SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
แนะนำกำรใช้งำน Dev-C++
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ภาษาต่าง ๆ ปกติเขียนคาสั่งต่าง ๆ ด้วยโปรแกรมที่
เรียกว่า editor ซึ่งอาจใช้โปรแกรมพวก word Processor เขียนโดยไม่ใช้รูปแบบพิเศษ
ต่าง ๆ หรือใช้โปรแกรมที่มีรูปแบบพิเศษน้อย ๆ เช่น notepad เขียน แล้วเปลี่ยนภาษาที่เขียน
นั้นเป็นภาษาเครื่องโดยใช้ compiler ของภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้ เช่นคอมไพล์เลอร์ของ
ภาษาซี ซึ่งก็มีผู้ผลิตหลายราย ซึ่งต้องเป็นไปตามมาตรฐาน ANSI C และมีรายละเอียด
เพิ่มเติมแตกต่างกันไป
ในการเรียนการสอนวิชานี้จะใช้ editor และ compiler ที่รวมกันไว้แล้ว ใน ชุด
พัฒนาหรือเครื่องมือที่ช่วยในการพัฒนาโปรแกรม ภาษาอังกฤษเรียกว่า IDE (Intregal
Devenlopment Environment) ซึ่งเป็นโปรแกรมที่ออกแบบมาเพื่อช่วยในการสร้าง
โปรแกรมของผู้ที่จะทาการเขียนโปรแกรมทางานได้ง่ายขึ้น ไม่ต้องแยกใช้ editor เขียน
โปรแกรม แล้วเรียกใช้ compiler ทาการคอมไพล์โปรแกรมอีก โดย IDE ก็มีผู้ผลิตหลาย
ราย ดังที่ได้กล่าวไว้ในการเรียนรายวิชา คอมพิวเตอร์และขั้นตอนวิธี ง40213 โดยในการเรียน
การสอนวิชานี้จะใช้ IDE ที่ใช้ในในปัจจุบันของการอบรมต่าง ๆ ของ สสวท. คือ
Bloodshed Dev-C++ ซึ่งการดาวน์โหลด และการติดตั้งได้กล่าวไปแล้วในรายวิชา
คอมพิวเตอร์และขั้นตอนวิธี ง40213 เช่นเดียวกัน ในที่นี้จะกล่าวถึงการใช้งาน IDE นี้เฉพาะ
ส่วนที่จาเป็นในการใช้งานในการเรียนการสอนนี้เท่านั้นส่วนรายละเอียด เพิ่มเติมถ้าสนใจให้ไป
ศึกษาเพิ่มเติม
กำรเรียกใช้ Dev-C++
การเรียกใช้ Dev-C++ ทาได้ทานองเดียวกับการเรียกใช้โปรแกรมอื่น ๆ เช่น เรียกที่ Start
All Programs Bloodshed Dev-C++ คลิกที่ Dev-C++ ดังรูป
จะได้หน้าต่างโปรแกรม Dev-C++ ดังรูป
เมนู File
เมื่อเปิดขึ้นมาครั้งแรกจะมีลักษณะ และเลือกคาสั่ง New จะได้ ดังรูป
เขียนคำสั่ง ในช่องนี้
คาสั่ง New ใช้สร้างไฟล์ใหม่ เมื่อเลือก คาสั่ง Source File (มีคีย์ลัด
Ctrl+N) ใช้สาหรับสร้างไฟล์เพื่อเขียนคาสั่งในโปรแกรมที่จะสร้างขึ้น ซึ่งจะใช้ในการเรียนการ
สอนในวิชานี้ จะได้หน้าต่างดังรูป
เมื่อเขียนคาสั่ง หรือ รหัสโปรแกรม จะได้หน้าต่างโปรแกรมในลักษณะ ดังรูป
เมื่อเขียนโปรแกรมเสร็จหรือต้องการบันทึกไว้เพื่อป้องกันการเสียหาย การบันทึกครั้งแรก
ใช้คาสั่ง File Save As… หรือถ้าใช้คาสั่ง File Save กับไฟล์ที่ไม่มีการบันทึกมาก่อน
