SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน
การปลูกพืชไร้ดิน (Hydroponic)
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นางสาววัชรินทร์ เอื้องแซะ เลขที่ 2 ชั้น ม.6 ห้อง 8
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ผู้จัดทา
นางสาววัชรินทร์ เอื้องแซะ เลขที่ 2
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
การปลูกพืชไร้ดิน
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Hydroponic
ประเภทโครงงาน เพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาววัชรินทร์ เอื้องแซะ
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
จากอดีตมาจนถึงปัจจุบันประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรมมาแต่โบราณ การปลูกพืชเพื่อ
การเกษตรในสมัยก่อนจะใช้วิธีการปลูกพืชในดิน ซึ่งการปลูกพืชในดินก็เป็นวิธีที่นิยมปฏิบัติกันทั่วไป
ทั้งนี้เพราะเป็นวิธีที่ง่าย ประหยัดค่าใช้จ่ายและไม่ต้องดูแลรักษาเป็นพิเศษ แต่ก็พบปัญหามากเช่นกัน ซึ่ง
ได้แก่ 1. ปัญหาสภาพอากาศ เช่น ในฤดูแล้ง พื้นดินจะแห้งและขาดความอุดมสมบูรณ์ ทาให้เป็น
อุปสรรคในการเพาะปลูก เพราะการปลูกพืชวิธีนี้ใช้ดินเป็นองค์ประกอบหลัก 2. ความเสี่ยงใน
ผลผลิต สมัยก่อนการเพาะปลูกนั้นจะทาเพื่อบริโภคในครัวเรือน ส่วนที่เหลือก็นาไปแลกเปลี่ยนกับเครื่อง
อุปโภค บริโภคแทนการใช้เงินซื้อ การเพาะปลูกระบบนี้จึงเป็นการเพาะปลูกแบบพอเพียง จึงไม่ค่อยมี
ปัญหาเรื่องศัตรูพืช แต่ปัจจุบันจุดประสงค์ของการปลูกเปลี่ยนมาเป็นเพื่อการค้า และใช้ระบบการปลูก
แบบขยายวงกว้างซึ่งมีความยากลาบากในการป้องกันปัญหาจากศัตรูพืช ดังนั้นจึงมีการนายาฆ่าแมลงเข้า
มาใช้ เพื่อให้ผลผลิตที่ได้มีความสวยงาม และเมื่อนาออกสู่ตลาดจะขายได้ราคาดี แต่การทาเช่นนี้ส่งผล
เสียต่อสุขภาพของผู้บริโภคเป็นอย่างมาก เพราะเมื่อรับประทานเข้าไปเป็นเวลานาน สารพิษเหล่านี้ก็จะ
สะสมและตกค้างอยูในร่างกาย 3. ข้อจากัดของสถานที่ ผู้ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ที่จากัด เช่น แฟลต หรือ
อาคารชุด ไม่สามารถเพาะปลูกได้ ซึ่งปัจจุบันมีการคิดค้นการปลูกผักแบบใหม่ด้วยวิธีไฮโดรโปนิกส์ที่มี
เทคนิคที่คิดค้นใหม่ๆหลากหลายรูปแบบ มิได้จากัดอยู่เฉพาะการปลูกพืชในน้า (water culture) เท่านั้น
บางกรณีมีการใช้วัสดุปลูก (substrate) ทดแทนดินทั้งหมดและรดด้วยสารละลายธาตุอาหารพืช เทคนิค
ดังกล่าวนิยมเรียกว่า การปลูกโดยไม่ใช้ดิน หรือ การปลูกพืชไร้ดิน (soilless culture) ซึ่งเป็นที่น่าสังเกต
ว่าเทคนิคการปลูกพืชในน้าก็ดีหรือการปลูกพืชด้วยวิธีไฮโดรโปนิกส์รูปแบบอื่นๆก็ดี บางครั้งก็อาจเรียก
3
รวมๆ ว่า soilless culture แทนคาว่า hydroponics ก็ได้ ไฮโดรโปนิกส์ มีประโยชน์หลักๆ 2 ประการ
ด้วยกัน ประการแรกคือช่วยให้มีสิ่งแวดล้อมที่ควบคุมได้มากขึ้นสาหรับการเติบโตของพืช แทนที่จะเป็น
การใช้ดินอย่างเดิม ทาให้กาจัดตัวแปรที่ไม่ทราบออกไปจากการทดลองได้จานวนมาก ประการที่สองก็
คือ พืชหลายชนิดจะให้ผลผลิตได้มากในเวลาที่น้อยกว่าเดิม และในบางครั้งก็มีคุณภาพที่ดีกว่าเดิมด้วย
ซึ่งในสภาพแวดล้อมและสภาพการเศรษฐศาสตร์หนึ่งๆการปลูกพืชแบบไฮโดรโปนิกส์จะให้ผลกาไรแก่
เกษตรกรมากขึ้น และด้วยการปลูกที่ไม่ใช้ดินจึงทาให้พืชไม่มีโรคที่เกิดในดิน ไม่มีวัชพืช ไม่ต้องจัดการ
ดิน และยังสามารถปลูกพืชใกล้กันมากได้ ด้วยเหตุนี้พืชจึงให้ผลผลิตในปริมาณที่มากกว่าเดิมขณะที่ใช้
พื้นที่จากัด นอกจากนี้ยังมีการใช้น้าน้อยมากเพราะมีการใช้ภาชนะ หรือระบบวนน้าแบบปิด เพื่อ
หมุนเวียนน้า เมื่อเทียบกับการเกษตรแบบเดิมแล้วนับว่าใช้น้าเพียงส่วนน้อยนิดเท่านั้น ผู้จัดทาจึงคิดว่า
การปลูกผักแบบไฮโดรโปนิกส์หรือการปลูกพืชไร้ดินเป็นนวัตกรรมใหม่ที่ทุกคนสามารถนามาประยุกต์ให้
ในชีวิตประจาวันได้ อีกทั้งยังสามารถนามาปลูกในพื้นที่ที่จากัดและประหยัดค่าใช้จ่ายอีกด้วย
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. เพื่อศึกษาการปลูกพืชไฮโดรโปนิกส์หรือพืชไร้ดิน
2. เพื่อลดปัญหาการใช้พื้นที่จานวนมากในการปลูกพืช
3. เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการทาการเกษตร
4. เพื่อเพิ่มคุณค่าทางสารอาหารและลดสารพิษในผัก
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
ผักที่นามาใช้ในการศึกษา คือ ผักสลัดแก้วและผักกาดกวางตุ้ง
กลุ่มที่ศึกษาคือ คนที่มีพื้นที่อยู่อาศัยอย่างจากัด
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
จากเว็บไซต์ H2Ohydrogarden ได้เขียนบทความเกี่ยวกับผักไฮโดรโปนิกส์ ดังรายละเอียด
ต่อไปนี้
ไฮโดรโปนิกส์ (hydroponics) เป็นคาที่มาจากภาษากรีก 2 คา คือคาว่า hydro ซึ่งแปลว่าน้า
