SlideShare a Scribd company logo
1 of 43
DETERMINING RATING FACTOR
1อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ
นาฬิกาที่ใช้จับเวลาควรเป็นแบบทศนิยมของนาทีหรือชั่วโมง นั่นคือ 1 รอบ แบ่งเป็น 100 ช่อง
ดังนั้น 1 ช่อง = 0.01 นาที หรือ 0.0001 ชม. และ 1 รอบ = 1 นาที หรือ 0.01 ชม.
การจับเวลาอาจทาได้ 2 วิธี
ก) การจับเวลาแบบต่อเนื่อง (Continuous Timing)
ข) การจับเวลาแบบย้อนกลับ (Repetitive Timing หรือ Snapback Timing)
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 2
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 3
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 4
1) ใช้วิธีหาค่าเฉลี่ย (Average) คือผลรวมเวลาทั้งหมดหารด้วยจานวนรอบ
2) ใช้วิธีหาค่าฐานนิยม (Modal Method) คือค่าที่เกิดบ่อยที่สุดเป็ นค่าเวลาััวททน
วิธีค่าเฉลี่ย
Representative Time : (12+13+12+12+11+12 +12+14+12+13) / 10 =
12.3
วิธีฐานนิยม
Representative Time : = 12
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 5
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 6
การประเมินอััราความเร็ว (Rating) คือกระบวนการซึ่งผู้ทาการศึกษา
เวลาใช้เปรียบเทียบการทางานของคนงานซึ่งกาลังถูกศึกษาอยู่ กับระดับการทางาน
ปกติในความรู้สึกของผู้ทาการศึกษา
อััราความเร็วของงานประกอบด้วย 2 ส่วนสาคัญคือ
1. เกณฑ์ระดับความเร็วปกติ (Normal Pace)
2. การประเมินหรือลงความเห็นว่า การทางานของคนงานภายใต้การศึกษานั้นอยู่
ที่ค่าใดเมื่อเทียบกับระดับความเร็วปกติ (Rating)
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 7
• อัตราการทางานของพนักงานเฉลี่ยซึ่งมีความชานาญในการทางานนั้นพอสมควร
ทางานภายใต้คาแนะนาที่ถูกต้อง
• ปราศจากแรงกระตุ้นของเงินจูงใจ
• อัตราความเร็วนี้สามารถคงอยู่วันแล้ววันเล่าโดยไม่ก่อให้เกิดความเครียดทาง
ร่างกายหรือจิตใจ หรือต้องอาศัยความพยายามจนเกินไป
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 8
นิยามข้างต้นนี้พอจะสรุปว่าอัตราความเร็วปกติก็คือ
• ปริมาณงานที่เหมาะสมต่อวัน
• เทียบได้ กับ 100%
• มองดูคล้ายกับว่าช้า
• แต่เร่งความเร็วได้ง่ายดาย
• ท่าทางสบาย ๆ กระฉับกระเฉง
• คนงานสามารถรักษาระดับความเร็วนี้ไว้ได้นาน
• เป็นฐานของการจ่ายเงินจูงใจ
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 9
1. การเดินด้วยความเร็วสม่าเสมอในอัตราความเร็ว 3 ไมล์ต่อชั่วโมง โดย
ก้าวเท้ายาว 27 นิ้วต่อก้าว หรือเทียบเท่าก้าวเดิน 100 ฟุต ในเวลา 0.38
นาที หรือ 44 ฟุตใน 10 วินาที
2. การแจกไพ่ 52 ใบ ออกเป็น 4 กอง เป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสห่างกัน 1 ฟุต ใช้
เวลา 0.50 นาที
3. การใส่แท่งไม้ 30 แท่ง ลงในแผ่นกระดานของ Barnes โดยใช้มือทั้งสอง
พร้อมกัน เสร็จในเวลา 0.41 นาที
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 10
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 11
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 12
1. วิธี "Skill & Effort Rating" วิธีนี้คิดขึ้นโดย Charles E. Bedaux
2. วิธี "Westinghouse System of Rating" คิดขึ้นโดย บริษัท Westinghouse
3. วิธี "Synthetic Rating" คือการประเมินค่าความเร็วโดยอาศัยวิธี
Predetermined Motion Time System
4. วิธี "Objective Rating" โดย M.E. Mundel และ D.L. Danner
5. วิธี "Physiological Evaluation of Performance Level"