โปรแกรมจะเปิดหน้าต่าง ของ คาสั่ง File Save As… ดังรูป
ในช่อง Save in: เลือกโฟลเดอร์ที่ต้องการเก็บไฟล์ ในช่อง Save as
type: เลือก C source files(*.c) ในช่อง File name: ตั้งชื่อตามต้องการ เพื่อความ
มั่นใจให้ใส่ส่วนขยายของไฟล์เป็น .c จะได้ไฟล์ source code ของโปรแกรมที่จะเป็นภาษา
C ถ้าไม่กาหนดให้ถูกต้อง จะมีส่วนขยายเป็น .cpp ซึ่งเป็นไฟล์ ของ Source code ใน
ภาษา C++ ซึ่งมีรายละเอียดบางประการต่างไป จึงต้องระวังในเรื่องนี้
คาสั่งอื่น ๆ ในเมนู File ก็เป็นลักษณะทานองเดียวกันกับโปรแกรมอื่น ๆ จึง
ไม่ขออธิบายในที่นี้
เมนู Execute
เมนูนี้ใช้สาหรับเพื่อเปลี่ยนคาสั่งให้เป็นภาษาเครื่องและทดลองสั่งให้โปรแกรม
โดยไฟล์ที่จะใช้ในเมนูนี้ จะต้องเป็นไฟล์ที่บันทึกมาก่อนแล้ว เมื่อเปิดเมนู Exucute จะได้
หน้าต่างดังรูป
บอก
ควำม
ผิดพลำด
ในช่องนี้
คาสั่งที่ต้องใช้ประจาคือ Compile กับ Run คาสั่ง Compile เป็นการไปสั่งให้
compiler (ของภาษาซีที่เราเลือกไว้ ของ Dev-C++ ซึ่งสามารถเปลี่ยนได้ แต่ปกติใช้ ของ
MinGW ซึ่งใช้ในการเรียนการสอนวิชานี้) เปลี่ยนคาสั่งที่เราสร้างไปเป็น ภาษาเครื่อง แล้ว
ตามด้วยสั่งให้ Linker ชุดเดียวกันทาให้ภาษาเครื่องที่ได้รวมกับคาสั่งอื่น ๆ ที่จาเป็นเพื่อให้ได้
โปรแกรมที่สามารถทางานได้ ถ้ามีปัญหาต่าง ๆ ที่ทาให้ไม่ได้โปรแกรมที่สามารถทางานได้ เช่น
เขียนคาสั่งผิด จะแสดงความผิดพลาด ลักษณะดังรูป
ถ้าโปรแกรมที่เขียนสามารถ compile ได้สาเร็จ แม้จะมีข้อผิดพลาดแต่เป็น
ข้อผิดพลาดที่ไม่มีปัญหาต่อการ compile จะได้หน้าต่าง ดังรูป ปิดหน้าต่าง Compile
Progress เพื่อทางานต่อไป
คาสั่ง Run เป็นคาสั่งให้โปรแกรมที่ Compile แล้วทางานเพื่อทดลองดูผลการ
ทางานของโปรแกรม โปรแกรมที่จะใช้คาสั่งนี้ได้ต้องผ่านการ ใช้คาสั่ง Execute Compile
มาแล้ว
เมนู Tools
เมนูนี้มีคาสั่งหลายคาสั่ง ดังรูป
คาสั่งต่าง ๆ ในเมนูนี้ก็มีประโยชน์แต่ในการเรียนการสอนในวิชานี้ไม่ใคร่ได้ใช้ ขอแนะนา
คาสั่งเดียวเพื่อความสะดวกในการแก้ไขข้อผิดพลาดเมื่อมีการเขียนคาสั่งผิด คือ คาสั่ง Editor
Options เมื่อใช้คาสั่งนี้ ให้เลือก tab Display แล้วเลือกคาสั่ง Line Numbers ดัง
รูป
เมื่อ compile โปรแกรมแล้วมีข้อผิดพลาด โปรแกรมจะแจ้งว่าผิดพลาดที่บรรทัดใด
ผู้เขียนโปรแกรมจะสามารถไปทาการได้ง่าย ๆ ไม่ต้องนับบรรทัด เพราะจะมีหมายเลขบรรทัด
ปรากฏอยู่ ดังรูป

