SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
แอโรบิครำ�ผีหมอพื้นบ้าน
จังหวัดสกลนคร
พื้นที่ต้นแบบของกิจกรรม : 	เทศบาลตำ�บลเชียงเครือ
			 จังหวัดสกลนคร
ที่มาของกิจกรรม
	 ตำ�บลเชียงเครือ มีประเพณีเลี้ยงผีหมอสืบทอด
ต่อเนื่องมานานปีของชุมชน ซึ่งเกิดจากความเชื่อและ
ความศรัทธาของชาวบ้านที่มีมาหลายชั่วอายุคน โดย
เชื่อว่าการเลี้ยงผีที่เคารพนับถือเป็นการบำ�บัดรักษา
ผู้ป่วย หากไม่จัดงานเลี้ยงผีประจำ�ปีขึ้น หลายคนเชื่อ
ว่าคนในหมู่บ้านจะล้มป่วยลง และเสียชีวิตโดยไม่ทราบ
สาเหตุและถือเป็นการแก้เคล็ดด้วย บุคคลผู้ทำ�หน้าที่
ให้การบำ�บัดรักษาผู้ป่วยในชุมชน เรียกว่า “หมอพื้น
บ้าน” หรือ “หมอเหยา” ผู้เลื่อมใสศรัทธาต่างร่วม
พิธีไหว้ผีในเดือนสามของทุกปี มีการไหว้ผีหมอและ
การฟ้อนเล่นเต้นระบำ�
	 เพื่อบูชาผีหมอ ชาวบ้านที่เข้าร่วมส่วนใหญ่จะ
รวมกันฟ้อนรำ�อย่างสนุกสนาน บางรายถึงแม้อายุมาก
แต่ก็มีเรี่ยวแรงฟ้อนรำ�ได้นานหลายชั่วโมง บางรายก็
ฟ้อนไปโดยไม่มีสติและไม่เกิดอาการเหน็ดเหนื่อยแต่
อย่างใด ท่ารำ�ต่างๆ เป็นการแสดงความเคารพผีที่ตน
นับถือ พิธีกรรมเหล่านี้เป็นการออกกำ�ลังกายทางอ้อม
และเป็นการบำ�บัดรักษาโรคที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตและ
วัฒนธรรมของชาวบ้าน จึงทำ�ให้หมอพื้นบ้านยังคงให้
บริการและดำ�รงอยู่เป็นที่เชื่อถือ ศรัทธาและเป็นที่พึ่ง
ของประชาชน ปัจจุบันวิถีชีวิตของคนในสังคมมีการ
แข่งขันเพื่อการอยู่รอดในชีวิต และการเรียนรู้เทคโนโลยี
สมัยใหม่เพื่อสร้างความสะดวกสบายให้กับตนเองและ
ครอบครัว ซึ่งความเจริญก้าวหน้าดังกล่าวทำ�ให้คนมี
การเคลื่อนไหวร่างกายน้อยลง จึงเป็นบ่อเกิดที่สำ�คัญ
ของโรคภัยต่างๆ มากมาย ล้วนเกิดจากพฤติกรรมของ
คนที่ไม่ใส่ใจในการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว
และสังคม ซึ่งการออกกำ�ลังกายเป็นการเคลื่อนไหว
และออกแรงส่วนต่างๆ ของร่างกายเพื่อเสริมสร้าง
สุขภาพให้แข็งแรงยิ่งขึ้น เทศบาลตำ�บลเชียงเครือจึง
มีแนวคิดที่จะเอาประเพณีในท้องถิ่นเข้ามาประยุกต์
ใช้ในการออกกำ�ลังกายโดยใช้ท่ารำ�ผีหมอมาประยุกต์
เป็นท่าเต้นแอโรบิคเพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพของ
ประชาชน
แนวทางดำ�เนินกิจกรรม
	การดำ�เนินกิจกรรมส่งเสริมการออกกำ�ลังกาย
แบบแอโรบิคประยุกต์รำ�ฝีหมอพื้นบ้านนี้ ริเริ่มด้วย
การศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เป็นความเชื่อดั้งเดิมของ
ของประชาชนในพื้นที่ ทั้งนี้หลังจากได้รับการพิจารณา
อนุมัติงบประมาณจากส่วนกลาง ก็ได้มีการจัดประชุม
กับผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อหารือแนวทางและรูปแบบที่เหมาะ
สมกับการดำ�เนินการ ต่อมาจึงได้เริ่มดำ�เนินการค้นหา
ผู้รู้หรือปราชญ์ท้องถิ่นเพื่อถ่ายทอดและให้ความรู้เกี่ยว
กับการนำ�วัฒนธรรมดังกล่าวมาใช้เพื่อการออกกำ�ลัง
