SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2559
ชื่อโครงงาน ไข้เลือดออก ภัยร้ายที่ใกล้ตัว
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นางสาวปาลิดา รักราษฎร์ ชั้นม.6/11 เลขที่ 22
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2559
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ไข้เลือดออก ภัยร้ายที่ใกล้ตัว
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Dengue fever,Terrorist threats around the us.
ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1. นางสาวปาลิดา รักราษฎร์ ชั้นม.6/11 เลขที่ 22
ชื่อที่ปรึกษา คุณครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน 1 สัปดาห์ ( 7-14 กุมภาพันธ์ 2560 )
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ขึ้นชื่อว่าโรคแล้ว คงไม่อยากมีใครให้เกิดขึ้นกับตัว แต่เมื่อเกิดขึ้นแล้วก็เป็นสิ่งที่ไม่อาจ
หลีกเลี่ยงได้ แต่คงจะดีกว่าถ้าหากเรารู้เท่าทันโรคภัยไข้เจ็บที่มาเยือนเราเงียบๆโดยที่ไม่มีสัญญาณ
บอกกล่าว โดยเฉพาะในปี 2558 ที่มาผ่านมานั้นได้เกิดการระบาดของโรคติดเชื้อชนิดหนึ่ง ที่มี
พาหะมาจากยุงลายและโรคระบาดนั้นมีชื่อว่า ‘ไข้เด็งกี’ หรือที่คนไทยนิยมเรียกกันว่า
‘ไข้เลือดออก’ ในปี 2558 นั้น ประเทศไทยมีผู้ป่วยด้วยไข้เลือดออกทั่วประเทศจานวนถึง
102,762 คนและเสียชีวิตแล้ว 102 คนและมีแนวโน้มว่าจะสูงขึ้นเรื่อยๆ โดยมีสาเหตุหลาย
ประการทั้งที่เป็นสาเหตุโดยธรรมชาติและมีสาเหตุมาจากการกระทาของมนุษย์ ไม่ว่าจะเป็นการที่
ฝนตกและมีน้าขังบริเวณใกล้ๆบ้าน การที่ไม่มีวินัยในการตรวจบริเวณพื้นที่บ้านที่มีน้าขัง ซึ่งเป็น
สาเหตุสาคัญในการเกิดยุงลาย รวมไปถึงการที่ประชาชนบางส่วนไม่มีความรู้ ความเข้าใจในการ
ป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออกที่สามารถเกิดได้โดยง่ายในบริเวณบ้าน ด้วยเหตุนี้ทาให้ขณะ
ผู้จัดทาได้เล็งเห็นถึงความสาคัญในการศึกษาและให้ความรู้ในเรื่องของโรคไข้เลือดออก จึงได้จัดทา
สมาชิกในกลุ่ม 2 คน
1. นางสาวปาลิดา รักราษฎร์ เลขที่ 22 ชั้นม.6/11
โครงงานเรื่อง ‘ไข้เลือกออก ภัยร้ายที่ใกล้ตัว’ ขึ้น โดยที่ภายในโครงงานนั้นจะมีข้อมูลเนื้อหา
เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกให้ศึกษา ไม่ว่าจะเป็นที่มา สาเหตุการเกิดโรค ลักษณะอาการของโรค วิธี
ป้องกันรักษา เพื่อให้ผู้ที่ศึกษาหรือผู้ที่มีความสนใจในเรื่องไข้เลือดออกนั้นสามารถนาความรู้ไป
ประยุกต์กับการใช้ชีวิตประจาวันและรู้เท่าทันของโรคไข้เลือดออกอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น
วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคไข้เลือดออกมากขึ้น
2. เพื่อให้สามารถนาไปประยุกต์ใช้เพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออกได้
3. เพื่อให้ผู้ที่มีความสนใจสามารถนาความรู้ต่างๆไปเผยแพร่แก่ผู้อื่นได้
