SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
1
สรุปสาระสาคัญ (Executive Summary)
การประชุมวิชาการนานาชาติเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา “ปวงชนเพื่อการศึกษา
นับตั้งแตการรับรองปฏิญญาจอมเทียน Jomtien Declaration) ในป พ.ศ. 2533 วาดวยการพัฒนาการศึกษาเพื่อ
ปวงชน Education for All หรือ EFA) ประเทศตางๆไดรับแรงบันดาลใจใหมุงมั่นอยางแนวแนตอการสราง “การศึกษา
เพื่อปวงชน” และทางานเพื่อมุงเปาหมายที่ตกลงกันไวใหนาไปสูการปฏิบัติอันเกิดผลจริง ในชวง 30 ปที่ผานมาเราไดเห็น
ความกาวหนาที่สาคัญผานการทางานที่มุงสูเปาหมายการพัฒนาแหงสหัสวรรษ (Millennium Development Goals) และ
เปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน Sustainable Development Goals: SDGs) ทั้งในระดับนานาชาติ ระดับชาติและระดับ
ทองถิ่น เพื่อใหแนใจวาเด็กทุกคนสามารถเขาถึงการศึกษาที่มีคุณภาพและเอาชนะความเหลื่อมล้า ถึงกระนั้นก็ตามความทา
ทายและภารกิจตาง ๆ เพื่อมุงสูการศึกษาสาหรับเด็กทุกคนยังไมบรรลุเปาหมายตามที่คาดหวังไว และยังคงมีการดาเนินงาน
ที่ตองกาวหนาตอไปเพื่อบรรลุสัญญาระดับโลกภายในป พ.ศ. 2573
หัวขอยอยที่ 1: การศึกษาอยางเทาเทียมมีความหมายอยางไรในโลกที่กาลังเปลี่ยนแปลงทามกลางการแพรระบาดของ
COVID19
ท สถานการณการระบาดของโรคโควิด-19 เปนความทาทายสาหรับการสรางการศึกษาอยางเทาเทียมที่ไมเคยมีมากอน
การระบาดครั้งนี้ทาใหสถานการณการเรียนรูของเด็กแยลงจนกอใหเกิดเปนวิกฤติการเรียนรูระดับโลก โรคโควิด-19
กาลังสงผลกระทบตอการสราง “ตนทุนมนุษย” ในระยะยาวอยางเห็นไดชัด สงผลใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรูของเด็ก
ลดลง รายไดครัวเรือนลดลง และ สถานะทางเศรษฐกิจที่ย่าแยลง โรคโควิด-19 ไมเพียงแตทาใหเศรษฐกิจตกต่าเทานั้น
แตยังผลใหเกิดความทาทายที่ยิ่งใหญสาหรับการศึกษาและสรางความเหลื่อมล้าทางการศึกษาโดยทาใหความเหลื่อมล้า
และแบงแยกเพิ่มมากขึ้น ทาใหเด็กจานวนมากออกตองจากระบบการศึกษา ซึ่งเหลานี้ยังผลใหเปนอุปสรรคกับ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรูและสุขภาพของเด็ก และตอมาสงผลใหสูญเสียโอกาสในการจางงานในอนาคต ในสวนของ
ผลกระทบที่เกิดจากโรคระบาดครั้งนี้ยังผลใหมีเด็กจานวน 1.6 พันลานคนทั่วโลกตองออกจากโรงเรียน
ท แนวทางการสรางการศึกษาที่เทาเทียมจะชวยทาใหเด็กทุกคนไดเขาถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ ซึ่งไมใชการใหเด็กทุกคน
เขาถึงเพียงการเขาเรียนแตจาเปนตองมีการจัดการศึกษาแบบเรียนรวม (Inclusive education) เพื่อสรางโอกาสให
นักเรียนทุกคนเขาถึงการเรียนรูได ผลกระทบของโรคโควิด-19 ไมเพียงแตสงผลเสียตอทักษะการอานออกเขียนไดของ
เด็ก แตยังสงผลเสียตอทักษะจาเปนอื่นๆ ซึ่งทาใหเด็กไมสามารถเจริญเติบโตเต็มตามศักยภาพที่เด็กๆ ควรเปน โรคโค
วิด-19 ยังสงผลเสียกับผูยากไรโดยที่เด็กที่มาจากครอบครัวยากจนอาจเสียระดับการศึกษาสูงถึงครึ่งป ซึ่งหมายความวา
เด็กจานวนมากที่มาจากครอบครัวยากจนและมีผลการเรียนปานกลางอาจไดรับผลกระทบจากการปดเรียนจนมีผลอาจ
ไมสามารถอานเขียนในระดับพื้นฐานได (Functional illiterate) ผลที่ตามมาคือการสูญเสียความสามารถในการหา
2
รายไดในอนาคต ซึ่งยังผลใหความสามารถในการสนับสนุนการเติบโตทางเศรษฐกิจและการพัฒนาของประเทศของเด็ก
เหลานี้ในอนาคตลดลงไปดวย
ท จากการประชุมมีวิทยากรที่มีชื่อเสียงหลายทานไดสะทอนมุมมองที่จาเปนสาหรับทุกประเทศที่จะตองเตรียมพรอมกับ
แผนกลยุทธและมาตรการที่ชัดเจนเพื่อใหแนใจวาการเปดโรงเรียนขึ้นอยูกับหลักการของ สรางกลับมาใหดีขึ้น (Build
back better) และตระหนักถึงความตองการของกลุมผูดอยโอกาส เชน คนยากจนเด็กผูหญิงที่อยูนอกโรงเรียน เด็ก
พิการ ผูลี้ภัย นักเรียนที่อาศัยอยูในพื้นที่หางไกล และเด็กที่เสี่ยงตอการออกจากโรงเรียนกลางคัน เมื่อโรงเรียนกลับมา
เปดอีกครั้ง ควรมีการสนับสนุนเพื่อชวยใหนักเรียนไดมีโอกาสปรับตัวทางดานวิชาการ ไดรับการจัดสรรทรัพยากรอยาง
เทาเทียมกัน และเขาถึงการสนับสนุนอยางครอบคลุมและดูแลเยียวยาทางจิตใจ ดวยวิธีนี้จะเกิดการสูญเสีย
ความสามารถในการเรียนรูนอยที่สุด นอกจากนั้นเด็กนักเรียนจะมีความสามารถที่จะฟนตัวเมื่อตกอยูในสถานการณที่
ยากลาบาก resilient เจริญเติบโต ไดเรียนรู และไดพัฒนาทักษะมากขึ้น
ท เราเห็นขอมูลมากมายที่ไดรับจากการประชุมครั้งนี้ผานการแบงปนแนวทางปฏิบัติอันเปนเลิศ โดยเห็นความพยายามของ
หลายประเทศสรางหลักประกันใหแนใจวา นักเรียนจะไดรับประสบการณการเรียนรูอยางตอเนื่องในชวงที่การเรียนมี
การหยุดชะงัก ตัวอยางของการศึกษาเชิงทดลอง (Interventions) รวมถึงนโยบายระดับชาติสาหรับการเรียนรูออนไลน
ที่นาเสนอโดยประเทศเกาหลีใต จีน ไทย อินเดีย สิงคโปรและอื่น ๆ สะทอนใหเห็นไดวาปจจัยของความสาเร็จที่เกิด
ขึ้นมาจากความมุงมั่นอยางแรงกลาตอการศึกษาเพื่อปวงชน การศึกษาแบบเรียนรวม (Inclusive education) และ
การศึกษาที่มีคุณภาพไมเพียงแตตองมีเจตจานงทางการเมือง (Political will) ในภาคการศึกษาเทานั้น แตยังมาจากการ
ประสานการทางานกับกระทรวงอื่น ๆ ที่จะชวยใหเด็กทุกคนไดรับโอกาสการเขาถึงการศึกษาคุณภาพที่เทาเทียมอีกดวย
เราสังเกตวิธีการตาง ๆ ในการทางานที่จะใชทรัพยากรตาง ๆ ชวยเหลือนักเรียนใหสามารถเรียนรูไดอยางตอเนื่อง และ
ตระหนักถึงความตองการของนักเรียนที่ดอยโอกาสใหไดรับการสนับสนุนดวยนวัตกรรมเพื่อแกไขปญหาที่พึงมี เราเห็น
คุณคาความทุมเทกาลังแรงกายและใจของผูนาโรงเรียนและครูเพื่อใหผูปกครองมีสวนรวมในการจัดการศึกษาแมอยูใน
สถานการณที่ยากลาบาก และขอชื่นชมทุกๆความสาเร็จที่ทุกประเทศลงมือทา บทเรียนตางๆ ที่เรียนรูจากประสบการณ
อันมีคาเหลานี้จะเปนประโยชนอยางยิ่งตอประเทศอื่น ๆ ในการวางแผนดาเนินการและปรับปรุงการศึกษาแบบครบ
วงจรสาหรับเด็กทุกคน
หัวขอยอยที่ 2: การศึกษาที่เทาเทียมและการจัดการศึกษาที่ปรับตามบริบทพื้นที่
ท การจัดการศึกษาที่ปรับตามบริบทพื้นที่นั้นมีการพูดถึงในหลายหัวขอยอย ซึ่งเปนการจัดการศึกษาที่มาจากวาทกรรม
นโยบายระดับชาติไปจนถึงการดาเนินการจากมุมมองตามพื้นที่ การปฏิบัติจากระดับชาติถึงระดับทองถิ่น
o ระดับชาติ: ไดมีการแลกเปลี่ยนประสบการณจากหลายประเทศเกี่ยวกับความพยายามในการปฏิรูประบบ
การศึกษา การสรรหาครู และการจัดการศึกษาแบบเรียนรวม Inclusive education) โดยประเทศที่สามารถสราง
ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาไดสูงตางบอกวาระบบการศึกษาตองมีความยืดหยุนและเปนอิสระ มีความเชื่อในหลักการเรียนรู
3
ตลอดชีวิต เคารพเสียงของชนกลุมนอย และนาแหลงรวบรวมขอมูลดิจิทัล (Digital platform) ไปใชเพื่อใชในการศึกษา
อยางกวางขวาง ทั้งนี้ ควรมีการรวมกันสนับสนุนนโยบายเพื่อชวยนาวิสัยทัศนไปสูการกระทาที่เปนรูปธรรมได ไดแก 1)
การสงเสริมการศึกษาทางไกลและสนับสนุนการเรียนรูสาหรับผูดอยโอกาสที่สุด 2) พยายามรักษาใหมีการลงทุนเพื่อ
พัฒนาการศึกษา รวมถึงกาหนดนโยบายที่จาเปนเพื่อชวยเหลือนักเรียนใหสามารถเขาสูโลกเสนทางอาชีพได และ 3)
ลงทุนในการสรางทักษะดิจิทัลและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรูตลอดชีวิต
o ระดับทองถิ่น: ไดมีการแลกเปลี่ยนเรียนรูประสบการณเรื่องราวความสาเร็จของการจัดการศึกษาที่ปรับตามบริบท
พื้นที่โดยการนาของหนวยงานในทองถิ่นเพื่อสรางความรวมมือที่ใกลชิดระหวางโรงเรียน ครู พอแมผูปกครอง นักเรียน
และผูมีสวนไดสวนเสียที่สาคัญอื่นๆ และชวยกันดูแลใหการลงมือปฏิบัติเกิดขึ้นจริง มีการนาใชขอมูลรายบุคคลของเด็ก
นาไปวิเคราะห สังเคราะห เพื่อสรางแผนพัฒนาการศึกษาระดับจังหวัด และนาไปใชในการตัดสินใจวางแผนงบประมาณ
และยังนาขอมูลของเด็กรายบุคคลใชในการบริหารจัดการระดับโรงเรียนอีกดวย ตัวอยางตางๆ แสดงใหเห็นวาการเปน
ผูนาที่มีประสิทธิภาพในระดับโรงเรียนสามารถฟนฟูความมุงมั่นของครูและทาใหผูปกครองมีสวนรวมเพื่อชวยใหนักเรียน
ที่บรรลุผลสาเร็จจากระดับดี เปนดีเยี่ยม และยังทาใหเด็กนักเรียนมีทัศนคติและแนวคิดแบบยืดหยุนและเติบโตพัฒนา
ตอไปขางหนา (Growth mindset) อีกดวย การจัดการศึกษาที่ปรับตามบริบทพื้นที่โดยมีอิสระทางการนาปฏิบัติได
พิสูจนแลววาเกิดประสิทธิภาพ เชน ในการสงเสริมการปฏิบัติการจัดการศึกษาแบบเรียนรวม การนาวัฒนธรรมตางๆ
เขามาผสานในการปรับหลักสูตรใหเหมาะตามบริบท การใหความสาคัญกับการสรางความรูสาหรับพอแม การปฏิบัติ
ชวยเหลือเด็กที่มีความตองการพิเศษ และการใชแนวทางปฏิบัติที่ใหพอแมไดมีสวนรวม เปนตน
o การจัดสรรทรัพยากรทางการศึกษาตามพื้นที่เพื่อความเสมอภาค: มีการยกตัวอยางประเทศที่พยายามจัดสรร
ทรัพยากรทางการศึกษาใหเขาถึงนักเรียนอยางทั่วถึงและใกลบานนักเรียน โดยการจัดสรรครูที่เกงที่สุดไปชวยเหลือใน
โรงเรียนที่เด็กมีความตองการมากที่สุด เชน ประเทศจีน ฟนแลนด และเอสโตเนีย ซึ่งเปนตัวอยางวาสิ่งเหลานี้เปนไปได
ถามีการนานโยบายไปปฏิบัติอยางจริงจัง และเปนบทเรียนวาหากจะทาใหเกิดความเทาเทียมทางการศึกษาได จะตอง
ชวยใหเด็กทุกคนเขาถึงการศึกษาโดยปราศจากเรื่องของฐานะ พื้นฐานทางสังคม ขอจากัดของโรงเรียนและครู โดย
นักเรียนทุกคนตองเขาถึงครูที่เกงไดโดยไมจาเปนจะตองเขาเรียนในโรงเรียนขนาดใหญเทานั้น
หัวขอยอยที่ 3: นวัตกรรมการจัดหาเงินทุนเพื่อการพัฒนา
ท นวัตกรรมการจัดหาเงินทุนเพื่อการพัฒนาการศึกษา Innovative Financing for Education มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนา
ขีดความสามารถและเพิ่มพูนความรูโดยรวมเกี่ยวกับกลไกทางการเงินที่มีอยูจานวนมาก ประโยชนที่สาคัญของนวัตกรรม
การจัดหาเงินทุนเพื่อการพัฒนาการศึกษา คือ 1) เพื่อหาแหลงเงินทุนเพิ่มเติมลงทุนในการจัดการศึกษา หรือเพิ่มมูลคา
ของเงินที่มาจากแหลงงบประมาณที่มีอยูแลว 2) ปรับปรุงวิธีการใชจายงบประมาณโดยใชวิธีการที่เปนนวัตกรรมเพื่อเพิ่ม
ผลลัพธทางการจัดการศึกษา แมวามีการทดลองการใชนวัตกรรมการจัดหาเงินทุนเพื่อการพัฒนาการศึกษาหลายรูปแบบ
เชน พันธบัตรเพื่อสังคม social impact bond), กองทุนเงินกูยืมเพื่อการศึกษาที่ผูกกับรายไดในอนาคต (income-
4
contingent loans), สัญญาแลกเปลี่ยนหนี้ debt swap , การซื้อหนี้ (debt-buy-down), พันธบัตรการศึกษา
(education bonds), เงินสงกลับคืนประเทศ remittance), การลงทุนเพื่อสรางผลกระทบ (impact investment) [มี
ศักยภาพในการพัฒนาตอสูง] และการเก็บภาษี taxation อยางไรก็ดี วิธีการออกแบบและจัดโครงสรางนวัตกรรมการ
จัดหาเงินทุนเพื่อการพัฒนาการศึกษาและแกไขปญหาทั้งหมดของการศึกษายังไมมีการศึกษาที่หลากหลายพอ
ท ประสบการณนวัตกรรมการจัดหาเงินทุนเพื่อการพัฒนาการศึกษาที่ยกขึ้นมาเปนตัวอยางจากประเทศ เกาหลีใต ญี่ปุน
อินเดีย และเนปาลเปนที่นาประทับใจเปนอยางมาก แพนอิมแพ็ค (Pan Impact) ประเทศเกาหลีใตเปนตัวอยางหนึ่งที่
ประสบความสาเร็จในการสรางโครงการนวัตกรรมการจัดหาเงินทุนเพื่อเนนสรางความมุงมั่นที่แข็งแกรงของนักลงทุน
และดึงดูดใจรัฐบาลใหรวมลงทุนที่สะทอนใหเห็นวารัฐตระหนักคุณคาทางสังคมผานการลงทุนกับนวัตกรรมการจัดหา
เงินทุนเพื่อการพัฒนาการศึกษา และเปนการพัฒนานโยบายทางสังคมแนวนวัตกรรม โดยจะเห็นไดวาไมเพียงแตเด็ก
กลุมดอยโอกาส เชน เด็กที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญาไมเพียงแตไดรับประโยชน ไดความชวยเหลือจนเด็กเหลานั้นมี
พัฒนาการที่ดี พนจากความทุกขยาก แตรัฐบาลยังสามารถจัดการงบประมาณไดอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้นและบริหาร
นโยบายใหบรรลุเปาหมายที่แทจริงได
ท อีกตัวอยางที่เปนแรงบันดาลใจของนวัตกรรมการจัดหาเงินทุนเพื่อการพัฒนาการศึกษาที่ไดรับการกลาวถึงโดยวิทยากร
หลายทาน คือ การใหเงินโอนดานการศึกษาอยางมีเงื่อนไข Conditional Cash Transfer) มีการศึกษาหลายชิ้นทั่วโลก
ไดพิสูจนแลววางบประมาณอุดหนุนเด็กนักเรียนอยูในกลุมเสี่ยง และเด็กที่ออกจากระบบโรงเรียนไปแลวไมไดมีปริมาณ
เพิ่มขึ้นเลย ดังนั้น การอุดหนุนปจจัยพื้นฐานทางการศึกษาของนักเรียนเพื่อชวยเหลือเด็กที่อยูในกลุมเสี่ยง และเด็กที่
ออกจากระบบโรงเรียนจึงเปนการศึกษาเชิงทดลองที่เปนที่นิยมในหลายประเทศทั่วโลกใหดึงเด็กเหลานี้กลับไปเรียน
หนังสือในระบบโรงเรียน ไดมีการทดสอบกลไกหลายชนิดเพื่อเพื่อระบุและตรวจสอบเงื่อนไขของความยากจนขั้นรุนแรง
ซึ่งกลไกเหลานี้สามารถออกแบบเปนการศึกษาเชิงทดลอง Interventions) ปรับตามบริบทพื้นที่ได เราเห็นวาผลลัพธมี
แนวโนมดี ซึ่งเห็นผลตั้งแตการเพิ่มการกลับเขาสูระบบโรงเรียนไปจนถึงการพัฒนาระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาและ
การพัฒนาประโยชนทางสังคม
หัวขอยอยที่ 4: การรวมมือระหวางภาครัฐและภาคเอกชน
ท การใหบริการขั้นพื้นฐานที่มีประสิทธิภาพ เชน การจัดศึกษาขั้นพื้นฐาน การดูแลสุขภาพ การจัดหาน้าสะอาด และการ
สุขาภิบาล เปนกุญแจสาคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของทุก ๆ ประเทศ ซึ่งบริการเหลานี้เปนการลงทุนเพื่อ
บรรเทาความยากจน และเพื่อใหประเทศตาง ๆ บรรลุเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน Sustainable Development
Goals) แมวารัฐบาลตางเห็นพองวารัฐตองลงทุนในการบรรลุสิทธิของเด็กทุกคนในการเขาถึงบริการขั้นพื้นฐานและให
เด็กทุกคนเจริญเติบโตเปนอยางดี แตยังมีความทาทายอีกมากมายในการจัดบริการพื้นฐานเหลานี้ ในขณะที่งบประมาณ
จากองคกรเพื่อการพัฒนาลดนอยลง การหาการลงทุนจากภาคเอกชนจะชวยสรางความแตกตางอยางใหญหลวงตอ
ผลลัพธทางสังคมเพราะภาคเอกชนมีความยืดหยุนในการใชแนวทางที่เปนนวัตกรรมมาใชในการแกปญหาได
5
ท จากการประชุมมีวิทยากรหลายทานไดสะทอนมุมมองเกี่ยวกับการสรางความรวมมือระหวางภาครัฐและภาคเอกชน ทั้ง
ในระดับโลก ระดับภูมิภาค ระดับประเทศ ระดับจังหวัดและทองถิ่น และระดับโรงเรียน ซึ่งเปนการระดมสรรพกาลัง
ทรัพยากร และนวัตกรรมเพื่อชวยผูเรียนในการปรับปรุงและเพิ่มศักยภาพใหสูงสุด เราสังเกตวาการพัฒนานโยบาย การ
พัฒนาโครงการดานการศึกษาตางๆ ไปจนถึงการพัฒนาโครงการระดับโรงเรียนนั้นจะประสบผลสาเร็จเปนอยางมากหาก
มีการสรางหุนสวนระหวางภาครัฐและภาคเอกชนเขาดวยกัน
ท โลกในปจจุบันกาลังเคลื่อนตัวออกจากโครงการชวยเหลือแบบดั้งเดิม และมีการปรับโครงสรางเพื่อเพิ่มความรวมมือกับ