กาย เมื่อได้บุคคลที่จะมาเป็นผู้ถ่ายทอดแล้วจึงได้จัด
ให้มีการประชุมเพื่อสร้างข้อตกลงร่วมกันอีกครั้ง เมื่อ
ได้ข้อสรุปเพื่อการดำ�เนินงานจึงได้เริ่มจัดกระบวนการ
สร้างแกนนำ�ในชุมชนเพื่อเป็นผู้ขับเคลื่อนกิจกรรมใน
ระดับหมู่บ้าน และเมื่อประชาชนเกิดความพร้อมจึงได้
มีการจัดประกวดเต้นแอโรบิคประยุกต์รำ�ผีหมอพื้นบ้าน
ในการแข่งขันกีฬาประจำ�ตำ�บล จุดเด่นของกิจกรรม
นี้คือ ได้มีการตรวจทดสอบสมรรถภาพร่างกายของผู้
เข้าร่วมกิจกรรมทั้งก่อนและหลัง เพื่อใช้ในการเปรียบ
เทียบให้เห็นถึงผลที่เกิดขึ้นจากการออกกำ�ลังกาย
เป้าหมาย :
	 1.	เพื่อนำ�เอาศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นมาประยุกต์
ใช้ให้เกิดประโยชน์ด้านสุขภาพ
	 2.	เพื่อให้เกิดการกระตุ้นเผยแพร่การออกกำ�ลัง
กายแนวใหม่สู่ชุมชน
	 3.	เพื่อให้เกิดการยอมรับ ความร่วมมือ ความ
สามัคคีของคนในชุมชนและสามารถนำ�ไปใช้ได้อย่าง
ยั่งยืน
	 4.	จัดให้มีกิจกรรมด้านส่งเสริมสุขภาพที่เป็น
ประโยชน์และสอดคล้องกับวัฒนธรรมประเพณี
ท้องถิ่น
ประโยชน์
	 1.	ประชาชนมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง
	 2.	เกิดการถ่ายทอดและการออกกำ�ลังกาย
แนวใหม่ของท้องถิ่น
	 3.	ประชาชนมีการจัดกิจกรรมด้านส่งเสริมสุขภาพ
และกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ด้านสุขภาพที่สอดคล้อง
กับวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น ตลอดจนมีส่วนร่วม
ในการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น
แอโรบิครำ�ผีหมอพื้นบ้าน
ระยะเวลาที่ใช้ : ประมาณ 20 นาที
คุณสมบัติของผู้เล่น :	เยาวชน ประชาชนทั่วไป และ
				 ผู้สูงอายุ
จำ�นวนผู้เล่น : ไม่จำ�กัดจำ�นวน
กติกา : -
อุปกรณ์ที่ใช้ : เพลงดนตรีประกอบการออกกำ�ลังกาย
เครื่องแต่งกาย : -
ขั้นตอนการออกกำ�ลังกาย
	 การอบอุ่นร่างกาย เพื่อเป็นการวอร์มร่างกายให้
พร้อมก่อนการออกกำ�ลังกายซึ่งมีทั้งหมด 6 ท่า
	 1.	ท่าอบอุ่นร่างกาย ย่ำ�เท้าอยู่กับที่ (มาร์ชชิ่ง)
เป็นท่าจัดแถวและเตรียมความพร้อมก่อนอบอุ่นร่างกาย
	 2.	ท่าบริหารต้นคอ ท่ายืนเท้าเอว ปลายเท้า
ห่างกันในระดับไหล่ บริหารบริเวณต้นคอ โดยการ
ก้มหน้า เงยหน้า หันหน้าทางซ้าย และขวา ปลาย
เท้าแขย่งเท้าซ้าย-ขวา สลับกัน
	 3. ท่าไหว้ ยืนตรง ปลายเท้าทั้งสองข้างห่างกัน
ในระดับไหล่ ปลายเท้าแขย่งเท้าซ้าย-ขวา สลับกัน
ยกมือพนมระดับอก (รูปที่ 3.1) เลื่อนขึ้นระดับคาง
(รูปที่ 3.2) ต่อไปที่คิ้ว ยกแขนขึ้นเหนือศีรษะ (รูปที่
3.3) ลดมือลงมาที่ระดับคาง ลดมือลงที่ระดับอก ลด
มือลงที่ระดับเอวมือที่พนมแบออกให้มือซ้ายและขวา
ชิดกัน (รูปที่ 3.4) ยื่นมือไปข้างหน้าแบมือ (รูปที่ 3.5)
3.1 	 3.2
3.3 	 3.4
3.5
	 4.	ท่าส่วย ปลายเท้าแขย่งเท้าซ้าย-ขวา สลับ
กัน แขนขวาและแขนซ้ายยืดออกไปด้านข้าง หงาย
มือ ทำ�สลับซ้าย-ขวา
	