More Related Content

What's hot

ส่งงาน Microsoft Visual Basic 6.0
ส่งงาน Microsoft Visual Basic 6.0ส่งงาน Microsoft Visual Basic 6.0
ส่งงาน Microsoft Visual Basic 6.0Bass Bass
 
18 ธนวัต-ปวช.3-7
18 ธนวัต-ปวช.3-718 ธนวัต-ปวช.3-7
18 ธนวัต-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ saengtham
 
ความเป็นมาของภาษาC
ความเป็นมาของภาษาCความเป็นมาของภาษาC
ความเป็นมาของภาษาCWittaya Kaewchat
 
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ NetBeans
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ NetBeansการเขียนโปรแกรมโดยใช้ NetBeans
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ NetBeansNomjeab Nook
 
สรยุทธ นันทวัฒน์
สรยุทธ นันทวัฒน์สรยุทธ นันทวัฒน์
สรยุทธ นันทวัฒน์Sorayut Chatcharawan
 
คู่มือการติดตั้งโปรแกรมสำหรับสร้าง Mobile Application ด้วย HTML5 และ Ionic Fr...
คู่มือการติดตั้งโปรแกรมสำหรับสร้าง Mobile Application ด้วย HTML5 และ Ionic Fr...คู่มือการติดตั้งโปรแกรมสำหรับสร้าง Mobile Application ด้วย HTML5 และ Ionic Fr...
คู่มือการติดตั้งโปรแกรมสำหรับสร้าง Mobile Application ด้วย HTML5 และ Ionic Fr...Pitchayanida Khumwichai
 
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Netbeans
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Netbeansการเขียนโปรแกรมโดยใช้ Netbeans
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ NetbeansWasin Kunnaphan
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Visual basic 6.0
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Visual basic 6.0ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Visual basic 6.0
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Visual basic 6.0พลอย จ้า
 
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษาหน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษาPhanupong Chanayut
 
งานนำเสนอ การเขียนคำสั่่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
งานนำเสนอ การเขียนคำสั่่งควบคุมขั้นพื้นฐานงานนำเสนอ การเขียนคำสั่่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
งานนำเสนอ การเขียนคำสั่่งควบคุมขั้นพื้นฐานNoTe Tumrong
 
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Net beans และการสร้าง App Android
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Net beans และการสร้าง App Androidการเขียนโปรแกรมโดยใช้ Net beans และการสร้าง App Android
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Net beans และการสร้าง App AndroidAod Parinthorn
 

What's hot (20)

ส่งงาน Microsoft Visual Basic 6.0
ส่งงาน Microsoft Visual Basic 6.0ส่งงาน Microsoft Visual Basic 6.0
ส่งงาน Microsoft Visual Basic 6.0
 
Unit3coding
Unit3codingUnit3coding
Unit3coding
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา Cโครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
 
18 ธนวัต-ปวช.3-7
18 ธนวัต-ปวช.3-718 ธนวัต-ปวช.3-7
18 ธนวัต-ปวช.3-7
 
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา Cโครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
 
ยินดีนำเสนอ
ยินดีนำเสนอยินดีนำเสนอ
ยินดีนำเสนอ
 
ความเป็นมาของภาษาC
ความเป็นมาของภาษาCความเป็นมาของภาษาC
ความเป็นมาของภาษาC
 
การเขียนโปรแกรมด้วย Vb 6.0
การเขียนโปรแกรมด้วย Vb 6.0การเขียนโปรแกรมด้วย Vb 6.0
การเขียนโปรแกรมด้วย Vb 6.0
 
