SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
การออกกำ�ลังกายเซิ้งขนมจีน
จังหวัดนครปฐม
ภาคกลาง
พื้นที่ต้นแบบของกิจกรรม :	
	 เทศบาลตำ�บลโพรงมะเดื่อ จังหวัดนครปฐม
ที่มาของกิจกรรม
	 ชุมชนย่อย หมายถึง ชุมชนในเขตเทศบาลที่
ประชาชนอาศัยอยู่ร่วมกัน โดยมีสภาพพื้นที่หรือ
ภูมิศาสตร์ร่วมกัน ซึ่งให้ประชาชนเลือกกรรมการ
ชุมชนขึ้นเองตามความเหมาะสม แล้วแจ้งรายชื่อ
ต่อเทศบาลตามวัตถุประสงค์ เพื่อให้ชุมชนต่างๆ ได้
มีการรวมตัวกันพัฒนาชุมชนของตนเอง เกิดการมี
ส่วนร่วม มีบทบาทในการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ สังคม
และประสานงาน ดังนั้นเพื่อร่วมอนุรักษ์ การละเล่น
พื้นบ้าน ส่งเสริมการใช้เวลาว่างในการออกกำ�ลังกาย
รวมถึงการพัฒนาท้องถิ่นด้านสุขภาพอนามัย จึงเสนอ
โครงการเซิ้งขนมจีน ใช้ประกอบการออกกำ�ลังกาย
เชิงวัฒนธรรม
แนวการดำ�เนินกิจกรรม
	 ตามเจนนารมย์ที่ต้องการส่งเสริม สนับสนุน
และอนุรักษ์ประเพณีพื้นบ้านให้คงอยู่ และเปิดโอกาส
ให้ประชากรทั้งสามวัยได้มีโอกาสร่วมออกกำ�ลังกาย
เพื่อสุขภาพร่วมกัน กิจกรรมการออกกำ�ลังกายด้วย
กีฬาท้องถิ่นพื้นบ้านจึงได้ถูกริเริ่มขึ้นในพื้นที่ หาก
มองย้อนหลังไปครั้งเริ่มต้นกิจกรรม พบว่า ขั้นตอน
การดำ�เนินงานถูกวางแผนไว้อย่างเป็นระบบ โดย
เริ่มจากการจัดตั้งคณะกรรมการโครงการกีฬาพื้นบ้าน
สามวัย สุขภาพดีทั้งกายใจ โพรงมะเดื่อ ต่อมาจึง
ทำ�การคัดเลือกกิจกรรมทางกายจากการทำ�งานเชิง
พื้นที่ โดยพิจารณาจากภูมิปัญญาท้องถิ่น วัฒนธรรม
ประเพณีพื้นบ้าน ที่มีความสอดคล้องกับวิถีชีวิตของ
ประชาชนในพื้นที่เป็นหลัก เมื่อได้ตัวกิจกรรมหลักที่จะ
ใช้สำ�หรับการแข่งขันร่วมกันแล้ว จึงได้กำ�หนดวัน เวลา
และสถานที่ที่จะใช้สำ�หรับการแข่งขัน และเนื่องจาก
ตัวกิจกรรมที่ใช้แข่งขันมีจำ�นวนมาก จึงต้องมีการ
จัดทำ�ปฏิทินกิจกรรมการแข่งขัน ประกวด และการ
แสดงโชว์ โดยแต่ละกิจกรรมจะได้มีการประชาสัมพันธ์
โครงการไปทั้งทางวิทยุชุมชน และป้ายประชาสัมพันธ์
ทั้งนี้ตลอดกระบวนการทำ�งานยังได้กำ�หนดให้มีการ
ติดตามและประเมินผลโครงการเพื่อประสิทธิผลของ
การดำ�เนินการด้วย
วัตถุประสงค์
	 1.	เพื่อส่งเสริม สนับสนุน อนุรักษ์ ฟื้นฟู เผยแพร่
การจับขนมจีนในรูปแบบการออกกำ�ลังกายเพื่อสร้าง
โอกาสให้คณะกรรมการชุมชน ครอบครัว ผู้สูงอายุ
เด็ก เยาวชน และประชาชนได้ออกกำ�ลังกายร่วมกัน
	 2.	เพื่อสร้างเสริมสนับสนุนการสร้างพฤติกรรม
สุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีภูมิต้านทานสู่การ
อยู่ดีมีสุข
เป้าหมาย
	 คณะกรรมการชุมชน ผู้สูงอายุ เด็ก เยาวชน
และประชาชนในชุมชนบ้านโพรงมะเดื่อเกิดการ
ตื่นตัวในการออกกำ�ลังกาย
สถานที่: บริเวณโล่งๆ เช่น สนามกีฬา
จำ�นวนผู้เล่น :	ไม่จำ�กัดจำ�นวน
กลุ่มผู้เล่น : 	 เด็ก วัยรุ่น วัยกลางคน ผู้สูงอายุ
ระยะเวลาในการเล่น : 45 นาที
อุปกรณ์ที่ใช้
	 1.	ดนตรีประกอบท่าเต้น
	 2.	กระจาด
	 3	ไม้พลอง
	 4.	ผ้าคาดเอว
หลักการและเหตุผล
	 (กีฬาพื้นบ้าน สามวัย สุขภาพดีทั้งกายใจ โพรง
มะเดื่อ)
	 เทศบาลตำ�บลโพรงมะเดื่อ มีพื้นที่ตั้งอยู่ในจังหวัด
นครปฐม ทั้งหมด 8 หมู่บ้าน จำ�นวนชุมชน 20
ชุมชน มีจำ�นวนประชากร 10,457 คน แบ่งเป็นชาย
5,014 คน หญิง 5,443 คน ส่วนมากประกอบอาชีพ
เกษตรกรรม ใช้ภาษาประจำ�ท้องถิ่น คือ ภาษาลาว
อุปนิสัยของประชาชนส่วนใหญ่รักความสนุกสนาน
ชอบเสียงดนตรี ช่วงเทศกาลต่างๆ จะมีวัฒนธรรม
ประเพณีและกีฬาพื้นบ้านต่างๆ สืบทอดกันมาช้านาน
เช่น สงกรานต์ ประเพณีทำ�บุญ สู่ขวัญข้าว กีฬาชักเย่อ
ปิดตาชกมวย ปิดตาตีหม้อ ฯลฯ นอกจากนี้ยังมีงาน
ฝีมือศิลปหัตถกรรมการทอผ้าและเครื่องจักสาน
การออกกำ�ลังกายเซิ้งขนมจีน
ในปีที่ผ่านมาผู้สูงอายุและครอบครัวในเขตเทศบาล
ตำ�บลโพรงมะเดื่อ มีปัญหาด้านสุขภาพ โดยเฉพาะ
ลาวครั่ง ซึ่งอพยพเข้ามาอยู่อาศัย ในรัชสมัยของ
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยมาพร้อม
กับภูมิปัญญาด้านต่างๆ เช่น การทำ�นา การจักสาน
การเลี้ยงครั่ง แพทย์แผนโบราณ และประเพณีความเชื่อ
การบูชาผีบรรพบุรุษหรือเจ้าพ่อ รวมทั้งการละเล่น
พื้นบ้านต่างๆ เช่น การเล่นแย้ลงรู เดินกะลา ลูกช่วง
มอญซ่อนผ้า ฯลฯ
	 ซึ่งในปี 2551 – 2552 เทศบาลตำ�บลโพรงมะเดื่อ
ได้ทำ�การศึกษา วิจัย วัฒนธรรมลาวครั่ง เพื่อรื้อฟื้น
ประเพณี 12 เดือน และค้นหาครูภูมิปัญญา ด้านศิลปะ
คหกรรม (อาหารและยา) วรรณกรรม หัตถกรรม
เพื่อนำ�มาเพิ่มคุณค่าทางสังคมและเศรษฐกิจในพื้นที่
การส่งเสริมการออกกำ�ลังกายด้วยกีฬาพื้นบ้าน ภูมิปัญญา
ท้องถิ่น ประเพณี วัฒนธรรม โดยการสนับสนุนจาก
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นและ สสส. เพื่อขอ
งบประมาณสมทบในกิจกรรมต่างๆ ตามสภาพปัญหา
ดังนี้ ด้านสุขภาพกาย ด้านจิตใจ และด้านสังคม
	 ดังนั้นเทศบาลตำ�บลโพรงมะเดื่อ จึงขอเสนอ
โครงการกีฬาพื้นบ้าน สามวัย สุขภาพดีทั้งกายใจ
โพรงมะเดื่อ เพื่อให้ผู้สูงอายุ ครอบครัว เด็กเยาวชน
และประชาชนที่เข้าร่วมโครงการได้มีโอกาสออกกำ�ลัง
กายสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปรับเปลี่ยน
พฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม ลดค่าใช้จ่ายในการรักษา
พยาบาล ส่งผลให้ประชาชนในเขตเทศบาลตำ�บลโพรง
มะเดื่อ มีสุขภาพดี ทั้งกายและใจ
วัตถุประสงค์
	 เพื่อศึกษา เรียนรู้ ฟื้นฟู ส่งเสริมและสนับสนุน
กิจกรรมการละเล่นพื้นบ้านกับการออกกำ�ลังกายผสม
ผสานกับศิลปะการแสดง (การเป่าแคนและการบรรเลง
กลองยาว) ที่เป็นวัฒนธรรมดั้งเดิมของตำ�บลโพรง
มะเดื่อ
	 เพื่อสร้างโอกาสให้ผู้สูงอายุ ครอบครัว เด็ก
เยาวชน และประชาชนได้ออกกำ�ลังกายเชิงวัฒนธรรม
ตามวิถีชีวิต การประกอบอาชีพในท้องถิ่น ประเพณี
ท้องถิ่นในรอบปีปฏิทิน
	เพื่อสร้างเสริมสนับสนุนการสร้างพฤติกรรม
สุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีภูมิต้านทานสู่การ
อยู่ดีมีสุข เพิ่มคุณค่าทางสังคมและเศรษฐกิจ โดยใช้
กิจกรรมจากภูมิปัญญาและวัฒนธรรมในชุมชน
กลุ่มเป้าหมาย (ประมาณ 9,000 คน)
	 1.	ผู้สูงอายุชายและหญิง (สมาชิกชมรมผู้สูงอายุ
	 	 และผู้สูงอายุทั่วไป)
	 2.	ประชาชนทั่วไปชายและหญิง
	 3.	เด็กและเยาวชนในระบบโรงเรียนและนอก
		ระบบโรงเรียน
	 4.	สำ�นักงานเทศบาล โรงเรียน สถานีอนามัย
		สถานีตำ�รวจ
	 5.	สถานบริการ ผู้ประกอบการร้านค้า โรงงาน
	 6.	คณะกรรมการชุมชน อสม. ชมรมต่างๆ
	 ลักษณะการออกกำ�ลังกาย ผสมผสานกับกีฬา
พื้นบ้านประยุกต์ศิลปการแสดงประกอบกับดนตรีเป่า
แคน และวงกลองยาว ด้วยการนำ�การละเล่นพื้นบ้าน
มาผสมผสานกับการออกกำ�ลังกาย เช่น มวยไทย
กระบี่กระบอง ฯลฯ
จำ�นวนผู้เล่น : ไม่จำ�กัดจำ�นวน
กลุ่มผู้เล่น: เด็ก ผู้สูงอายุ วัยรุ่น วัยกลางคน
ระยะเวลาในการเล่น: 50 นาที
อุปกรณ์ที่ใช้
	 1.	ดนตรีประกอบการแสดง
	 2.	กระจาด
	 3.	ไม้พลอง
	 4.	ผ้าคาดเอว
	 เซิ้งขนมจีน และการแสดงโพรงมะเดื่อ Exer-
cise เซิ้งขนมจีนและการออกกำ�ลังกายโพรงมะเดื่อ
Exercise เป็นการแสดงที่มีชุดการแสดง 2 ชุดโดย
แบ่งการแสดงออกเป็น 2 ช่วงด้วยกัน เริ่มจากการ
แสดงเซิ้งขนมจีนและการออกกำ�ลังกายโพรงมะเดื่อ
Exercise ซึ่งการแสดงทั้งสองชุดนี้ ได้ทำ�การประยุกต์
ท่ารำ�จากวัฒนธรรมประเพณีและวิถีชีวิตของคนท้องถิ่น
ในชุมชนมาประยุกต์เป็นท่ารำ� สำ�หรับการเซิ้งขนมจีน
ได้คิดค้นท่ารำ�โดยการนำ�ท่ารำ�จากภาคอีสานที่เรียก
ว่า “การเซิ้ง” มาประยุกต์กับประเพณีการทำ�ขนมจีน
โดยการนำ�เอาขั้นตอนการทำ�ขนมจีน มาประดิษฐ์
เป็นท่าร่ายรำ� เริ่มด้วยท่าการโม่แป้ง การนวดแป้ง
การโรย และการเข้าจีบ และใช้ดนตรีพื้นเมืองอีสาน
ที่มีจังหวะสนุกสนานมาบรรเลงประกอบการแสดง
พร้อมกับนำ�มาผสมผสานกับศิลปะการต่อสู้ด้วย
กระบี่กระบอง ซึ่งเป็นกีฬาของคนพื้นบ้านที่ได้รับการ
สืบทอดต่อๆ กันมา จนสามารถประยุกต์ท่าการ
ออกกำ�ลังกายโดยใช้กระบองเป็นอุปกรณ์ประกอบ
การแสดง
9
วิธีการออกกำ�ลังกาย
	 การแสดงแบบผสมผสานนี้ แบ่งออกเป็น 2 ช่วง
และได้มีนำ�การแสดงศิลปะการต่อสู้ด้วยกระบองมา
ผสมผสานกับการแสดงชุดนี้ด้วย เริ่มการแสดงด้วย
เซิ้งขนมจีน ต่อจากนั้นจะเป็นการแสดงการออกกำ�ลัง
กายโพรงมะเดื่อ Exercise และคั่นการแสดงด้วย
ศิลปะการต่อสู้ด้วยกระบอง ตามลำ�ดับ ในขั้นตอนแรก
จะทำ�การแบ่งกลุ่มผู้แสดงออกเป็น 2 ชุดตามลักษณะ
การแต่งกาย ได้แก่ การแต่งกายด้วยชุดการรำ�เซิ้ง
และชุดออกกำ�ลังกายโพรงมะเดื่อ ซึ่งในแต่ละชุดการ
แสดงประกอบด้วย ผู้สูงอายุ เด็ก และ กลุ่มวัยทำ�งาน
ส่วนชุดการรำ�กระบี่กระบอง ผู้แสดงแต่งกายด้วยชุด
ต่อสู้สมัยโบราณ
การแสดงเซิ้งขนมจีน
	 ท่าที่ 1 เริ่มด้วยการแสดงเมื่อดนตรีบรรเลง กลุ่ม
ผู้รำ�เซิ้ง ได้แก่ เด็กและผู้สูงอายุ เต้นด้วยท่าเซิ้ง ย่ำ�
เท้าอยู่กับที่ตามจังหวะดนตรี
วิธีปฎิบัติ
	 1.	ยืนตัวตรง ย้ำ�เท้าอยู่กับที่
	 2.	ทำ�ท่าเซิ้ง ด้วยการใช้มือวาดเป็นวงกลมด้าน
		 ข้างสะโพกทั้ง 2 ข้างทำ�พร้อมกับการเท้าย้ำ�
		 ซ้าย-ขวา อยู่กับที่
	