5.	 ท่ากินรี ยกมือข้างขวาไปด้านข้างวาดขึ้นเหนือ
ศีรษะ หมุนไหล่ลงทางด้านหลัง มือแบ มือข้างซ้าย
ไว้ข้างลำ�ตัว ขณะวาดมือขึ้น ย่อเข่ายุบตัวขึ้น-ลง
85
6.	 ท่ายัก แยกขางอเข่า
ด้านขวา (รูปที่ 6.1) มือทั้ง 2
ข้างตั้งวงด้านขวาในระดับเอว
ผลักออก (รูปที่ 6.2) ยกมือทั้ง
สองข้างขึ้นตั้งวงระดับศีรษะ
ผลักออก (รูปที่ 6.3)
	 ออกกำ�ลังกายต่อเนื่อง
เป็นท่าออกกำ�ลังกายประกอบ
เพลง โดยการนำ�ท่ารำ�มา
ประยุกต์เป็นท่าเต้นออกกำ�ลัง
กาย ซึ่งมีทั้งหมด 8 ท่า
	 1.	 ท่าหว่านข้าว เหวี่ยง
มือในท่าหว่านข้าวสลับซ้ายขวา
ยกมือหว่านระดับอก และเหนือ
หัว โยกตัวซ้าย-ขวา
	 2.	 ท่าเป่าแคน ยกเท้า
ไปด้านข้างในจังหวะก้าว-ชิด
3 จังหวะมือยกขึ้นแสดงท่า
เป่าแคน
	 3.	 ท่าตีฉาบ ย่ำ�เท้าอยู่กับที่ มือทั้งสองข้างตีเข้าหากันใน
ลักษณะการตีฉาบ
86
4.	ท่าตีกลองเส็ง ใช้มือตีกลองสลับ
ซ้าย-ขวา 6 จังหวะ ตบมือ กางขายกขา
ข้างซ้ายไปข้างหลัง มือสองข้างชูขึ้นเหนือ
ศีรษะแล้วกลับไปท่าตีกลอง 6 จังหวะ
	 5.	ชกมวย กำ�หมัดงอศอกเข้าชิดอก เอียงข้างลำ�ตัวแล้วปล่อยหมัดในท่าชกลม เอียงตัวสลับกันซ้าย-ขวา
	