ตลาดทุนเอกชน โดยความรวมมือดังกลาวมุงหวังในการสรางผลตอบแทนทางสังคม ในสวนโครงการขับเคลื่อนโดย
ภาคเอกชน เชนงานของ “Disrupt Technology Venture” ในประเทศไทยไดแสดงใหเราเห็นวาผูประกอบการภาค
สังคม ผูประกอบการเทคโนโลยี และ ผูประกอบการที่ชานาญดานนวัตกรรมกาลังมีบทบาทอยางมากในการชวยเหลือ
แกปญหาสังคมและปญหาทางการศึกษา เราเห็นวิธีการที่หลากหลายของการสรางรวมมือระหวางภาครัฐและ
ภาคเอกชน เชน การที่นักลงทุนเอกชนลงเงินในกองทุนโลกเพื่อสรางโครงการ Learning Passport ซึ่งเปนโครงการ
แพลตฟอรมเพื่อใหแตละประเทศสามารถนาไปปรับใหเขากับหลักสูตรของตนเอง โดยขอมูลของเด็ก ๆ จะบันทึกอยูใน
ฐานขอมูลแบบคลาวน (Cloud-based) เมื่อเด็ก ๆ เขามาใชงานระบบจะบันทึกการใชงาน รวมถึงประเมินการเรียนรู
และความเขาใจในเนื้อหา และยังสามารถดึงไปใชขามแพลตฟอรมระหวางดิจิตอลและการเรียนการสอนในหองเรียน
ปกติ โดยมีการใชงานแลวในประเทศติมอร จอรแดน และบังคลาเทศ นอกจากนี้ยังมีแนวทางการพัฒนาจากลางขึ้นบน
เชน โรงเรียนมีชัยพัฒนา โดยที่นอกเหนือจากการพัฒนาโรงเรียน การพัฒนาเด็กแลว แตยังคานึงถึงชุมชนในทองถิ่น
และสามารถขยายผลไปสูระดับชาติไดอีกดวย
ท ทุกวันนี้ภาคเอกชนกาลังเปลี่ยนวิธีการลงทุนไปสูการลงทุนดานสังคมและสิ่งแวดลอม Environmental Social and
Governmental: ESG) มากขึ้นเรื่อย ๆ ประเด็นเรื่องความเสมอภาคทางการศึกษาเปนแนวทางที่สามารถปรับไปเปน
โครงการตาง ๆ ที่จะเปนที่สนใจของภาคเอกชนเพราะเปนการพัฒนาที่สามารถสรางคุณูปการแกการพัฒนาสังคมและ
สิ่งแวดลอมในระยะยาวได
6
สรุปจากหัวขอสาคัญ 10 ประการ
โควิด-19 และความเสมอภาค
ขอความสาคัญ: การระบาดโควิด-19 สรางผลกระทบที่เปนลบใหกับการสรางความเสมอภาคทางการศึกษา
การระบาดครั้งใหญนี้ทาใหเด็กจานวน 1.6 พันลานคนตองออกจากโรงเรียน
ทสถานการณการระบาดของโรคโควิด-19 เปนความทาทายสาหรับการสรางการศึกษาอยางเทาเทียมที่ไมเคยมีมากอน
การระบาดครั้งนี้ทาใหสถานการณการเรียนรูของเด็กแยลงจนกอใหเกิดเปนวิกฤติการเรียนรูระดับโลก โรคโควิด-19
กาลังสงผลกระทบตอการสราง “ทุนมนุษย” ในระยะยาวอยางเห็นไดชัดสงผลให ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรูของเด็ก
ลดลง รายไดลดลง และ สถานะทางเศรษฐกิจที่แยลง โรคโควิด-19 ไมเพียงแตทาใหเศรษฐกิจตกต่าเทานั้น แตยังผลให
เกิดความทาทายที่ยิ่งใหญสาหรับการศึกษาและสรางความเหลื่อมล้าทางการศึกษาโดยทาใหความเหลื่อมล้าและ
แบงแยกที่เพิ่มขึ้น ทาใหเด็กจานวนมากออกตองจากระบบการศึกษา ซึ่งเหลานี้ยังผลใหเปนอุปสรรคกับผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนรูและสุขภาพของเด็ก และตอมาสงผลใหสูญเสียโอกาสในการจางงานในอนาคต
ทการปดโรงเรียนเพื่อเปนการระวังการระบาดของโควิด-19 แมวาจะเปนแนวทางในการปกปองชีวิต แตเปนการสราง
ความทาทายที่ยิ่งใหญใหกับความพยายามที่จะสรางการศึกษาเสมอภาคและการจัดการศึกษาแบบเรียนรวม Inclusive
education) เพื่อสรางโอกาสใหนักเรียนทุกคนเขาถึงการเรียนรู และเพราะโควิดเปนทาทายที่ยิ่งใหญสาหรับการศึกษาที่
ทาใหความเหลื่อมล้าและสรางการแบงแยกที่เพิ่มขึ้น ทาใหเด็กจานวนมากออกตองจากระบบการศึกษา เด็กจากภูมิหลัง
ที่ดอยโอกาส เด็กในพื้นที่ที่มีความขัดแยง เด็กผูหญิง เด็กจากครอบครัวที่มีรายไดต่า ผูลี้ภัย ผูพิการ ผูเรียนชา ผูพลัด
ถิ่น ตางมีความเสี่ยงจากการถูกกีดกันในการเขาถึงการศึกษาและเผชิญกับคุณภาพชีวิตที่ต่าลง เชน เด็กหลายคนถูก
บังคับใหออกจากโรงเรียนเพื่อแตงงาน เปนแรงงานรายไดต่า เปนเหยื่อการคามนุษย ตั้งครรภในวัยรุน สูญเสียอิสรภาพ
และความทรมานจากความรุนแรงในครอบครัว
ทการระบาดของโรคครั้งใหญนี้บังคับใหโลกตองคิดใหมและกาหนดวิธีการใหม และใชนวัตกรรมเพื่อที่จะเอาชนะโรคภัย
และนอกจากนั้นความทาทายที่เกิดขึ้นอันเปนผลของโรคนี้คือการที่ทาอยางไรที่จะทาใหเด็กทุกคนไดเขาถึงการศึกษาที่มี
คุณภาพได และยังรวมถึงวิธีการเปลี่ยนระบบการศึกษาใหมีความครอบคลุมอยางแทจริงดังนั้นจึงไมมีใครถูกทิ้งไวขาง
หลัง ยิ่งกลุมผูดอยโอกาสอยูนอกโรงเรียนนานขึ้นเทาใด พวกเขามีแนวโนมที่จะสูญเสียการเรียนรูอยางนอยถึงครึ่งปซึ่ง
หมายความวาเด็กจานวนมากที่มาจากครอบครัวยากจนและมีผลการเรียนปานกลางอาจไดรับผลกระทบจากการปด
เรียนจนมีผลอาจไมสามารถอานเขียนในระดับพื้นฐานได (Functional illiterate) ผลที่ตามมาคือการสูญเสีย
ความสามารถในการหารายไดในอนาคต ซึ่งยังผลใหความสามารถในการสนับสนุนการเติบโตทางเศรษฐกิจและการ
พัฒนาของประเทศของเด็กเหลานี้ในอนาคตลดลงไปดวย
ทจากการประชุมมีวิทยากรที่มีชื่อเสียงหลายทานไดสะทอนมุมมองที่จาเปนสาหรับทุกประเทศที่จะตองเตรียมพรอมกับ
แผนกลยุทธและมาตรการที่ชัดเจนเพื่อใหแนใจวาการเปดโรงเรียนขึ้นอยูกับหลักการของ สรางกลับมาใหดีขึ้น Build
back better) และตระหนักถึงความตองการของกลุมผูดอยโอกาส เชน คนยากจนเด็กผูหญิงที่อยูนอกโรงเรียน เด็ก
พิการ ผูลี้ภัย นักเรียนที่อาศัยอยูในพื้นที่หางไกล และเด็กที่เสี่ยงตอการออกจากโรงเรียนกลางคัน การศึกษานอกระบบ
7
โดยใชแหลงรวบรวมขอมูลออนไลน (online platform) ไปใชเพื่อใชในการศึกษาอยางกวางขวางยังสามารถเติมเต็ม
การศึกษาในระบบและมีบทบาทสาคัญในการตอยอดการเรียนรูของนักเรียนในชวงเวลาที่การเรียนตองหยุดชะงักได
กฎหมายที่เกี่ยวของ
ขอความสาคัญ: แนวทางการจัดการศึกษาเสมอภาคไมไดเปนขอกาหนดทางกฎหมาย ในนโยบายการศึกษาระดับชาติ
และแผนการศึกษาไมมีประเด็นการศึกษาเสมอภาคอยู
ทเด็กและเยาวชนประมาณ 75 ลานคนทั่วโลกไมสามารถเขาถึงการศึกษาได หลายคนอยูในสถานการณที่อันตรายที่สุด
เชน อาศัยอยูในเขตสงคราม เปนผูลี้ภัย บุคคลไรสัญชาติ และผูอพยพ สถานการณเหลานี้ทาใหเด็กจานวนมากตอง
ออกจากโรงเรียนพรอมกับคนอื่นๆ และมีอีกหลายคนที่ออกจากโรงเรียนโดยสมัครใจ ในขณะที่หลายประเทศกาลัง
ดาเนินการอยางเปนรูปธรรมเพื่อตอสูกับเด็กที่ขาดโอกาสและเปราะบาง แตการตอสูก็ไมอาจดาเนินการไดเนื่องจากขาด
กฎหมายที่เกี่ยวของเปนกรอบเพื่อทาใหประเทศสามารถจัดการศึกษาอยางเสมอภาคได ในบางกรณีในนโยบาย
การศึกษาระดับชาติและแผนการศึกษากลับไมมีประเด็นการศึกษาเสมอภาคอยู
ทประเทศฟนแลนด ญี่ปุน และออสเตรเลียมีกฎหมายที่ชัดเจนเกี่ยวกับสิทธิการศึกษาที่กาหนดวาทุกคนมีสิทธิ์รวมถึงเด็กที่
ตองไดรับการศึกษาแบบเรียนรวม Inclusive Education) สามารถเขาถึงการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยที่การศึกษา
แบบเรียนรวมไดรับการสนับสนุนโดยกฎหมายและนโยบายที่เขมงวดเพื่อปกปองสิทธิของนักเรียนทุกคนในพื้นที่ที่ไม
เลือกปฏิบัติโดยไมมีขอยกเวน กฎหมายที่มีประสิทธิภาพจะกาหนดภาระหนาที่ในการใหการจัดการเรียนรูและบทบาท
ของรัฐในการสรางสุขภาพที่ดีที่สุด การสนับสนุนการเรียนรู และการหาทรัพยากร งบประมาณ ทรัพยากรมนุษย และ
ระบบสนับสนุน ที่เพียงพอ
ทพระราชบัญญัติ กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ เปนอีกตัวอยางหนึ่งของการดาเนินการตาม
รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยเพื่อจัดตั้งกองทุนอิสระ โดยมีการสนับสนุนงบประมาณจากรัฐบาลเพื่อทาใหเด็กที่
ไมไดเขาโรงเรียนหมดไป ปองกันการลาออกจากระบบโรงเรียน สรางกลไกทางานรวมกับครูเพื่อปรับปรุงการศึกษาที่
เสมอภาคในหองเรียน จนถึงปจจุบัน กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษาใหการสนับสนุนโครงการที่มีนวัตกรรม
มากมายเพื่อชวยเหลือเด็กๆ ใหเอาชนะความทาทายที่ยิ่งใหญที่สุดตอมนุษยชาติ
ทจากการประชุมมีวิทยากรหลายทานไดกลาวถึงประสบการณจากประเทศของตนที่เจอความทาทายในการจัดการศึกษา
เสมอภาค แมวาจะมีนโยบายบางสวนที่สนับสนุนแนวคิดนี้แลวก็ตาม ตัวอยางเชน ประเทศอินโดนีเซียกาลังเตรียม
แผนพัฒนาภาคการศึกษาใหมเพื่อจัดการศึกษาเสมอภาคเพื่อปวงชน โดยอินโดนีเซียเพิ่งเปดตัวแผนพัฒนาการศึกษา
ระยะกลาง พ.ศ. 2563-2567 ซึ่งทาใหแนวความคิดของการพัฒนามนุษยที่จาเปนตองไดรับการเสริมสรางโดยการศึกษา
เพื่อปรับปรุงคุณภาพการสอนและการเรียนรู
ทในทางกลับกันมีผูนาเสนอยกประเด็นวาเมื่อกฎระเบียบทางกฎหมายไมสนับสนุนการทาโครงการการศึกษาเชิงทดลอง
(Interventions) หรือการนานวัตกรรมใหมๆมาใช ก็เปนการยากที่จะนานวัตกรรมการจัดหาเงินทุนเพื่อการพัฒนา
การศึกษาเชน พันธบัตรเพื่อสังคม social impact bond) มาใชใหเกิดประโยชนได
8
การจัดสรรงบประมาณเพื่อแกปญหาความเหลื่อมล้าโดยเฉพาะ
ขอความสาคัญ: การจัดสรรงบประมาณของรัฐบาลเพื่อการศึกษาที่เทาเทียมมีนอยมากหรือไมมีเลย
ทการลงทุนในการสรางการศึกษาที่เสมอภาคไดรับการพิสูจนแลววามีสวนชวยในการพัฒนากาลังแรงงานและจะชวย
ยกระดับการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ นักเศรษฐศาสตรระดับโลกยืนยันวาการศึกษาที่มีคุณภาพสูงนั้นให
ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจและมีชวงของผลตอบแทนถดถอยลงตามอายุที่มากขึ้น โดยมีผลตอบแทนมากที่สุดในชวง
ปฐมวัย วิทยากรที่มีชื่อเสียงตางสะทอนเปนเสียงเดียวกันวาทักษะพื้นฐานสากลสาหรับปวงชนสามารถชวยใหเกิด
ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจที่สูงขึ้นแกประเทศไดในทุกระดับ
ทแมรัฐบาลในประเทศตางๆ จะมีภาระผูกพันกับการสรางการศึกษาที่เทาเทียม และมีแสดงความมุงมั่นการลงทุนใน
งบประมาณใชจายภาครัฐดานการศึกษาอยูที่ระดับ เพื่อการริเริ่มทั้งหมดเพื่อใหบรรลุคาใชจายการศึกษาของรัฐที่ 15-
20 เพื่อใหไดมาซึ่งการศึกษาเสมอภาค แตโดยเฉลี่ยแลวนั้น คาเฉลี่ยการลงทุนของคาใชจายการศึกษาของรัฐที่ 14.6
โดยงบประมาณสวนใหญเปนคาตอบแทนครู และมีงบประมาณสาหรับนวัตกรรมและเด็กดอยโอกาสอยูนอยมาก โควิด-
19 จะขัดขวางการลงทุนจากภาครัฐและพันธมิตรเพื่อการพัฒนา
ทองคกรปกครองสวนทองถิ่นสามารถมีบทบาทสาคัญในการจัดหาการลงทุนเพื่อสนับสนุนการศึกษาเทาเทียม เราเห็น
ตัวอยางจากผูวาราชการจังหวัดภูเก็ตประเทศไทยที่ใหการจัดสรรงบประมาณจานวนมากโดยใชการวิเคราะหขอมูลตางๆ
เพื่อการตัดสินใจทางนโยบายและงบประมาณ ความพยายามดังกลาวไมเพียงแตจะชวยกาหนดเปาหมายการลงทุน
ใหกับเด็กกลุมเปราะบางเทานั้น แตยังชวยปดชองวางของการระดมทุนดวยการทาใหมั่นใจวาการจัดสรรงบประมาณ
ไดรับการแกไขเพื่อตอบสนองตอความทาทายในบริบทเฉพาะ
ททางเลือกของการเพิ่มการลงทุนสูภาคการศึกษาอาจตองมาจากนวัตกรรมการจัดหาเงินทุนเพื่อการพัฒนา ดูหัวขอยอย
3 และการรวมมือระหวางภาครัฐและภาคเอกชน ดูหัวขอยอย 4
ความออนไหวทางการเมือง (Political sensitivity)
ขอความสาคัญ: การคัดคานทางการเมืองและความออนไหวในการจัดสรรงบประมาณสาหรับชนกลุมนอยผูดอยโอกาส
หรือผูไมไดเสียภาษี
ทความทาทายในการคัดคานทางการเมืองและความออนไหวของรัฐบาลในการจัดสรรงบประมาณสาหรับชนกลุมนอยและ
กลุมเปราะบางไมไดเปนประเด็นที่มีการพูดคุยอยางกวางขวางในการประชุมครั้งนี้ อยางไรก็ตามประเด็นดังกลาวไดรับ
การยกใหเปนความทาทายภายใตมิติของ “การขาดเจตจานงทางการเมือง” นอกจากนั้น กองทุนโลก เชน Global
partnerships in education และ Education Cannot Wait Organization มีบทบาทสาคัญในการปดชองวางเรื่อง
การคัดคานการจัดสรรงบประมาณสาหรับชนกลุมนอยและกลุมเปราะบางและเปนตัวกลางในการเรียกรองใหรัฐบาลตาง
ๆ เรงดาเนินการตอไป
9
ทหลักฐานตางๆ เชน การศึกษาเกี่ยวกับตนทุนทางเศรษฐกิจที่ประเทศตองเผชิญหากไมใหความรูแกเด็กนักเรียนทุกคน
หรือคาแนะนาที่เขมแข็งจากองคการระหวางประเทศ เชน OECD) ไดชวยใหบางประเทศสรางกรณีศึกษาในการ
สนับสนุนรัฐบาลเจาหนาที่ทองถิ่นและผูมีสวนไดสวนเสียเรงดาเนินการในการจัดสรรงบประมาณเพื่อการศึกษาของชน
กลุมนอย
ทแมแตประเทศที่มีการจัดสรรงบประมาณเพื่อการศึกษาเพื่อปวงชนที่มีจานวนมากอยูแลว เชน ประเทศไทย หาก
ตองการเคลื่อนไหวเพื่อเพิ่มงบประมาณดานการลงทุนสาหรับผูดอยโอกาส จาเปนตองหาหลักฐานที่มีเนื้อหาครอบคลุม
และรัดกุมสนับสนุนนโยบายเพื่อใหการลงทุนสาหรับผูดอยโอกาสเกิดประโยชนสูงสุดแกสังคมโดยรวม
ฐานขอมูลสถิติและขอมูลตางๆ
ขอความสาคัญ: สถิติและขอมูลของเด็กที่ไมไดอยูในระบบโรงเรียนออนแอและไมแมนยา
ยังไมมีระบบในการนับเด็กที่มองไมเห็นอีกนับลาน
ทการผลักดันนโยบายเปนหลักสาคัญในการจัดการกับความไมเสมอภาคและความไมเทาเทียมในการศึกษา ขอมูลที่
เจาะลึกวาใครคือผูดอยโอกาสและถูกกีดกันการเขาถึงการศึกษาจะสามารถชวยสรางขอความสนับสนุนนโยบายใหไดรับ
ความเขาใจที่ลึกซึ้งขึ้น และระบุสาเหตุที่แทจริงของปญหาและชวยหาวิธีแกปญหาที่นาไปใชงานไดจริง ในขณะที่ขอมูล
เกี่ยวกับคาเฉลี่ยของประเทศนั้นมีใหเห็นและบางขอมูลสามารถนามาเปรียบเทียบกับตางประเทศได แตขอมูลที่เจาะลึก
ลงไปกลับไมนาเชื่อถือ ไมเกี่ยวของ และไมแมนยา ปญหานี้นาไปสูความไรประสิทธิภาพในการจัดหางบประมาณลงทุน
และสนับสนุนใหเด็กดอยโอกาสกลับไปโรงเรียนและเรียนรูตอไป การเขาถึงขอมูลและขอมูลที่มีคุณภาพจะชวยโรงเรียน
ในการติดตามพื้นที่ที่มีความไมเทาเทียมและการกีดกันทางสังคมของผูเรียนตามเพศ เชื้อชาติ ภาษา รายได และสถานะ
ความพิการ จากขอมูลดังกลาวโรงเรียนและผูปกครองสามารถใหการสนับสนุนและใหการดูแลนักเรียนอยางเหมาะสมได
การแลกเปลี่ยน การคืนขอมูล และแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางหนวยงานของรัฐเปนสิ่งสาคัญในการสงเสริมนโยบายและ
การดาเนินงานแบบบูรณาการในทุกระดับ
ทดวยเทคโนโลยีที่ปรับปรุงใหม การศึกษาดิจิทัลมีบทบาทสาคัญในการจัดการขอมูลและการวิเคราะห ในประเทศอินเดีย
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการการศึกษาสามารถติดตามพัฒนาการและขอมูลจานวนมากเกี่ยวกับนักเรียนที่เขารวมใน
การเรียนรูออนไลน จังหวัดภูเก็ตในประเทศไทยใชฐานขอมูลความพรอมของโรงเรียนในการติดตามขอมูลของนักเรียน
24,591 คนจากระดับเตรียมอนุบาลถึงมัธยมศึกษาปที่ 6 เพื่อวิเคราะหภูมิหลังของครอบครัว ความพรอมในการเรียนรู
และใชขอมูลเพื่อปกปองเด็กที่มีความเสี่ยงไมใหออกจากโรงเรียนกลางคัน มีการใชขอมูลเดียวกันเปนขอมูลในการ
ออกแบบแผนพัฒนาการศึกษาระดับจังหวัด
ทอินโดนีเซียเปนอีกตัวอยางหนึ่งของการใชขอมูลเพื่อการตัดสินใจในการแกไขปญหาเด็กนอกโรงเรียน กระทรวงการ
วางแผนพัฒนาแหงชาติและองคการยูนิเซฟไดทาการศึกษารวมกันเพื่อกาหนดขอเสนอแนะเชิงนโยบายและยุทธศาสตร