6. วิธี "Performance Rating" เป็นวิธีที่นิยมที่สุด
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 13
• คิดขึ้นโดย Charles E. Bedaux
• มาตรฐานของเวลาไว้เป็นแต้มหรือเรียกว่า 'B'
• อัตราปกติเท่ากับ 60B ต่อชั่วโมง
• ค่าอัตราเฉลี่ยภายใต้ระบบจูงใจจะอยู่ประมาณ 70B ถึง 85B ต่อชั่วโมง
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 14
• คิดขึ้นโดย บริษัท Westinghouseในปี 1927
• โดยพิจารณาจากองค์ประกอบ 4 ตัว คือ
(1) ทักษะหรือความชานาญ (Skill)
(2) ความพยายาม (Effort)
(3) สภาพเงื่อนไขการทางาน (Conditions)
(4) ความสม่าเสมอ (Consistency)
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 15
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 16
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 17
จากการจับเวลาของงานย่อยงานหนึ่ง เวลาตัวแทนที่คานวณได้ = 0.50 นาที
ได้ให้คะแนนขององค์ประกอบทั้ง 4 ตัวดังนี้
Skill : Excellent = B2 + 0.08
Effort : Good = C1 + 0.05
Conditions : Good = C + 0.02
Consistency : Average = D + 0.00
รวมคะแนน + 0.15
ค่าปรับความเร็วเป็น + แสดงว่าพนักงานทางานเร็วกว่าปกติถึง 15% หรือเท่ากับ
อัตราความเร็ว 1.15
∴ เวลาปกติ = 0.50 x 1.15 = 0.575 นาที
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 18
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 19
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 20
• คิดขึ้นโดย M.E. Mundel และ D.L. Danner
• วิธีนี้ได้แบ่งการประเมินออกเป็น 2 ขั้นตอนคือ
1. ประเมินความเร็วของการทางานตามปกติ
2. เพิ่มค่าปรับความยาก (Difficulty Adjustment)
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 21
โดยดูจากองค์ประกอบในการทางานเพิ่มขึ้นใน 6 กลุ่มดังนี้
(1) การเคลื่อนที่ต้องใช้อวัยวะกลุ่มใดของร่างกาย (Amount of body used)
(2) การใช้ที่เหยียบเท้าร่วมในการทางาน (Foot pedals used)
(3) การใช้มือทั้งสองพร้อมกัน (Use of two hands simultaneously)
(4) การใช้สายตาประสานกับการทางานของมือ (Eye-hand coordination)
(5) ความระมัดระวังในการหยิบจับหรือสัมผัส (Handling or sensory requirement)
(6) น้าหนักที่ต้องยกขึ้นหรือการทางานโดยมีแรงต้านหรือแรงกด (Weight handled or
resistance encountered)
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 22
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 23
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 24
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 25
ในการจับเวลาการทางานของพนักงานประกอบชิ้นส่วนของเด็กเล่นงานหนึ่ง
ได้แบ่งการจับเวลาของการปฏิบัติงานออกเป็นงานย่อย 2 งาน และเมื่อจับเวลามา
จนครบจานวนรอบตามกาหนดแล้ว ได้คานวณเวลาตัวแทนของงานย่อยทั้งสอง
ดังนี้
งานย่อยที่ 1 = 0.15 นาที
งานย่อยที่ 2 = 0.10 นาที
จากการวิเคราะห์การทางานของงานย่อยทั้งสอง ได้ค่าปรับความยากต่าง ๆ
โดยใช้วิธีของ Mundel ดังนี้
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 26
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 27
วิธีการคานวณ
1. การคานวณค่า Rated Time :
งานย่อยที่ 1 = 0.15 x 1.10 = 0.165 นาที
งานย่อยที่ 2 = 0.10 x 0.80 = 0.08 นาที
Rated cycle time = 0.245 นาที
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 28
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 29