ท่าที่ 2 ท่านวดแป้ง โดยกลุ่มเด็ก ส่วนผู้สูงอายุจะ
เต้นท่าเซิ้งอยู่กับที่ จากนั้นทั้งเด็กและผู้สูงอายุจะทำ�ท่า
เซิ้งพร้อมๆ กัน
วิธีปฎิบัติ
	 ใช้มือทั้งสองยกขึ้นให้อยู่เหนือตำ�แหน่งบ่าด้าน
ซ้ายเล็กน้อย เหวี่ยงแขนทั้งสองข้างลงพร้อมๆ กัน
และยกขึ้นตามจังหวะเพลง ส่วนเท้าทั้งสองข้างย่ำ�
อยู่กับที่ปฎิบัติตามข้อที่ 1-2 จำ�นวน 6 ครั้ง
	 ท่าที่ 3 โรยแป้ง หนึ่งในผู้แสดง จะทำ�ท่าจับ
กระจาดส่ายไปมาตามจังหวะเพลง จากนั้นแกว่งมือ
ทั้งสองข้างที่ถือกระจาดอยู่พร้อมกับส่ายตัวไปทาง
ซ้าย-ขวา สลับกัน สำ�หรับผู้แสดงที่เหลือก็จะทำ�ท่า
เซิ้งพร้อมกันตามจังหวะเพลง
วิธีปฎิบัติ
	 1.	ยกมือทั้งสองข้างถือกระจาดส่ายไปทางซ้าย
และขวาสลับกันพร้อมกับโยกตัวไปมา โดยย่ำ�เท้าอยู่
กับที่
10
ท่าที่ 4 ท่าจับจีบขนมจีน หนึ่งในผู้แสดงจะใช้
กระจาด 1 ใบวางไว้บนฝ่ามือซ้าย จากนั้นใช้มือขวา
ทำ�ท่าจับขนมจีนจีบ ขึ้น - ลงใส่ในถาด ลง 5 จังหวะ
นักแสดงที่เหลือจะทำ�ท่าเซิ้งจนจบการแสดงช่วงแรก
จากนั้นผู้แสดงทั้งหมด จะยืนเรียงแถวหน้ากระดาน
พร้อมกับทำ�ท่าเซิ้ง เดินวนไปรอบๆ และลงจากเวที
จบการแสดง การเซิ้งขนมจีน
	 ช่วงที่ 2 การแสดงออกกำ�ลังกายโพรงมะเดื่อ
Exercise
	 ท่าที่ 1 ผู้แสดงอยู่ในท่าเตรียมโดยการยืนมือไขว้
หันหน้าไปทางหน้าเวที จากนั้น เมื่อดนตรีบรรเลง ผู้
แสดงทำ�ท่าพนมมือระดับอก
	 ท่าที่ 2	 โห่ร้องกล่องยาว โดยใช้มือปล้อง
ปากหันหน้าไปทางซ้าย พร้อมกับร้อง โห่ๆๆๆ ยาวๆ
จากนั้นย่อตัวพร้อมกับหันหน้าไปทางขวา แล้วร้องฮิ้ว
พร้อมๆ กัน ต่อด้วยการ โห่ แบบ ยาวๆ จากนั้นย่อ
ตัวหมุนไปทางซ้ายแล้วร้องฮิ้วพร้อมกัน ทำ�เช่นนี้สลับ
3 ครั้ง
11
ท่าที่ 3	ขุดหลุม เป็นการออกกำ�ลังกายด้วยการ
เหวี่ยนแขนทั้งสองข้างขึ้นและลงสลับกันอย่างต่อเนื่อง
วิธีปฎิบัติ
	 1.	ก้มตัวลงไปทางซ้าย ย้ำ�เท้าอยู่กับที่
	 2.	ยื่นแขนไปข้างหน้าทั้งสองข้างหมุนมือวนเข้าหาตัว
	 3.	ยืดตัวขึ้น พร้อมกับยกมือทั้งสองข้างมาไว้ใน
ตำ�แหน่งบ่าด้านขวา (ย้ำ�เท้าอยู่กับที่)
	 4	 ปฎิบัติซ้ำ�ข้อที่ 1-3
	