การดาเนินงานที่มีศักยภาพ การศึกษาเรื่องเด็กที่ไมไดอยูในการศึกษาระบบโรงเรียนที่ระบุพื้นที่มีปญหาชวยทาใหเกิด
โครงการนารองซึ่งจะเกิดขึ้นใน 2 จังหวัดและ 6 อาเภอในประเทศอินโดนีเซีย
10
กลไกการดาเนินการสรางการศึกษาอยางเทาเทียม (Delivery mechanism)
ขอความสาคัญ: วิธีการที่จะดาเนินการสรางการศึกษาอยางเทาเทียมยังไมเปนที่เขาใจอยางกวางขวาง
ทการประชุมวิชาการครั้งนี้เปนโอกาสใหผูเชี่ยวชาญจากหลายประเทศไดแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการตีความหมายของ
“การสรางการศึกษาที่เทาเทียม” และนาไปปรับใชในบริบทของทองถิ่น
ทประเทศตางๆ ใชวิธีการที่หลากหลายในการแกปญหาอยางเรงดวนที่แตละประเทศพึงมี และในแนวทางการแกปญหาที่
แตกตางไปนั้นไดแสดงถึงความมุงมั่นอยางแรงกลาที่จะสรางประโยชนสูงสุดใหแกกลุมที่เปราะบางและจัดการศึกษา
สาหรับปวงชน อยางไรก็ดี กระบวนการในการสรางสรางการศึกษาอยางเทาเทียมที่เปนระบบอาจไมเปนที่เขาใจอยาง
กวางขวาง
ทประเทศที่แตกตางกันใชวิธีการตาง ๆ ที่พยายามแกไขปญหาเรงดวนของพวกเขาและแสดงใหเห็นถึงความมุงมั่นอยาง
แรงกลาที่จะไดรับประโยชนมากที่สุดและเพื่อใหการศึกษาแกทุกคน อยางไรก็ตามกระบวนการในการใชการศึกษาอยาง
เทาเทียมอยางเปนระบบอาจไมเปนที่เขาใจ
ทเปนที่ยอมรับกันวาเราอาจไมสามารถหาขอสรุปเกี่ยวกับวิธีการที่ดีที่สุดในการดาเนินการสรางระบบการศึกษาที่เทา
เทียม และอาจไมมีนโยบายอันใดอันหนึ่งที่เหมาะกับการนาไปใชสาหรับทุกประเทศ No one size fit all policy) ที่
สามารถพิสูจนไดวาเปนยาครอบจักรวาลเหมาะสาหรับทุกประเทศ
ทดังที่ ดร. เชลดอนกลาวไวอยางถูกตองวา “หลังจากรับรองปฏิญญาจอมเทียน หากประเทศตาง ๆ ไมไดมีการหากลยุทธ
ในการระบุหาและหาทางปองกันเพื่อบรรเทาผลเสียของผูเรียนไวแลวนั้น ผลลัพธที่ดีจากการจัดการศึกษาอาจสูญ
หายไป โควิด-19 อาจนาพวกเรากลับไปประสบปญหาอันมีผลมาจากอัตราการเขาเรียนที่ต่า ความไมเทาเทียมทางเพศ
ปญหาสุขภาพของเด็ก การตายของมารดา อาจมีครอบครัวอีกมากมีปญหาความยากจน การเขาถึงบริการตาง ๆ อาจ
ลดลง อาจมีเด็กจากกลุมเปราะบางอีกจานวนมากไมสามารถเขาถึงการศึกษาและเรียนรูได ดังนั้น เราจึงควรทางานเพื่อ
พัฒนากลยุทธในการใหโรงเรียนกลับมาเปดใหมอีกครั้ง และปองกันบรรเทาผลเสียที่อาจมีเพิ่มขึ้น ดวยเหตุนี้การบรรลุถึง
วัตถุประสงคของการศึกษาเทาเทียมคงสาเร็จไดดังหวัง”
การกระจายอานาจ
ขอความสาคัญ: การกระจายอานาจไมไดนาไปใชอยางเต็มที่เพื่อสงเสริมการศึกษาที่เทาเทียม
ทการกระจายอานาจการตัดสินใจ: ในขณะที่สามารถสังเกตไดวาความทาทายที่สาคัญอยางหนึ่งสาหรับการศึกษาที่เทา
เทียมกันคือการกระจายอานาจไมไดนาไปใชอยางเต็มที่ แตประสบการณที่นาประทับใจมากมายไดถูกแบงปนในการ
ประชุมครั้งนี้สะทอนใหเห็นวามีการปฏิบัติในหลายประเทศใหมีการกระจายอานาจในการตัดสินใจ
ทตัวอยางเชน ประเทศฟนแลนดใหการศึกษาที่เทาเทียมแกเด็กทุกคนบนพื้นฐานของความไววางใจและการที่ประชาชนมี
บทบาทในการรับผิดชอบกับผลการเรียน ไมมีการสอบปลายภาค หรือโรงเรียนไมมีการจัดอันดับ และมีการมอบหมาย
บทบาทที่เขมแข็งใหกับเทศบาล โรงเรียน และครูใหมีความสามารถในการตัดสินใจทางการบริหาร (Autonomy) ตาม
หนาที่ของตน นอกเหนือจากนั้น ประเทศเกาหลีใตกระจายอานาจความรับผิดชอบไปยังศูนยสนับสนุนการศึกษา
วัฒนธรรมนานาชาติ ในการใหบริการสนับสนุนการศึกษาสาหรับเด็กที่มาจากภูมิหลังผูอพยพ การกระจายความ
11
รับผิดชอบนี้ทาเพื่อการออกแบบและจัดการสนับสนุนการศึกษาชุมชนในระดับจังหวัด สวนประเทศไทยเองมีตัวอยาง
การจัดการศึกษาที่เปนที่นาประทับใจกลาวคือ กรณีของโรงเรียนบานหวยไร ที่มีผูอานวยการศึกษาแสดงความเปนผูนา
ปรับหลักสูตรสถานศึกษาใหเหมาะสมกับความตองการและบริบทของนักเรียน พัฒนาศักยภาพครูในการจัดการเรียน
การสอน และสรางการมีสวนรวมของพอแม โดยการกระจายอานาจในการตัดสินใจสามารถสรางความแตกตางอยาง
มากในการที่ใหคนที่อยูในทองถิ่นกาหนดแนวทางแกไขที่ตรงกับบริบททองถิ่น
ทการกระจายอานาจของระบบการเงินเพื่อลดความไมเทาเทียมกัน: ในขณะที่เราไมเห็นตัวอยางที่โดดเดนเกี่ยวกับการ
กระจายอานาจของระบบการเงินเพื่อลดความไมเทาเทียมกันในหลายประเทศ โดยมากเมื่อมีการกลาวถึงประเด็นทา
ทายของการจัดการศึกษามักจะกลาวถึงประเด็นงบประมาณที่มีไมเพียงพอสาหรับการหางบประมาณสนับสนุน
การศึกษาเสมอภาค ซึ่งโดยมากยังเปนงบแบบรวมศูนย ซึ่งประเทศไทยไดมีตัวอยางโครงการที่แสดงใหเห็นถึงแนวทาง
การกระจายอานาจของระบบการเงินโดยทองถิ่น โดยผูวาราชการจังหวัดภูเก็ตกลาวอยางชัดเจนวาจังหวัดมีการลงทุน
งบประมาณเพื่อกาหนดนโยบายการศึกษาที่สรางสรรค กระบวนการดังกลาวมีการใชขอมูลทางสถิติเพื่อประกอบการ
ตัดสินใจทานโยบาย มีการบูรณาการทางานระหวางกระทรวงในการจัดทาแผนพัฒนาการศึกษาระดับจังหวัด เพื่อ
ชวยเหลือเด็กและเยาวชนที่ดอยโอกาส โดยกระบวนการทั้งหมดนี้ทาโดยอาศัยหลักการกระจายอานาจและการนาใหผูมี
สวนไดสวนเสียไดมีสวนรวมในการพัฒนา
ครูขาดการเสริมพลังและขาดการสนับสนุน
ขอความสาคัญ: คุณครูขาดการเสริมพลังหรือขาดการสนับสนุนใหชวยสงเสริมการศึกษาอยางเทาเทียมในพื้นที่
ทเราตองไมลืมวาครูเปนปจจัยสาคัญและเปนผูนาความเปลี่ยนแปลงในการสรางใหเด็กมีสวนรวมกับการเรียนการสอน
ติดตามความกาวหนาของนักเรียน และสรางการมีสวนรวมของผูปกครอง คุณครูตองการไดรับการพัฒนาขีด
ความสามารถอยางตอเนื่องใหมีสมรรถนะใหม ๆ ไดรับอิสระในการตัดสินใจทางการบริหาร (Autonomy) ตามหนาที่
ของตน และจัดกระบวนการในการใหคาแนะนา ชวยเหลือ แกไขปญหา พัฒนา รวมถึงใหความชวยเหลือดานจิตสังคม
และใหความสนับสนุนดานอื่นๆ อยางไรก็ดี คุณครูไมไดรับการเสริมพลังอยางเต็มที่ และขาดการสนับสนุนใหชวย
สงเสริมการศึกษาอยางเทาเทียมในพื้นที่ และเนื่องดวยจากครูมีภาระงานมากมาย ทางานโดยอยูในภาวะเครียด และ
การทางานอาจไมมีโอกาสใหครูมีเวลาพัฒนาศักยภาพตนเอง ปญหาอาจรุนแรงมากขึ้นดวยขอจากัดดานงบประมาณ
สนับสนุนเขารับการอบรม และตองการผูนาที่จะชวยใหครูมีอิสระการตัดสินในทางบริหารตามหนาที่ของตน
ทจากการประชุมครั้งนี้เราเห็นตัวอยางการดาเนินงานมากมายในหลายประเทศที่ทาใหเราไดมั่นใจไดวานักศึกษาครูและครู
ประจาการเปนแกนหลักของการสรางระบบการศึกษาที่สงเสริมความเทาเทียมได
ทการเพิ่มขีดความสามารถของครู: สาหรับการพัฒนาศักยภาพของนักศึกษาครู เราไดฟงตัวอยางจากประเทศฟนแลนด
และประเทศจีนใหความสาคัญกับการลงทุนงบประมาณสรางรากฐานการสอนสาหรับครู สาหรับประเทศไทยมีการ
ดาเนินโครงการครูรัก ษ ถิ่น สนับสนุนโดยกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา เปนวิธีการที่สรางสรรคในการ
สรางการเติบโตของครูผูสอนเพื่อสรางจิตสานึกความเปนเจาของและเสริมพลัง สาหรับการพัฒนาศักยภาพของครู
ประจาการ เราไดฟงตัวอยางจากประเทศจีนที่มีการลงทุนที่สาคัญในการพัฒนาศักยภาพครูประจาการ นอกจากนั้น
12
กรณีของประเทศอินเดียที่ไดนาใชเทคโนโลยีดิจิตอลในการฝกอบรมครูจานวนมากและแบงปนเนื้อหาออนไลน
เชนเดียวกับโครงการ TPD @ Scale ในฟลิปปนสเพื่อใชการฝกอบรมครูแบบผสมผสาน Blended learning) ใน
โครงการ Early Language Literacy and Numeracy (ELLN) ที่ใชกระบวนการเรียนรูออนไลน รวมกับการใชชุมชน
การเรียนรูระดับมืออาชีพในโรงเรียนเปนตัวชวยเสริมการเรียนรู
ทการสรรหาครู: ประเทศจีนไดแบงปนประสบการณการคัดเลือกและการบรรจุครูที่มีคุณภาพสูง 25,000 คนและครูที่
เกษียณแลว 5,000 คนจากพื้นที่เมืองเพื่อบรรจุในโรงเรียนตามถิ่นชนบท ซึ่งการขึ้นลาดับขั้นของตาแหนงอาจมีการสราง
เกณฑกาหนดใหครูตองมีประสบการณสอนอยางนอย 1 ปในพื้นที่ชนบท นอกจากนี้ รัฐมีการเปดตาแหนงครูที่มีภาค
บังคับใหประจาการในถิ่นทุรกันดาร 3 ป โดยรัฐบาลลงทุนประมาณ 71 พันลานหยวนและครอบคลุมโรงเรียนในชนบท
กวา 30,000 แหงและ 1,000 มณฑล โดยในโครงการมีการคัดเลือกครูถึง 950,000 คน
ทแรงจูงใจของครู: ประเทศฟลิปปนสมีการใช “ดัชนีความยากลาบากของโรงเรียน” เปนตัวแทนในการคานวณเงินทุน
ความยากลาบากเพื่อเพิ่มงบประมาณสาหรับครูที่ตองประจาการในพื้นที่ที่มีความยากลาบากในการเดินทาง โดยเกณฑ
คือการเดินทางของครูไปยังโรงเรียนมีความยากลาบาก และการปฏิบัติงานการจัดการเรียนรูแบบคละชั้น (Multi-grade
teaching) โครงการนี้ไดพิสูจนแลววาสรางแรงจูงใจใหครูอยูในระบบ นอกจากนี้โครงการคัดเลือกและบรรจุครูของ
ประเทศจีนที่กลาวมาขางตนมีระบบสนับสนุนที่จะสรางแรงจูงใจใหครูปฏิบัติหนาที่ในพื้นที่ชนบท และสรางแรงจูงใจ
ดวยการลงทุนจากงบประมาณของรัฐ
ทครูในฐานะแบบอยาง: โครงการ “TulaKaalaman” หรือ “รถเข็นความรู” ถูกออกแบบมาเพื่อนาหนังสือเรียนนาไปสู
ชุมชนและชวยเหลือเด็กดอยโอกาส เด็กที่ออกจากโรงเรียนหรือเสี่ยงตอการออกกลางคัน ในเมืองมินดาเนา ประเทศ
ฟลิปปนส
ความรวมมือที่ออนแอ
ขอความสาคัญ: ความรวมมือระหวางภาครัฐออนแอ และไมยั่งยืน
หรือในบางกรณีไมมีประสิทธิภาพในการสงเสริมการศึกษาที่เทาเทียม
ทแมวาเรารับทราบวาการสรางความรวมมือเพื่อสงเสริมการศึกษาเสมอภาคนั้นมีความออนแอเมื่อมีการดาเนินการลงใน
พื้นที่ อยางไรก็ดี ประเด็นนี้ไมไดเปนประเด็นที่มีการพูดคุยอยางกวางขวางในการประชุมครั้งนี้ อยางไรก็ตามมีจุดที่
นาสนใจที่เกี่ยวของกับการสรางความรวมมือดังนี้:
ทหนึ่งในปจจัยความสาเร็จในการสงเสริมการศึกษาที่เสมอภาคคือการสรางการมีสวนรวมและสรางความรวมมือระหวางผู
ใหบริการการศึกษาและผูปกครอง มีการนาเสนอจากวิทยากรหลายทานรวมถึงจากศูนยพัฒนาการศึกษาเพื่อลูกหญิง
และชุมชนที่กลาวไววา ความทาทายที่สาคัญในการรวมทางานเพื่อกลุมเปราะบางคือ การสรางความรูสึกใหเกิดแรง
บันดาลใจ สรางความตระหนักถึงความสาคัญของการศึกษา สรางใหเห็นคุณคาของตัวตน และสรางความมั่นใจใหกับ
กลุมยอยเหลานี้ หลักสูตรที่ทางานกับกลุมเปราะบางควรเปนหลักสูตรที่สรางมาเพื่อเหมาะกับวัตถุประสงค และการใช
ชีวิตของคนเหลานั้น เชน การสรางทักษะคนชายขอบที่สุดคือ การสรางความทะเยอทะยาน สรางการรับรูกระตุนการ
13
จดจาตนเอง และความนับถือตนเอง หลักสูตรควรเหมาะกับจุดประสงคของพวกเขา เชน เนนการรูหนังสือขั้นพื้นฐาน
และทักษะชีวิต
ทLearning Coin ขององคการยูเนสโก เปนโครงการที่ชวยสงเสริมใหลูกของผูอพยพแรงงานพมาสามารถอานออกเขียนได
โดยมีสิ่งจูงใจทางการเงินเพื่อโนมนาวผูปกครองใหสนใจ สงเสริม และกระตุนใหเด็ก ๆ ไปโรงเรียนเพิ่มความรู เขาถึง
การศึกษา และยังชวยผูปกครองที่มีสวนชวยเด็กใหอานออกเขียนได ผานกระบวนการใหเงินโอนดานการศึกษาอยางมี
เงื่อนไข Conditional Cash Transfer)
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ขอความสาคัญ: เนื้อหาและอุปกรณดิจิทัลยังไมถูกนามาใชเพื่อสงเสริมการศึกษาที่เทาเทียม
ทการศึกษาและทักษะพื้นฐานสาหรับนักเรียนและเยาวชนมีความสาคัญอยางมากในโลกที่กาลังเปลี่ยนแปลงไปและเปน
เครื่องมือใหไดรับการยอมรับเปนสมาชิกในสังคม แรงผลักดันการพัฒนาเศรษฐศาสตรมหภาคในระดับโลก (Mega
trend) จะเปลี่ยนอนาคตและวิถีการทางานของเรา ซึ่งรวมถึง ความกาวหนาทางเทคโนโลยี การเปลี่ยนแปลงทาง
ประชากร รวมถึงการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และโลกาภิวัตน โควิด-19 เปนตัวเรงทาใหสถานการณเลวรายยิ่งขึ้น
สาหรับนักเรียนที่จะเรียนรูและประสบความสาเร็จเพราะนักเรียนจานวนมากยังเผชิญกับความจาเปนในการเขาถึง
เนื้อหาและอุปกรณดิจิทัล อยางไรก็ตามเราไดยินจากการอภิปรายตลอดสองวันวาแมในประเทศที่มีเทคโนโลยีขั้นสูง เชน
เกาหลีใตและจีน เนื้อหาและอุปกรณดิจิทัลก็ยังไมไดถูกนามาใชอยางเต็มที่เพื่อสงเสริมการศึกษาที่เสมอภาค
ทในขณะที่รัฐบาลและองคกรเพื่อการพัฒนาหลายแหงกาลังแสดงความกังวลเกี่ยวกับการปดโรงเรียนซึ่งอาจทาใหเกิดการ
สูญเสียในการเรียนรู การเขาถึงการเรียนรูออนไลนจึงเปนวิธีหนึ่งที่จะชวยบรรเทาผลกระทบนี้ ดังนั้นจึงมีโครงการที่
สามารถสรางแรงบันดาลใจและเปนประโยชนกับเด็กหมูมากทั่วโลก เชน โครงการ Learning Unlimited และ
Learning Passport ของยูนิเซฟ และแพลตฟอรมการเรียนรูออนไลนและออฟไลนของอินเดีย โดยโครงการเหลานี้ได
ถูกสรางสรรคขึ้นเพื่อชวยในการสงมอบการเรียนรูที่ไมเพียงแตสาหรับนักเรียนเทานั้น แตในฟลิปปนส TPD@Scale ใช
เทคโนโลยีดิจิตอลเพื่ออบรมครูอีกดวย ประเทศตาง ๆ ติดตามความกาวหนานักเรียนในการเรียนรูดวยเครื่องมือดิจิตัล
อยางไรก็ตามการประยุกตใชเทคโนโลยีขั้นสูงใหผลลัพธที่ดีที่สุดสาหรับเด็กจากภูมิหลังทางเศรษฐกิจที่ดีเทานั้นและมี
ชองวางอยางมากกับเด็กที่มีฐานะยากจน
ทในอินเดียซึ่งมีโรงเรียน 1.5 ลานแหง มหาวิทยาลัยกวา 900 แหง นักเรียนมากขึ้น 330 ลานคน และครู 10 ลานคน
ดังนั้นในวิกฤตโควิด 19 เทคโนโลยีจึงทาใหสามารถจัดการศึกษาในระดับประเทศและทองถิ่น โดยภาครัฐไดพัฒนาและ
เผยแพรแผนการเรียนสาหรับนักเรียนชั้นประถมและมัธยมบนเว็บไซตเพื่อเปนแนวทางสาหรับครูที่จะนาอุปกรณ
เครื่องมือเทคโนโลยี โซเชียลมีเดียที่มีอยูไปใชในการศึกษาใหมีความสนุกและนาสนใจมากยิ่งขึ้นสาหรับเด็ก โดยแผนการ
เรียนนี้สามารถใหทั้งนักเรียน ผูปกครอง และครู นาไปใชได ขณะเดียวกันก็มีการเผยแพรแผนดังกลาวผานสื่ออื่นๆ เชน
วิทยุ และระบบเสียง IVRS เพื่อใหจัดการศึกษาไดอยางตอเนื่องแมวาจะอยูในพื้นที่หางไกลและไมมีสัญญาณอินเตอรเน็ท
นอกจากนี้รัฐยังไดเปดตัวแอปพลิเคชั่นทางการศึกษากวา 400 แอป ซึ่งพัฒนาโดยหนวยงานภาครัฐ และจัดใหมีโทรทัศน
กวา 32 ชอง เพื่อใหบริการการศึกษา โดยจัดชองโทรทัศน 1 ชอง สาหรับแตละชั้นเรียนดวย
14
ทในทางกลับกันเด็กจากคนชายขอบสวนใหญเปนคนที่พบความยากลาบากในการเขาถึงเนื้อหาดิจิทัลมากที่สุดเนื่องจากไม
มีอุปกรณไฟฟา การเชื่อมตออินเตอรเนท ทักษะความเขาใจและใชเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีจากัด ความจาเปนที่ตองอบรม
พอแมเปนผูชวยสอน เหลานี้เปนกาแพงที่กั้นเด็กเหลานี้จากการอานออกเขียนได เด็กเหลานี้จาเปนตองมีวิธีการเรียนรู
ทางเลือกซึ่งตองการการเขาถึงเทคโนโลยีที่ต่ากวา เชน วิทยุ โทรทัศน และการใชสื่อเสริมกับการปฏิสัมพันธของมนุษย
เพื่อใหแนใจวาเด็กสามารถใชเทคโนโลยีในการเรียนรูอยางไดผล
ทโครงการ A-Med ของประเทศไทยเปนหนึ่งในตัวอยางที่ทาใหเด็กพิการเขาถึงการเขาถึงเนื้อหาดิจิทัล