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 30
ข้อดี : วิธีนี้ทม้วัดความทักั่างทละทปลงเป็ นค่าอััราความเร็วได้
ข้อเสีย : 1. อััราการเั้นของหัวใจของคนทั่ละคนทักั่างกันทม้ในระดับ
ปกติ และอัตราการเปลี่ยน แปลงก็แตกต่างกันทั้งก่อนและหลังการทางาน
2. ค่อนข้างยุ่งยากในการหาค่าอัตราทางานปกติที่จะใช้ แต่มี ประโยชน์
ในแง่ของการเปรียบเทียบความแตกต่างของวิธีการทางานที่ต่างกัน
3. ใช้เพื่อการศึกษาค้นคว้าผลของการทางานและแรงกระทาต่อการทางาน
ของร่างกาย
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 31
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 32
• Normal Pace หมายถึง อัตราความเร็วปกติของพนักงาน ซึ่งเทียบกับมาตรฐานที่
ได้กาหนดไว้ภายใต้สภาพการทางานที่เหมาะสม และปราศจากแรงกระตุ้นของ
เงินรางวัล
• หากมีการใช้ระบบการจ่ายเงินจูงใจ (Incentive Scheme)แล้ว โดยทั่วไประดับการ
ทางานของพนักงานเฉลี่ยจะสูงขึ้นกว่าเดิมประมาณ 25-35% ระดับการทางาน
เฉลี่ยที่สูงขึ้นนี้เรียกว่า "Average Incentive Pace" หรืออัตราความเร็วเฉลี่ยภายใต้
เงินจูงใจ
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 33
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 34
Rating Scale ที่นิยมใช้มีอยู่ด้วยกัน 4 ทบบคือ
1) Scale A หรือสเกล 100-133 ประเมินค่าเป็น %
2) Scale B หรือสเกล 60-80 ประเมินค่าเป็นแต้ม
3) Scale C หรือสเกล Incentive 125%
4) Scale D หรือสเกล 0-100 ประเมินค่าเป็น%
ในประเทศไทยสเกลในการประเมินความเร็วที่นิยมใช้ที่สุดคือสเกล100-133 หรือสเกล
A เพราะใช้ง่ายและสามารถฝึกผู้ประเมินความเร็วให้คุ้นเคยได้ง่าย
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 35
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 36
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 37
ปัจจัยของการประเมินความเร็วในการจับเวลาโดยใช้นาฬิกาจับถือว่าเป็น
ส่วนที่ยากที่สุดและต้องใช้ทักษะของผู้ประเมินที่ได้รับการฝึกฝนมาเป็นอย่างดี
แล้วเท่านั้น การฝึกผู้ประเมินความเร็วต้องมีอุปกรณ์ต่าง ๆ ดังนี้
• นาฬิกาจับเวลาแบบทศนิยมของนาที
• มาตรฐานของอัตราปกติ
• แบบฟอร์มการประเมิน
• ภาพยนตร์หรือฟิล์มที่ใช้ในการฝึกประเมินความเร็ว
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 38
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 39
ตัวอย่างที่ 16.6
โรงงานผลิตโต๊ะปิงปองแห่งหนึ่ง ในแผนกประกอบสุดท้ายซึ่งต้อง
ประกอบชิ้นส่วนต่าง ๆ ออกมาเป็นโต๊ะปิงปอง ได้มีการเก็บเวลาของสถานี
ประกอบขาโต๊ะปิงปองโดยแบ่งงานออกเป็น 3 เพื่อการจับเวลา เนื่องจากงานย่อย
แต่ละงานมีเวลาในการทางานที่ค่อนข้างยาว จึงได้เลือกบันทึกข้อมูลแบบแยกงาย
ย่อยเพื่อประเมินอัตราความเร็วของงานย่อยได้ ข้อมูลในการบันทึกดังแสดงใน
ตาราง
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 40
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 41
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 42
1. ความไม่สม่าเสมอของคุณภาพชิ้นงาน
2. ความคลาดเคลื่อนของอุปกรณ์และเครื่องมือ ส่งผลต่อจังหวะในการทางาน
ของพนักงาน
3. การเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการผลิตบางอย่าง
4. ความตั้งใจในการทางานของพนักงาน
5. สภาพแวดล้อมของการทางาน เช่น ความร้อน แสงสว่าง เสียงรบกวน
6. ภาวะทางร่างกายและอารมณ์ของพนักงาน
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 43

