SlideShare a Scribd company logo
1 of 61
Download to read offline
สถาบันอุดมศึกษากับการพัฒนาอย่างยั่งยืน
Sustainable University
รศ.นพ.สรนิต ศิลธรรม
รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา
14 สิงหาคม 2558
Agenda
• ข้อมูลมหาวิทยาลัย, ความหมาย
• การพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน
• Sustainable University
• มหาวิทยาลัยที่ยั่งยืน
2
5
เป้าหมายทางเศรษฐกิจของการปฏิรูป วทน.:
นาประเทศไทยออกจากกลุ่มประเทศรายได้ปานกลาง
ไปสู่ประเทศรายได้สูงภายในปี 2026
0
5,000
10,000
15,000
20,000
25,000
1970 1975 1980 1985 1990 1995 2000 2005 2010
จีดีพี ต่อประชากร (US$)
กลุ่มประเทศรายได้สูงต้องมี
รายได้ประชากรต่อคนต่อปี
ประเทศเกาหลีใต้ใช้เวลา 14 ปี
ในการไต่ระดับรายได้จาก
$5,000 - $13,0006 ปี
2026
$13,000
5
รายได้เฉลี่ย
34,000
บาท/หัว/เดือน
กลุ่มประเทศรายได้สูง ประชาชนต้องมีรายได้เฉลี่ย 12,476 $ ต่อปี
ยุคสังคมสีเขียว
(Low-Carbon)
ยุคพลังงาน
จากฟอสซิล
(Fossil-Based)
เศรษฐกิจฐานทรัพยากร
(Resource-Intensive Economy)
ขับเคลื่อนด้วย
นวัตกรรม
(Innovation-Driven)
ขับเคลื่อนด้วย
ประสิทธิภาพ
(Efficiency-Driven)
ขับเคลื่อนด้วย
ปัจจัยการผลิต
(Factor-Driven)
เศรษฐกิจฐานอุตสาหกรรม
(Industrial Economy)
เศรษฐกิจฐานนวัตกรรม
(Innovation Economy)
Productive Growth มูลค่าเพิ่มสูง
Green Growth สิ่งแวดล้อมยั่งยืน
Inclusive Growth แบ่งปันทั่วถึง
New Growth Engine ชุดใหม่
ทิศทางการเปลี่ยนผ่านประเทศไทย
6
ส. อุดมศึกษาในกากับ (19)
คณะกรรมการการอุดมศึกษา (กกอ.)
ม.เอกชน (75)
- มหาวิทยาลัย (43)
- สถาบัน (12)
- วิทยาลัย (20)
สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
ม.รัฐ (61)
- ม.รัฐเดิม (12)
- ม.ราชภัฏ (39)
- ม.เทคโนโลยีราชมงคล (9)
- ส.ปทุมวัน (1)
7
ส.วิทยาลัยชุมชน (20)
โครงสร้างการบริหารระบบอุดมศึกษา
จานวนนักศึกษา ปีการศึกษา 2557 จาแนกตามระดับการศึกษา
สถาบันอุดมศึกษาในสังกัด ป.ตรี ป.โท ป.เอก อื่นๆ รวม
มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ 244,018 37,823 9,956 3,402 295,199
มหาวิทยาลัยในสังกัดของรัฐ
-มหาวิทยาลัยของรัฐเดิมจากัดรับ
-มหาวิทยาลัยของรัฐเดิมไม่จากัดรับ
-มหาวิทยาลัยราชภัฎ
-มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
-สถาบันวิทยาลัยชุมชน
1,283,514
(284,914)
(353,871)
(507,976)
(136,753)
-
111,361
(44,761)
(53,151)
(11,119)
(2,330)
-
12,870
(9,493)
(1,666)
(1,502)
(209)
-
28,499
(4,252)
(227)
(2,176)
(8,488)
(13,356)
1,436,244
(343,420)
(408,915)
(522,773)
(147,780)
(13,356)
มหาวิทยาลัยเอกชน 251,884 34,711 2,513 3,583 292,691
รวม 1,779,416 183,895 25,339 35,484 2,024,134
ที่มา : สารสนเทศอุดมศึกษา กลุ่มสารนิเทศ สกอ.
9
เปรียบเทียบภาพรวมงบประมาณรายจ่ายของประเทศ
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 และ 2559
0
500,000
1,000,000
1,500,000
2,000,000
2,500,000
3,000,000
งบประมาณ (ล้านบาท)
ปี 2558 ปี 2559
งบประมาณ ปี 2558 รวมทั้งสิ้น 2,275,000 ล้านบาท
งบประมาณ ปี 2559 รวมทั้งสิ้น 2,720,000 ล้านบาท
เพิ่มขึ้นจากปี 2558 จานวน 145,000 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 5.63
งบประมาณรายจ่ายของประเทศประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 จาแนกตามกระทรวง
10
กระทรวงพลังงาน 2,045.4 ลบ. (0.08%)
หน่วยงานของรัฐสภา 4,915.4 ลบ. (0.18%)