More Related Content

Similar to Afeafe

งานนำเสนอ1 ทดลอง
งานนำเสนอ1 ทดลองงานนำเสนอ1 ทดลอง
งานนำเสนอ1 ทดลอง
Thaveewat Ingrad
 
0 บทที่ 1
0 บทที่ 10 บทที่ 1
0 บทที่ 1
Pala333
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
benty2443
 

Similar to Afeafe (20)

บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
งานนำเสนอ1 ทดลอง
งานนำเสนอ1 ทดลองงานนำเสนอ1 ทดลอง
งานนำเสนอ1 ทดลอง
 
ชื่อโครงการ 57
ชื่อโครงการ 57ชื่อโครงการ 57
ชื่อโครงการ 57
 
0 บทที่ 1
0 บทที่ 10 บทที่ 1
0 บทที่ 1
 
Sustainable University - Soranit
Sustainable University - SoranitSustainable University - Soranit
Sustainable University - Soranit
 
ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560
ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560
ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560
 
W 2
W 2W 2
W 2
 
อาเซียน
อาเซียนอาเซียน
อาเซียน
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 

More from Pattie Pattie

More from Pattie Pattie (20)

สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศสรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
 
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
 
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินรูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
 
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิรAIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
 
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชการบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
 
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
 
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationคณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
 
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสีการประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
 
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
 
ResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdf
 
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
 
670111_PDF.pdf
670111_PDF.pdf670111_PDF.pdf
670111_PDF.pdf
 
NoteMemoCare.pdf
NoteMemoCare.pdfNoteMemoCare.pdf
NoteMemoCare.pdf
 
KrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxKrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptx
 
จาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxจาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptx
 
