoint)
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สมัยใหม่ (powerpoint)jiratchaya sakornphanich
 
รุปเล่มโครงงานคอมM5
รุปเล่มโครงงานคอมM5รุปเล่มโครงงานคอมM5
รุปเล่มโครงงานคอมM5jiratchaya sakornphanich
 

More from jiratchaya sakornphanich (10)

คอมไรจะไรหล่ะ
คอมไรจะไรหล่ะคอมไรจะไรหล่ะ
คอมไรจะไรหล่ะ
 
อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูลอุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
 
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูลอุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สมัยใหม่
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สมัยใหม่เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สมัยใหม่
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สมัยใหม่
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สมัยใหม่ (powerpoint)
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สมัยใหม่ (powerpoint)เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สมัยใหม่ (powerpoint)
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สมัยใหม่ (powerpoint)
 
รุปเล่มโครงงานคอมM5
รุปเล่มโครงงานคอมM5รุปเล่มโครงงานคอมM5
รุปเล่มโครงงานคอมM5
 
Ftp
FtpFtp
Ftp
 
Electronic mail
Electronic mailElectronic mail
Electronic mail
 
Search engine
Search engineSearch engine
Search engine
 

เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สมัยใหม่

  • 2. เทคโนโลยีใหม่ ๆ ที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ ที่ได้มีการพัฒนาขึ้นมาใหม่ เรื่อย ๆ เพื่อความสะดวกสะบายในการใช้ในชีวิตประจาวัน และเพื่อความ สะดวกสบาย รวดเร็วต่อการทางานในด้านต่าง ๆ ดังนั้นมนุษย์จึงได้มีการคิดค้น ประดิษฐ์ หรือสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ อยู่เสมอ
  • 3. ซอฟท์แวร์ / คอมพิวเตอร์สาหรับงานก่อสร้าง ปัจจัยหลักที่จะก่อให้เกิดเศรษฐกิจฟองสบู่ได้ มีอยู่ 2 ปัจจัย คือ อสังหาริมทรัพย์และตลาดหุ้น เนื่องจากมีปริมาณเม็ดเงินจานวนมาก และอุตสาหกรรมการก่อสร้างก็มีความสัมพันธ์กันโดยตรงกับ ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ เนื่องจากเป็นสินค้า (Product) ที่จะให้อสังหาริมทรัพย์นาไปขาย และหากมี การพิจารณาถึงขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ทาให้พบว่า หากมีการพัฒนาศักยภาพและ ขีดความสามารถในอุตสาหกรรมการก่อสร้างให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้นแล้ว จะทาให้ระบบเศรษฐกิจดีขึ้นได้ ทั้งระบบอย่างยั่งยืนและถาวร ความสาคัญในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สมัยใหม่