More Related Content

What's hot

บทที่ 7 การวิเคราะห์วิธีการ
บทที่ 7 การวิเคราะห์วิธีการบทที่ 7 การวิเคราะห์วิธีการ
บทที่ 7 การวิเคราะห์วิธีการTeetut Tresirichod
 
บทที่ 8 วิเิคราะห์กระบวนการ
บทที่ 8 วิเิคราะห์กระบวนการบทที่ 8 วิเิคราะห์กระบวนการ
บทที่ 8 วิเิคราะห์กระบวนการTeetut Tresirichod
 
บทที่ 3 ประวัติของการศึกษางาน
บทที่ 3 ประวัติของการศึกษางานบทที่ 3 ประวัติของการศึกษางาน
บทที่ 3 ประวัติของการศึกษางานTeetut Tresirichod
 
บทที่ 9 การวิเิคราะห์กิจกรรม
บทที่ 9 การวิเิคราะห์กิจกรรมบทที่ 9 การวิเิคราะห์กิจกรรม
บทที่ 9 การวิเิคราะห์กิจกรรมTeetut Tresirichod
 
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพบทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพTeetut Tresirichod
 
บทที่ 12 หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหว
บทที่ 12 หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหวบทที่ 12 หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหว
บทที่ 12 หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหวTeetut Tresirichod
 
บทที่ 4 กระบวนการแก้ปัญหาโดยทั่วไป
บทที่ 4 กระบวนการแก้ปัญหาโดยทั่วไปบทที่ 4 กระบวนการแก้ปัญหาโดยทั่วไป
บทที่ 4 กระบวนการแก้ปัญหาโดยทั่วไปTeetut Tresirichod
 
บทที่ 22 ระบบค่าแรงจูงใจ
บทที่ 22 ระบบค่าแรงจูงใจบทที่ 22 ระบบค่าแรงจูงใจ
บทที่ 22 ระบบค่าแรงจูงใจTeetut Tresirichod
 
บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่
บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่
บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่Teetut Tresirichod
 
บทที่ 9 การควบคุมการผลิต
บทที่ 9 การควบคุมการผลิตบทที่ 9 การควบคุมการผลิต
บทที่ 9 การควบคุมการผลิตRungnapa Rungnapa
 
ปฏิบัติงานการวัดระยะด้วยการนับก้าว
ปฏิบัติงานการวัดระยะด้วยการนับก้าวปฏิบัติงานการวัดระยะด้วยการนับก้าว
ปฏิบัติงานการวัดระยะด้วยการนับก้าวNut Seraphim
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4Janova Kknd
 
อินทิเกรต
อินทิเกรตอินทิเกรต
อินทิเกรตkrurutsamee
 
บทที่ 6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิต
บทที่  6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิตบทที่  6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิต
บทที่ 6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิตRungnapa Rungnapa
 
ไอโซโทป ไอโซโทน
ไอโซโทป ไอโซโทนไอโซโทป ไอโซโทน
ไอโซโทป ไอโซโทนkrupatcharee
 
ตารางการแจกแจง t
ตารางการแจกแจง tตารางการแจกแจง t
ตารางการแจกแจง tJaturapad Pratoom
 
ความหลากหลายของระบบนิเวศ
ความหลากหลายของระบบนิเวศความหลากหลายของระบบนิเวศ
ความหลากหลายของระบบนิเวศKittiya GenEnjoy
 

What's hot (20)

บทที่ 7 การวิเคราะห์วิธีการ
บทที่ 7 การวิเคราะห์วิธีการบทที่ 7 การวิเคราะห์วิธีการ
บทที่ 7 การวิเคราะห์วิธีการ
 
บทที่ 8 วิเิคราะห์กระบวนการ
บทที่ 8 วิเิคราะห์กระบวนการบทที่ 8 วิเิคราะห์กระบวนการ
บทที่ 8 วิเิคราะห์กระบวนการ
 
บทที่ 3 ประวัติของการศึกษางาน
บทที่ 3 ประวัติของการศึกษางานบทที่ 3 ประวัติของการศึกษางาน
บทที่ 3 ประวัติของการศึกษางาน
 