Udom_Pdf.pdf
Udom_Pdf.pdfUdom_Pdf.pdf
Udom_Pdf.pdf
 
Kregrit_Pdf.pdf
Kregrit_Pdf.pdfKregrit_Pdf.pdf
Kregrit_Pdf.pdf
 
Phuket_sandbox.pdf
Phuket_sandbox.pdfPhuket_sandbox.pdf
Phuket_sandbox.pdf
 
Surin_ppt.pptx
Surin_ppt.pptxSurin_ppt.pptx
Surin_ppt.pptx
 
Nakornsawan.pdf
Nakornsawan.pdfNakornsawan.pdf
Nakornsawan.pdf
 

Afeafe

  • 1. 1 สรุปสาระสาคัญ (Executive Summary) การประชุมวิชาการนานาชาติเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา “ปวงชนเพื่อการศึกษา นับตั้งแตการรับรองปฏิญญาจอมเทียน Jomtien Declaration) ในป พ.ศ. 2533 วาดวยการพัฒนาการศึกษาเพื่อ ปวงชน Education for All หรือ EFA) ประเทศตางๆไดรับแรงบันดาลใจใหมุงมั่นอยางแนวแนตอการสราง “การศึกษา เพื่อปวงชน” และทางานเพื่อมุงเปาหมายที่ตกลงกันไวใหนาไปสูการปฏิบัติอันเกิดผลจริง ในชวง 30 ปที่ผานมาเราไดเห็น ความกาวหนาที่สาคัญผานการทางานที่มุงสูเปาหมายการพัฒนาแหงสหัสวรรษ (Millennium Development Goals) และ เปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน Sustainable Development Goals: SDGs) ทั้งในระดับนานาชาติ ระดับชาติและระดับ ทองถิ่น เพื่อใหแนใจวาเด็กทุกคนสามารถเขาถึงการศึกษาที่มีคุณภาพและเอาชนะความเหลื่อมล้า ถึงกระนั้นก็ตามความทา ทายและภารกิจตาง ๆ เพื่อมุงสูการศึกษาสาหรับเด็กทุกคนยังไมบรรลุเปาหมายตามที่คาดหวังไว และยังคงมีการดาเนินงาน ที่ตองกาวหนาตอไปเพื่อบรรลุสัญญาระดับโลกภายในป พ.ศ. 2573 หัวขอยอยที่ 1: การศึกษาอยางเทาเทียมมีความหมายอยางไรในโลกที่กาลังเปลี่ยนแปลงทามกลางการแพรระบาดของ COVID19 ท สถานการณการระบาดของโรคโควิด-19 เปนความทาทายสาหรับการสรางการศึกษาอยางเทาเทียมที่ไมเคยมีมากอน การระบาดครั้งนี้ทาใหสถานการณการเรียนรูของเด็กแยลงจนกอใหเกิดเปนวิกฤติการเรียนรูระดับโลก โรคโควิด-19 กาลังสงผลกระทบตอการสราง “ตนทุนมนุษย” ในระยะยาวอยางเห็นไดชัด สงผลใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรูของเด็ก ลดลง รายไดครัวเรือนลดลง และ สถานะทางเศรษฐกิจที่ย่าแยลง โรคโควิด-19 ไมเพียงแตทาใหเศรษฐกิจตกต่าเทานั้น แตยังผลใหเกิดความทาทายที่ยิ่งใหญสาหรับการศึกษาและสรางความเหลื่อมล้าทางการศึกษาโดยทาใหความเหลื่อมล้า และแบงแยกเพิ่มมากขึ้น ทาใหเด็กจานวนมากออกตองจากระบบการศึกษา ซึ่งเหลานี้ยังผลใหเปนอุปสรรคกับ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรูและสุขภาพของเด็ก และตอมาสงผลใหสูญเสียโอกาสในการจางงานในอนาคต ในสวนของ ผลกระทบที่เกิดจากโรคระบาดครั้งนี้ยังผลใหมีเด็กจานวน 1.6 พันลานคนทั่วโลกตองออกจากโรงเรียน ท แนวทางการสรางการศึกษาที่เทาเทียมจะชวยทาใหเด็กทุกคนไดเขาถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ ซึ่งไมใชการใหเด็กทุกคน เขาถึงเพียงการเขาเรียนแตจาเปนตองมีการจัดการศึกษาแบบเรียนรวม (Inclusive education) เพื่อสรางโอกาสให นักเรียนทุกคนเขาถึงการเรียนรูได ผลกระทบของโรคโควิด-19 ไมเพียงแตสงผลเสียตอทักษะการอานออกเขียนไดของ เด็ก แตยังสงผลเสียตอทักษะจาเปนอื่นๆ ซึ่งทาใหเด็กไมสามารถเจริญเติบโตเต็มตามศักยภาพที่เด็กๆ ควรเปน โรคโค วิด-19 ยังสงผลเสียกับผูยากไรโดยที่เด็กที่มาจากครอบครัวยากจนอาจเสียระดับการศึกษาสูงถึงครึ่งป ซึ่งหมายความวา เด็กจานวนมากที่มาจากครอบครัวยากจนและมีผลการเรียนปานกลางอาจไดรับผลกระทบจากการปดเรียนจนมีผลอาจ ไมสามารถอานเขียนในระดับพื้นฐานได (Functional illiterate) ผลที่ตามมาคือการสูญเสียความสามารถในการหา
  • 2. 2 รายไดในอนาคต ซึ่งยังผลใหความสามารถในการสนับสนุนการเติบโตทางเศรษฐกิจและการพัฒนาของประเทศของเด็ก เหลานี้ในอนาคตลดลงไปดวย ท จากการประชุมมีวิทยากรที่มีชื่อเสียงหลายทานไดสะทอนมุมมองที่จาเปนสาหรับทุกประเทศที่จะตองเตรียมพรอมกับ แผนกลยุทธและมาตรการที่ชัดเจนเพื่อใหแนใจวาการเปดโรงเรียนขึ้นอยูกับหลักการของ สรางกลับมาใหดีขึ้น (Build back better) และตระหนักถึงความตองการของกลุมผูดอยโอกาส เชน คนยากจนเด็กผูหญิงที่อยูนอกโรงเรียน เด็ก พิการ ผูลี้ภัย นักเรียนที่อาศัยอยูในพื้นที่หางไกล และเด็กที่เสี่ยงตอการออกจากโรงเรียนกลางคัน เมื่อโรงเรียนกลับมา เปดอีกครั้ง ควรมีการสนับสนุนเพื่อชวยใหนักเรียนไดมีโอกาสปรับตัวทางดานวิชาการ ไดรับการจัดสรรทรัพยากรอยาง เทาเทียมกัน และเขาถึงการสนับสนุนอยางครอบคลุมและดูแลเยียวยาทางจิตใจ ดวยวิธีนี้จะเกิดการสูญเสีย ความสามารถในการเรียนรูนอยที่สุด นอกจากนั้นเด็กนักเรียนจะมีความสามารถที่จะฟนตัวเมื่อตกอยูในสถานการณที่ ยากลาบาก resilient เจริญเติบโต ไดเรียนรู และไดพัฒนาทักษะมากขึ้น ท เราเห็นขอมูลมากมายที่ไดรับจากการประชุมครั้งนี้ผานการแบงปนแนวทางปฏิบัติอันเปนเลิศ โดยเห็นความพยายามของ หลายประเทศสรางหลักประกันใหแนใจวา นักเรียนจะไดรับประสบการณการเรียนรูอยางตอเนื่องในชวงที่การเรียนมี การหยุดชะงัก ตัวอยางของการศึกษาเชิงทดลอง (Interventions) รวมถึงนโยบายระดับชาติสาหรับการเรียนรูออนไลน ที่นาเสนอโดยประเทศเกาหลีใต จีน ไทย อินเดีย สิงคโปรและอื่น ๆ สะทอนใหเห็นไดวาปจจัยของความสาเร็จที่เกิด ขึ้นมาจากความมุงมั่นอยางแรงกลาตอการศึกษาเพื่อปวงชน การศึกษาแบบเรียนรวม (Inclusive education) และ การศึกษาที่มีคุณภาพไมเพียงแตตองมีเจตจานงทางการเมือง (Political will) ในภาคการศึกษาเทานั้น แตยังมาจากการ ประสานการทางานกับกระทรวงอื่น ๆ ที่จะชวยใหเด็กทุกคนไดรับโอกาสการเขาถึงการศึกษาคุณภาพที่เทาเทียมอีกดวย เราสังเกตวิธีการตาง ๆ ในการทางานที่จะใชทรัพยากรตาง ๆ ชวยเหลือนักเรียนใหสามารถเรียนรูไดอยางตอเนื่อง และ ตระหนักถึงความตองการของนักเรียนที่ดอยโอกาสใหไดรับการสนับสนุนดวยนวัตกรรมเพื่อแกไขปญหาที่พึงมี เราเห็น คุณคาความทุมเทกาลังแรงกายและใจของผูนาโรงเรียนและครูเพื่อใหผูปกครองมีสวนรวมในการจัดการศึกษาแมอยูใน สถานการณที่ยากลาบาก และขอชื่นชมทุกๆความสาเร็จที่ทุกประเทศลงมือทา บทเรียนตางๆ ที่เรียนรูจากประสบการณ อันมีคาเหลานี้จะเปนประโยชนอยางยิ่งตอประเทศอื่น ๆ ในการวางแผนดาเนินการและปรับปรุงการศึกษาแบบครบ วงจรสาหรับเด็กทุกคน หัวขอยอยที่ 2: การศึกษาที่เทาเทียมและการจัดการศึกษาที่ปรับตามบริบทพื้นที่ ท การจัดการศึกษาที่ปรับตามบริบทพื้นที่นั้นมีการพูดถึงในหลายหัวขอยอย ซึ่งเปนการจัดการศึกษาที่มาจากวาทกรรม นโยบายระดับชาติไปจนถึงการดาเนินการจากมุมมองตามพื้นที่ การปฏิบัติจากระดับชาติถึงระดับทองถิ่น o ระดับชาติ: ไดมีการแลกเปลี่ยนประสบการณจากหลายประเทศเกี่ยวกับความพยายามในการปฏิรูประบบ การศึกษา การสรรหาครู และการจัดการศึกษาแบบเรียนรวม Inclusive education) โดยประเทศที่สามารถสราง ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาไดสูงตางบอกวาระบบการศึกษาตองมีความยืดหยุนและเปนอิสระ มีความเชื่อในหลักการเรียนรู
  • 3. 3 ตลอดชีวิต เคารพเสียงของชนกลุมนอย และนาแหลงรวบรวมขอมูลดิจิทัล (Digital platform) ไปใชเพื่อใชในการศึกษา อยางกวางขวาง ทั้งนี้ ควรมีการรวมกันสนับสนุนนโยบายเพื่อชวยนาวิสัยทัศนไปสูการกระทาที่เปนรูปธรรมได ไดแก 1) การสงเสริมการศึกษาทางไกลและสนับสนุนการเรียนรูสาหรับผูดอยโอกาสที่สุด 2) พยายามรักษาใหมีการลงทุนเพื่อ พัฒนาการศึกษา รวมถึงกาหนดนโยบายที่จาเปนเพื่อชวยเหลือนักเรียนใหสามารถเขาสูโลกเสนทางอาชีพได และ 3) ลงทุนในการสรางทักษะดิจิทัลและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรูตลอดชีวิต o ระดับทองถิ่น: ไดมีการแลกเปลี่ยนเรียนรูประสบการณเรื่องราวความสาเร็จของการจัดการศึกษาที่ปรับตามบริบท พื้นที่โดยการนาของหนวยงานในทองถิ่นเพื่อสรางความรวมมือที่ใกลชิดระหวางโรงเรียน ครู พอแมผูปกครอง นักเรียน และผูมีสวนไดสวนเสียที่สาคัญอื่นๆ และชวยกันดูแลใหการลงมือปฏิบัติเกิดขึ้นจริง มีการนาใชขอมูลรายบุคคลของเด็ก นาไปวิเคราะห สังเคราะห เพื่อสรางแผนพัฒนาการศึกษาระดับจังหวัด และนาไปใชในการตัดสินใจวางแผนงบประมาณ และยังนาขอมูลของเด็กรายบุคคลใชในการบริหารจัดการระดับโรงเรียนอีกดวย ตัวอยางตางๆ แสดงใหเห็นวาการเปน ผูนาที่มีประสิทธิภาพในระดับโรงเรียนสามารถฟนฟูความมุงมั่นของครูและทาใหผูปกครองมีสวนรวมเพื่อชวยใหนักเรียน ที่บรรลุผลสาเร็จจากระดับดี เปนดีเยี่ยม และยังทาใหเด็กนักเรียนมีทัศนคติและแนวคิดแบบยืดหยุนและเติบโตพัฒนา ตอไปขางหนา (Growth mindset) อีกดวย การจัดการศึกษาที่ปรับตามบริบทพื้นที่โดยมีอิสระทางการนาปฏิบัติได พิสูจนแลววาเกิดประสิทธิภาพ เชน ในการสงเสริมการปฏิบัติการจัดการศึกษาแบบเรียนรวม การนาวัฒนธรรมตางๆ เขามาผสานในการปรับหลักสูตรใหเหมาะตามบริบท การใหความสาคัญกับการสรางความรูสาหรับพอแม การปฏิบัติ ชวยเหลือเด็กที่มีความตองการพิเศษ และการใชแนวทางปฏิบัติที่ใหพอแมไดมีสวนรวม เปนตน o การจัดสรรทรัพยากรทางการศึกษาตามพื้นที่เพื่อความเสมอภาค: มีการยกตัวอยางประเทศที่พยายามจัดสรร ทรัพยากรทางการศึกษาใหเขาถึงนักเรียนอยางทั่วถึงและใกลบานนักเรียน โดยการจัดสรรครูที่เกงที่สุดไปชวยเหลือใน โรงเรียนที่เด็กมีความตองการมากที่สุด เชน ประเทศจีน ฟนแลนด และเอสโตเนีย ซึ่งเปนตัวอยางวาสิ่งเหลานี้เปนไปได ถามีการนานโยบายไปปฏิบัติอยางจริงจัง และเปนบทเรียนวาหากจะทาใหเกิดความเทาเทียมทางการศึกษาได จะตอง ชวยใหเด็กทุกคนเขาถึงการศึกษาโดยปราศจากเรื่องของฐานะ พื้นฐานทางสังคม ขอจากัดของโรงเรียนและครู โดย นักเรียนทุกคนตองเขาถึงครูที่เกงไดโดยไมจาเปนจะตองเขาเรียนในโรงเรียนขนาดใหญเทานั้น หัวขอยอยที่ 3: นวัตกรรมการจัดหาเงินทุนเพื่อการพัฒนา ท นวัตกรรมการจัดหาเงินทุนเพื่อการพัฒนาการศึกษา Innovative Financing for Education มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนา ขีดความสามารถและเพิ่มพูนความรูโดยรวมเกี่ยวกับกลไกทางการเงินที่มีอยูจานวนมาก ประโยชนที่สาคัญของนวัตกรรม การจัดหาเงินทุนเพื่อการพัฒนาการศึกษา คือ 1) เพื่อหาแหลงเงินทุนเพิ่มเติมลงทุนในการจัดการศึกษา หรือเพิ่มมูลคา ของเงินที่มาจากแหลงงบประมาณที่มีอยูแลว 2) ปรับปรุงวิธีการใชจายงบประมาณโดยใชวิธีการที่เปนนวัตกรรมเพื่อเพิ่ม ผลลัพธทางการจัดการศึกษา แมวามีการทดลองการใชนวัตกรรมการจัดหาเงินทุนเพื่อการพัฒนาการศึกษาหลายรูปแบบ เชน พันธบัตรเพื่อสังคม social impact bond), กองทุนเงินกูยืมเพื่อการศึกษาที่ผูกกับรายไดในอนาคต (income-