และคาว่า ponos แปลว่าทางานหรือแรงงาน เมื่อรวมกันจึงมีความหมายว่าการทางานที่เกี่ยวข้องกับน้า
ประวัติความเป็นมาของการปลูกพืชโดยวิธีนี้นั้นเริ่มมาจากการศึกษาเกี่ยวกับการใช้ธาตุอาหารต่างๆ ใน
การปลูกพืช ซึ่งมีมาตั้งแต่หลายพันปีก่อนสมัยของอริสโตเติล จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์พบว่า
นักวิทยาศาสตร์หลายท่านได้เขียนบันทึกต่างๆ ทางพฤกษศาสตร์ขึ้นและปรากฏอยู่จนทุกวันนี้ แต่การ
ปลูกพืชตามหลักการทางวิทยาศาสตร์นั้นเริ่มขึ้นประมาณ 300 ปีมาแล้ว คือประมาณ ค.ศ. 1699 John
Woodward นักพฤกษศาสตร์ชาวอังกฤษได้พยายามทาการทดลอง เพื่อหาคาตอบว่าอนุภาคของ
ของแข็งและของเหลวที่อยู่ในดินมีความสาคัญต่อการเจริญเติบโตของพืชอย่างไร ต่อมาปี ค.ศ. 1860-
1865 นักวิทยาศาสตร์ชื่อ Sachs และ Knop นับเป็นผู้ริเริ่มปลูกพืชด้วยวิธีไฮโดรโปนิกส์ตามหลักการ
ทางวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ โดยการปลูกพืชด้วยสารละลายเกลือ อนินทรีย์ต่างๆ เช่น โพแทสเซี่ยม
ฟอสเฟต โพแทสเซี่ยมไนเตรต ซึ่งให้ธาตุอาหารที่จาเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช คือ ไนโตรเจน
4
ฟอสฟอรัส โพแทสเซี่ยม แมกนีเซียม กามะถัน แคลเซียม และเหล็ก ภายหลังมีการพัฒนาสูตรธาตุ
อาหารพืชเรื่อยมา จนถึงปี ค.ศ. 1920-1930 William F.Gericke แห่งมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย
ประสบความสาเร็จในการปลูกมะเขือเทศในสารละลายธาตุอาหาร โดยพืชมีการเจริญเติบโตสมบูรณ์และ
ให้ผลผลิตเร็ว นับเป็นจุดเริ่มต้นของการนาเทคนิคการปลูกพืชโดยวิธีนี้ไปประยุกต์ใช้เพื่อปลูกพืชเป็น
การค้า และได้มีการพัฒนาเทคนิควิธีการและส่วนประกอบในสารละลายเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน
ไฮโดรโปนิกส์ (Hydroponics) เป็นการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดินแต่ใช้น้าที่มีธาตุอาหารพืชละลายอยู่
หรือ การปลูกพืชในสารละลายธาตุอาหารพืชทดแทน ซึ่งนับเป็นวิธีการใหม่ในการปลูกพืช โดยเฉพาะ
การปลูกผักและพืชที่ใช้เป็นอาหาร เนื่องจากประหยัดพื้นที่ และไม่ปนเปื้อนกับสารเคมีต่างๆ ในดิน ให้ได้
พืชผักที่สะอาดเป็นอาหาร ปัจจุบันนี้ในเทคนิคการปลูกพืชแบบไร้ดินหลายแบบด้วยกัน
คาว่า ไฮโดรโปนิกส์ (hydroponics) เป็นคาผสมระหว่างคา 3 คา คือ
• ไฮโดร (hydro) หมายถึงน้า
• โปโนส (ponos) เป็นคาที่มาจากภาษากรีก หมายถึงการทางาน
• อิกส์ (ics) หมายถึงศาสตร์หรือศิลปะ
ซึ่งเมื่อรวมคาทั้ง 3 คาเข้าด้วยกันจึงมีความหมายตามรูปศัพท์ว่า ศาสตร์หรือศิลปะว่าด้วยการทางานของ
น้า
ปัจจุบัน การปลูกพืชด้วยวิธีไฮโดรโปนิกส์มีเทคนิคที่คิดค้นใหม่ๆหลากหลายรูปแบบ มิได้จากัด
อยู่เฉพาะการปลูกพืชในน้า (water culture) เท่านั้น บางกรณีมีการใช้วัสดุปลูก (substrate) ทดแทน
ดินทั้งหมดและรดด้วยสารละลายธาตุอาหารพืช ซึ่งเรามักเรียกว่า ซับส์เทรต คัลเจอร์ (substrate
culture) หรือมีเดีย คัลเจอร์ (media culture) หรือแอกกรีเกตไฮโดรโปนิกส์ (aggregate
hydroponics) เทคนิคดังกล่าวนิยมเรียกว่า การปลูกโดยไม่ใช้ดิน หรือ การปลูกพืชไร้ดิน (soilless
culture) ซึ่งเป็นที่น่าสังเกตว่าเทคนิคการปลูกพืชในน้าก็ดี หรือ การปลูกพืชด้วยวิธีไฮโดรโปนิกส์
รูปแบบอื่นๆก็ดี บางครั้งก็อาจเรียกรวมๆว่า soilless culture แทนคาว่า hydroponics ก็ได้
ไฮโดรโปนิกส์ มีประโยชน์หลักๆ 2 ประการด้วยกัน ประการแรกคือช่วยให้มีสิ่งแวดล้อมที่ควบคุม
ได้มากขึ้นสาหรับการเติบโตของพืช แทนที่จะเป็นการใช้ดินอย่างเดิม ทาให้กาจัดตัวแปรที่ไม่ทราบ
ออกไปจากการทดลองได้จานวนมาก ประการที่สองก็คือ พืชหลายชนิดจะให้ผลผลิตได้มากในเวลาที่
น้อยกว่าเดิม และในบางครั้งก็มีคุณภาพที่ดีกว่าเดิมด้วย ซึ่งในสภาพแวดล้อมและสภาพการ
เศรษฐศาสตร์หนึ่งๆ การปลูกพืชแบบไฮโดรโปนิกส์จะให้ผลกาไรแก่เกษตรกรมากขึ้น และด้วยการปลูก
ที่ไม่ใช้ดินจึงทาให้พืชไม่มีโรคที่เกิดในดิน ไม่มีวัชพืช ไม่ต้องจัดการดิน และยังสามารถปลูกพืชใกล้กัน
มากได้ ด้วยเหตุนี้พืชจึงให้ผลผลิตในปริมาณที่มากกว่าเดิมขณะที่ใช้พื้นที่จากัด นอกจากนี้ยังมีการใช้
5
น้าน้อยมากเพราะมีการใช้ภาชนะ หรือระบบวนน้าแบบปิด เพื่อหมุนเวียนน้า เมื่อเทียบกับการเกษตร
แบบเดิมแล้ว นับว่าใช้น้าเพียงส่วนน้อยนิดเท่านั้น
ด้วยคุณภาพที่กล่าวมาข้างต้น ทาให้ไฮโดรโปนิกส์มีประโยชน์กับการปลูกพืชที่ไม้ใช่วิธีการ
แบบเดิมๆ นักเขียนนิยายวิทยาศาสตร์ได้เสนอมานานแล้วว่า ไฮโดรโปนิกส์นั้นจะทาให้สถานีอวกาศ
หรือ ยานอวกาศ สามารถปลูกพืชไร้ดินได้เอง และคุณสมบัติดังกล่าวนี้ทาให้ไฮโดรโปนิกส์เหมาะอย่างยิ่ง