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ NetBeans
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ NetBeansการเขียนโปรแกรมโดยใช้ NetBeans
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ NetBeans
 
01 intro
01 intro01 intro
01 intro
 
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Netbean
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Netbeanการเขียนโปรแกรมโดยใช้ Netbean
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Netbean
 
สรยุทธ นันทวัฒน์
สรยุทธ นันทวัฒน์สรยุทธ นันทวัฒน์
สรยุทธ นันทวัฒน์
 
คู่มือการติดตั้งโปรแกรมสำหรับสร้าง Mobile Application ด้วย HTML5 และ Ionic Fr...
คู่มือการติดตั้งโปรแกรมสำหรับสร้าง Mobile Application ด้วย HTML5 และ Ionic Fr...คู่มือการติดตั้งโปรแกรมสำหรับสร้าง Mobile Application ด้วย HTML5 และ Ionic Fr...
คู่มือการติดตั้งโปรแกรมสำหรับสร้าง Mobile Application ด้วย HTML5 และ Ionic Fr...
 
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Netbeans
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Netbeansการเขียนโปรแกรมโดยใช้ Netbeans
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Netbeans
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Visual basic 6.0
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Visual basic 6.0ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Visual basic 6.0
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Visual basic 6.0
 
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษาหน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา Cโครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
 
งานนำเสนอ การเขียนคำสั่่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
งานนำเสนอ การเขียนคำสั่่งควบคุมขั้นพื้นฐานงานนำเสนอ การเขียนคำสั่่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
งานนำเสนอ การเขียนคำสั่่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Net beans และการสร้าง App Android
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Net beans และการสร้าง App Androidการเขียนโปรแกรมโดยใช้ Net beans และการสร้าง App Android
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Net beans และการสร้าง App Android
 

Viewers also liked

Introduction to problem_solving
Introduction to problem_solvingIntroduction to problem_solving
Introduction to problem_solvingNunnaphat Chadajit
 
หลักการแก้ปัญหาและการพัฒนาโปรแกรม
หลักการแก้ปัญหาและการพัฒนาโปรแกรมหลักการแก้ปัญหาและการพัฒนาโปรแกรม
หลักการแก้ปัญหาและการพัฒนาโปรแกรมNunnaphat Chadajit
 
ทรัพย์สินทางปัญญา
ทรัพย์สินทางปัญญาทรัพย์สินทางปัญญา
ทรัพย์สินทางปัญญาNunnaphat Chadajit
 
การสมัครใช้งานบล็อกที่ www.wordpress.com
การสมัครใช้งานบล็อกที่ www.wordpress.comการสมัครใช้งานบล็อกที่ www.wordpress.com
การสมัครใช้งานบล็อกที่ www.wordpress.comNunnaphat Chadajit
 
ทรัพย์สินทางปัญญา
ทรัพย์สินทางปัญญาทรัพย์สินทางปัญญา
ทรัพย์สินทางปัญญาNunnaphat Chadajit
 
ตัวอย่างรูปเล่ม โครงงานคอมพิวเตอร์ 5 บท
ตัวอย่างรูปเล่ม โครงงานคอมพิวเตอร์ 5 บทตัวอย่างรูปเล่ม โครงงานคอมพิวเตอร์ 5 บท
ตัวอย่างรูปเล่ม โครงงานคอมพิวเตอร์ 5 บทNunnaphat Chadajit
 

Viewers also liked (16)

Introduction toc
Introduction tocIntroduction toc
Introduction toc
 
Work1
Work1Work1
Work1
 
Introduction to problem_solving
Introduction to problem_solvingIntroduction to problem_solving
Introduction to problem_solving
 