	 ท่าที่ 4	 ท่าหยอดข้าวลงหลุม เมื่อทำ�การขุดหลุม
เสร็จเรียบร้อยแล้วในท่าที่ 3 ในท่ารำ�ท่านี้จะเป็นการ
หยอดข้าวลงในหลุม โดยใช้การก้าวเท้าเคลื่อนตัวสลับ
เท้าไปทางซ้ายและขวาตามจังหวะดนตรี
วิธีปฎิบัติ
	 1.	ใช้มือซ้ายท้าวสะเอว มือขวาจับจีบ
	 2.	สืบเท้าไปด้านข้างทางขวา 2 จังหวะ พร้อม
กับกวาดมือขวา ย่อตัวลงพร้อมกับแบมือออกไปด้าน
ข้าง
	 3.	ยืดลำ�ตัวขึ้นอยู่ในท่าตัวตรง จากนั้นสืบเท้าไป
ด้านข้างทางซ้าย 2 จังหวะ โดยใช้เท้าซ้ายนำ�แล้วตาม
ด้วยเท้าขวา มือขวาจับจีบที่มือซ้าย
	 4.	ปฎิบัติซ้ำ�ในข้อที่ 1-3 จำ�นวน 3 ครั้ง
	 ท่าที่ 5	 ท่าแย็บหรือชกลม ซึ่งเป็นการนำ�ศิลปะ
มวยไทยมาประยุกต์เป็นท่าออกกำ�ลังกาย กำ�หมัดแล้ว
ชกลมไปข้างหน้า โดยใช้แขนซ้าย พร้อมกับการสลับ
เท้าซ้าย-ขวาสลับกันไปเรื่อยๆ
วิธีปฎิบัติ
	 1.	ผู้แสดงจับคู่หันหน้าเข้าหากัน พร้อมกับย่ำ�เท้า
อยู่กับที่ให้ระยะห่างกันประมาณ 1 แขน
	 2.	กำ�มือ ก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้า 1 ก้าว แล้ว
ใช้มือซ้ายชกลมไปข้างหน้า 1 ครั้ง
	 3.	ดึงเท้าซ้ายและแขนซ้ายกลับมาในท่าเตรียม
ป้องกัน
	 4.	ชกลมด้วยแขนข้างซ้าย โดยก้าวเท้าขวาไป
ข้างหน้า 1ก้าว
	 การแสดง ศิลปะการต่อสู้ด้วยกระบองโดยใช้
ผู้แสดงชาย 2 คน ซึ่งมีทั้งการต่อสู้ในแบบต่างๆ ทั้ง
ท่าการตั้งรับและท่าการโจมตี
12
ท่าที่ 6	 การวอร์มดาวน์ ผู้แสดงใช้ไม้พลองมา
ประกอบท่าทางการรำ� โดยการยืดเส้นยืดสาย หมุน
ตัวไปมาเพื่อคล้ายกล้ามเนื้อ
วิธีปฎิบัติ
	 1.	ถือไม้พลองในแนวนอน ยืนกางขาออกเล็ก
น้อย
	 2.	ยกไม้พลองขึ้น-ลง แล้วหันลำ�ตัวไปทางซ้าย
หันลำ�ตัวกลับมาข้างหน้า 1 จังหวะ ยกไม้พลอง
ขึ้น-ลง อีก 1 จังหวะ หันไปทางขวา ทำ�เช่นนี้
ซ้าย-ขวา ด้านละ 2 ครั้ง
	 ท่าที่ 7	 ยืนย่ำ�เท้าอยู่กับที่ กางขาออกเล็กน้อย
ก้มตัวลง ใช้มือทั้งสองข้างตบขาตามจังหวะ โดย
เริ่มจากส่วนบนลงไปส่วนล่างของขา (ต้นขาไล่ลงไป
จนถึงข้อเท้า) แล้วไล่ย้อนกลับ ส่วนล่างขึ้นมาส่วนบน
(ข้อเท้าไล่ขึ้นไปจนถึงต้นขา) ทำ�เช่นนี้ 6 ครั้ง
	 ท่าที่ 8 	ปิดท้ายการแสดงด้วยการพนมมือระดับ
อก ก้มตัวลงไปข้างหน้า วาดมือยกแขนขึ้นเหนือศีรษะ
แล้วลดมือลงทำ�ท่าพนมมือ
13
Act1