สาหรับผู้ที่ต้องการปลูกพืชโดยการการควบคุมปัจจัยที่เกี่ยวข้องได้มากที่สุด และมีความหนาแน่นสูงสุด
จากบทความของคุณกมลศักดิ์ นาดาได้เขียนบทความเกี่ยวกับข้อดีและข้อเสียของพืชไร้ดิน
ดังรายละเอียดต่อไปนี้
ข้อดี
1. สามารถปลูกได้ทุกสภาพพื้นที่เพราะไม่ได้ปลูกลงบนดิน
2. ให้ผลผลิตต่อพื้นที่สูงกว่าและสม่าเสมอ
3. การใช้แรงงานต่อพื้นที่น้อยกว่า
4. ผลผลิตมีคุณภาพและปลอดภัยจากสารพิษ
5. ระยะเวลาปลูกถึงเก็บเกี่ยวสั้นลง
6. ไม่มีปัญหาศัตรูพืชจากดิน สามารถปลูกได้ต่อเนื่อง
7. ใช้น้าและธาตุอาหารได้อย่างประหยัดและมีประสิทธิภาพ
8. ไม่ต้องเตรียมดินและกาจัดศัตรูพืช
9. ลดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการป้องกันและกาจัดแมลง 100%
10. สามารถปลูกในเมืองได้เพราะใช้พื้นที่น้อย
11. ผลผลิตดีกว่าปลูกแบบใช้ดิน
12. เป็นการส่งเสริมอาชีพผู้ด้อยโอกาส คนพิการก็สามารถทาได้
ข้อเสีย
1. ผู้ปลูกต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีแบะพืชปลูก
2. ต้นทุนการลงทุนครั้งแรกสูงในการสร้างโรงเรือนและอุปกรณ์ที่ใช้ปลูก
3. ด้านการตลาดยังไม่กว้างขวางและกลุ่มผู้บริโภคยังมีจากัด
เมื่อไม่นานมานี้มีข่าวเกี่ยวกับสารพิษตกค้างในผัก Hydroponics จนทาให้หลายๆท่านกลัวที่จะ
รับประทาน ซึ่งนั่นก็มีความเป็นจริงปนอยู่บ้าง แต่ก็ไม่ยากเกินไปที่จะตรวจสอบได้ด้วย 2 ตา
สารพิษตกค้างนั้นคือสารประกอบไนโตรเจนที่ชื่อ ไนเตรด เป็นสารก่อมะเร็ง ซึ่งพบในธรรมชาติ
ไม่เพียงแต่ผัก Hydroponics เท่านั้นที่พบ แต่พบได้ทั่วไป ปกติไนโตรเจนเป็นธาตุอาหารหลักที่พืชดูดซม
เข้าไปอยู่แล้ว แต่ไนเตรดจะถูกทาลายโดยแสงแดด แต่หากว่าพืชได้รับแสงแดดไม่เพียงพอ ก็จะเกิดการ
6
สะสมไนต้นพืช ผักที่ปลูกโดยการพลางแสงจะมีการสะสมไนเตรดด้วยกันทั้งสิ้นแต่ Hydroponics
ตกเป็นจาเลยเพราะว่า Hydroponics มักปลูกในโรงเรือน และมักมีการพลางแสงเพื่อให้ผักพยายาม
ขยายขนาดของใบให้มีพื้นที่รับแสงให้มากพอกับแสงแดดที่มีอยู่จากัด ผักก็จะงามใบ แต่จะมีสารพิษเข้า
มาแทนที่ ฉะนั้นการเลือกซื้อผัก ไม่ว่าจะ Hydroponics หรือไม่ก็ตาม ควรเลือกผักที่มีขนาดใบปกติ ลา
ต้นอวบอ้วน อย่าเลือกผักที่ใบใหญ่น่าทาน เพราะนั่นแปรว่าปลูกโดยการพรางแสง แต่ในปัจจุบันหาก
ปลูกโดยวิธี Hydroponics เกษตรกรจะงดให้ปุ๋ย 7 วันก่อนการเก็บเกี่ยว ทาให้พืชไม่ได้รับไนโตรเจน
และไนเตรดในต้นพืชจะถูกทาลายด้วยแสงแดดหมดภายใน 7 วัน ผัก Hydroponics ที่เก็บเกี่ยวอย่างถูก
วิธีนี้พบว่ามีสารไนเตรดแทบจะเป็นศูนย์ทีเดียว น้อยกว่าไนเตรดที่ตรวจพบในผักที่ปลูกกับดินเสียอีก
ฉะนั้นหากว่าเราไปเที่ยวสวนผัก Hydroponics อาจจะที่รังสิต อยุธยา หรือที่เชียงใหม่ หาก
คนขายบอกว่าไม่มีผักที่ได้ขนาดขาย ก็อย่าตื้อที่จะซื้อนะครับ เพราะเงินมันอาจล่อใจ ให้เขาขายผักที่ยัง
ไม่ได้ลดปุ๋ยก่อนเก็บเกี่ยวให้กับเราก็ได้
รูปแบบการปลูกพืชไม่ใช้ดิน
1. ปลูกในสารละลาย (Water culture)
- แบบน้าไหลเวียน โดยอาจไหลผ่านรางปลูกแบบฟิล์มบางซึ่งเรียกว่า Nutrient Film
Technique (NFT) และแบบน้าลึกประมาณ 5-10 ซม. ไหลผ่านรางปลูกเรียกว่า Deep Flow
Technique (DFT)
- แบบน้าซึมเข้าสู่ระบบรากพืช (passive system) โดยการปลูกพืชแล้วมีส่วนที่เป็นท่อนา
สารละลายปุ๋ยให้ได้สัมผัสกับรากพืช
2. การปลูกพืชโดยพ่นสารละลายใต้โคนรากพืช (Aceroponics) โดยควบคุมให้รากพืชสัมผัส
สารละลายต่อเนื่องตลอดที่ต้นพืชต้องการ
3. การปลูกโดยใช้วัสดุปลูก (Substrate culture)
- วัสดุที่ปลูกเป็นอินทรีย์ (Organic Substrate) เช่น ข้เลื่อย แกลบ ถ่าน เปลือกไม้ ฮิวมัส ปุ๋ย
หมักต่างๆเป็นต้น
- วัสดุปลูกที่เป็นอนินทรีย์ (Inorganic Substrate) เช่น กรวด ทราย ฟองน้า เป็นต้น
ธาตุอาหารและสารละลายธาตุอาหาร
การปลูกพืชไม่ใช่ดินจะต้องให้ธาตุอาหารและปัจจัยแวดล้อมให้เหมาะสมและสมดุลกัน พืชก็จะ
สามารถเจริญเติบโตได้ดีขึ้น ซึ่งความจาเป็นของธาตุต่อพืชมีดังนี้
กลุ่มธาตุที่พืชต้องการสูง (Macro elements) C, O, N, P, K, Ca, Mg และ S
กลุ่มธาตุอาหารที่พืชต้องการเล็กน้อย (Micro elements) Fe, Cl, B, Mn, Cn, Zn และ Mo
7
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
งบประมาณ
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
__________________________________________________________________
___________________________________________________________________
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
8
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
สถานที่ดาเนินการ
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________