C oho ipst
C oho ipstC oho ipst
C oho ipst
 
Ch2
Ch2Ch2
Ch2
 
Add widget
Add widgetAdd widget
Add widget
 
หลักการแก้ปัญหาและการพัฒนาโปรแกรม
หลักการแก้ปัญหาและการพัฒนาโปรแกรมหลักการแก้ปัญหาและการพัฒนาโปรแกรม
หลักการแก้ปัญหาและการพัฒนาโปรแกรม
 
Import sound in_flash
Import sound in_flashImport sound in_flash
Import sound in_flash
 
Mid2 2556
Mid2 2556Mid2 2556
Mid2 2556
 
ทรัพย์สินทางปัญญา
ทรัพย์สินทางปัญญาทรัพย์สินทางปัญญา
ทรัพย์สินทางปัญญา
 
Score1 57update
Score1 57updateScore1 57update
Score1 57update
 
การสมัครใช้งานบล็อกที่ www.wordpress.com
การสมัครใช้งานบล็อกที่ www.wordpress.comการสมัครใช้งานบล็อกที่ www.wordpress.com
การสมัครใช้งานบล็อกที่ www.wordpress.com
 
Grade1-57
Grade1-57Grade1-57
Grade1-57
 
Test flowchart
Test flowchartTest flowchart
Test flowchart
 
ทรัพย์สินทางปัญญา
ทรัพย์สินทางปัญญาทรัพย์สินทางปัญญา
ทรัพย์สินทางปัญญา
 
ตัวอย่างรูปเล่ม โครงงานคอมพิวเตอร์ 5 บท
ตัวอย่างรูปเล่ม โครงงานคอมพิวเตอร์ 5 บทตัวอย่างรูปเล่ม โครงงานคอมพิวเตอร์ 5 บท
ตัวอย่างรูปเล่ม โครงงานคอมพิวเตอร์ 5 บท
 

Similar to Dev cusing (1)

การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีchoco336
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีchoco336
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีchoco336
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีchoco336
 
การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++Naowarat Jaikaroon
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมOnrutai Intanin
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมOnrutai Intanin
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1SubLt Masu
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์N'Name Phuthiphong
 
Netbeans and Android Appliation
Netbeans and Android AppliationNetbeans and Android Appliation
Netbeans and Android AppliationSedthawoot Pitapo
 
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++dechathon
 
ภาษา C
ภาษา Cภาษา C
ภาษา C0872671746
 
การเขียนโปรแกรมด้วย Net beans
การเขียนโปรแกรมด้วย Net beansการเขียนโปรแกรมด้วย Net beans
การเขียนโปรแกรมด้วย Net beansApisit Song
 
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์Onrutai Intanin
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีณัฐพล บัวพันธ์
 
ประวัติภาษา C
ประวัติภาษา Cประวัติภาษา C
ประวัติภาษา CFair Kung Nattaput
 

Similar to Dev cusing (1) (20)

การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอม
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอม
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
 
งานทำBlog บทที่ 1
งานทำBlog บทที่ 1งานทำBlog บทที่ 1
งานทำBlog บทที่ 1
 
งานทำBlog บทที่ 1
งานทำBlog บทที่ 1งานทำBlog บทที่ 1
งานทำBlog บทที่ 1
 
งานทำBlog บทที่ 1
งานทำBlog บทที่ 1งานทำBlog บทที่ 1
งานทำBlog บทที่ 1
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 
Netbeans and Android Appliation
Netbeans and Android AppliationNetbeans and Android Appliation
Netbeans and Android Appliation
 
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++
 
ภาษา C
ภาษา Cภาษา C
ภาษา C
 
การเขียนโปรแกรมด้วย Net beans
การเขียนโปรแกรมด้วย Net beansการเขียนโปรแกรมด้วย Net beans
การเขียนโปรแกรมด้วย Net beans
 
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
 
ประวัติภาษา C
ประวัติภาษา Cประวัติภาษา C
ประวัติภาษา C
 

Dev cusing (1)