  • 4. และความจริงยังกลับพบว่าปริมาณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอุตสาหกรรมการก่อสร้างทั่ว โลกและในประเทศไทยนั้น มีอยู่ค่อนข้างน้อยเมื่อเปรียบเทียบกับปริมาณเม็ดเงินในระบบอุตสาหกรรม นี้ อันเนื่องมาจากความรู้ด้านการก่อสร้างนั้นมีความสลับซับซ้อนมาก เมื่อเทียบกับอุตสาหกรรมอื่นๆ และมีลักษณะการทางานที่ผันแปรไปตามปัจจัยต่างๆของโครงการ อันเนื่องมาจาก สภาพภูมิประเทศ สถาปัตยกรรมท้องถิ่น รสนิยมของผู้อยู่อาศัย วัสดุ วิชาชีพหลายมิติ เช่น สถาปนิก วิศวกร บัญชี เป็น ต้น กฎหมาย มาตรฐานการออกแบบ (Design Code) มาตรฐานการก่อสร้าง ความชานาญของช่าง และผู้ออกแบบ ซึ่งทาให้การก่อสร้างนั้นเป็นงานเฉพาะตัว (Custom Made)
  • 5. ในแต่ละโครงการ จึงทาให้พบว่าส่วนใหญ่การก่อสร้างในประเทศไทยยังถือว่ายังล้าหลังจาก ประเทศอื่นอยู่มากและหากเปรียบเทียบกับอุตสาหกรรมอื่นๆในประเทศไทยเองก็ยังพบว่ามีปริมาณ ค่อนข้างน้อย หรือ แทบจะเรียกว่าส่วนใหญ่ยังคงทางานด้วยคน (manual) หรือเป็นกระดาษกันอยู่เลย ซึ่งมาทาเป็นกราฟเปรียบเทียบถึงต้นทุนการทางานด้วยคนและคอมพิวเตอร์จะทาให้เราพบว่า ต้นทุนการทางานด้วยคอมพิวเตอร์มีต้นทุนที่ลดลงทุกๆปีและต้นทุนการทางานด้วยคนกลับมีต้นทุนที่ สูงขึ้นตลอดเวลาทุกปี และปัจจุบันเราได้เลยจุดคุ้มทุนมาแล้ว หากเราไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลดต้นทุนการ ทางาน จะทาให้เรามีพื้นที่การเสียเปรียบกับคู่แข่งมากขึ้นเรื่อยๆ และในที่สุดจะทาให้เราไม่สามารถ แข่งขันในธุรกิจนี้ได้
  • 6. การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการทางานจึงเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการทางาน (Productivity) และขีดความสามารถในการแข่งขัน (Competitive Advantage) ในคราว เดียวกัน หากทุกคนเข้าใจหลักการนี้แล้วจะทาให้ตระหนักว่า การใช้คอมพิวเตอร์มาช่วยทางานในธุรกิจ ก่อสร้างนั้นมีความจาเป็นอย่างมาก เนื่องจากมีปริมาณเม็ดเงินจานวนมาก ทาให้สามารถประหยัดเงินได้ ทันที ซึ่งระบบ CAD (Computer Aided Design) ที่เอาไว้ช่วยสาหรับการเขียนแบบ ก็มีการ วิวัฒนาการพอแยกได้เป็น 3 ยุค ดังนี้ 1 - ยุคแรก การเขียนแบบด้วยมือลงบนกระดาษ ซึ่งมีข้อจากัดมากไม่สะดวกในการปรับปรุงแบบ ซึ่งเป็นการเขียน แบบ 2 มิติ คือ เป็นรูปด้าน รูปตัด แปลนอาคาร – ยุคที่สอง เขียนแบบด้วยโปรแกรม CAD ซึ่งยุคนี้เริ่มได้มาประมาณ 20 ปี แล้ว และปัจจุบันการทางานเกือบ 100 % ในการเรียน การสอน การทางานในวงการก่อสร้างไทยยังใช้ระบบนี้อยู่ ทาให้มีปัญหาเรื่องการเชื่อมโยงข้อมูล กับระบบอื่นๆ เนื่องจากเป็นแค่การเขียนแบบแต่อย่างเดียว และทาให้การทางานขาดการเชื่อมต่อไปยังระบบอื่น ทาให้ โปรแกรม CAD เป็นเพียงเครื่องมือสาหรับพนักงานเขียนแบบอย่างเดียวเท่านั้น สาหรับผู้จัดการโครงการ เจ้าของ โครงการ หรือ สถาปนิกเอง จึงไม่ค่อยให้ความสาคัญกับคอมพิวเตอร์เท่าที่ควร