  • 4. 4 contingent loans), สัญญาแลกเปลี่ยนหนี้ debt swap , การซื้อหนี้ (debt-buy-down), พันธบัตรการศึกษา (education bonds), เงินสงกลับคืนประเทศ remittance), การลงทุนเพื่อสรางผลกระทบ (impact investment) [มี ศักยภาพในการพัฒนาตอสูง] และการเก็บภาษี taxation อยางไรก็ดี วิธีการออกแบบและจัดโครงสรางนวัตกรรมการ จัดหาเงินทุนเพื่อการพัฒนาการศึกษาและแกไขปญหาทั้งหมดของการศึกษายังไมมีการศึกษาที่หลากหลายพอ ท ประสบการณนวัตกรรมการจัดหาเงินทุนเพื่อการพัฒนาการศึกษาที่ยกขึ้นมาเปนตัวอยางจากประเทศ เกาหลีใต ญี่ปุน อินเดีย และเนปาลเปนที่นาประทับใจเปนอยางมาก แพนอิมแพ็ค (Pan Impact) ประเทศเกาหลีใตเปนตัวอยางหนึ่งที่ ประสบความสาเร็จในการสรางโครงการนวัตกรรมการจัดหาเงินทุนเพื่อเนนสรางความมุงมั่นที่แข็งแกรงของนักลงทุน และดึงดูดใจรัฐบาลใหรวมลงทุนที่สะทอนใหเห็นวารัฐตระหนักคุณคาทางสังคมผานการลงทุนกับนวัตกรรมการจัดหา เงินทุนเพื่อการพัฒนาการศึกษา และเปนการพัฒนานโยบายทางสังคมแนวนวัตกรรม โดยจะเห็นไดวาไมเพียงแตเด็ก กลุมดอยโอกาส เชน เด็กที่มีภาวะบกพรองทางสติปญญาไมเพียงแตไดรับประโยชน ไดความชวยเหลือจนเด็กเหลานั้นมี พัฒนาการที่ดี พนจากความทุกขยาก แตรัฐบาลยังสามารถจัดการงบประมาณไดอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้นและบริหาร นโยบายใหบรรลุเปาหมายที่แทจริงได ท อีกตัวอยางที่เปนแรงบันดาลใจของนวัตกรรมการจัดหาเงินทุนเพื่อการพัฒนาการศึกษาที่ไดรับการกลาวถึงโดยวิทยากร หลายทาน คือ การใหเงินโอนดานการศึกษาอยางมีเงื่อนไข Conditional Cash Transfer) มีการศึกษาหลายชิ้นทั่วโลก ไดพิสูจนแลววางบประมาณอุดหนุนเด็กนักเรียนอยูในกลุมเสี่ยง และเด็กที่ออกจากระบบโรงเรียนไปแลวไมไดมีปริมาณ เพิ่มขึ้นเลย ดังนั้น การอุดหนุนปจจัยพื้นฐานทางการศึกษาของนักเรียนเพื่อชวยเหลือเด็กที่อยูในกลุมเสี่ยง และเด็กที่ ออกจากระบบโรงเรียนจึงเปนการศึกษาเชิงทดลองที่เปนที่นิยมในหลายประเทศทั่วโลกใหดึงเด็กเหลานี้กลับไปเรียน หนังสือในระบบโรงเรียน ไดมีการทดสอบกลไกหลายชนิดเพื่อเพื่อระบุและตรวจสอบเงื่อนไขของความยากจนขั้นรุนแรง ซึ่งกลไกเหลานี้สามารถออกแบบเปนการศึกษาเชิงทดลอง Interventions) ปรับตามบริบทพื้นที่ได เราเห็นวาผลลัพธมี แนวโนมดี ซึ่งเห็นผลตั้งแตการเพิ่มการกลับเขาสูระบบโรงเรียนไปจนถึงการพัฒนาระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาและ การพัฒนาประโยชนทางสังคม หัวขอยอยที่ 4: การรวมมือระหวางภาครัฐและภาคเอกชน ท การใหบริการขั้นพื้นฐานที่มีประสิทธิภาพ เชน การจัดศึกษาขั้นพื้นฐาน การดูแลสุขภาพ การจัดหาน้าสะอาด และการ สุขาภิบาล เปนกุญแจสาคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของทุก ๆ ประเทศ ซึ่งบริการเหลานี้เปนการลงทุนเพื่อ บรรเทาความยากจน และเพื่อใหประเทศตาง ๆ บรรลุเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน Sustainable Development Goals) แมวารัฐบาลตางเห็นพองวารัฐตองลงทุนในการบรรลุสิทธิของเด็กทุกคนในการเขาถึงบริการขั้นพื้นฐานและให เด็กทุกคนเจริญเติบโตเปนอยางดี แตยังมีความทาทายอีกมากมายในการจัดบริการพื้นฐานเหลานี้ ในขณะที่งบประมาณ จากองคกรเพื่อการพัฒนาลดนอยลง การหาการลงทุนจากภาคเอกชนจะชวยสรางความแตกตางอยางใหญหลวงตอ ผลลัพธทางสังคมเพราะภาคเอกชนมีความยืดหยุนในการใชแนวทางที่เปนนวัตกรรมมาใชในการแกปญหาได
  • 5. 5 ท จากการประชุมมีวิทยากรหลายทานไดสะทอนมุมมองเกี่ยวกับการสรางความรวมมือระหวางภาครัฐและภาคเอกชน ทั้ง ในระดับโลก ระดับภูมิภาค ระดับประเทศ ระดับจังหวัดและทองถิ่น และระดับโรงเรียน ซึ่งเปนการระดมสรรพกาลัง ทรัพยากร และนวัตกรรมเพื่อชวยผูเรียนในการปรับปรุงและเพิ่มศักยภาพใหสูงสุด เราสังเกตวาการพัฒนานโยบาย การ พัฒนาโครงการดานการศึกษาตางๆ ไปจนถึงการพัฒนาโครงการระดับโรงเรียนนั้นจะประสบผลสาเร็จเปนอยางมากหาก มีการสรางหุนสวนระหวางภาครัฐและภาคเอกชนเขาดวยกัน ท โลกในปจจุบันกาลังเคลื่อนตัวออกจากโครงการชวยเหลือแบบดั้งเดิม และมีการปรับโครงสรางเพื่อเพิ่มความรวมมือกับ ตลาดทุนเอกชน โดยความรวมมือดังกลาวมุงหวังในการสรางผลตอบแทนทางสังคม ในสวนโครงการขับเคลื่อนโดย ภาคเอกชน เชนงานของ “Disrupt Technology Venture” ในประเทศไทยไดแสดงใหเราเห็นวาผูประกอบการภาค สังคม ผูประกอบการเทคโนโลยี และ ผูประกอบการที่ชานาญดานนวัตกรรมกาลังมีบทบาทอยางมากในการชวยเหลือ แกปญหาสังคมและปญหาทางการศึกษา เราเห็นวิธีการที่หลากหลายของการสรางรวมมือระหวางภาครัฐและ ภาคเอกชน เชน การที่นักลงทุนเอกชนลงเงินในกองทุนโลกเพื่อสรางโครงการ Learning Passport ซึ่งเปนโครงการ แพลตฟอรมเพื่อใหแตละประเทศสามารถนาไปปรับใหเขากับหลักสูตรของตนเอง โดยขอมูลของเด็ก ๆ จะบันทึกอยูใน ฐานขอมูลแบบคลาวน (Cloud-based) เมื่อเด็ก ๆ เขามาใชงานระบบจะบันทึกการใชงาน รวมถึงประเมินการเรียนรู และความเขาใจในเนื้อหา และยังสามารถดึงไปใชขามแพลตฟอรมระหวางดิจิตอลและการเรียนการสอนในหองเรียน ปกติ โดยมีการใชงานแลวในประเทศติมอร จอรแดน และบังคลาเทศ นอกจากนี้ยังมีแนวทางการพัฒนาจากลางขึ้นบน เชน โรงเรียนมีชัยพัฒนา โดยที่นอกเหนือจากการพัฒนาโรงเรียน การพัฒนาเด็กแลว แตยังคานึงถึงชุมชนในทองถิ่น และสามารถขยายผลไปสูระดับชาติไดอีกดวย ท ทุกวันนี้ภาคเอกชนกาลังเปลี่ยนวิธีการลงทุนไปสูการลงทุนดานสังคมและสิ่งแวดลอม Environmental Social and Governmental: ESG) มากขึ้นเรื่อย ๆ ประเด็นเรื่องความเสมอภาคทางการศึกษาเปนแนวทางที่สามารถปรับไปเปน โครงการตาง ๆ ที่จะเปนที่สนใจของภาคเอกชนเพราะเปนการพัฒนาที่สามารถสรางคุณูปการแกการพัฒนาสังคมและ สิ่งแวดลอมในระยะยาวได
  • 6. 6 สรุปจากหัวขอสาคัญ 10 ประการ โควิด-19 และความเสมอภาค ขอความสาคัญ: การระบาดโควิด-19 สรางผลกระทบที่เปนลบใหกับการสรางความเสมอภาคทางการศึกษา การระบาดครั้งใหญนี้ทาใหเด็กจานวน 1.6 พันลานคนตองออกจากโรงเรียน ทสถานการณการระบาดของโรคโควิด-19 เปนความทาทายสาหรับการสรางการศึกษาอยางเทาเทียมที่ไมเคยมีมากอน การระบาดครั้งนี้ทาใหสถานการณการเรียนรูของเด็กแยลงจนกอใหเกิดเปนวิกฤติการเรียนรูระดับโลก โรคโควิด-19 กาลังสงผลกระทบตอการสราง “ทุนมนุษย” ในระยะยาวอยางเห็นไดชัดสงผลให ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรูของเด็ก ลดลง รายไดลดลง และ สถานะทางเศรษฐกิจที่แยลง โรคโควิด-19 ไมเพียงแตทาใหเศรษฐกิจตกต่าเทานั้น แตยังผลให เกิดความทาทายที่ยิ่งใหญสาหรับการศึกษาและสรางความเหลื่อมล้าทางการศึกษาโดยทาใหความเหลื่อมล้าและ แบงแยกที่เพิ่มขึ้น ทาใหเด็กจานวนมากออกตองจากระบบการศึกษา ซึ่งเหลานี้ยังผลใหเปนอุปสรรคกับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนรูและสุขภาพของเด็ก และตอมาสงผลใหสูญเสียโอกาสในการจางงานในอนาคต ทการปดโรงเรียนเพื่อเปนการระวังการระบาดของโควิด-19 แมวาจะเปนแนวทางในการปกปองชีวิต แตเปนการสราง ความทาทายที่ยิ่งใหญใหกับความพยายามที่จะสรางการศึกษาเสมอภาคและการจัดการศึกษาแบบเรียนรวม Inclusive education) เพื่อสรางโอกาสใหนักเรียนทุกคนเขาถึงการเรียนรู และเพราะโควิดเปนทาทายที่ยิ่งใหญสาหรับการศึกษาที่ ทาใหความเหลื่อมล้าและสรางการแบงแยกที่เพิ่มขึ้น ทาใหเด็กจานวนมากออกตองจากระบบการศึกษา เด็กจากภูมิหลัง ที่ดอยโอกาส เด็กในพื้นที่ที่มีความขัดแยง เด็กผูหญิง เด็กจากครอบครัวที่มีรายไดต่า ผูลี้ภัย ผูพิการ ผูเรียนชา ผูพลัด ถิ่น ตางมีความเสี่ยงจากการถูกกีดกันในการเขาถึงการศึกษาและเผชิญกับคุณภาพชีวิตที่ต่าลง เชน เด็กหลายคนถูก บังคับใหออกจากโรงเรียนเพื่อแตงงาน เปนแรงงานรายไดต่า เปนเหยื่อการคามนุษย ตั้งครรภในวัยรุน สูญเสียอิสรภาพ และความทรมานจากความรุนแรงในครอบครัว ทการระบาดของโรคครั้งใหญนี้บังคับใหโลกตองคิดใหมและกาหนดวิธีการใหม และใชนวัตกรรมเพื่อที่จะเอาชนะโรคภัย และนอกจากนั้นความทาทายที่เกิดขึ้นอันเปนผลของโรคนี้คือการที่ทาอยางไรที่จะทาใหเด็กทุกคนไดเขาถึงการศึกษาที่มี คุณภาพได และยังรวมถึงวิธีการเปลี่ยนระบบการศึกษาใหมีความครอบคลุมอยางแทจริงดังนั้นจึงไมมีใครถูกทิ้งไวขาง หลัง ยิ่งกลุมผูดอยโอกาสอยูนอกโรงเรียนนานขึ้นเทาใด พวกเขามีแนวโนมที่จะสูญเสียการเรียนรูอยางนอยถึงครึ่งปซึ่ง หมายความวาเด็กจานวนมากที่มาจากครอบครัวยากจนและมีผลการเรียนปานกลางอาจไดรับผลกระทบจากการปด เรียนจนมีผลอาจไมสามารถอานเขียนในระดับพื้นฐานได (Functional illiterate) ผลที่ตามมาคือการสูญเสีย ความสามารถในการหารายไดในอนาคต ซึ่งยังผลใหความสามารถในการสนับสนุนการเติบโตทางเศรษฐกิจและการ พัฒนาของประเทศของเด็กเหลานี้ในอนาคตลดลงไปดวย ทจากการประชุมมีวิทยากรที่มีชื่อเสียงหลายทานไดสะทอนมุมมองที่จาเปนสาหรับทุกประเทศที่จะตองเตรียมพรอมกับ แผนกลยุทธและมาตรการที่ชัดเจนเพื่อใหแนใจวาการเปดโรงเรียนขึ้นอยูกับหลักการของ สรางกลับมาใหดีขึ้น Build back better) และตระหนักถึงความตองการของกลุมผูดอยโอกาส เชน คนยากจนเด็กผูหญิงที่อยูนอกโรงเรียน เด็ก พิการ ผูลี้ภัย นักเรียนที่อาศัยอยูในพื้นที่หางไกล และเด็กที่เสี่ยงตอการออกจากโรงเรียนกลางคัน การศึกษานอกระบบ
  • 7. 7 โดยใชแหลงรวบรวมขอมูลออนไลน (online platform) ไปใชเพื่อใชในการศึกษาอยางกวางขวางยังสามารถเติมเต็ม การศึกษาในระบบและมีบทบาทสาคัญในการตอยอดการเรียนรูของนักเรียนในชวงเวลาที่การเรียนตองหยุดชะงักได กฎหมายที่เกี่ยวของ ขอความสาคัญ: แนวทางการจัดการศึกษาเสมอภาคไมไดเปนขอกาหนดทางกฎหมาย ในนโยบายการศึกษาระดับชาติ และแผนการศึกษาไมมีประเด็นการศึกษาเสมอภาคอยู ทเด็กและเยาวชนประมาณ 75 ลานคนทั่วโลกไมสามารถเขาถึงการศึกษาได หลายคนอยูในสถานการณที่อันตรายที่สุด เชน อาศัยอยูในเขตสงคราม เปนผูลี้ภัย บุคคลไรสัญชาติ และผูอพยพ สถานการณเหลานี้ทาใหเด็กจานวนมากตอง ออกจากโรงเรียนพรอมกับคนอื่นๆ และมีอีกหลายคนที่ออกจากโรงเรียนโดยสมัครใจ ในขณะที่หลายประเทศกาลัง ดาเนินการอยางเปนรูปธรรมเพื่อตอสูกับเด็กที่ขาดโอกาสและเปราะบาง แตการตอสูก็ไมอาจดาเนินการไดเนื่องจากขาด กฎหมายที่เกี่ยวของเปนกรอบเพื่อทาใหประเทศสามารถจัดการศึกษาอยางเสมอภาคได ในบางกรณีในนโยบาย การศึกษาระดับชาติและแผนการศึกษากลับไมมีประเด็นการศึกษาเสมอภาคอยู ทประเทศฟนแลนด ญี่ปุน และออสเตรเลียมีกฎหมายที่ชัดเจนเกี่ยวกับสิทธิการศึกษาที่กาหนดวาทุกคนมีสิทธิ์รวมถึงเด็กที่ ตองไดรับการศึกษาแบบเรียนรวม Inclusive Education) สามารถเขาถึงการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยที่การศึกษา แบบเรียนรวมไดรับการสนับสนุนโดยกฎหมายและนโยบายที่เขมงวดเพื่อปกปองสิทธิของนักเรียนทุกคนในพื้นที่ที่ไม เลือกปฏิบัติโดยไมมีขอยกเวน กฎหมายที่มีประสิทธิภาพจะกาหนดภาระหนาที่ในการใหการจัดการเรียนรูและบทบาท ของรัฐในการสรางสุขภาพที่ดีที่สุด การสนับสนุนการเรียนรู และการหาทรัพยากร งบประมาณ ทรัพยากรมนุษย และ ระบบสนับสนุน ที่เพียงพอ ทพระราชบัญญัติ กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ เปนอีกตัวอยางหนึ่งของการดาเนินการตาม รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยเพื่อจัดตั้งกองทุนอิสระ โดยมีการสนับสนุนงบประมาณจากรัฐบาลเพื่อทาใหเด็กที่ ไมไดเขาโรงเรียนหมดไป ปองกันการลาออกจากระบบโรงเรียน สรางกลไกทางานรวมกับครูเพื่อปรับปรุงการศึกษาที่ เสมอภาคในหองเรียน จนถึงปจจุบัน กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษาใหการสนับสนุนโครงการที่มีนวัตกรรม มากมายเพื่อชวยเหลือเด็กๆ ใหเอาชนะความทาทายที่ยิ่งใหญที่สุดตอมนุษยชาติ ทจากการประชุมมีวิทยากรหลายทานไดกลาวถึงประสบการณจากประเทศของตนที่เจอความทาทายในการจัดการศึกษา เสมอภาค แมวาจะมีนโยบายบางสวนที่สนับสนุนแนวคิดนี้แลวก็ตาม ตัวอยางเชน ประเทศอินโดนีเซียกาลังเตรียม แผนพัฒนาภาคการศึกษาใหมเพื่อจัดการศึกษาเสมอภาคเพื่อปวงชน โดยอินโดนีเซียเพิ่งเปดตัวแผนพัฒนาการศึกษา ระยะกลาง พ.ศ. 2563-2567 ซึ่งทาใหแนวความคิดของการพัฒนามนุษยที่จาเปนตองไดรับการเสริมสรางโดยการศึกษา เพื่อปรับปรุงคุณภาพการสอนและการเรียนรู ทในทางกลับกันมีผูนาเสนอยกประเด็นวาเมื่อกฎระเบียบทางกฎหมายไมสนับสนุนการทาโครงการการศึกษาเชิงทดลอง (Interventions) หรือการนานวัตกรรมใหมๆมาใช ก็เปนการยากที่จะนานวัตกรรมการจัดหาเงินทุนเพื่อการพัฒนา การศึกษาเชน พันธบัตรเพื่อสังคม social impact bond) มาใชใหเกิดประโยชนได