	
	 6.	ท่าเล่นน้ำ� ก้าวเท้าไปข้างลำ�ตัว ก้าว-ชิด มือทั้ง
สองข้างยกแตะอก แสดงท่าวิดน้ำ�เข้าหาตัว แล้วยกมือ
ทั้งสองข้างชูขึ้นเหนือศีรษะ
87
7.	ท่าพายเรือ ก้าวขาในท่าเกรพวาย
(Grapevine) มือทั้งสองข้างกำ�และหมุน
แขนเป็นวงกลมไปตามจังหวะเท้าที่ก้าว
	 8.	ท่าตำ�ข้าว ย่ำ�เท้าอยู่กับที่ (มาร์ช
ชิ่ง) ยกมือทั้งสองข้างกำ�ในย่อตัวลงแสดง
ท่าตำ�ข้าว
	 ผ่อนคลายกล้ามเนื้อให้สู่ปกติ เป็นท่า
วอร์มหลังการออกกำ�ลังกาย เพื่อเป็นการ
ปรับสมดุลร่างกายหลังจากการออกกำ�ลัง
กายแล้วซึ่งมีทั้งหมด 5 ท่า
	 1.	ท่าช้อนฮวก ย่อตัวและยุบตัวขึ้น-ลง
ยกมือทั้งสองข้างไปด้านหน้า กำ�มือแสดง
ท่าใช้สวิงจับปลา ไปทางขวาแล้วย้ายมา
ทางซ้าย
	 2.	ท่าลอบตบ ก้าวเท้าขวาไปด้านข้าง
เท้าซ้ายตามชิด มือทั้งสองข้างตั้งวงระดับ
เอว จังหวะที่สองยกขึ้นตั้งวงเหนือศีรษะ
88
3.	ท่ากินรี ยกมือข้างขวาไปด้านข้าง
วาดขึ้นเหนือศีรษะ หมุนไหล่ลงทางด้าน
หลัง มือแบ มือข้างซ้ายไว้ข้างลำ�ตัว ขณะ
วาดมือขึ้น ย่อเข่ายุบตัวขึ้น-ลง
	 4.	ท่าส่งกระทง ยกมือพนมระดับ
อก (รูปที่ 4.1) แบมือทั้งสองข้างในระดับ
เอว ดันทั้งสองมือออกจากลำ�ตัว 2 จังหวะ
(รูปที่ 4.2) ยกมือทั้งสองข้างขึ้นเหนือศีรษะ
(รูปที่ 4.3)
	 5.	ท่าลาแม่ครู ยืดแขนทั้งสอง
ข้างไปข้างหน้ามือประสานกันในระดับอก
(รูปที่ 5.1) งอข้อศอกพนมมือไหว้ (รูปที่
5.2) แล้วกางแขนออกด้านข้าง (รูปที่ 5.3)
89
90