More Related Content

What's hot

8 ชุดการเรียนรู้ น้ำพริกตะไคร้
8 ชุดการเรียนรู้ น้ำพริกตะไคร้8 ชุดการเรียนรู้ น้ำพริกตะไคร้
8 ชุดการเรียนรู้ น้ำพริกตะไคร้rdschool
 
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง Bunnaruenee
 
โครงงานประโยชน์ของมะพร้าว
โครงงานประโยชน์ของมะพร้าวโครงงานประโยชน์ของมะพร้าว
โครงงานประโยชน์ของมะพร้าวkchwjrak
 
Storyboard55 (1)
Storyboard55 (1)Storyboard55 (1)
Storyboard55 (1)bmbeam
 
คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการศูนย์
คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการศูนย์คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการศูนย์
คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการศูนย์teacherhistory
 

What's hot (7)

8 ชุดการเรียนรู้ น้ำพริกตะไคร้
8 ชุดการเรียนรู้ น้ำพริกตะไคร้8 ชุดการเรียนรู้ น้ำพริกตะไคร้
8 ชุดการเรียนรู้ น้ำพริกตะไคร้
 
Vr cmagazine03(2013 14)
Vr cmagazine03(2013 14)Vr cmagazine03(2013 14)
Vr cmagazine03(2013 14)
 
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
 
โครงงานประโยชน์ของมะพร้าว
โครงงานประโยชน์ของมะพร้าวโครงงานประโยชน์ของมะพร้าว
โครงงานประโยชน์ของมะพร้าว
 
Storyboard55 (1)
Storyboard55 (1)Storyboard55 (1)
Storyboard55 (1)
 
Storyboard55[1]
Storyboard55[1]Storyboard55[1]
Storyboard55[1]
 
คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการศูนย์
คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการศูนย์คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการศูนย์
คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการศูนย์
 

Viewers also liked

AFRICAN REVIEW - Nov 2015 - CEO Interview
AFRICAN REVIEW - Nov 2015 - CEO InterviewAFRICAN REVIEW - Nov 2015 - CEO Interview
AFRICAN REVIEW - Nov 2015 - CEO InterviewAli A. Safa
 
151115 Go2Market Digibrochure
151115 Go2Market Digibrochure151115 Go2Market Digibrochure
151115 Go2Market DigibrochureKees Voogd
 
Dallas orthopedic surgeons.ppt
Dallas orthopedic surgeons.pptDallas orthopedic surgeons.ppt
Dallas orthopedic surgeons.pptadamwatson85
 
IT Lunch and Learn Final
IT Lunch and Learn FinalIT Lunch and Learn Final
IT Lunch and Learn FinalBen Wright
 
Dena Cronholm, CURRICULUM VITAE
Dena Cronholm, CURRICULUM VITAEDena Cronholm, CURRICULUM VITAE
Dena Cronholm, CURRICULUM VITAEDena Cronholm
 
Economic activities
Economic activitiesEconomic activities
Economic activitiesRob Micallef
 
Pinterest presentation
Pinterest presentationPinterest presentation
Pinterest presentationRevMaryHawes
 
thinking agains caste hierarchy
thinking agains caste hierarchythinking agains caste hierarchy
thinking agains caste hierarchydevi prasad
 
Presentation hdlc courses-f pp
Presentation hdlc courses-f ppPresentation hdlc courses-f pp
Presentation hdlc courses-f ppSyed Vaseem
 
Polish food - PPT made by Ola Niepsuj
Polish food  - PPT made by Ola NiepsujPolish food  - PPT made by Ola Niepsuj
Polish food - PPT made by Ola Niepsujmagdajanusz
 