  • 8. 8 การจัดสรรงบประมาณเพื่อแกปญหาความเหลื่อมล้าโดยเฉพาะ ขอความสาคัญ: การจัดสรรงบประมาณของรัฐบาลเพื่อการศึกษาที่เทาเทียมมีนอยมากหรือไมมีเลย ทการลงทุนในการสรางการศึกษาที่เสมอภาคไดรับการพิสูจนแลววามีสวนชวยในการพัฒนากาลังแรงงานและจะชวย ยกระดับการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ นักเศรษฐศาสตรระดับโลกยืนยันวาการศึกษาที่มีคุณภาพสูงนั้นให ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจและมีชวงของผลตอบแทนถดถอยลงตามอายุที่มากขึ้น โดยมีผลตอบแทนมากที่สุดในชวง ปฐมวัย วิทยากรที่มีชื่อเสียงตางสะทอนเปนเสียงเดียวกันวาทักษะพื้นฐานสากลสาหรับปวงชนสามารถชวยใหเกิด ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจที่สูงขึ้นแกประเทศไดในทุกระดับ ทแมรัฐบาลในประเทศตางๆ จะมีภาระผูกพันกับการสรางการศึกษาที่เทาเทียม และมีแสดงความมุงมั่นการลงทุนใน งบประมาณใชจายภาครัฐดานการศึกษาอยูที่ระดับ เพื่อการริเริ่มทั้งหมดเพื่อใหบรรลุคาใชจายการศึกษาของรัฐที่ 15- 20 เพื่อใหไดมาซึ่งการศึกษาเสมอภาค แตโดยเฉลี่ยแลวนั้น คาเฉลี่ยการลงทุนของคาใชจายการศึกษาของรัฐที่ 14.6 โดยงบประมาณสวนใหญเปนคาตอบแทนครู และมีงบประมาณสาหรับนวัตกรรมและเด็กดอยโอกาสอยูนอยมาก โควิด- 19 จะขัดขวางการลงทุนจากภาครัฐและพันธมิตรเพื่อการพัฒนา ทองคกรปกครองสวนทองถิ่นสามารถมีบทบาทสาคัญในการจัดหาการลงทุนเพื่อสนับสนุนการศึกษาเทาเทียม เราเห็น ตัวอยางจากผูวาราชการจังหวัดภูเก็ตประเทศไทยที่ใหการจัดสรรงบประมาณจานวนมากโดยใชการวิเคราะหขอมูลตางๆ เพื่อการตัดสินใจทางนโยบายและงบประมาณ ความพยายามดังกลาวไมเพียงแตจะชวยกาหนดเปาหมายการลงทุน ใหกับเด็กกลุมเปราะบางเทานั้น แตยังชวยปดชองวางของการระดมทุนดวยการทาใหมั่นใจวาการจัดสรรงบประมาณ ไดรับการแกไขเพื่อตอบสนองตอความทาทายในบริบทเฉพาะ ททางเลือกของการเพิ่มการลงทุนสูภาคการศึกษาอาจตองมาจากนวัตกรรมการจัดหาเงินทุนเพื่อการพัฒนา ดูหัวขอยอย 3 และการรวมมือระหวางภาครัฐและภาคเอกชน ดูหัวขอยอย 4 ความออนไหวทางการเมือง (Political sensitivity) ขอความสาคัญ: การคัดคานทางการเมืองและความออนไหวในการจัดสรรงบประมาณสาหรับชนกลุมนอยผูดอยโอกาส หรือผูไมไดเสียภาษี ทความทาทายในการคัดคานทางการเมืองและความออนไหวของรัฐบาลในการจัดสรรงบประมาณสาหรับชนกลุมนอยและ กลุมเปราะบางไมไดเปนประเด็นที่มีการพูดคุยอยางกวางขวางในการประชุมครั้งนี้ อยางไรก็ตามประเด็นดังกลาวไดรับ การยกใหเปนความทาทายภายใตมิติของ “การขาดเจตจานงทางการเมือง” นอกจากนั้น กองทุนโลก เชน Global partnerships in education และ Education Cannot Wait Organization มีบทบาทสาคัญในการปดชองวางเรื่อง การคัดคานการจัดสรรงบประมาณสาหรับชนกลุมนอยและกลุมเปราะบางและเปนตัวกลางในการเรียกรองใหรัฐบาลตาง ๆ เรงดาเนินการตอไป
  • 9. 9 ทหลักฐานตางๆ เชน การศึกษาเกี่ยวกับตนทุนทางเศรษฐกิจที่ประเทศตองเผชิญหากไมใหความรูแกเด็กนักเรียนทุกคน หรือคาแนะนาที่เขมแข็งจากองคการระหวางประเทศ เชน OECD) ไดชวยใหบางประเทศสรางกรณีศึกษาในการ สนับสนุนรัฐบาลเจาหนาที่ทองถิ่นและผูมีสวนไดสวนเสียเรงดาเนินการในการจัดสรรงบประมาณเพื่อการศึกษาของชน กลุมนอย ทแมแตประเทศที่มีการจัดสรรงบประมาณเพื่อการศึกษาเพื่อปวงชนที่มีจานวนมากอยูแลว เชน ประเทศไทย หาก ตองการเคลื่อนไหวเพื่อเพิ่มงบประมาณดานการลงทุนสาหรับผูดอยโอกาส จาเปนตองหาหลักฐานที่มีเนื้อหาครอบคลุม และรัดกุมสนับสนุนนโยบายเพื่อใหการลงทุนสาหรับผูดอยโอกาสเกิดประโยชนสูงสุดแกสังคมโดยรวม ฐานขอมูลสถิติและขอมูลตางๆ ขอความสาคัญ: สถิติและขอมูลของเด็กที่ไมไดอยูในระบบโรงเรียนออนแอและไมแมนยา ยังไมมีระบบในการนับเด็กที่มองไมเห็นอีกนับลาน ทการผลักดันนโยบายเปนหลักสาคัญในการจัดการกับความไมเสมอภาคและความไมเทาเทียมในการศึกษา ขอมูลที่ เจาะลึกวาใครคือผูดอยโอกาสและถูกกีดกันการเขาถึงการศึกษาจะสามารถชวยสรางขอความสนับสนุนนโยบายใหไดรับ ความเขาใจที่ลึกซึ้งขึ้น และระบุสาเหตุที่แทจริงของปญหาและชวยหาวิธีแกปญหาที่นาไปใชงานไดจริง ในขณะที่ขอมูล เกี่ยวกับคาเฉลี่ยของประเทศนั้นมีใหเห็นและบางขอมูลสามารถนามาเปรียบเทียบกับตางประเทศได แตขอมูลที่เจาะลึก ลงไปกลับไมนาเชื่อถือ ไมเกี่ยวของ และไมแมนยา ปญหานี้นาไปสูความไรประสิทธิภาพในการจัดหางบประมาณลงทุน และสนับสนุนใหเด็กดอยโอกาสกลับไปโรงเรียนและเรียนรูตอไป การเขาถึงขอมูลและขอมูลที่มีคุณภาพจะชวยโรงเรียน ในการติดตามพื้นที่ที่มีความไมเทาเทียมและการกีดกันทางสังคมของผูเรียนตามเพศ เชื้อชาติ ภาษา รายได และสถานะ ความพิการ จากขอมูลดังกลาวโรงเรียนและผูปกครองสามารถใหการสนับสนุนและใหการดูแลนักเรียนอยางเหมาะสมได การแลกเปลี่ยน การคืนขอมูล และแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางหนวยงานของรัฐเปนสิ่งสาคัญในการสงเสริมนโยบายและ การดาเนินงานแบบบูรณาการในทุกระดับ ทดวยเทคโนโลยีที่ปรับปรุงใหม การศึกษาดิจิทัลมีบทบาทสาคัญในการจัดการขอมูลและการวิเคราะห ในประเทศอินเดีย ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการการศึกษาสามารถติดตามพัฒนาการและขอมูลจานวนมากเกี่ยวกับนักเรียนที่เขารวมใน การเรียนรูออนไลน จังหวัดภูเก็ตในประเทศไทยใชฐานขอมูลความพรอมของโรงเรียนในการติดตามขอมูลของนักเรียน 24,591 คนจากระดับเตรียมอนุบาลถึงมัธยมศึกษาปที่ 6 เพื่อวิเคราะหภูมิหลังของครอบครัว ความพรอมในการเรียนรู และใชขอมูลเพื่อปกปองเด็กที่มีความเสี่ยงไมใหออกจากโรงเรียนกลางคัน มีการใชขอมูลเดียวกันเปนขอมูลในการ ออกแบบแผนพัฒนาการศึกษาระดับจังหวัด ทอินโดนีเซียเปนอีกตัวอยางหนึ่งของการใชขอมูลเพื่อการตัดสินใจในการแกไขปญหาเด็กนอกโรงเรียน กระทรวงการ วางแผนพัฒนาแหงชาติและองคการยูนิเซฟไดทาการศึกษารวมกันเพื่อกาหนดขอเสนอแนะเชิงนโยบายและยุทธศาสตร การดาเนินงานที่มีศักยภาพ การศึกษาเรื่องเด็กที่ไมไดอยูในการศึกษาระบบโรงเรียนที่ระบุพื้นที่มีปญหาชวยทาใหเกิด โครงการนารองซึ่งจะเกิดขึ้นใน 2 จังหวัดและ 6 อาเภอในประเทศอินโดนีเซีย
  • 10. 10 กลไกการดาเนินการสรางการศึกษาอยางเทาเทียม (Delivery mechanism) ขอความสาคัญ: วิธีการที่จะดาเนินการสรางการศึกษาอยางเทาเทียมยังไมเปนที่เขาใจอยางกวางขวาง ทการประชุมวิชาการครั้งนี้เปนโอกาสใหผูเชี่ยวชาญจากหลายประเทศไดแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการตีความหมายของ “การสรางการศึกษาที่เทาเทียม” และนาไปปรับใชในบริบทของทองถิ่น ทประเทศตางๆ ใชวิธีการที่หลากหลายในการแกปญหาอยางเรงดวนที่แตละประเทศพึงมี และในแนวทางการแกปญหาที่ แตกตางไปนั้นไดแสดงถึงความมุงมั่นอยางแรงกลาที่จะสรางประโยชนสูงสุดใหแกกลุมที่เปราะบางและจัดการศึกษา สาหรับปวงชน อยางไรก็ดี กระบวนการในการสรางสรางการศึกษาอยางเทาเทียมที่เปนระบบอาจไมเปนที่เขาใจอยาง กวางขวาง ทประเทศที่แตกตางกันใชวิธีการตาง ๆ ที่พยายามแกไขปญหาเรงดวนของพวกเขาและแสดงใหเห็นถึงความมุงมั่นอยาง แรงกลาที่จะไดรับประโยชนมากที่สุดและเพื่อใหการศึกษาแกทุกคน อยางไรก็ตามกระบวนการในการใชการศึกษาอยาง เทาเทียมอยางเปนระบบอาจไมเปนที่เขาใจ ทเปนที่ยอมรับกันวาเราอาจไมสามารถหาขอสรุปเกี่ยวกับวิธีการที่ดีที่สุดในการดาเนินการสรางระบบการศึกษาที่เทา เทียม และอาจไมมีนโยบายอันใดอันหนึ่งที่เหมาะกับการนาไปใชสาหรับทุกประเทศ No one size fit all policy) ที่ สามารถพิสูจนไดวาเปนยาครอบจักรวาลเหมาะสาหรับทุกประเทศ ทดังที่ ดร. เชลดอนกลาวไวอยางถูกตองวา “หลังจากรับรองปฏิญญาจอมเทียน หากประเทศตาง ๆ ไมไดมีการหากลยุทธ ในการระบุหาและหาทางปองกันเพื่อบรรเทาผลเสียของผูเรียนไวแลวนั้น ผลลัพธที่ดีจากการจัดการศึกษาอาจสูญ หายไป โควิด-19 อาจนาพวกเรากลับไปประสบปญหาอันมีผลมาจากอัตราการเขาเรียนที่ต่า ความไมเทาเทียมทางเพศ ปญหาสุขภาพของเด็ก การตายของมารดา อาจมีครอบครัวอีกมากมีปญหาความยากจน การเขาถึงบริการตาง ๆ อาจ ลดลง อาจมีเด็กจากกลุมเปราะบางอีกจานวนมากไมสามารถเขาถึงการศึกษาและเรียนรูได ดังนั้น เราจึงควรทางานเพื่อ พัฒนากลยุทธในการใหโรงเรียนกลับมาเปดใหมอีกครั้ง และปองกันบรรเทาผลเสียที่อาจมีเพิ่มขึ้น ดวยเหตุนี้การบรรลุถึง วัตถุประสงคของการศึกษาเทาเทียมคงสาเร็จไดดังหวัง” การกระจายอานาจ ขอความสาคัญ: การกระจายอานาจไมไดนาไปใชอยางเต็มที่เพื่อสงเสริมการศึกษาที่เทาเทียม ทการกระจายอานาจการตัดสินใจ: ในขณะที่สามารถสังเกตไดวาความทาทายที่สาคัญอยางหนึ่งสาหรับการศึกษาที่เทา เทียมกันคือการกระจายอานาจไมไดนาไปใชอยางเต็มที่ แตประสบการณที่นาประทับใจมากมายไดถูกแบงปนในการ ประชุมครั้งนี้สะทอนใหเห็นวามีการปฏิบัติในหลายประเทศใหมีการกระจายอานาจในการตัดสินใจ ทตัวอยางเชน ประเทศฟนแลนดใหการศึกษาที่เทาเทียมแกเด็กทุกคนบนพื้นฐานของความไววางใจและการที่ประชาชนมี บทบาทในการรับผิดชอบกับผลการเรียน ไมมีการสอบปลายภาค หรือโรงเรียนไมมีการจัดอันดับ และมีการมอบหมาย บทบาทที่เขมแข็งใหกับเทศบาล โรงเรียน และครูใหมีความสามารถในการตัดสินใจทางการบริหาร (Autonomy) ตาม หนาที่ของตน นอกเหนือจากนั้น ประเทศเกาหลีใตกระจายอานาจความรับผิดชอบไปยังศูนยสนับสนุนการศึกษา วัฒนธรรมนานาชาติ ในการใหบริการสนับสนุนการศึกษาสาหรับเด็กที่มาจากภูมิหลังผูอพยพ การกระจายความ