More Related Content

More from Piyawat Katewongsa (14)

Act14
Act14Act14
Act14
 
Act13
Act13Act13
Act13
 
Act11
Act11Act11
Act11
 
Act10
Act10Act10
Act10
 
Act9
Act9Act9
Act9
 
Act8
Act8Act8
Act8
 
Act7
Act7Act7
Act7
 
Act6
Act6Act6
Act6
 
Act5
Act5Act5
Act5
 
Intro
IntroIntro
Intro
 
Act4
Act4Act4
Act4
 
Act3
Act3Act3
Act3
 
Act2
Act2Act2
Act2
 
Act1
Act1Act1
Act1
 

Act12

  • 2. พื้นที่ต้นแบบของกิจกรรม : เทศบาลตำ�บลเชียงเครือ จังหวัดสกลนคร ที่มาของกิจกรรม ตำ�บลเชียงเครือ มีประเพณีเลี้ยงผีหมอสืบทอด ต่อเนื่องมานานปีของชุมชน ซึ่งเกิดจากความเชื่อและ ความศรัทธาของชาวบ้านที่มีมาหลายชั่วอายุคน โดย เชื่อว่าการเลี้ยงผีที่เคารพนับถือเป็นการบำ�บัดรักษา ผู้ป่วย หากไม่จัดงานเลี้ยงผีประจำ�ปีขึ้น หลายคนเชื่อ ว่าคนในหมู่บ้านจะล้มป่วยลง และเสียชีวิตโดยไม่ทราบ สาเหตุและถือเป็นการแก้เคล็ดด้วย บุคคลผู้ทำ�หน้าที่ ให้การบำ�บัดรักษาผู้ป่วยในชุมชน เรียกว่า “หมอพื้น บ้าน” หรือ “หมอเหยา” ผู้เลื่อมใสศรัทธาต่างร่วม พิธีไหว้ผีในเดือนสามของทุกปี มีการไหว้ผีหมอและ การฟ้อนเล่นเต้นระบำ� เพื่อบูชาผีหมอ ชาวบ้านที่เข้าร่วมส่วนใหญ่จะ รวมกันฟ้อนรำ�อย่างสนุกสนาน บางรายถึงแม้อายุมาก แต่ก็มีเรี่ยวแรงฟ้อนรำ�ได้นานหลายชั่วโมง บางรายก็ ฟ้อนไปโดยไม่มีสติและไม่เกิดอาการเหน็ดเหนื่อยแต่ อย่างใด ท่ารำ�ต่างๆ เป็นการแสดงความเคารพผีที่ตน นับถือ พิธีกรรมเหล่านี้เป็นการออกกำ�ลังกายทางอ้อม และเป็นการบำ�บัดรักษาโรคที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตและ วัฒนธรรมของชาวบ้าน จึงทำ�ให้หมอพื้นบ้านยังคงให้ บริการและดำ�รงอยู่เป็นที่เชื่อถือ ศรัทธาและเป็นที่พึ่ง ของประชาชน ปัจจุบันวิถีชีวิตของคนในสังคมมีการ แข่งขันเพื่อการอยู่รอดในชีวิต และการเรียนรู้เทคโนโลยี สมัยใหม่เพื่อสร้างความสะดวกสบายให้กับตนเองและ ครอบครัว ซึ่งความเจริญก้าวหน้าดังกล่าวทำ�ให้คนมี การเคลื่อนไหวร่างกายน้อยลง จึงเป็นบ่อเกิดที่สำ�คัญ ของโรคภัยต่างๆ มากมาย ล้วนเกิดจากพฤติกรรมของ คนที่ไม่ใส่ใจในการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว และสังคม ซึ่งการออกกำ�ลังกายเป็นการเคลื่อนไหว และออกแรงส่วนต่างๆ ของร่างกายเพื่อเสริมสร้าง สุขภาพให้แข็งแรงยิ่งขึ้น เทศบาลตำ�บลเชียงเครือจึง มีแนวคิดที่จะเอาประเพณีในท้องถิ่นเข้ามาประยุกต์ ใช้ในการออกกำ�ลังกายโดยใช้ท่ารำ�ผีหมอมาประยุกต์ เป็นท่าเต้นแอโรบิคเพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพของ ประชาชน แนวทางดำ�เนินกิจกรรม การดำ�เนินกิจกรรมส่งเสริมการออกกำ�ลังกาย แบบแอโรบิคประยุกต์รำ�ฝีหมอพื้นบ้านนี้ ริเริ่มด้วย การศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เป็นความเชื่อดั้งเดิมของ ของประชาชนในพื้นที่ ทั้งนี้หลังจากได้รับการพิจารณา