Mudah untuk beramal - Kejujuran
Mudah untuk beramal - KejujuranMudah untuk beramal - Kejujuran
Mudah untuk beramal - KejujuranMunir Hasan Basri
 
Codes and conventions of a music magazine contents page
Codes and conventions of a music magazine contents pageCodes and conventions of a music magazine contents page
Codes and conventions of a music magazine contents pageEllie Niccolls
 

Viewers also liked (17)

Global warming
Global warmingGlobal warming
Global warming
 
AFRICAN REVIEW - Nov 2015 - CEO Interview
AFRICAN REVIEW - Nov 2015 - CEO InterviewAFRICAN REVIEW - Nov 2015 - CEO Interview
AFRICAN REVIEW - Nov 2015 - CEO Interview
 
151115 Go2Market Digibrochure
151115 Go2Market Digibrochure151115 Go2Market Digibrochure
151115 Go2Market Digibrochure
 
Dallas orthopedic surgeons.ppt
Dallas orthopedic surgeons.pptDallas orthopedic surgeons.ppt
Dallas orthopedic surgeons.ppt
 
IT Lunch and Learn Final
IT Lunch and Learn FinalIT Lunch and Learn Final
IT Lunch and Learn Final
 
Information
InformationInformation
Information
 
Dena Cronholm, CURRICULUM VITAE
Dena Cronholm, CURRICULUM VITAEDena Cronholm, CURRICULUM VITAE
Dena Cronholm, CURRICULUM VITAE
 
Economic activities
Economic activitiesEconomic activities
Economic activities
 
Pinterest presentation
Pinterest presentationPinterest presentation
Pinterest presentation
 
thinking agains caste hierarchy
thinking agains caste hierarchythinking agains caste hierarchy
thinking agains caste hierarchy
 
CV Summary Harsa
CV Summary HarsaCV Summary Harsa
CV Summary Harsa
 
Informe ciberbullying
Informe ciberbullyingInforme ciberbullying
Informe ciberbullying
 
Presentation hdlc courses-f pp
Presentation hdlc courses-f ppPresentation hdlc courses-f pp
Presentation hdlc courses-f pp
 
Polish food - PPT made by Ola Niepsuj
Polish food  - PPT made by Ola NiepsujPolish food  - PPT made by Ola Niepsuj
Polish food - PPT made by Ola Niepsuj
 
Act7
Act7Act7
Act7
 
Mudah untuk beramal - Kejujuran
Mudah untuk beramal - KejujuranMudah untuk beramal - Kejujuran
Mudah untuk beramal - Kejujuran
 
Codes and conventions of a music magazine contents page
Codes and conventions of a music magazine contents pageCodes and conventions of a music magazine contents page
Codes and conventions of a music magazine contents page
 

Similar to Act1

คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรมคู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรมniralai
 
โครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาด
โครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาดโครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาด
โครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาดSiriluk Singka
 
จุลสารโครงงานสุขภาพ
จุลสารโครงงานสุขภาพจุลสารโครงงานสุขภาพ
จุลสารโครงงานสุขภาพtassanee chaicharoen
 
ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัว
ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัวท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัว
ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัวเครือข่าย ปฐมภูมิ
 
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษาniralai
 

Similar to Act1 (8)

Photo caption sbc3_csr
Photo caption sbc3_csrPhoto caption sbc3_csr
Photo caption sbc3_csr
 
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรมคู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
 
โครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาด
โครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาดโครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาด
โครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาด
 
จุลสารโครงงานสุขภาพ
จุลสารโครงงานสุขภาพจุลสารโครงงานสุขภาพ
จุลสารโครงงานสุขภาพ
 
Act20
Act20Act20
Act20
 
ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัว
ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัวท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัว
ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัว
 
Act8
Act8Act8
Act8
 
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา
 

More from Piyawat Katewongsa (17)