More Related Content

What's hot (6)

2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
AT1
AT1AT1
AT1
 
AT1
AT1AT1
AT1
 
การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
 
2560 project -1-1
2560 project -1-12560 project -1-1
2560 project -1-1
 
Kiki
KikiKiki
Kiki
 

Similar to Hydroponic

กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพกิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพpaifahnutya
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project folkgi
 
โครงงานสีบำบัดโรค(Color Therapy)
โครงงานสีบำบัดโรค(Color Therapy)โครงงานสีบำบัดโรค(Color Therapy)
โครงงานสีบำบัดโรค(Color Therapy)Bezegrupe
 
โครงร่างโครงงานเรื่องไมเกรน
โครงร่างโครงงานเรื่องไมเกรนโครงร่างโครงงานเรื่องไมเกรน
โครงร่างโครงงานเรื่องไมเกรนพีพี ปฐพี
 
การฟื้นฟูปะการัง
การฟื้นฟูปะการังการฟื้นฟูปะการัง
การฟื้นฟูปะการังNichaphat Sanguthai
 
2559คอมงานคู่3
2559คอมงานคู่32559คอมงานคู่3
2559คอมงานคู่3Gankorn Inpia
 
2559คอมงานคู่2
2559คอมงานคู่22559คอมงานคู่2
2559คอมงานคู่2Gankorn Inpia
 
2560 project -1
2560 project -12560 project -1
2560 project -1PT Protae
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Guy Prp
 
งานนนนน
งานนนนนงานนนนน
งานนนนนachirayaRchi
 
ไส้เดือนเพื่อนกู้โลก
ไส้เดือนเพื่อนกู้โลกไส้เดือนเพื่อนกู้โลก
ไส้เดือนเพื่อนกู้โลกkuanjai saelee
 
การปลูกพืชไร้ดิน
การปลูกพืชไร้ดินการปลูกพืชไร้ดิน
การปลูกพืชไร้ดินPraphawit Promthep
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 projectmidfill69
 