บทที่ 9 การวิเิคราะห์กิจกรรม
บทที่ 9 การวิเิคราะห์กิจกรรมบทที่ 9 การวิเิคราะห์กิจกรรม
บทที่ 9 การวิเิคราะห์กิจกรรม
 
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพบทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
 
บทที่ 12 หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหว
บทที่ 12 หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหวบทที่ 12 หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหว
บทที่ 12 หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหว
 
บทที่ 4 กระบวนการแก้ปัญหาโดยทั่วไป
บทที่ 4 กระบวนการแก้ปัญหาโดยทั่วไปบทที่ 4 กระบวนการแก้ปัญหาโดยทั่วไป
บทที่ 4 กระบวนการแก้ปัญหาโดยทั่วไป
 
บทที่ 22 ระบบค่าแรงจูงใจ
บทที่ 22 ระบบค่าแรงจูงใจบทที่ 22 ระบบค่าแรงจูงใจ
บทที่ 22 ระบบค่าแรงจูงใจ
 
บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่
บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่
บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่
 
บทที่ 9 การควบคุมการผลิต
บทที่ 9 การควบคุมการผลิตบทที่ 9 การควบคุมการผลิต
บทที่ 9 การควบคุมการผลิต
 
ปฏิบัติงานการวัดระยะด้วยการนับก้าว
ปฏิบัติงานการวัดระยะด้วยการนับก้าวปฏิบัติงานการวัดระยะด้วยการนับก้าว
ปฏิบัติงานการวัดระยะด้วยการนับก้าว
 
5.สูตรการหาความน่าจะเป็น
5.สูตรการหาความน่าจะเป็น5.สูตรการหาความน่าจะเป็น
5.สูตรการหาความน่าจะเป็น
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
อินทิเกรต
อินทิเกรตอินทิเกรต
อินทิเกรต
 
บทที่ 6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิต
บทที่  6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิตบทที่  6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิต
บทที่ 6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิต
 
ไอโซโทป ไอโซโทน
ไอโซโทป ไอโซโทนไอโซโทป ไอโซโทน
ไอโซโทป ไอโซโทน
 
ตารางการแจกแจง t
ตารางการแจกแจง tตารางการแจกแจง t
ตารางการแจกแจง t
 
ความหนาแน่น (Density)
ความหนาแน่น (Density)ความหนาแน่น (Density)
ความหนาแน่น (Density)
 
ความหลากหลายของระบบนิเวศ
ความหลากหลายของระบบนิเวศความหลากหลายของระบบนิเวศ
ความหลากหลายของระบบนิเวศ
 
ข้อสอบSketch up
ข้อสอบSketch upข้อสอบSketch up
ข้อสอบSketch up
 

Viewers also liked

บทที่ 21 ความเครียดในการทำงาน
บทที่ 21 ความเครียดในการทำงานบทที่ 21 ความเครียดในการทำงาน
บทที่ 21 ความเครียดในการทำงานTeetut Tresirichod
 
บทที่ 12 project auditing
บทที่ 12 project auditingบทที่ 12 project auditing
บทที่ 12 project auditingTeetut Tresirichod
 
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิตบทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิตDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
Partial least square path modeling
Partial least square path modelingPartial least square path modeling
Partial least square path modelingTeetut Tresirichod
 
Calories for 5 different 10K workouts
Calories for 5 different 10K workouts Calories for 5 different 10K workouts
Calories for 5 different 10K workouts Oor Runningblog
 
การเพิ่มผลผลิต Ita
การเพิ่มผลผลิต Itaการเพิ่มผลผลิต Ita
การเพิ่มผลผลิต Itatiwaporn
 
Sampling For Internal Auditors
Sampling For Internal AuditorsSampling For Internal Auditors
Sampling For Internal AuditorsPairat Srivilairit
 
Competency training
Competency trainingCompetency training
Competency trainingwat_hr
 
Econ presentation 4
Econ presentation 4Econ presentation 4
Econ presentation 4wowwilawanph
 