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
5,253.0 ลบ. (0.19%)
สภากาชาดไทย 5,554.1 ลบ. (0.20%)
กระทรวงอุตสาหกรรม 6,133.9 ลบ. (0.23%)
กระทรวงพาณิชย์ 7,403.7 ลบ. (0.27%)
กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
7,622.4 ลบ. (0.28%)
กระทรวงวัฒนธรรม 7,960.9 ลบ. (0.29%)
กระทรวงการต่างประเทศ 8,040.7 ลบ. (0.30%)
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 9,981.7 ลบ.
(0.37%)
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
10,379.7 ลบ. (0.38%)
รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง 13,536.1 ลบ. (0.50%)
หน่วยงานอิสระของรัฐ 14,271.8 ลบ. (0.52%)
หน่วยงานของศาล 20,872.9 ลบ. (0.77%)
กระทรวงยุติธรรม 23,665.3 ลบ. (0.87%)
จังหวัดและกลุ่มจังหวัด 25,199.7 ลบ. (0.93%)
กระทรวงแรงงาน 33,898.5 ลบ. (1.25%)
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
36,420.7 ลบ. (1.34%)
สานักนายกรัฐมนตรี 36,761.8 ลบ. (1.35%)
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 88,958.2 ลบ. (3.27%)
ส่วนราชการไม่สังกัดสานักนายกรัฐมนตรี
กระทรวงหรือทบวง 120,675.7 ลบ. (4.44%)
กระทรวงสาธารณสุข 125,146.0 (4.60%)
กระทรวงคมนาคม 138,886.1 ลบ. (5.11%)
รัฐวิสาหกิจ 144,914.6 ลบ. (5.33%)
กองทุนและเงินทุนหมุนเวียน 148,475.1 ลบ.
(5.46%)กระทรวงมหาดไทย 343,707.3 ลบ. (12.64%)
งบกลาง 402,139.4 (14.78%)
กระทรวงศึกษาธิการ 520,132.2 (19.12%)
งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 ของกระทรวงศึกษาธิการ
11
งบประมาณของกระทรวงศึกษาธิการรวมทั้งสิ้น 520,132.2 ล้านบาท
สกศ.
241.1 ล้านบาท
(0.05%)
สอศ.
22,423.5 ล้านบาท
(4.31%)
หน่วยงานในกากับและ
หน่วยงานอื่นๆ ใน ศธ.
3,524.8 ล้านบาท
(0.68%)
สป.ศธ.
53,854.1 ล้านบาท
(10.35%)
สกอ. และ
สถาบันอุดมศึกษา
ในสังกัด
119,789.1 ล้านบาท
(23.03%)
สพฐ.
320,299.5 ล้านบาท
(61.6%)
หมายเหตุ* สป.ศธ. หมายถึง สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
สกศ. หมายถึง สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
สพฐ. หมายถึง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สอศ. หมายถึง สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
ระบบอุดมศึกษาไทย
นักศึกษาในระบบ 2 ล้านคน (3% ของประชากร 63 ล้านคน)
งบประมาณต่อปี 120,000 ล้านบาท
งานของอุดมศึกษามีผลมากกว่านักศึกษาในระบบ
97% ของประชากรเฝ้าดูอยู่
12
พ.ศ. 2555 ยุทธศาตร์การศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
(สภาการศึกษา)
1. การปรับตัวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ประชาคมโลก
2. การพัฒนาสถานศึกษาและองค์ความรู้
3. การพัฒนาเทคโนโลยีและเครื่องมืออุปกรณ์
4. การพัฒนาครูทั้งระบบ
5. การพัฒนาศักยภาพผู้เรียน
6. การวิจัยและถ่ายทอดองค์ความรู้
7. การเพิ่มโอกาสทางการศึกษา
8. การส่งเสริมการมีงานทา
9. การบริหารจัดการกลยุทธ์ของกระทรวงศึกษา
13
Brundtland Commission of the United Nations on March 20, 1987
“sustainable development is development that meets
the needs of the present without compromising the
ability of future generations to meet their own needs.”
Rio dejanero, 1992
การพิจารณาทางด้านสิ่งแวดล้อม สังคม เศรษฐกิจ ต้อง
พิจารณาควบคู่กันไปกับประเด็นความยากจน เสมอภาค
คุณภาพชีวิต และการปกป้องสิ่งแวดล้อมโลก
15
Johannesburg 2002
การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม ต้องทากันทั้ง