  • 7. – ยุคที่สาม จาลองการออกแบบอาคารบนคอมพิวเตอร์ (Building Simulation) ทาให้สถาปนิก สามารถมองเห็นอาคารเสมือนจริงบนคอมพิวเตอร์ขณะออกแบบ ซึ่งทุกวัตถุ ( Object ) บนระบบ คอมพิวเตอร์จะมีราคา สี คุณสมบัติวัสดุ เหมือนจริง ทาให้ทราบราคาค่าก่อสร้างทั้งอาคารได้ทุกขณะ ลดการทางานผิดพลาดลง สามารถใช้โมเดลไปให้วิศวกรออกแบบโครงสร้าง ไฟฟ้า ประปา ได้ทันที โดยไม่ต้องสร้างโมเดลใหม่ให้เสียเวลา ลดการซ้าซ้อนทั้งระบบ สะดวกในการนาเสนองานและการแก้ไข แบบอาคาร หากมีการแก้ไขขยายขนาดห้องจาก 4.00 ม. เป็น 4.50 ม. ที่รูปใดรูปหนึ่ง จะทาให้ รูปทั้งหมด ทั้งรูปแปลน รูปด้าน รูปตัด รูปขยาย จะปรับปรุงแบบให้ใหม่ทันที ไม่ต้องเสียเวลาใน การแก้ไขแบบใหม่เป็นแรมเดือนอีกต่อไป
  • 8. และในยุคที่สามของ CAD นี้ ได้มีการกาหนดมาตรฐานการทางานบนระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อให้สามารถเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างโปรแกรมต่างๆ ซึ่งเรียกว่า IFC ( Industrial Foundation Class ) ปัจจุบันมีผู้พัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ชั้นนาของโลกได้เข้าร่วมพัฒนาและ เป็นสมาชิก เช่น Graphisoft, Microsoft, Autodesk, Bentley เป็นต้น โดยการใช้ เทคโนโลยี XML เป็นมาตรฐานในการแลกเปลี่ยนไฟล์กัน และยังทาให้โปรแกรม CAD ออกแบบ สถาปัตยกรรม ประมาณราคา วิศวกรโครงสร้าง บริหารโครงการ บริหารทรัพย์สิน หรือแม้กระทั่ง ระบบบัญชี สามารถเชื่อมโยงและคุยกันได้เป็นอย่างดี โดยการเชื่อมโยงรูปแบบ IFC นี้จะเป็นการเชื่อมโยงได้ทั้งแบบ (Drawing) และข้อมูลประกอบ (Attribute) จากรูปแบบเดิมที่สามารถแลกเปลี่ยนได้แค่ Drawing ระหว่างโปรแกรมโดยใช้ไฟล์ DXF (Data Exchange Format) เป็นตัวกลาง
  • 9. – ไฟล์แบบก่อสร้างรุ่นใหม่สามารถเก็บรูปแบบแปลนทุกขั้นตอน ตั้งแต่การออกแบบเบื้องต้นจนถึง แบบก่อสร้างจริง (As- Build Drawing) ได้ในไฟล์เดียว โดยสามารถแยกแบบได้เป็นชุดๆ ซึ่งจาก เดิมจะต้องเก็บไฟล์หลายสิบหลายร้อยไฟล์ ทาให้ยากในการค้นหา และเรียกใช้งานภายหลัง การใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ที่รองรับระบบ IFC ทาให้ผู้ใช้งานทั้ง สถาปนิก วิศวกร เจ้าของ โครงการ ที่ปรึกษาโครงการ สามารถทางานได้สะดวกรวดเร็ว ลดการทางานผิดพลาด สามารถนา ข้อมูลไปใช้งานได้ทั้งระบบตั้งแต่การออกแบบ ประมาณราคา การก่อสร้าง การติดตั้ง การโฆษณา ประชาสัมพันธ์ โดยตอนถัดๆไปผมจะอธิบายถึงเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สมัยใหม่ สาหรับช่วยงาน สถาปัตยกรรม วิศวกรรม การก่อสร้าง (Construction) การบริหารโครงการ (Project Management) การบริหารอาคาร (Facilities Management) ที่ช่วยทาให้วงการ อสังหาริมทรัพย์ สามารถทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้ง ลดต้นทุน และทางานได้รวดเร็ว
  • 12. สมาชิกในกลุ่ม 1. นางสาวพินทุผล ทหราวานิช ม. 5/1 เลขที่ 40 2. นางสาวจิรัชญา สาครพานิช ม. 5/1 เลขที่ 43