บทที่ 7 การวางแผนกลยุทธ์และกลยุทธ์การเจรจาต่อรองข้ามชาติ
บทที่ 7 การวางแผนกลยุทธ์และกลยุทธ์การเจรจาต่อรองข้ามชาติบทที่ 7 การวางแผนกลยุทธ์และกลยุทธ์การเจรจาต่อรองข้ามชาติ
บทที่ 7 การวางแผนกลยุทธ์และกลยุทธ์การเจรจาต่อรองข้ามชาติTeetut Tresirichod
 
บทที่ 9 มารยาททางธุรกิจเพื่อการเจรจาต่อรอง
บทที่ 9 มารยาททางธุรกิจเพื่อการเจรจาต่อรองบทที่ 9 มารยาททางธุรกิจเพื่อการเจรจาต่อรอง
บทที่ 9 มารยาททางธุรกิจเพื่อการเจรจาต่อรองTeetut Tresirichod
 

Viewers also liked (11)

บทที่ 21 ความเครียดในการทำงาน
บทที่ 21 ความเครียดในการทำงานบทที่ 21 ความเครียดในการทำงาน
บทที่ 21 ความเครียดในการทำงาน
 
บทที่ 12 project auditing
บทที่ 12 project auditingบทที่ 12 project auditing
บทที่ 12 project auditing
 
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิตบทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
 
Partial least square path modeling
Partial least square path modelingPartial least square path modeling
Partial least square path modeling
 
Calories for 5 different 10K workouts
Calories for 5 different 10K workouts Calories for 5 different 10K workouts
Calories for 5 different 10K workouts
 
การเพิ่มผลผลิต Ita
การเพิ่มผลผลิต Itaการเพิ่มผลผลิต Ita
การเพิ่มผลผลิต Ita
 
Sampling For Internal Auditors
Sampling For Internal AuditorsSampling For Internal Auditors
Sampling For Internal Auditors
 
Competency training
Competency trainingCompetency training
Competency training
 
Econ presentation 4
Econ presentation 4Econ presentation 4
Econ presentation 4
 
บทที่ 7 การวางแผนกลยุทธ์และกลยุทธ์การเจรจาต่อรองข้ามชาติ
บทที่ 7 การวางแผนกลยุทธ์และกลยุทธ์การเจรจาต่อรองข้ามชาติบทที่ 7 การวางแผนกลยุทธ์และกลยุทธ์การเจรจาต่อรองข้ามชาติ
บทที่ 7 การวางแผนกลยุทธ์และกลยุทธ์การเจรจาต่อรองข้ามชาติ
 
บทที่ 9 มารยาททางธุรกิจเพื่อการเจรจาต่อรอง
บทที่ 9 มารยาททางธุรกิจเพื่อการเจรจาต่อรองบทที่ 9 มารยาททางธุรกิจเพื่อการเจรจาต่อรอง
บทที่ 9 มารยาททางธุรกิจเพื่อการเจรจาต่อรอง
 

More from Teetut Tresirichod

ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)Teetut Tresirichod
 
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfบทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfTeetut Tresirichod
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSTeetut Tresirichod
 
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldChapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldTeetut Tresirichod
 
Chapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementChapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementChapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementTeetut Tresirichod
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfTeetut Tresirichod
 
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfการใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfTeetut Tresirichod
 
Partial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoPartial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoTeetut Tresirichod
 
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyChapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyTeetut Tresirichod
 
Chapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementChapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryChapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryTeetut Tresirichod
 
Chapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesChapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesTeetut Tresirichod
 
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Teetut Tresirichod
 
Chapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementChapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementTeetut Tresirichod
 

More from Teetut Tresirichod (20)

ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
 
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfบทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
 
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldChapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
 
Chapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementChapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource management
 
Chapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementChapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource management
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
 
การใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewerการใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewer
 
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfการใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
 
SPSS software application.pdf
SPSS software application.pdfSPSS software application.pdf
SPSS software application.pdf
 
PSPP software application
PSPP software applicationPSPP software application
PSPP software application
 
LINE OA
LINE OALINE OA
LINE OA
 
Partial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoPartial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adanco
 
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyChapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
 
Chapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementChapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change management
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change management
 
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryChapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
 
Chapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesChapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activities
 
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
 
Chapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementChapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation management
 

บทที่ 16 การประเมินค่าอัตราความเร็ว