งานตุ๋ยจุ๊ปๆ
งานตุ๋ยจุ๊ปๆงานตุ๋ยจุ๊ปๆ
งานตุ๋ยจุ๊ปๆPetcharatMint
 

Similar to Hydroponic (20)

โครงงาน Hydroponic
โครงงาน Hydroponicโครงงาน Hydroponic
โครงงาน Hydroponic
 
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพกิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
Project D
Project DProject D
Project D
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
โครงงานสีบำบัดโรค(Color Therapy)
โครงงานสีบำบัดโรค(Color Therapy)โครงงานสีบำบัดโรค(Color Therapy)
โครงงานสีบำบัดโรค(Color Therapy)
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
โครงร่างโครงงานเรื่องไมเกรน
โครงร่างโครงงานเรื่องไมเกรนโครงร่างโครงงานเรื่องไมเกรน
โครงร่างโครงงานเรื่องไมเกรน
 
2560 project no.03,28
2560 project  no.03,282560 project  no.03,28
2560 project no.03,28
 
การฟื้นฟูปะการัง
การฟื้นฟูปะการังการฟื้นฟูปะการัง
การฟื้นฟูปะการัง
 
2559คอมงานคู่3
2559คอมงานคู่32559คอมงานคู่3
2559คอมงานคู่3
 
2559คอมงานคู่2
2559คอมงานคู่22559คอมงานคู่2
2559คอมงานคู่2
 
2560 project -1
2560 project -12560 project -1
2560 project -1
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
งานนนนน
งานนนนนงานนนนน
งานนนนน
 
ไส้เดือนเพื่อนกู้โลก
ไส้เดือนเพื่อนกู้โลกไส้เดือนเพื่อนกู้โลก
ไส้เดือนเพื่อนกู้โลก
 
การปลูกพืชไร้ดิน
การปลูกพืชไร้ดินการปลูกพืชไร้ดิน
การปลูกพืชไร้ดิน
 
605 43projectcom
605 43projectcom605 43projectcom
605 43projectcom
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
 