ในระดับท้องถิ่น ชาติ ภูมิภาค และระดับโลก
ต้องเข้าใจความซับซ้อนและความสัมพันธ์ระหว่างกัน
16
Three pillars of sustainability
Education for Sustainability Development (ESD)
Education for Sustainability Development (ESD). Retrieved
October 5, 2007. www.unescobkk.org
ดร.สุริยา เหมตะศิลป คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ
18
Education for Sustainable Development (ESD) วิธีคิด
การมีวิสัยทัศน์ (envisioning) ความสามารถในการ
จินตนาการถึงอนาคตที่ดีกว่า
การคิดเชิงวิจารณญาณและการคิดใคร่ครวญ (critical
thinking and reflection) เรียนรู้การตั้งคาถาม การ
วิเคราะห์
การคิดอย่างเป็นระบบ (systemic thinking)
การสร้างคู่พันธมิตรหรือหุ้นส่วน (building partnership)
การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ เสริมพลังอานาจประชาชน
(participation)
19
Stakeholder of ESD
รัฐบาล และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
สื่อมวลชน
สังคม องค์กรภาคประชาชน
ภาคเอกขน
สถาบันการศึกษา
20
Education for Sustainability Develpoement (ESD)
การศึกษาทุกระดับสามารถปรับแต่งโลกในอนาคต สร้าง
ความพร้อมให้ประชาชนและสังคม
การศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน เป็นการจัดการศึกษาที่
จะสร้างสมดุลระหว่างสุขภาวะของมนุษย์ เศรษฐกิจ
ประเพณี วัฒนธรรม และเคารพต่อทรัพยากรธรรมชาติ
ของโลก
มุ่งเสริมพลังอานาจประชาชนให้มีความรับผิดชอบและ
พอใจที่จะสร้างสรรค์อนาคตที่ยั่งยืน
21
วิธีการ Education for Sustainability Develpoement (ESD)
ปรับปรุงการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้รู้หนังสือ
ทบทวนการศึกษาทุกระดับ ใส่หลักการ ค่านิยมที่สัมพันธ์
กับความยั่งยืน
พัฒนาความเข้าใจสาธารณะ ดึงประสบการณ์วัฒนธรรม
ท้องถิ่น มาใช้ประโยชน์
ทางานสัมพันธ์กับภาคเอกชน สื่อสารมวลชน
ใช้การเรียนรู้ข้ามศาสตร์หรือสาขาวิชามาใช้
(transdisclinary approach)
22
วิธีการ Education for Sustainability Develpoement (ESD)
การเรียนรู้แบบองค์รวม ทางานประสานศาสตร์ต่างๆ
เข้าด้วยกัน
พัฒนาทักษะ การคิดเชิงวิจารณญาณ การสื่อสาร การ
จัดการความขัดแย้ง การวางแผน การใช้เทคโนโลยี ICT
การมีส่วนร่วม การประเมินและการปรับปรุง
การเรียนรู้ตลอดชีวิต สร้างพลังให้ประชาชนทุกอายุ
23
UNESCO recommendation for ESD
เสนอการจัดการเรียนรู้เพื่อให้เกิด ESD
•Interdisciplinary, holistic ฝังในหลักสูตรทั้งหมด
•Values-driven ขับเคลื่อนให้เกิดค่านิยม
•Critical thinking and problem solving
•Multi-method ใช้วิธีการหลายอย่าง
•Participation decision-making ร่วมกันตัดสินใจ
•Applicabilty ใช้ประสบการณ์และสถานการณ์ประจาวัน
•Local relevance สอดคล้องกับท้องถิ่น
24
การจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์ (2553) กรุงเทพ: คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย, 233 หน้า
25
Sustainable development
Sustainable development consists of balancing
local and global efforts to meet basic human
needs without destroying or degrading the
natural environment.
26
The Earth Charter
“a sustainable global society founded on
respect for nature, universal human rights,
economic justice, and a culture of peace.”
The Earth Charter is an international declaration of fundamental values and principles