Act19
Act19Act19
Act19
 
Act17
Act17Act17
Act17
 
Act16
Act16Act16
Act16
 
Act16
Act16Act16
Act16
 
Act15
Act15Act15
Act15
 
Act14
Act14Act14
Act14
 
Act13
Act13Act13
Act13
 
Act12
Act12Act12
Act12
 
Act11
Act11Act11
Act11
 
Act10
Act10Act10
Act10
 
Act9
Act9Act9
Act9
 
Act6
Act6Act6
Act6
 
Act5
Act5Act5
Act5
 
Intro
IntroIntro
Intro
 
Act4
Act4Act4
Act4
 
Act3
Act3Act3
Act3
 
Act2
Act2Act2
Act2
 

Act1

  • 2. พื้นที่ต้นแบบของกิจกรรม : เทศบาลตำ�บลโพรงมะเดื่อ จังหวัดนครปฐม ที่มาของกิจกรรม ชุมชนย่อย หมายถึง ชุมชนในเขตเทศบาลที่ ประชาชนอาศัยอยู่ร่วมกัน โดยมีสภาพพื้นที่หรือ ภูมิศาสตร์ร่วมกัน ซึ่งให้ประชาชนเลือกกรรมการ ชุมชนขึ้นเองตามความเหมาะสม แล้วแจ้งรายชื่อ ต่อเทศบาลตามวัตถุประสงค์ เพื่อให้ชุมชนต่างๆ ได้ มีการรวมตัวกันพัฒนาชุมชนของตนเอง เกิดการมี ส่วนร่วม มีบทบาทในการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ สังคม และประสานงาน ดังนั้นเพื่อร่วมอนุรักษ์ การละเล่น พื้นบ้าน ส่งเสริมการใช้เวลาว่างในการออกกำ�ลังกาย รวมถึงการพัฒนาท้องถิ่นด้านสุขภาพอนามัย จึงเสนอ โครงการเซิ้งขนมจีน ใช้ประกอบการออกกำ�ลังกาย เชิงวัฒนธรรม แนวการดำ�เนินกิจกรรม ตามเจนนารมย์ที่ต้องการส่งเสริม สนับสนุน และอนุรักษ์ประเพณีพื้นบ้านให้คงอยู่ และเปิดโอกาส ให้ประชากรทั้งสามวัยได้มีโอกาสร่วมออกกำ�ลังกาย เพื่อสุขภาพร่วมกัน กิจกรรมการออกกำ�ลังกายด้วย กีฬาท้องถิ่นพื้นบ้านจึงได้ถูกริเริ่มขึ้นในพื้นที่ หาก มองย้อนหลังไปครั้งเริ่มต้นกิจกรรม พบว่า ขั้นตอน การดำ�เนินงานถูกวางแผนไว้อย่างเป็นระบบ โดย เริ่มจากการจัดตั้งคณะกรรมการโครงการกีฬาพื้นบ้าน สามวัย สุขภาพดีทั้งกายใจ โพรงมะเดื่อ ต่อมาจึง ทำ�การคัดเลือกกิจกรรมทางกายจากการทำ�งานเชิง พื้นที่ โดยพิจารณาจากภูมิปัญญาท้องถิ่น วัฒนธรรม ประเพณีพื้นบ้าน ที่มีความสอดคล้องกับวิถีชีวิตของ ประชาชนในพื้นที่เป็นหลัก เมื่อได้ตัวกิจกรรมหลักที่จะ ใช้สำ�หรับการแข่งขันร่วมกันแล้ว จึงได้กำ�หนดวัน เวลา และสถานที่ที่จะใช้สำ�หรับการแข่งขัน และเนื่องจาก ตัวกิจกรรมที่ใช้แข่งขันมีจำ�นวนมาก จึงต้องมีการ จัดทำ�ปฏิทินกิจกรรมการแข่งขัน ประกวด และการ แสดงโชว์ โดยแต่ละกิจกรรมจะได้มีการประชาสัมพันธ์ โครงการไปทั้งทางวิทยุชุมชน และป้ายประชาสัมพันธ์ ทั้งนี้ตลอดกระบวนการทำ�งานยังได้กำ�หนดให้มีการ ติดตามและประเมินผลโครงการเพื่อประสิทธิผลของ การดำ�เนินการด้วย วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริม สนับสนุน อนุรักษ์ ฟื้นฟู เผยแพร่ การจับขนมจีนในรูปแบบการออกกำ�ลังกายเพื่อสร้าง โอกาสให้คณะกรรมการชุมชน ครอบครัว ผู้สูงอายุ เด็ก เยาวชน และประชาชนได้ออกกำ�ลังกายร่วมกัน 2. เพื่อสร้างเสริมสนับสนุนการสร้างพฤติกรรม สุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีภูมิต้านทานสู่การ อยู่ดีมีสุข เป้าหมาย คณะกรรมการชุมชน ผู้สูงอายุ เด็ก เยาวชน และประชาชนในชุมชนบ้านโพรงมะเดื่อเกิดการ ตื่นตัวในการออกกำ�ลังกาย สถานที่: บริเวณโล่งๆ เช่น สนามกีฬา จำ�นวนผู้เล่น : ไม่จำ�กัดจำ�นวน กลุ่มผู้เล่น : เด็ก วัยรุ่น วัยกลางคน ผู้สูงอายุ ระยะเวลาในการเล่น : 45 นาที อุปกรณ์ที่ใช้ 1. ดนตรีประกอบท่าเต้น 2. กระจาด 3 ไม้พลอง 4. ผ้าคาดเอว หลักการและเหตุผล (กีฬาพื้นบ้าน สามวัย สุขภาพดีทั้งกายใจ โพรง มะเดื่อ) เทศบาลตำ�บลโพรงมะเดื่อ มีพื้นที่ตั้งอยู่ในจังหวัด นครปฐม ทั้งหมด 8 หมู่บ้าน จำ�นวนชุมชน 20 ชุมชน มีจำ�นวนประชากร 10,457 คน แบ่งเป็นชาย 5,014 คน หญิง 5,443 คน ส่วนมากประกอบอาชีพ เกษตรกรรม ใช้ภาษาประจำ�ท้องถิ่น คือ ภาษาลาว อุปนิสัยของประชาชนส่วนใหญ่รักความสนุกสนาน ชอบเสียงดนตรี ช่วงเทศกาลต่างๆ จะมีวัฒนธรรม ประเพณีและกีฬาพื้นบ้านต่างๆ สืบทอดกันมาช้านาน เช่น สงกรานต์ ประเพณีทำ�บุญ สู่ขวัญข้าว กีฬาชักเย่อ ปิดตาชกมวย ปิดตาตีหม้อ ฯลฯ นอกจากนี้ยังมีงาน ฝีมือศิลปหัตถกรรมการทอผ้าและเครื่องจักสาน การออกกำ�ลังกายเซิ้งขนมจีน