งานตุ๋ยจุ๊ปๆ
งานตุ๋ยจุ๊ปๆงานตุ๋ยจุ๊ปๆ
งานตุ๋ยจุ๊ปๆ
 

Hydroponic

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน การปลูกพืชไร้ดิน (Hydroponic) ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาววัชรินทร์ เอื้องแซะ เลขที่ 2 ชั้น ม.6 ห้อง 8 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ ผู้จัดทา นางสาววัชรินทร์ เอื้องแซะ เลขที่ 2 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) การปลูกพืชไร้ดิน ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Hydroponic ประเภทโครงงาน เพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาววัชรินทร์ เอื้องแซะ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) จากอดีตมาจนถึงปัจจุบันประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรมมาแต่โบราณ การปลูกพืชเพื่อ การเกษตรในสมัยก่อนจะใช้วิธีการปลูกพืชในดิน ซึ่งการปลูกพืชในดินก็เป็นวิธีที่นิยมปฏิบัติกันทั่วไป ทั้งนี้เพราะเป็นวิธีที่ง่าย ประหยัดค่าใช้จ่ายและไม่ต้องดูแลรักษาเป็นพิเศษ แต่ก็พบปัญหามากเช่นกัน ซึ่ง ได้แก่ 1. ปัญหาสภาพอากาศ เช่น ในฤดูแล้ง พื้นดินจะแห้งและขาดความอุดมสมบูรณ์ ทาให้เป็น อุปสรรคในการเพาะปลูก เพราะการปลูกพืชวิธีนี้ใช้ดินเป็นองค์ประกอบหลัก 2. ความเสี่ยงใน ผลผลิต สมัยก่อนการเพาะปลูกนั้นจะทาเพื่อบริโภคในครัวเรือน ส่วนที่เหลือก็นาไปแลกเปลี่ยนกับเครื่อง อุปโภค บริโภคแทนการใช้เงินซื้อ การเพาะปลูกระบบนี้จึงเป็นการเพาะปลูกแบบพอเพียง จึงไม่ค่อยมี ปัญหาเรื่องศัตรูพืช แต่ปัจจุบันจุดประสงค์ของการปลูกเปลี่ยนมาเป็นเพื่อการค้า และใช้ระบบการปลูก แบบขยายวงกว้างซึ่งมีความยากลาบากในการป้องกันปัญหาจากศัตรูพืช ดังนั้นจึงมีการนายาฆ่าแมลงเข้า มาใช้ เพื่อให้ผลผลิตที่ได้มีความสวยงาม และเมื่อนาออกสู่ตลาดจะขายได้ราคาดี แต่การทาเช่นนี้ส่งผล เสียต่อสุขภาพของผู้บริโภคเป็นอย่างมาก เพราะเมื่อรับประทานเข้าไปเป็นเวลานาน สารพิษเหล่านี้ก็จะ สะสมและตกค้างอยูในร่างกาย 3. ข้อจากัดของสถานที่ ผู้ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ที่จากัด เช่น แฟลต หรือ อาคารชุด ไม่สามารถเพาะปลูกได้ ซึ่งปัจจุบันมีการคิดค้นการปลูกผักแบบใหม่ด้วยวิธีไฮโดรโปนิกส์ที่มี เทคนิคที่คิดค้นใหม่ๆหลากหลายรูปแบบ มิได้จากัดอยู่เฉพาะการปลูกพืชในน้า (water culture) เท่านั้น บางกรณีมีการใช้วัสดุปลูก (substrate) ทดแทนดินทั้งหมดและรดด้วยสารละลายธาตุอาหารพืช เทคนิค ดังกล่าวนิยมเรียกว่า การปลูกโดยไม่ใช้ดิน หรือ การปลูกพืชไร้ดิน (soilless culture) ซึ่งเป็นที่น่าสังเกต ว่าเทคนิคการปลูกพืชในน้าก็ดีหรือการปลูกพืชด้วยวิธีไฮโดรโปนิกส์รูปแบบอื่นๆก็ดี บางครั้งก็อาจเรียก
  • 3. 3 รวมๆ ว่า soilless culture แทนคาว่า hydroponics ก็ได้ ไฮโดรโปนิกส์ มีประโยชน์หลักๆ 2 ประการ ด้วยกัน ประการแรกคือช่วยให้มีสิ่งแวดล้อมที่ควบคุมได้มากขึ้นสาหรับการเติบโตของพืช แทนที่จะเป็น การใช้ดินอย่างเดิม ทาให้กาจัดตัวแปรที่ไม่ทราบออกไปจากการทดลองได้จานวนมาก ประการที่สองก็ คือ พืชหลายชนิดจะให้ผลผลิตได้มากในเวลาที่น้อยกว่าเดิม และในบางครั้งก็มีคุณภาพที่ดีกว่าเดิมด้วย ซึ่งในสภาพแวดล้อมและสภาพการเศรษฐศาสตร์หนึ่งๆการปลูกพืชแบบไฮโดรโปนิกส์จะให้ผลกาไรแก่ เกษตรกรมากขึ้น และด้วยการปลูกที่ไม่ใช้ดินจึงทาให้พืชไม่มีโรคที่เกิดในดิน ไม่มีวัชพืช ไม่ต้องจัดการ ดิน และยังสามารถปลูกพืชใกล้กันมากได้ ด้วยเหตุนี้พืชจึงให้ผลผลิตในปริมาณที่มากกว่าเดิมขณะที่ใช้ พื้นที่จากัด นอกจากนี้ยังมีการใช้น้าน้อยมากเพราะมีการใช้ภาชนะ หรือระบบวนน้าแบบปิด เพื่อ หมุนเวียนน้า เมื่อเทียบกับการเกษตรแบบเดิมแล้วนับว่าใช้น้าเพียงส่วนน้อยนิดเท่านั้น ผู้จัดทาจึงคิดว่า การปลูกผักแบบไฮโดรโปนิกส์หรือการปลูกพืชไร้ดินเป็นนวัตกรรมใหม่ที่ทุกคนสามารถนามาประยุกต์ให้ ในชีวิตประจาวันได้ อีกทั้งยังสามารถนามาปลูกในพื้นที่ที่จากัดและประหยัดค่าใช้จ่ายอีกด้วย วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. เพื่อศึกษาการปลูกพืชไฮโดรโปนิกส์หรือพืชไร้ดิน 2. เพื่อลดปัญหาการใช้พื้นที่จานวนมากในการปลูกพืช 3. เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการทาการเกษตร 4. เพื่อเพิ่มคุณค่าทางสารอาหารและลดสารพิษในผัก ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) ผักที่นามาใช้ในการศึกษา คือ ผักสลัดแก้วและผักกาดกวางตุ้ง กลุ่มที่ศึกษาคือ คนที่มีพื้นที่อยู่อาศัยอย่างจากัด หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) จากเว็บไซต์ H2Ohydrogarden ได้เขียนบทความเกี่ยวกับผักไฮโดรโปนิกส์ ดังรายละเอียด ต่อไปนี้ ไฮโดรโปนิกส์ (hydroponics) เป็นคาที่มาจากภาษากรีก 2 คา คือคาว่า hydro ซึ่งแปลว่าน้า และคาว่า ponos แปลว่าทางานหรือแรงงาน เมื่อรวมกันจึงมีความหมายว่าการทางานที่เกี่ยวข้องกับน้า ประวัติความเป็นมาของการปลูกพืชโดยวิธีนี้นั้นเริ่มมาจากการศึกษาเกี่ยวกับการใช้ธาตุอาหารต่างๆ ใน การปลูกพืช ซึ่งมีมาตั้งแต่หลายพันปีก่อนสมัยของอริสโตเติล จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์พบว่า นักวิทยาศาสตร์หลายท่านได้เขียนบันทึกต่างๆ ทางพฤกษศาสตร์ขึ้นและปรากฏอยู่จนทุกวันนี้ แต่การ ปลูกพืชตามหลักการทางวิทยาศาสตร์นั้นเริ่มขึ้นประมาณ 300 ปีมาแล้ว คือประมาณ ค.ศ. 1699 John Woodward นักพฤกษศาสตร์ชาวอังกฤษได้พยายามทาการทดลอง เพื่อหาคาตอบว่าอนุภาคของ ของแข็งและของเหลวที่อยู่ในดินมีความสาคัญต่อการเจริญเติบโตของพืชอย่างไร ต่อมาปี ค.ศ. 1860- 1865 นักวิทยาศาสตร์ชื่อ Sachs และ Knop นับเป็นผู้ริเริ่มปลูกพืชด้วยวิธีไฮโดรโปนิกส์ตามหลักการ ทางวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ โดยการปลูกพืชด้วยสารละลายเกลือ อนินทรีย์ต่างๆ เช่น โพแทสเซี่ยม ฟอสเฟต โพแทสเซี่ยมไนเตรต ซึ่งให้ธาตุอาหารที่จาเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช คือ ไนโตรเจน
  • 4. 4 ฟอสฟอรัส โพแทสเซี่ยม แมกนีเซียม กามะถัน แคลเซียม และเหล็ก ภายหลังมีการพัฒนาสูตรธาตุ อาหารพืชเรื่อยมา จนถึงปี ค.ศ. 1920-1930 William F.Gericke แห่งมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ประสบความสาเร็จในการปลูกมะเขือเทศในสารละลายธาตุอาหาร โดยพืชมีการเจริญเติบโตสมบูรณ์และ ให้ผลผลิตเร็ว นับเป็นจุดเริ่มต้นของการนาเทคนิคการปลูกพืชโดยวิธีนี้ไปประยุกต์ใช้เพื่อปลูกพืชเป็น การค้า และได้มีการพัฒนาเทคนิควิธีการและส่วนประกอบในสารละลายเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน ไฮโดรโปนิกส์ (Hydroponics) เป็นการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดินแต่ใช้น้าที่มีธาตุอาหารพืชละลายอยู่ หรือ การปลูกพืชในสารละลายธาตุอาหารพืชทดแทน ซึ่งนับเป็นวิธีการใหม่ในการปลูกพืช โดยเฉพาะ การปลูกผักและพืชที่ใช้เป็นอาหาร เนื่องจากประหยัดพื้นที่ และไม่ปนเปื้อนกับสารเคมีต่างๆ ในดิน ให้ได้ พืชผักที่สะอาดเป็นอาหาร ปัจจุบันนี้ในเทคนิคการปลูกพืชแบบไร้ดินหลายแบบด้วยกัน คาว่า ไฮโดรโปนิกส์ (hydroponics) เป็นคาผสมระหว่างคา 3 คา คือ • ไฮโดร (hydro) หมายถึงน้า • โปโนส (ponos) เป็นคาที่มาจากภาษากรีก หมายถึงการทางาน • อิกส์ (ics) หมายถึงศาสตร์หรือศิลปะ ซึ่งเมื่อรวมคาทั้ง 3 คาเข้าด้วยกันจึงมีความหมายตามรูปศัพท์ว่า ศาสตร์หรือศิลปะว่าด้วยการทางานของ น้า ปัจจุบัน การปลูกพืชด้วยวิธีไฮโดรโปนิกส์มีเทคนิคที่คิดค้นใหม่ๆหลากหลายรูปแบบ มิได้จากัด อยู่เฉพาะการปลูกพืชในน้า (water culture) เท่านั้น บางกรณีมีการใช้วัสดุปลูก (substrate) ทดแทน ดินทั้งหมดและรดด้วยสารละลายธาตุอาหารพืช ซึ่งเรามักเรียกว่า ซับส์เทรต คัลเจอร์ (substrate culture) หรือมีเดีย คัลเจอร์ (media culture) หรือแอกกรีเกตไฮโดรโปนิกส์ (aggregate hydroponics) เทคนิคดังกล่าวนิยมเรียกว่า การปลูกโดยไม่ใช้ดิน หรือ การปลูกพืชไร้ดิน (soilless culture) ซึ่งเป็นที่น่าสังเกตว่าเทคนิคการปลูกพืชในน้าก็ดี หรือ การปลูกพืชด้วยวิธีไฮโดรโปนิกส์ รูปแบบอื่นๆก็ดี บางครั้งก็อาจเรียกรวมๆว่า soilless culture แทนคาว่า hydroponics ก็ได้ ไฮโดรโปนิกส์ มีประโยชน์หลักๆ 2 ประการด้วยกัน ประการแรกคือช่วยให้มีสิ่งแวดล้อมที่ควบคุม ได้มากขึ้นสาหรับการเติบโตของพืช แทนที่จะเป็นการใช้ดินอย่างเดิม ทาให้กาจัดตัวแปรที่ไม่ทราบ ออกไปจากการทดลองได้จานวนมาก ประการที่สองก็คือ พืชหลายชนิดจะให้ผลผลิตได้มากในเวลาที่ น้อยกว่าเดิม และในบางครั้งก็มีคุณภาพที่ดีกว่าเดิมด้วย ซึ่งในสภาพแวดล้อมและสภาพการ เศรษฐศาสตร์หนึ่งๆ การปลูกพืชแบบไฮโดรโปนิกส์จะให้ผลกาไรแก่เกษตรกรมากขึ้น และด้วยการปลูก ที่ไม่ใช้ดินจึงทาให้พืชไม่มีโรคที่เกิดในดิน ไม่มีวัชพืช ไม่ต้องจัดการดิน และยังสามารถปลูกพืชใกล้กัน มากได้ ด้วยเหตุนี้พืชจึงให้ผลผลิตในปริมาณที่มากกว่าเดิมขณะที่ใช้พื้นที่จากัด นอกจากนี้ยังมีการใช้