considered useful by its supporters for building a just, sustainable, and peaceful global
society in the 21st century. Created by a global consultation process, and endorsed by
organizations representing millions of people, the Charter "seeks to inspire in all peoples a
sense of global interdependence and shared responsibility for the well-being of the human
family, the greater community of life, and future generations
27
Sustainability
 sustainability implies responsible and
proactive decision-making and innovation that
minimizes negative impact and maintains
balance between ecological resilience,
economic prosperity, political justice and
cultural vibrancy to ensure a desirable planet
for all species now and in the future
Liam Magee, Andy Scerri, Paul James, James A. Thom, Lin Padgham, Sarah Hickmott, Hepu Deng, Felicity
Cahill (2013). "Reframing social sustainability reporting: Towards an engaged approach". Environment,
Development and Sustainability 15 (1): pp. 225–43.
28
Boston University
29
Harvard University
30
Harvard University
31
Harvard University
32
เล่มนี้ควร download ไว้ ฟรี
Harvard University (Road map)
33
Harvard University
34
35
Tufts University
36
37
38
University of Melbourne
39
University of Melbourne
40
University of Copenhagen
41
42
University of Marryland
43
University of California at Berkeley
44
University of California at Berkeley
45
46
47
University of Cambridge
48
มหาวิทยาลัยไทย มีไหม ?
49
50
Mahidol University 2014
ตัวชี้วัด หน่วยนับ
7.1 อัตราการใช้ไฟฟ้าลดลง ร้อยละ
7.2 อัตราการใช้น้าลดลง ร้อยละ
7.3 อัตราการใช้น้ามันลดลง ร้อยละ
7.4 อัตราการใช้กระดาษในสานักงานลดลง ร้อยละ
51
ยุทธศาสตร์ที่ 7 Harmony in Diversity ความกลมกลืนในความหลากหลาย
ข้อเสนอแนะ : ตัวชี้วัดคงเดิม
เพิ่มเติมเรื่อง low carbon footprint
52
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ธนบุรี
53
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ธนบุรี
54
Sustainable University Content
• Vision
• President commitment
• Infrastructure
• New building
• Education and Research
• Energy reduction
• Renewable Energy
55
• Climate change
• Low carbon
• Water saving
• Waste management
• Health and well-being
• Transportation
ในแต่ละมหาวิทยาลัย มีหัวข้อ content ดังนี้
Content
Theory
Action plan
News and Event
Goal or KPI
Book, คู่มือปฏิบัติ
56
ในแต่ละมหาวิทยาลัย มีหัวข้อ content ดังนี้
Sustainability กับระบบอุดมศึกษาไทย
บทบาทของ สกอ.
 บรรจุในแผนอุดมศึกษาระยะที่ 3
 ผู้สนับสนุน
 ดาเนินงานในหน่วยงานด้วย
บทบาทของมหาวิทยาลัยในไทย
 องค์ความรู้
 นาไปเป็นนโยบาย และปฏิบัติ
 ทางานในรูปเครือข่าย
57
มหาวิทยาลัยที่ยั่งยืน
Environment
Society
Economy
Good Governance ธรรมาภิบาลด้านการบริหาร
Human Resource
58
มหาวิทยาลัยที่ยั่งยืน
59
Good Governance ธรรมาภิบาลด้านการบริหาร
 ทีมบริหารที่เชื่อมโยงกัน 3 ยุคสมัย (past, present, president-elected)
 ช่วยเหลือหน่วยงานอื่น
 ความสัมพันธ์ที่ดีกับองค์กรภายนอก
 รัฐบาล
 ภาคเอกชน
 ภาครัฐ
 ทางานแบบเครือข่าย
มหาวิทยาลัยที่ยั่งยืน
60
Human Resource
 Recruitment โดย Top management
 ส่งบุคลากรไปหาประสบการณ์ภายนอก แล้วกลับมาพัฒนา
61