  • 11. 11 รับผิดชอบนี้ทาเพื่อการออกแบบและจัดการสนับสนุนการศึกษาชุมชนในระดับจังหวัด สวนประเทศไทยเองมีตัวอยาง การจัดการศึกษาที่เปนที่นาประทับใจกลาวคือ กรณีของโรงเรียนบานหวยไร ที่มีผูอานวยการศึกษาแสดงความเปนผูนา ปรับหลักสูตรสถานศึกษาใหเหมาะสมกับความตองการและบริบทของนักเรียน พัฒนาศักยภาพครูในการจัดการเรียน การสอน และสรางการมีสวนรวมของพอแม โดยการกระจายอานาจในการตัดสินใจสามารถสรางความแตกตางอยาง มากในการที่ใหคนที่อยูในทองถิ่นกาหนดแนวทางแกไขที่ตรงกับบริบททองถิ่น ทการกระจายอานาจของระบบการเงินเพื่อลดความไมเทาเทียมกัน: ในขณะที่เราไมเห็นตัวอยางที่โดดเดนเกี่ยวกับการ กระจายอานาจของระบบการเงินเพื่อลดความไมเทาเทียมกันในหลายประเทศ โดยมากเมื่อมีการกลาวถึงประเด็นทา ทายของการจัดการศึกษามักจะกลาวถึงประเด็นงบประมาณที่มีไมเพียงพอสาหรับการหางบประมาณสนับสนุน การศึกษาเสมอภาค ซึ่งโดยมากยังเปนงบแบบรวมศูนย ซึ่งประเทศไทยไดมีตัวอยางโครงการที่แสดงใหเห็นถึงแนวทาง การกระจายอานาจของระบบการเงินโดยทองถิ่น โดยผูวาราชการจังหวัดภูเก็ตกลาวอยางชัดเจนวาจังหวัดมีการลงทุน งบประมาณเพื่อกาหนดนโยบายการศึกษาที่สรางสรรค กระบวนการดังกลาวมีการใชขอมูลทางสถิติเพื่อประกอบการ ตัดสินใจทานโยบาย มีการบูรณาการทางานระหวางกระทรวงในการจัดทาแผนพัฒนาการศึกษาระดับจังหวัด เพื่อ ชวยเหลือเด็กและเยาวชนที่ดอยโอกาส โดยกระบวนการทั้งหมดนี้ทาโดยอาศัยหลักการกระจายอานาจและการนาใหผูมี สวนไดสวนเสียไดมีสวนรวมในการพัฒนา ครูขาดการเสริมพลังและขาดการสนับสนุน ขอความสาคัญ: คุณครูขาดการเสริมพลังหรือขาดการสนับสนุนใหชวยสงเสริมการศึกษาอยางเทาเทียมในพื้นที่ ทเราตองไมลืมวาครูเปนปจจัยสาคัญและเปนผูนาความเปลี่ยนแปลงในการสรางใหเด็กมีสวนรวมกับการเรียนการสอน ติดตามความกาวหนาของนักเรียน และสรางการมีสวนรวมของผูปกครอง คุณครูตองการไดรับการพัฒนาขีด ความสามารถอยางตอเนื่องใหมีสมรรถนะใหม ๆ ไดรับอิสระในการตัดสินใจทางการบริหาร (Autonomy) ตามหนาที่ ของตน และจัดกระบวนการในการใหคาแนะนา ชวยเหลือ แกไขปญหา พัฒนา รวมถึงใหความชวยเหลือดานจิตสังคม และใหความสนับสนุนดานอื่นๆ อยางไรก็ดี คุณครูไมไดรับการเสริมพลังอยางเต็มที่ และขาดการสนับสนุนใหชวย สงเสริมการศึกษาอยางเทาเทียมในพื้นที่ และเนื่องดวยจากครูมีภาระงานมากมาย ทางานโดยอยูในภาวะเครียด และ การทางานอาจไมมีโอกาสใหครูมีเวลาพัฒนาศักยภาพตนเอง ปญหาอาจรุนแรงมากขึ้นดวยขอจากัดดานงบประมาณ สนับสนุนเขารับการอบรม และตองการผูนาที่จะชวยใหครูมีอิสระการตัดสินในทางบริหารตามหนาที่ของตน ทจากการประชุมครั้งนี้เราเห็นตัวอยางการดาเนินงานมากมายในหลายประเทศที่ทาใหเราไดมั่นใจไดวานักศึกษาครูและครู ประจาการเปนแกนหลักของการสรางระบบการศึกษาที่สงเสริมความเทาเทียมได ทการเพิ่มขีดความสามารถของครู: สาหรับการพัฒนาศักยภาพของนักศึกษาครู เราไดฟงตัวอยางจากประเทศฟนแลนด และประเทศจีนใหความสาคัญกับการลงทุนงบประมาณสรางรากฐานการสอนสาหรับครู สาหรับประเทศไทยมีการ ดาเนินโครงการครูรัก ษ ถิ่น สนับสนุนโดยกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา เปนวิธีการที่สรางสรรคในการ สรางการเติบโตของครูผูสอนเพื่อสรางจิตสานึกความเปนเจาของและเสริมพลัง สาหรับการพัฒนาศักยภาพของครู ประจาการ เราไดฟงตัวอยางจากประเทศจีนที่มีการลงทุนที่สาคัญในการพัฒนาศักยภาพครูประจาการ นอกจากนั้น
  • 12. 12 กรณีของประเทศอินเดียที่ไดนาใชเทคโนโลยีดิจิตอลในการฝกอบรมครูจานวนมากและแบงปนเนื้อหาออนไลน เชนเดียวกับโครงการ TPD @ Scale ในฟลิปปนสเพื่อใชการฝกอบรมครูแบบผสมผสาน Blended learning) ใน โครงการ Early Language Literacy and Numeracy (ELLN) ที่ใชกระบวนการเรียนรูออนไลน รวมกับการใชชุมชน การเรียนรูระดับมืออาชีพในโรงเรียนเปนตัวชวยเสริมการเรียนรู ทการสรรหาครู: ประเทศจีนไดแบงปนประสบการณการคัดเลือกและการบรรจุครูที่มีคุณภาพสูง 25,000 คนและครูที่ เกษียณแลว 5,000 คนจากพื้นที่เมืองเพื่อบรรจุในโรงเรียนตามถิ่นชนบท ซึ่งการขึ้นลาดับขั้นของตาแหนงอาจมีการสราง เกณฑกาหนดใหครูตองมีประสบการณสอนอยางนอย 1 ปในพื้นที่ชนบท นอกจากนี้ รัฐมีการเปดตาแหนงครูที่มีภาค บังคับใหประจาการในถิ่นทุรกันดาร 3 ป โดยรัฐบาลลงทุนประมาณ 71 พันลานหยวนและครอบคลุมโรงเรียนในชนบท กวา 30,000 แหงและ 1,000 มณฑล โดยในโครงการมีการคัดเลือกครูถึง 950,000 คน ทแรงจูงใจของครู: ประเทศฟลิปปนสมีการใช “ดัชนีความยากลาบากของโรงเรียน” เปนตัวแทนในการคานวณเงินทุน ความยากลาบากเพื่อเพิ่มงบประมาณสาหรับครูที่ตองประจาการในพื้นที่ที่มีความยากลาบากในการเดินทาง โดยเกณฑ คือการเดินทางของครูไปยังโรงเรียนมีความยากลาบาก และการปฏิบัติงานการจัดการเรียนรูแบบคละชั้น (Multi-grade teaching) โครงการนี้ไดพิสูจนแลววาสรางแรงจูงใจใหครูอยูในระบบ นอกจากนี้โครงการคัดเลือกและบรรจุครูของ ประเทศจีนที่กลาวมาขางตนมีระบบสนับสนุนที่จะสรางแรงจูงใจใหครูปฏิบัติหนาที่ในพื้นที่ชนบท และสรางแรงจูงใจ ดวยการลงทุนจากงบประมาณของรัฐ ทครูในฐานะแบบอยาง: โครงการ “TulaKaalaman” หรือ “รถเข็นความรู” ถูกออกแบบมาเพื่อนาหนังสือเรียนนาไปสู ชุมชนและชวยเหลือเด็กดอยโอกาส เด็กที่ออกจากโรงเรียนหรือเสี่ยงตอการออกกลางคัน ในเมืองมินดาเนา ประเทศ ฟลิปปนส ความรวมมือที่ออนแอ ขอความสาคัญ: ความรวมมือระหวางภาครัฐออนแอ และไมยั่งยืน หรือในบางกรณีไมมีประสิทธิภาพในการสงเสริมการศึกษาที่เทาเทียม ทแมวาเรารับทราบวาการสรางความรวมมือเพื่อสงเสริมการศึกษาเสมอภาคนั้นมีความออนแอเมื่อมีการดาเนินการลงใน พื้นที่ อยางไรก็ดี ประเด็นนี้ไมไดเปนประเด็นที่มีการพูดคุยอยางกวางขวางในการประชุมครั้งนี้ อยางไรก็ตามมีจุดที่ นาสนใจที่เกี่ยวของกับการสรางความรวมมือดังนี้: ทหนึ่งในปจจัยความสาเร็จในการสงเสริมการศึกษาที่เสมอภาคคือการสรางการมีสวนรวมและสรางความรวมมือระหวางผู ใหบริการการศึกษาและผูปกครอง มีการนาเสนอจากวิทยากรหลายทานรวมถึงจากศูนยพัฒนาการศึกษาเพื่อลูกหญิง และชุมชนที่กลาวไววา ความทาทายที่สาคัญในการรวมทางานเพื่อกลุมเปราะบางคือ การสรางความรูสึกใหเกิดแรง บันดาลใจ สรางความตระหนักถึงความสาคัญของการศึกษา สรางใหเห็นคุณคาของตัวตน และสรางความมั่นใจใหกับ กลุมยอยเหลานี้ หลักสูตรที่ทางานกับกลุมเปราะบางควรเปนหลักสูตรที่สรางมาเพื่อเหมาะกับวัตถุประสงค และการใช ชีวิตของคนเหลานั้น เชน การสรางทักษะคนชายขอบที่สุดคือ การสรางความทะเยอทะยาน สรางการรับรูกระตุนการ
  • 13. 13 จดจาตนเอง และความนับถือตนเอง หลักสูตรควรเหมาะกับจุดประสงคของพวกเขา เชน เนนการรูหนังสือขั้นพื้นฐาน และทักษะชีวิต ทLearning Coin ขององคการยูเนสโก เปนโครงการที่ชวยสงเสริมใหลูกของผูอพยพแรงงานพมาสามารถอานออกเขียนได โดยมีสิ่งจูงใจทางการเงินเพื่อโนมนาวผูปกครองใหสนใจ สงเสริม และกระตุนใหเด็ก ๆ ไปโรงเรียนเพิ่มความรู เขาถึง การศึกษา และยังชวยผูปกครองที่มีสวนชวยเด็กใหอานออกเขียนได ผานกระบวนการใหเงินโอนดานการศึกษาอยางมี เงื่อนไข Conditional Cash Transfer) เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ขอความสาคัญ: เนื้อหาและอุปกรณดิจิทัลยังไมถูกนามาใชเพื่อสงเสริมการศึกษาที่เทาเทียม ทการศึกษาและทักษะพื้นฐานสาหรับนักเรียนและเยาวชนมีความสาคัญอยางมากในโลกที่กาลังเปลี่ยนแปลงไปและเปน เครื่องมือใหไดรับการยอมรับเปนสมาชิกในสังคม แรงผลักดันการพัฒนาเศรษฐศาสตรมหภาคในระดับโลก (Mega trend) จะเปลี่ยนอนาคตและวิถีการทางานของเรา ซึ่งรวมถึง ความกาวหนาทางเทคโนโลยี การเปลี่ยนแปลงทาง ประชากร รวมถึงการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และโลกาภิวัตน โควิด-19 เปนตัวเรงทาใหสถานการณเลวรายยิ่งขึ้น สาหรับนักเรียนที่จะเรียนรูและประสบความสาเร็จเพราะนักเรียนจานวนมากยังเผชิญกับความจาเปนในการเขาถึง เนื้อหาและอุปกรณดิจิทัล อยางไรก็ตามเราไดยินจากการอภิปรายตลอดสองวันวาแมในประเทศที่มีเทคโนโลยีขั้นสูง เชน เกาหลีใตและจีน เนื้อหาและอุปกรณดิจิทัลก็ยังไมไดถูกนามาใชอยางเต็มที่เพื่อสงเสริมการศึกษาที่เสมอภาค ทในขณะที่รัฐบาลและองคกรเพื่อการพัฒนาหลายแหงกาลังแสดงความกังวลเกี่ยวกับการปดโรงเรียนซึ่งอาจทาใหเกิดการ สูญเสียในการเรียนรู การเขาถึงการเรียนรูออนไลนจึงเปนวิธีหนึ่งที่จะชวยบรรเทาผลกระทบนี้ ดังนั้นจึงมีโครงการที่ สามารถสรางแรงบันดาลใจและเปนประโยชนกับเด็กหมูมากทั่วโลก เชน โครงการ Learning Unlimited และ Learning Passport ของยูนิเซฟ และแพลตฟอรมการเรียนรูออนไลนและออฟไลนของอินเดีย โดยโครงการเหลานี้ได ถูกสรางสรรคขึ้นเพื่อชวยในการสงมอบการเรียนรูที่ไมเพียงแตสาหรับนักเรียนเทานั้น แตในฟลิปปนส TPD@Scale ใช เทคโนโลยีดิจิตอลเพื่ออบรมครูอีกดวย ประเทศตาง ๆ ติดตามความกาวหนานักเรียนในการเรียนรูดวยเครื่องมือดิจิตัล อยางไรก็ตามการประยุกตใชเทคโนโลยีขั้นสูงใหผลลัพธที่ดีที่สุดสาหรับเด็กจากภูมิหลังทางเศรษฐกิจที่ดีเทานั้นและมี ชองวางอยางมากกับเด็กที่มีฐานะยากจน ทในอินเดียซึ่งมีโรงเรียน 1.5 ลานแหง มหาวิทยาลัยกวา 900 แหง นักเรียนมากขึ้น 330 ลานคน และครู 10 ลานคน ดังนั้นในวิกฤตโควิด 19 เทคโนโลยีจึงทาใหสามารถจัดการศึกษาในระดับประเทศและทองถิ่น โดยภาครัฐไดพัฒนาและ เผยแพรแผนการเรียนสาหรับนักเรียนชั้นประถมและมัธยมบนเว็บไซตเพื่อเปนแนวทางสาหรับครูที่จะนาอุปกรณ เครื่องมือเทคโนโลยี โซเชียลมีเดียที่มีอยูไปใชในการศึกษาใหมีความสนุกและนาสนใจมากยิ่งขึ้นสาหรับเด็ก โดยแผนการ เรียนนี้สามารถใหทั้งนักเรียน ผูปกครอง และครู นาไปใชได ขณะเดียวกันก็มีการเผยแพรแผนดังกลาวผานสื่ออื่นๆ เชน วิทยุ และระบบเสียง IVRS เพื่อใหจัดการศึกษาไดอยางตอเนื่องแมวาจะอยูในพื้นที่หางไกลและไมมีสัญญาณอินเตอรเน็ท นอกจากนี้รัฐยังไดเปดตัวแอปพลิเคชั่นทางการศึกษากวา 400 แอป ซึ่งพัฒนาโดยหนวยงานภาครัฐ และจัดใหมีโทรทัศน กวา 32 ชอง เพื่อใหบริการการศึกษา โดยจัดชองโทรทัศน 1 ชอง สาหรับแตละชั้นเรียนดวย
  • 14. 14 ทในทางกลับกันเด็กจากคนชายขอบสวนใหญเปนคนที่พบความยากลาบากในการเขาถึงเนื้อหาดิจิทัลมากที่สุดเนื่องจากไม มีอุปกรณไฟฟา การเชื่อมตออินเตอรเนท ทักษะความเขาใจและใชเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีจากัด ความจาเปนที่ตองอบรม พอแมเปนผูชวยสอน เหลานี้เปนกาแพงที่กั้นเด็กเหลานี้จากการอานออกเขียนได เด็กเหลานี้จาเปนตองมีวิธีการเรียนรู ทางเลือกซึ่งตองการการเขาถึงเทคโนโลยีที่ต่ากวา เชน วิทยุ โทรทัศน และการใชสื่อเสริมกับการปฏิสัมพันธของมนุษย เพื่อใหแนใจวาเด็กสามารถใชเทคโนโลยีในการเรียนรูอยางไดผล ทโครงการ A-Med ของประเทศไทยเปนหนึ่งในตัวอยางที่ทาใหเด็กพิการเขาถึงการเขาถึงเนื้อหาดิจิทัล