  • 5. 5 น้าน้อยมากเพราะมีการใช้ภาชนะ หรือระบบวนน้าแบบปิด เพื่อหมุนเวียนน้า เมื่อเทียบกับการเกษตร แบบเดิมแล้ว นับว่าใช้น้าเพียงส่วนน้อยนิดเท่านั้น ด้วยคุณภาพที่กล่าวมาข้างต้น ทาให้ไฮโดรโปนิกส์มีประโยชน์กับการปลูกพืชที่ไม้ใช่วิธีการ แบบเดิมๆ นักเขียนนิยายวิทยาศาสตร์ได้เสนอมานานแล้วว่า ไฮโดรโปนิกส์นั้นจะทาให้สถานีอวกาศ หรือ ยานอวกาศ สามารถปลูกพืชไร้ดินได้เอง และคุณสมบัติดังกล่าวนี้ทาให้ไฮโดรโปนิกส์เหมาะอย่างยิ่ง สาหรับผู้ที่ต้องการปลูกพืชโดยการการควบคุมปัจจัยที่เกี่ยวข้องได้มากที่สุด และมีความหนาแน่นสูงสุด จากบทความของคุณกมลศักดิ์ นาดาได้เขียนบทความเกี่ยวกับข้อดีและข้อเสียของพืชไร้ดิน ดังรายละเอียดต่อไปนี้ ข้อดี 1. สามารถปลูกได้ทุกสภาพพื้นที่เพราะไม่ได้ปลูกลงบนดิน 2. ให้ผลผลิตต่อพื้นที่สูงกว่าและสม่าเสมอ 3. การใช้แรงงานต่อพื้นที่น้อยกว่า 4. ผลผลิตมีคุณภาพและปลอดภัยจากสารพิษ 5. ระยะเวลาปลูกถึงเก็บเกี่ยวสั้นลง 6. ไม่มีปัญหาศัตรูพืชจากดิน สามารถปลูกได้ต่อเนื่อง 7. ใช้น้าและธาตุอาหารได้อย่างประหยัดและมีประสิทธิภาพ 8. ไม่ต้องเตรียมดินและกาจัดศัตรูพืช 9. ลดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการป้องกันและกาจัดแมลง 100% 10. สามารถปลูกในเมืองได้เพราะใช้พื้นที่น้อย 11. ผลผลิตดีกว่าปลูกแบบใช้ดิน 12. เป็นการส่งเสริมอาชีพผู้ด้อยโอกาส คนพิการก็สามารถทาได้ ข้อเสีย 1. ผู้ปลูกต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีแบะพืชปลูก 2. ต้นทุนการลงทุนครั้งแรกสูงในการสร้างโรงเรือนและอุปกรณ์ที่ใช้ปลูก 3. ด้านการตลาดยังไม่กว้างขวางและกลุ่มผู้บริโภคยังมีจากัด เมื่อไม่นานมานี้มีข่าวเกี่ยวกับสารพิษตกค้างในผัก Hydroponics จนทาให้หลายๆท่านกลัวที่จะ รับประทาน ซึ่งนั่นก็มีความเป็นจริงปนอยู่บ้าง แต่ก็ไม่ยากเกินไปที่จะตรวจสอบได้ด้วย 2 ตา สารพิษตกค้างนั้นคือสารประกอบไนโตรเจนที่ชื่อ ไนเตรด เป็นสารก่อมะเร็ง ซึ่งพบในธรรมชาติ ไม่เพียงแต่ผัก Hydroponics เท่านั้นที่พบ แต่พบได้ทั่วไป ปกติไนโตรเจนเป็นธาตุอาหารหลักที่พืชดูดซม เข้าไปอยู่แล้ว แต่ไนเตรดจะถูกทาลายโดยแสงแดด แต่หากว่าพืชได้รับแสงแดดไม่เพียงพอ ก็จะเกิดการ
  • 6. 6 สะสมไนต้นพืช ผักที่ปลูกโดยการพลางแสงจะมีการสะสมไนเตรดด้วยกันทั้งสิ้นแต่ Hydroponics ตกเป็นจาเลยเพราะว่า Hydroponics มักปลูกในโรงเรือน และมักมีการพลางแสงเพื่อให้ผักพยายาม ขยายขนาดของใบให้มีพื้นที่รับแสงให้มากพอกับแสงแดดที่มีอยู่จากัด ผักก็จะงามใบ แต่จะมีสารพิษเข้า มาแทนที่ ฉะนั้นการเลือกซื้อผัก ไม่ว่าจะ Hydroponics หรือไม่ก็ตาม ควรเลือกผักที่มีขนาดใบปกติ ลา ต้นอวบอ้วน อย่าเลือกผักที่ใบใหญ่น่าทาน เพราะนั่นแปรว่าปลูกโดยการพรางแสง แต่ในปัจจุบันหาก ปลูกโดยวิธี Hydroponics เกษตรกรจะงดให้ปุ๋ย 7 วันก่อนการเก็บเกี่ยว ทาให้พืชไม่ได้รับไนโตรเจน และไนเตรดในต้นพืชจะถูกทาลายด้วยแสงแดดหมดภายใน 7 วัน ผัก Hydroponics ที่เก็บเกี่ยวอย่างถูก วิธีนี้พบว่ามีสารไนเตรดแทบจะเป็นศูนย์ทีเดียว น้อยกว่าไนเตรดที่ตรวจพบในผักที่ปลูกกับดินเสียอีก ฉะนั้นหากว่าเราไปเที่ยวสวนผัก Hydroponics อาจจะที่รังสิต อยุธยา หรือที่เชียงใหม่ หาก คนขายบอกว่าไม่มีผักที่ได้ขนาดขาย ก็อย่าตื้อที่จะซื้อนะครับ เพราะเงินมันอาจล่อใจ ให้เขาขายผักที่ยัง ไม่ได้ลดปุ๋ยก่อนเก็บเกี่ยวให้กับเราก็ได้ รูปแบบการปลูกพืชไม่ใช้ดิน 1. ปลูกในสารละลาย (Water culture) - แบบน้าไหลเวียน โดยอาจไหลผ่านรางปลูกแบบฟิล์มบางซึ่งเรียกว่า Nutrient Film Technique (NFT) และแบบน้าลึกประมาณ 5-10 ซม. ไหลผ่านรางปลูกเรียกว่า Deep Flow Technique (DFT) - แบบน้าซึมเข้าสู่ระบบรากพืช (passive system) โดยการปลูกพืชแล้วมีส่วนที่เป็นท่อนา สารละลายปุ๋ยให้ได้สัมผัสกับรากพืช 2. การปลูกพืชโดยพ่นสารละลายใต้โคนรากพืช (Aceroponics) โดยควบคุมให้รากพืชสัมผัส สารละลายต่อเนื่องตลอดที่ต้นพืชต้องการ 3. การปลูกโดยใช้วัสดุปลูก (Substrate culture) - วัสดุที่ปลูกเป็นอินทรีย์ (Organic Substrate) เช่น ข้เลื่อย แกลบ ถ่าน เปลือกไม้ ฮิวมัส ปุ๋ย หมักต่างๆเป็นต้น - วัสดุปลูกที่เป็นอนินทรีย์ (Inorganic Substrate) เช่น กรวด ทราย ฟองน้า เป็นต้น ธาตุอาหารและสารละลายธาตุอาหาร การปลูกพืชไม่ใช่ดินจะต้องให้ธาตุอาหารและปัจจัยแวดล้อมให้เหมาะสมและสมดุลกัน พืชก็จะ สามารถเจริญเติบโตได้ดีขึ้น ซึ่งความจาเป็นของธาตุต่อพืชมีดังนี้ กลุ่มธาตุที่พืชต้องการสูง (Macro elements) C, O, N, P, K, Ca, Mg และ S กลุ่มธาตุอาหารที่พืชต้องการเล็กน้อย (Micro elements) Fe, Cl, B, Mn, Cn, Zn และ Mo
  • 7. 7 วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ งบประมาณ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ __________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน
  • 8. 8 ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ สถานที่ดาเนินการ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________