อนุมัติงบประมาณจากส่วนกลาง ก็ได้มีการจัดประชุม กับผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อหารือแนวทางและรูปแบบที่เหมาะ สมกับการดำ�เนินการ ต่อมาจึงได้เริ่มดำ�เนินการค้นหา ผู้รู้หรือปราชญ์ท้องถิ่นเพื่อถ่ายทอดและให้ความรู้เกี่ยว กับการนำ�วัฒนธรรมดังกล่าวมาใช้เพื่อการออกกำ�ลัง กาย เมื่อได้บุคคลที่จะมาเป็นผู้ถ่ายทอดแล้วจึงได้จัด ให้มีการประชุมเพื่อสร้างข้อตกลงร่วมกันอีกครั้ง เมื่อ ได้ข้อสรุปเพื่อการดำ�เนินงานจึงได้เริ่มจัดกระบวนการ สร้างแกนนำ�ในชุมชนเพื่อเป็นผู้ขับเคลื่อนกิจกรรมใน ระดับหมู่บ้าน และเมื่อประชาชนเกิดความพร้อมจึงได้ มีการจัดประกวดเต้นแอโรบิคประยุกต์รำ�ผีหมอพื้นบ้าน ในการแข่งขันกีฬาประจำ�ตำ�บล จุดเด่นของกิจกรรม นี้คือ ได้มีการตรวจทดสอบสมรรถภาพร่างกายของผู้ เข้าร่วมกิจกรรมทั้งก่อนและหลัง เพื่อใช้ในการเปรียบ เทียบให้เห็นถึงผลที่เกิดขึ้นจากการออกกำ�ลังกาย เป้าหมาย : 1. เพื่อนำ�เอาศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นมาประยุกต์ ใช้ให้เกิดประโยชน์ด้านสุขภาพ 2. เพื่อให้เกิดการกระตุ้นเผยแพร่การออกกำ�ลัง กายแนวใหม่สู่ชุมชน 3. เพื่อให้เกิดการยอมรับ ความร่วมมือ ความ สามัคคีของคนในชุมชนและสามารถนำ�ไปใช้ได้อย่าง ยั่งยืน 4. จัดให้มีกิจกรรมด้านส่งเสริมสุขภาพที่เป็น ประโยชน์และสอดคล้องกับวัฒนธรรมประเพณี ท้องถิ่น ประโยชน์ 1. ประชาชนมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง 2. เกิดการถ่ายทอดและการออกกำ�ลังกาย แนวใหม่ของท้องถิ่น 3. ประชาชนมีการจัดกิจกรรมด้านส่งเสริมสุขภาพ และกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ด้านสุขภาพที่สอดคล้อง กับวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น ตลอดจนมีส่วนร่วม ในการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น แอโรบิครำ�ผีหมอพื้นบ้าน
  • 3. ระยะเวลาที่ใช้ : ประมาณ 20 นาที คุณสมบัติของผู้เล่น : เยาวชน ประชาชนทั่วไป และ ผู้สูงอายุ จำ�นวนผู้เล่น : ไม่จำ�กัดจำ�นวน กติกา : - อุปกรณ์ที่ใช้ : เพลงดนตรีประกอบการออกกำ�ลังกาย เครื่องแต่งกาย : - ขั้นตอนการออกกำ�ลังกาย การอบอุ่นร่างกาย เพื่อเป็นการวอร์มร่างกายให้ พร้อมก่อนการออกกำ�ลังกายซึ่งมีทั้งหมด 6 ท่า 1. ท่าอบอุ่นร่างกาย ย่ำ�เท้าอยู่กับที่ (มาร์ชชิ่ง) เป็นท่าจัดแถวและเตรียมความพร้อมก่อนอบอุ่นร่างกาย 2. ท่าบริหารต้นคอ ท่ายืนเท้าเอว ปลายเท้า ห่างกันในระดับไหล่ บริหารบริเวณต้นคอ โดยการ ก้มหน้า เงยหน้า หันหน้าทางซ้าย และขวา ปลาย เท้าแขย่งเท้าซ้าย-ขวา สลับกัน 3. ท่าไหว้ ยืนตรง ปลายเท้าทั้งสองข้างห่างกัน ในระดับไหล่ ปลายเท้าแขย่งเท้าซ้าย-ขวา สลับกัน ยกมือพนมระดับอก (รูปที่ 3.1) เลื่อนขึ้นระดับคาง (รูปที่ 3.2) ต่อไปที่คิ้ว ยกแขนขึ้นเหนือศีรษะ (รูปที่ 3.3) ลดมือลงมาที่ระดับคาง