  • 3. ในปีที่ผ่านมาผู้สูงอายุและครอบครัวในเขตเทศบาล ตำ�บลโพรงมะเดื่อ มีปัญหาด้านสุขภาพ โดยเฉพาะ ลาวครั่ง ซึ่งอพยพเข้ามาอยู่อาศัย ในรัชสมัยของ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยมาพร้อม กับภูมิปัญญาด้านต่างๆ เช่น การทำ�นา การจักสาน การเลี้ยงครั่ง แพทย์แผนโบราณ และประเพณีความเชื่อ การบูชาผีบรรพบุรุษหรือเจ้าพ่อ รวมทั้งการละเล่น พื้นบ้านต่างๆ เช่น การเล่นแย้ลงรู เดินกะลา ลูกช่วง มอญซ่อนผ้า ฯลฯ ซึ่งในปี 2551 – 2552 เทศบาลตำ�บลโพรงมะเดื่อ ได้ทำ�การศึกษา วิจัย วัฒนธรรมลาวครั่ง เพื่อรื้อฟื้น ประเพณี 12 เดือน และค้นหาครูภูมิปัญญา ด้านศิลปะ คหกรรม (อาหารและยา) วรรณกรรม หัตถกรรม เพื่อนำ�มาเพิ่มคุณค่าทางสังคมและเศรษฐกิจในพื้นที่ การส่งเสริมการออกกำ�ลังกายด้วยกีฬาพื้นบ้าน ภูมิปัญญา ท้องถิ่น ประเพณี วัฒนธรรม โดยการสนับสนุนจาก กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นและ สสส. เพื่อขอ งบประมาณสมทบในกิจกรรมต่างๆ ตามสภาพปัญหา ดังนี้ ด้านสุขภาพกาย ด้านจิตใจ และด้านสังคม ดังนั้นเทศบาลตำ�บลโพรงมะเดื่อ จึงขอเสนอ โครงการกีฬาพื้นบ้าน สามวัย สุขภาพดีทั้งกายใจ โพรงมะเดื่อ เพื่อให้ผู้สูงอายุ ครอบครัว เด็กเยาวชน และประชาชนที่เข้าร่วมโครงการได้มีโอกาสออกกำ�ลัง กายสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม ลดค่าใช้จ่ายในการรักษา พยาบาล ส่งผลให้ประชาชนในเขตเทศบาลตำ�บลโพรง มะเดื่อ มีสุขภาพดี ทั้งกายและใจ วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษา เรียนรู้ ฟื้นฟู ส่งเสริมและสนับสนุน กิจกรรมการละเล่นพื้นบ้านกับการออกกำ�ลังกายผสม ผสานกับศิลปะการแสดง (การเป่าแคนและการบรรเลง กลองยาว) ที่เป็นวัฒนธรรมดั้งเดิมของตำ�บลโพรง มะเดื่อ เพื่อสร้างโอกาสให้ผู้สูงอายุ ครอบครัว เด็ก เยาวชน และประชาชนได้ออกกำ�ลังกายเชิงวัฒนธรรม ตามวิถีชีวิต การประกอบอาชีพในท้องถิ่น ประเพณี ท้องถิ่นในรอบปีปฏิทิน เพื่อสร้างเสริมสนับสนุนการสร้างพฤติกรรม สุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีภูมิต้านทานสู่การ อยู่ดีมีสุข เพิ่มคุณค่าทางสังคมและเศรษฐกิจ โดยใช้ กิจกรรมจากภูมิปัญญาและวัฒนธรรมในชุมชน กลุ่มเป้าหมาย (ประมาณ 9,000 คน) 1. ผู้สูงอายุชายและหญิง (สมาชิกชมรมผู้สูงอายุ และผู้สูงอายุทั่วไป) 2. ประชาชนทั่วไปชายและหญิง 3. เด็กและเยาวชนในระบบโรงเรียนและนอก ระบบโรงเรียน 4. สำ�นักงานเทศบาล โรงเรียน สถานีอนามัย สถานีตำ�รวจ 5. สถานบริการ ผู้ประกอบการร้านค้า โรงงาน 6. คณะกรรมการชุมชน อสม. ชมรมต่างๆ ลักษณะการออกกำ�ลังกาย ผสมผสานกับกีฬา พื้นบ้านประยุกต์ศิลปการแสดงประกอบกับดนตรีเป่า แคน และวงกลองยาว ด้วยการนำ�การละเล่นพื้นบ้าน มาผสมผสานกับการออกกำ�ลังกาย เช่น มวยไทย กระบี่กระบอง ฯลฯ จำ�นวนผู้เล่น : ไม่จำ�กัดจำ�นวน กลุ่มผู้เล่น: เด็ก ผู้สูงอายุ วัยรุ่น วัยกลางคน ระยะเวลาในการเล่น: 50 นาที อุปกรณ์ที่ใช้ 1. ดนตรีประกอบการแสดง 2. กระจาด 3. ไม้พลอง 4. ผ้าคาดเอว เซิ้งขนมจีน และการแสดงโพรงมะเดื่อ Exer- cise เซิ้งขนมจีนและการออกกำ�ลังกายโพรงมะเดื่อ Exercise เป็นการแสดงที่มีชุดการแสดง 2 ชุดโดย แบ่งการแสดงออกเป็น 2 ช่วงด้วยกัน เริ่มจากการ แสดงเซิ้งขนมจีนและการออกกำ�ลังกายโพรงมะเดื่อ Exercise ซึ่งการแสดงทั้งสองชุดนี้ ได้ทำ�การประยุกต์ ท่ารำ�จากวัฒนธรรมประเพณีและวิถีชีวิตของคนท้องถิ่น ในชุมชนมาประยุกต์เป็นท่ารำ� สำ�หรับการเซิ้งขนมจีน ได้คิดค้นท่ารำ�โดยการนำ�ท่ารำ�จากภาคอีสานที่เรียก ว่า “การเซิ้ง” มาประยุกต์กับประเพณีการทำ�ขนมจีน โดยการนำ�เอาขั้นตอนการทำ�ขนมจีน มาประดิษฐ์ เป็นท่าร่ายรำ� เริ่มด้วยท่าการโม่แป้ง การนวดแป้ง การโรย และการเข้าจีบ และใช้ดนตรีพื้นเมืองอีสาน ที่มีจังหวะสนุกสนานมาบรรเลงประกอบการแสดง พร้อมกับนำ�มาผสมผสานกับศิลปะการต่อสู้ด้วย กระบี่กระบอง ซึ่งเป็นกีฬาของคนพื้นบ้านที่ได้รับการ สืบทอดต่อๆ กันมา จนสามารถประยุกต์ท่าการ ออกกำ�ลังกายโดยใช้กระบองเป็นอุปกรณ์ประกอบ การแสดง 9
  • 4. วิธีการออกกำ�ลังกาย การแสดงแบบผสมผสานนี้ แบ่งออกเป็น 2 ช่วง และได้มีนำ�การแสดงศิลปะการต่อสู้ด้วยกระบองมา ผสมผสานกับการแสดงชุดนี้ด้วย เริ่มการแสดงด้วย เซิ้งขนมจีน ต่อจากนั้นจะเป็นการแสดงการออกกำ�ลัง กายโพรงมะเดื่อ Exercise และคั่นการแสดงด้วย ศิลปะการต่อสู้ด้วยกระบอง ตามลำ�ดับ ในขั้นตอนแรก จะทำ�การแบ่งกลุ่มผู้แสดงออกเป็น 2 ชุดตามลักษณะ การแต่งกาย ได้แก่ การแต่งกายด้วยชุดการรำ�เซิ้ง และชุดออกกำ�ลังกายโพรงมะเดื่อ ซึ่งในแต่ละชุดการ แสดงประกอบด้วย ผู้สูงอายุ เด็ก และ กลุ่มวัยทำ�งาน ส่วนชุดการรำ�กระบี่กระบอง ผู้แสดงแต่งกายด้วยชุด ต่อสู้สมัยโบราณ การแสดงเซิ้งขนมจีน ท่าที่ 1 เริ่มด้วยการแสดงเมื่อดนตรีบรรเลง กลุ่ม ผู้รำ�เซิ้ง ได้แก่ เด็กและผู้สูงอายุ เต้นด้วยท่าเซิ้ง