More Related Content

Similar to Sustainable University - Soranit

กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยงกลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยงfreelance
 
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุขอาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุขChuchai Sornchumni
 
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงDaungthip Pansomboon
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมjirapom
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงKowin Butdawong
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงKowin Butdawong
 
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
ทิศทางของศธ.ที่ผู้บริหารโรงเรียนควรทราบ
ทิศทางของศธ.ที่ผู้บริหารโรงเรียนควรทราบทิศทางของศธ.ที่ผู้บริหารโรงเรียนควรทราบ
ทิศทางของศธ.ที่ผู้บริหารโรงเรียนควรทราบChalermpon Dondee
 
Prและสังคม5
Prและสังคม5Prและสังคม5
Prและสังคม5Vivace Narasuwan
 
เงินกู้ 2 ล้านล้าน เป็นอย่างไร
เงินกู้ 2 ล้านล้าน เป็นอย่างไรเงินกู้ 2 ล้านล้าน เป็นอย่างไร
เงินกู้ 2 ล้านล้าน เป็นอย่างไรRHB Banking Group
 
ทิศทางการพัฒนาระบบทศวรรษหน้า
ทิศทางการพัฒนาระบบทศวรรษหน้าทิศทางการพัฒนาระบบทศวรรษหน้า
ทิศทางการพัฒนาระบบทศวรรษหน้าChuchai Sornchumni
 
พรบ. 2 ล้านล้านบาท ดร.นิตินัย ศิริสมรรถการ
พรบ. 2 ล้านล้านบาท ดร.นิตินัย ศิริสมรรถการพรบ. 2 ล้านล้านบาท ดร.นิตินัย ศิริสมรรถการ
พรบ. 2 ล้านล้านบาท ดร.นิตินัย ศิริสมรรถการIsriya Paireepairit
 

Similar to Sustainable University - Soranit (20)

5
55
5
 
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยงกลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
 
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุขอาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
 
183356
183356183356
183356
 
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
Asia2030 mam
Asia2030 mamAsia2030 mam
Asia2030 mam
 
ดัชนีชี้วัดความก้าวหน้าแห่งชาติ
ดัชนีชี้วัดความก้าวหน้าแห่งชาติดัชนีชี้วัดความก้าวหน้าแห่งชาติ
ดัชนีชี้วัดความก้าวหน้าแห่งชาติ
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
 
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
 
ทิศทางของศธ.ที่ผู้บริหารโรงเรียนควรทราบ
ทิศทางของศธ.ที่ผู้บริหารโรงเรียนควรทราบทิศทางของศธ.ที่ผู้บริหารโรงเรียนควรทราบ
ทิศทางของศธ.ที่ผู้บริหารโรงเรียนควรทราบ
 
Prและสังคม5
Prและสังคม5Prและสังคม5
Prและสังคม5
 
เงินกู้ 2 ล้านล้าน เป็นอย่างไร
เงินกู้ 2 ล้านล้าน เป็นอย่างไรเงินกู้ 2 ล้านล้าน เป็นอย่างไร
เงินกู้ 2 ล้านล้าน เป็นอย่างไร
 
ทิศทางการพัฒนาระบบทศวรรษหน้า
ทิศทางการพัฒนาระบบทศวรรษหน้าทิศทางการพัฒนาระบบทศวรรษหน้า
ทิศทางการพัฒนาระบบทศวรรษหน้า
 
The Art of Strategy
The Art of StrategyThe Art of Strategy
The Art of Strategy
 
พรบ. 2 ล้านล้านบาท ดร.นิตินัย ศิริสมรรถการ
พรบ. 2 ล้านล้านบาท ดร.นิตินัย ศิริสมรรถการพรบ. 2 ล้านล้านบาท ดร.นิตินัย ศิริสมรรถการ
พรบ. 2 ล้านล้านบาท ดร.นิตินัย ศิริสมรรถการ
 
Development
DevelopmentDevelopment
Development
 
1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)
 

Sustainable University - Soranit