ลดมือลงที่ระดับอก ลด มือลงที่ระดับเอวมือที่พนมแบออกให้มือซ้ายและขวา ชิดกัน (รูปที่ 3.4) ยื่นมือไปข้างหน้าแบมือ (รูปที่ 3.5) 3.1 3.2 3.3 3.4 3.5 4. ท่าส่วย ปลายเท้าแขย่งเท้าซ้าย-ขวา สลับ กัน แขนขวาและแขนซ้ายยืดออกไปด้านข้าง หงาย มือ ทำ�สลับซ้าย-ขวา 5. ท่ากินรี ยกมือข้างขวาไปด้านข้างวาดขึ้นเหนือ ศีรษะ หมุนไหล่ลงทางด้านหลัง มือแบ มือข้างซ้าย ไว้ข้างลำ�ตัว ขณะวาดมือขึ้น ย่อเข่ายุบตัวขึ้น-ลง 85
  • 4. 6. ท่ายัก แยกขางอเข่า ด้านขวา (รูปที่ 6.1) มือทั้ง 2 ข้างตั้งวงด้านขวาในระดับเอว ผลักออก (รูปที่ 6.2) ยกมือทั้ง สองข้างขึ้นตั้งวงระดับศีรษะ ผลักออก (รูปที่ 6.3) ออกกำ�ลังกายต่อเนื่อง เป็นท่าออกกำ�ลังกายประกอบ เพลง โดยการนำ�ท่ารำ�มา ประยุกต์เป็นท่าเต้นออกกำ�ลัง กาย ซึ่งมีทั้งหมด 8 ท่า 1. ท่าหว่านข้าว เหวี่ยง มือในท่าหว่านข้าวสลับซ้ายขวา ยกมือหว่านระดับอก และเหนือ หัว โยกตัวซ้าย-ขวา 2. ท่าเป่าแคน ยกเท้า ไปด้านข้างในจังหวะก้าว-ชิด 3 จังหวะมือยกขึ้นแสดงท่า เป่าแคน 3. ท่าตีฉาบ ย่ำ�เท้าอยู่กับที่ มือทั้งสองข้างตีเข้าหากันใน ลักษณะการตีฉาบ 86
  • 5. 4. ท่าตีกลองเส็ง ใช้มือตีกลองสลับ ซ้าย-ขวา 6 จังหวะ ตบมือ กางขายกขา ข้างซ้ายไปข้างหลัง มือสองข้างชูขึ้นเหนือ ศีรษะแล้วกลับไปท่าตีกลอง 6 จังหวะ 5. ชกมวย กำ�หมัดงอศอกเข้าชิดอก เอียงข้างลำ�ตัวแล้วปล่อยหมัดในท่าชกลม เอียงตัวสลับกันซ้าย-ขวา 6. ท่าเล่นน้ำ� ก้าวเท้าไปข้างลำ�ตัว ก้าว-ชิด มือทั้ง สองข้างยกแตะอก แสดงท่าวิดน้ำ�เข้าหาตัว แล้วยกมือ ทั้งสองข้างชูขึ้นเหนือศีรษะ 87
  • 6. 7. ท่าพายเรือ ก้าวขาในท่าเกรพวาย (Grapevine) มือทั้งสองข้างกำ�และหมุน แขนเป็นวงกลมไปตามจังหวะเท้าที่ก้าว 8. ท่าตำ�ข้าว ย่ำ�เท้าอยู่กับที่ (มาร์ช ชิ่ง) ยกมือทั้งสองข้างกำ�ในย่อตัวลงแสดง ท่าตำ�ข้าว ผ่อนคลายกล้ามเนื้อให้สู่ปกติ เป็นท่า วอร์มหลังการออกกำ�ลังกาย เพื่อเป็นการ ปรับสมดุลร่างกายหลังจากการออกกำ�ลัง กายแล้วซึ่งมีทั้งหมด 5 ท่า 1. ท่าช้อนฮวก ย่อตัวและยุบตัวขึ้น-ลง ยกมือทั้งสองข้างไปด้านหน้า กำ�มือแสดง ท่าใช้สวิงจับปลา ไปทางขวาแล้วย้ายมา ทางซ้าย 2. ท่าลอบตบ ก้าวเท้าขวาไปด้านข้าง เท้าซ้ายตามชิด มือทั้งสองข้างตั้งวงระดับ เอว จังหวะที่สองยกขึ้นตั้งวงเหนือศีรษะ 88
  • 7. 3. ท่ากินรี ยกมือข้างขวาไปด้านข้าง วาดขึ้นเหนือศีรษะ หมุนไหล่ลงทางด้าน หลัง มือแบ มือข้างซ้ายไว้ข้างลำ�ตัว ขณะ วาดมือขึ้น ย่อเข่ายุบตัวขึ้น-ลง 4. ท่าส่งกระทง ยกมือพนมระดับ อก (รูปที่ 4.1) แบมือทั้งสองข้างในระดับ เอว ดันทั้งสองมือออกจากลำ�ตัว 2 จังหวะ (รูปที่ 4.2) ยกมือทั้งสองข้างขึ้นเหนือศีรษะ (รูปที่ 4.3) 5. ท่าลาแม่ครู ยืดแขนทั้งสอง ข้างไปข้างหน้ามือประสานกันในระดับอก (รูปที่ 5.1) งอข้อศอกพนมมือไหว้ (รูปที่ 5.2) แล้วกางแขนออกด้านข้าง (รูปที่ 5.3) 89
  • 8. 90