ย่ำ� เท้าอยู่กับที่ตามจังหวะดนตรี วิธีปฎิบัติ 1. ยืนตัวตรง ย้ำ�เท้าอยู่กับที่ 2. ทำ�ท่าเซิ้ง ด้วยการใช้มือวาดเป็นวงกลมด้าน ข้างสะโพกทั้ง 2 ข้างทำ�พร้อมกับการเท้าย้ำ� ซ้าย-ขวา อยู่กับที่ ท่าที่ 2 ท่านวดแป้ง โดยกลุ่มเด็ก ส่วนผู้สูงอายุจะ เต้นท่าเซิ้งอยู่กับที่ จากนั้นทั้งเด็กและผู้สูงอายุจะทำ�ท่า เซิ้งพร้อมๆ กัน วิธีปฎิบัติ ใช้มือทั้งสองยกขึ้นให้อยู่เหนือตำ�แหน่งบ่าด้าน ซ้ายเล็กน้อย เหวี่ยงแขนทั้งสองข้างลงพร้อมๆ กัน และยกขึ้นตามจังหวะเพลง ส่วนเท้าทั้งสองข้างย่ำ� อยู่กับที่ปฎิบัติตามข้อที่ 1-2 จำ�นวน 6 ครั้ง ท่าที่ 3 โรยแป้ง หนึ่งในผู้แสดง จะทำ�ท่าจับ กระจาดส่ายไปมาตามจังหวะเพลง จากนั้นแกว่งมือ ทั้งสองข้างที่ถือกระจาดอยู่พร้อมกับส่ายตัวไปทาง ซ้าย-ขวา สลับกัน สำ�หรับผู้แสดงที่เหลือก็จะทำ�ท่า เซิ้งพร้อมกันตามจังหวะเพลง วิธีปฎิบัติ 1. ยกมือทั้งสองข้างถือกระจาดส่ายไปทางซ้าย และขวาสลับกันพร้อมกับโยกตัวไปมา โดยย่ำ�เท้าอยู่ กับที่ 10
  • 5. ท่าที่ 4 ท่าจับจีบขนมจีน หนึ่งในผู้แสดงจะใช้ กระจาด 1 ใบวางไว้บนฝ่ามือซ้าย จากนั้นใช้มือขวา ทำ�ท่าจับขนมจีนจีบ ขึ้น - ลงใส่ในถาด ลง 5 จังหวะ นักแสดงที่เหลือจะทำ�ท่าเซิ้งจนจบการแสดงช่วงแรก จากนั้นผู้แสดงทั้งหมด จะยืนเรียงแถวหน้ากระดาน พร้อมกับทำ�ท่าเซิ้ง เดินวนไปรอบๆ และลงจากเวที จบการแสดง การเซิ้งขนมจีน ช่วงที่ 2 การแสดงออกกำ�ลังกายโพรงมะเดื่อ Exercise ท่าที่ 1 ผู้แสดงอยู่ในท่าเตรียมโดยการยืนมือไขว้ หันหน้าไปทางหน้าเวที จากนั้น เมื่อดนตรีบรรเลง ผู้ แสดงทำ�ท่าพนมมือระดับอก ท่าที่ 2 โห่ร้องกล่องยาว โดยใช้มือปล้อง ปากหันหน้าไปทางซ้าย พร้อมกับร้อง โห่ๆๆๆ ยาวๆ จากนั้นย่อตัวพร้อมกับหันหน้าไปทางขวา แล้วร้องฮิ้ว พร้อมๆ กัน ต่อด้วยการ โห่ แบบ ยาวๆ จากนั้นย่อ ตัวหมุนไปทางซ้ายแล้วร้องฮิ้วพร้อมกัน ทำ�เช่นนี้สลับ 3 ครั้ง 11
  • 6. ท่าที่ 3 ขุดหลุม เป็นการออกกำ�ลังกายด้วยการ เหวี่ยนแขนทั้งสองข้างขึ้นและลงสลับกันอย่างต่อเนื่อง วิธีปฎิบัติ 1. ก้มตัวลงไปทางซ้าย ย้ำ�เท้าอยู่กับที่ 2. ยื่นแขนไปข้างหน้าทั้งสองข้างหมุนมือวนเข้าหาตัว 3. ยืดตัวขึ้น พร้อมกับยกมือทั้งสองข้างมาไว้ใน ตำ�แหน่งบ่าด้านขวา (ย้ำ�เท้าอยู่กับที่) 4 ปฎิบัติซ้ำ�ข้อที่ 1-3 ท่าที่ 4 ท่าหยอดข้าวลงหลุม เมื่อทำ�การขุดหลุม เสร็จเรียบร้อยแล้วในท่าที่ 3 ในท่ารำ�ท่านี้จะเป็นการ หยอดข้าวลงในหลุม โดยใช้การก้าวเท้าเคลื่อนตัวสลับ เท้าไปทางซ้ายและขวาตามจังหวะดนตรี วิธีปฎิบัติ 1. ใช้มือซ้ายท้าวสะเอว มือขวาจับจีบ 2. สืบเท้าไปด้านข้างทางขวา 2 จังหวะ พร้อม กับกวาดมือขวา ย่อตัวลงพร้อมกับแบมือออกไปด้าน ข้าง 3. ยืดลำ�ตัวขึ้นอยู่ในท่าตัวตรง จากนั้นสืบเท้าไป ด้านข้างทางซ้าย 2 จังหวะ โดยใช้เท้าซ้ายนำ�แล้วตาม ด้วยเท้าขวา มือขวาจับจีบที่มือซ้าย 4. ปฎิบัติซ้ำ�ในข้อที่ 1-3 จำ�นวน 3 ครั้ง ท่าที่ 5 ท่าแย็บหรือชกลม ซึ่งเป็นการนำ�ศิลปะ มวยไทยมาประยุกต์เป็นท่าออกกำ�ลังกาย กำ�หมัดแล้ว ชกลมไปข้างหน้า โดยใช้แขนซ้าย พร้อมกับการสลับ เท้าซ้าย-ขวาสลับกันไปเรื่อยๆ วิธีปฎิบัติ 1. ผู้แสดงจับคู่หันหน้าเข้าหากัน พร้อมกับย่ำ�เท้า อยู่กับที่ให้ระยะห่างกันประมาณ 1 แขน 2. กำ�มือ ก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้า 1 ก้าว แล้ว ใช้มือซ้ายชกลมไปข้างหน้า 1 ครั้ง 3. ดึงเท้าซ้ายและแขนซ้ายกลับมาในท่าเตรียม ป้องกัน 4. ชกลมด้วยแขนข้างซ้าย โดยก้าวเท้าขวาไป ข้างหน้า 1ก้าว การแสดง ศิลปะการต่อสู้ด้วยกระบองโดยใช้ ผู้แสดงชาย 2 คน ซึ่งมีทั้งการต่อสู้ในแบบต่างๆ ทั้ง ท่าการตั้งรับและท่าการโจมตี 12
  • 7. ท่าที่ 6 การวอร์มดาวน์ ผู้แสดงใช้ไม้พลองมา ประกอบท่าทางการรำ� โดยการยืดเส้นยืดสาย หมุน ตัวไปมาเพื่อคล้ายกล้ามเนื้อ วิธีปฎิบัติ 1. ถือไม้พลองในแนวนอน ยืนกางขาออกเล็ก น้อย 2. ยกไม้พลองขึ้น-ลง แล้วหันลำ�ตัวไปทางซ้าย หันลำ�ตัวกลับมาข้างหน้า 1 จังหวะ ยกไม้พลอง ขึ้น-ลง อีก 1 จังหวะ หันไปทางขวา ทำ�เช่นนี้ ซ้าย-ขวา ด้านละ 2 ครั้ง ท่าที่ 7 ยืนย่ำ�เท้าอยู่กับที่ กางขาออกเล็กน้อย ก้มตัวลง ใช้มือทั้งสองข้างตบขาตามจังหวะ โดย เริ่มจากส่วนบนลงไปส่วนล่างของขา (ต้นขาไล่ลงไป จนถึงข้อเท้า) แล้วไล่ย้อนกลับ ส่วนล่างขึ้นมาส่วนบน (ข้อเท้าไล่ขึ้นไปจนถึงต้นขา) ทำ�เช่นนี้ 6 ครั้ง ท่าที่ 8 ปิดท้ายการแสดงด้วยการพนมมือระดับ อก ก้มตัวลงไปข้างหน้า วาดมือยกแขนขึ้นเหนือศีรษะ แล้วลดมือลงทำ�ท่าพนมมือ 13