  • 1. แนะนำกำรใช้งำน Dev-C++ การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ภาษาต่าง ๆ ปกติเขียนคาสั่งต่าง ๆ ด้วยโปรแกรมที่ เรียกว่า editor ซึ่งอาจใช้โปรแกรมพวก word Processor เขียนโดยไม่ใช้รูปแบบพิเศษ ต่าง ๆ หรือใช้โปรแกรมที่มีรูปแบบพิเศษน้อย ๆ เช่น notepad เขียน แล้วเปลี่ยนภาษาที่เขียน นั้นเป็นภาษาเครื่องโดยใช้ compiler ของภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้ เช่นคอมไพล์เลอร์ของ ภาษาซี ซึ่งก็มีผู้ผลิตหลายราย ซึ่งต้องเป็นไปตามมาตรฐาน ANSI C และมีรายละเอียด เพิ่มเติมแตกต่างกันไป ในการเรียนการสอนวิชานี้จะใช้ editor และ compiler ที่รวมกันไว้แล้ว ใน ชุด พัฒนาหรือเครื่องมือที่ช่วยในการพัฒนาโปรแกรม ภาษาอังกฤษเรียกว่า IDE (Intregal Devenlopment Environment) ซึ่งเป็นโปรแกรมที่ออกแบบมาเพื่อช่วยในการสร้าง โปรแกรมของผู้ที่จะทาการเขียนโปรแกรมทางานได้ง่ายขึ้น ไม่ต้องแยกใช้ editor เขียน โปรแกรม แล้วเรียกใช้ compiler ทาการคอมไพล์โปรแกรมอีก โดย IDE ก็มีผู้ผลิตหลาย ราย ดังที่ได้กล่าวไว้ในการเรียนรายวิชา คอมพิวเตอร์และขั้นตอนวิธี ง40213 โดยในการเรียน การสอนวิชานี้จะใช้ IDE ที่ใช้ในในปัจจุบันของการอบรมต่าง ๆ ของ สสวท. คือ Bloodshed Dev-C++ ซึ่งการดาวน์โหลด และการติดตั้งได้กล่าวไปแล้วในรายวิชา คอมพิวเตอร์และขั้นตอนวิธี ง40213 เช่นเดียวกัน ในที่นี้จะกล่าวถึงการใช้งาน IDE นี้เฉพาะ ส่วนที่จาเป็นในการใช้งานในการเรียนการสอนนี้เท่านั้นส่วนรายละเอียด เพิ่มเติมถ้าสนใจให้ไป ศึกษาเพิ่มเติม กำรเรียกใช้ Dev-C++ การเรียกใช้ Dev-C++ ทาได้ทานองเดียวกับการเรียกใช้โปรแกรมอื่น ๆ เช่น เรียกที่ Start All Programs Bloodshed Dev-C++ คลิกที่ Dev-C++ ดังรูป
  • 2. จะได้หน้าต่างโปรแกรม Dev-C++ ดังรูป เมนู File เมื่อเปิดขึ้นมาครั้งแรกจะมีลักษณะ และเลือกคาสั่ง New จะได้ ดังรูป
  • 3. เขียนคำสั่ง ในช่องนี้ คาสั่ง New ใช้สร้างไฟล์ใหม่ เมื่อเลือก คาสั่ง Source File (มีคีย์ลัด Ctrl+N) ใช้สาหรับสร้างไฟล์เพื่อเขียนคาสั่งในโปรแกรมที่จะสร้างขึ้น ซึ่งจะใช้ในการเรียนการ สอนในวิชานี้ จะได้หน้าต่างดังรูป เมื่อเขียนคาสั่ง หรือ รหัสโปรแกรม จะได้หน้าต่างโปรแกรมในลักษณะ ดังรูป
  • 4. เมื่อเขียนโปรแกรมเสร็จหรือต้องการบันทึกไว้เพื่อป้องกันการเสียหาย การบันทึกครั้งแรก ใช้คาสั่ง File Save As… หรือถ้าใช้คาสั่ง File Save กับไฟล์ที่ไม่มีการบันทึกมาก่อน โปรแกรมจะเปิดหน้าต่าง ของ คาสั่ง File Save As… ดังรูป ในช่อง Save in: เลือกโฟลเดอร์ที่ต้องการเก็บไฟล์ ในช่อง Save as type: เลือก C source files(*.c) ในช่อง File name: ตั้งชื่อตามต้องการ เพื่อความ มั่นใจให้ใส่ส่วนขยายของไฟล์เป็น .c จะได้ไฟล์ source code ของโปรแกรมที่จะเป็นภาษา C ถ้าไม่กาหนดให้ถูกต้อง จะมีส่วนขยายเป็น .cpp ซึ่งเป็นไฟล์ ของ Source code ใน ภาษา C++ ซึ่งมีรายละเอียดบางประการต่างไป จึงต้องระวังในเรื่องนี้ คาสั่งอื่น ๆ ในเมนู File ก็เป็นลักษณะทานองเดียวกันกับโปรแกรมอื่น ๆ จึง ไม่ขออธิบายในที่นี้
  • 6. บอก ควำม ผิดพลำด ในช่องนี้ คาสั่งที่ต้องใช้ประจาคือ Compile กับ Run คาสั่ง Compile เป็นการไปสั่งให้ compiler (ของภาษาซีที่เราเลือกไว้ ของ Dev-C++ ซึ่งสามารถเปลี่ยนได้ แต่ปกติใช้ ของ MinGW ซึ่งใช้ในการเรียนการสอนวิชานี้) เปลี่ยนคาสั่งที่เราสร้างไปเป็น ภาษาเครื่อง แล้ว ตามด้วยสั่งให้ Linker ชุดเดียวกันทาให้ภาษาเครื่องที่ได้รวมกับคาสั่งอื่น ๆ ที่จาเป็นเพื่อให้ได้ โปรแกรมที่สามารถทางานได้ ถ้ามีปัญหาต่าง ๆ ที่ทาให้ไม่ได้โปรแกรมที่สามารถทางานได้ เช่น เขียนคาสั่งผิด จะแสดงความผิดพลาด ลักษณะดังรูป ถ้าโปรแกรมที่เขียนสามารถ compile ได้สาเร็จ แม้จะมีข้อผิดพลาดแต่เป็น ข้อผิดพลาดที่ไม่มีปัญหาต่อการ compile จะได้หน้าต่าง ดังรูป ปิดหน้าต่าง Compile Progress เพื่อทางานต่อไป
  • 7. คาสั่ง Run เป็นคาสั่งให้โปรแกรมที่ Compile แล้วทางานเพื่อทดลองดูผลการ ทางานของโปรแกรม โปรแกรมที่จะใช้คาสั่งนี้ได้ต้องผ่านการ ใช้คาสั่ง Execute Compile มาแล้ว เมนู Tools เมนูนี้มีคาสั่งหลายคาสั่ง ดังรูป
  • 8. คาสั่งต่าง ๆ ในเมนูนี้ก็มีประโยชน์แต่ในการเรียนการสอนในวิชานี้ไม่ใคร่ได้ใช้ ขอแนะนา คาสั่งเดียวเพื่อความสะดวกในการแก้ไขข้อผิดพลาดเมื่อมีการเขียนคาสั่งผิด คือ คาสั่ง Editor Options เมื่อใช้คาสั่งนี้ ให้เลือก tab Display แล้วเลือกคาสั่ง Line Numbers ดัง รูป
  • 9. เมื่อ compile โปรแกรมแล้วมีข้อผิดพลาด โปรแกรมจะแจ้งว่าผิดพลาดที่บรรทัดใด ผู้เขียนโปรแกรมจะสามารถไปทาการได้ง่าย ๆ ไม่ต้องนับบรรทัด เพราะจะมีหมายเลขบรรทัด ปรากฏอยู่ ดังรูป