ขอบเขตของโครงงาน
- ที่มา สาเหตุของการเกิดโรคไข้เลือดออก
- กลไกของการเกิดโรคไข้เลือดออก
- ลักษณะอาการของโรคไข้เลือดออก
- การวินิจฉัยโรคไข้เลือดออก
- การรักษาโรคไข้เลือดออก
- วิธีป้องกันโรคไข้เลือดออก
- วิทยาการระบาดของโรคไข้เลือดออก
- ประวัติศาสตร์ของโรคไข้เลือดออก
- การวิจัยโรคไข้เลือดออก
หลักการและทฤษฏี
ไข้เด็งกี หรือในประเทศไทยนิยมเรียกว่า ไข้เลือดออก เป็นโรคติดเชื้อซึ่งระบาดในเขตร้อน
เกิดจากการติดเชื้อไวรัสเด็งกี ผู้ป่วยจะมีอาการไข้ ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อ ปวดข้อ และมีผื่น
ลักษณะเฉพาะซึ่งคล้ายกับผื่นของโรคหัด ผู้ป่วยส่วนหนึ่งจะมีอาการรุนแรง จนกลายเป็น
ไข้เลือดออกเด็งกี (Dengue hemorrhagic fever) ที่เป็นอันตรายถึงชีวิต ซึ่งทาให้มีเลือดออกง่าย
มีเกล็ดเลือดต่า และมีการรั่วของพลาสมา หรือรุนแรงมากขึ้นเป็นกลุ่มอาการไข้เลือดออกช็อก
(Dengue shock syndrome) ซึ่งมีความดันโลหิตต่าอย่างเป็นอันตรายได้
ไข้เลือดออกติดต่อผ่านทางพาหะคือยุงหลายสปีชีส์ในจีนัส Aedes โดยเฉพาะ A. aegypti หรือ
ยุงลายบ้าน ไวรัสเด็งกีมีชนิดย่อยอยู่สี่ชนิด การติดเชื้อไวรัสชนิดหนึ่งมักทาให้ผู้ป่วยมีภูมิคุ้มกันต่อ
ไวรัสชนิดนั้น ๆ ไปตลอดชีวิต แต่มีภูมิคุ้มกันต่อไวรัสเด็งกีชนิดอื่น ๆ ในเวลาสั้น ๆ การติดเชื้อ
ไวรัสเด็งกีชนิดอื่นในภายหลังเพิ่มความเสี่ยงของภาวะแทรกซ้อนรุนแรง การป้องกันโรคทาโดยลด
จานวนแหล่งเพาะพันธุ์และจานวนของยุง และป้องกันมิให้ยุงลายกัด เพราะยังไม่มีวัคซีนในทาง
พาณิชย์
ยังไม่มีวิธีจาเพาะในการรักษาไข้เลือดออก การรักษาหลัก ๆ เป็นการรักษาประคับประคอง
สาหรับผู้ป่วยที่อาการไม่รุนแรงรักษาโดยการคืนน้า อาจใช้การกินทางปากหรือการให้ทางหลอด
เลือดดา และสาหรับผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรงรักษาโดยให้สารน้าหรือเลือดหรือองค์ประกอบของ
เลือดทางหลอดเลือดดา อุบัติการณ์ของไข้เลือดออกเพิ่มขึ้นมากตั้งแต่คริสต์ทศวรรษ 1960 โดยมี
ผู้ป่วยติดเชื้อ 50-100 ล้านคนต่อปี โรคนี้มีการอธิบายเอาไว้ครั้งแรกตั้งแต่ ค.ศ. 1779 ส่วนไวรัสที่
เป็นสาเหตุและกลไกการติดต่อนั้นค้นพบเมื่อช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 หลังสงครามโลกครั้งที่
สองเป็นต้นมา ไข้เลือดออกได้กลายเป็นปัญหาที่สาคัญอย่างหนึ่งทั่วโลก มีประเทศที่เป็นพื้นที่
ระบาดมากกว่า 110 ประเทศ ปัจจุบันนอกจากความพยายามลดจานวนยุงแล้วยังมีความพยายาม
พัฒนาวัคซีนและยาที่ออกฤทธิ์โดยตรงกับไวรัสด้วย
อาการและอาการแสดง
ผู้ติดเชื้อไวรัสเด็งกีส่วนใหญ่ไม่มีอาการ (80%) หรือมีอาการเพียงเล็กน้อย เช่น เป็นไข้
และไม่มีภาวะแทรกซ้อนใด ๆ อีกส่วนหนึ่งมีอาการรุนแรงกว่า (5%) และเพียงส่วนน้อยเท่านั้นที่
อาการรุนแรงมากจนเสี่ยงต่อการเสียชีวิต ระยะฟักตัวของโรคอยู่ที่ 3-14 วัน แต่ส่วนใหญ่ประมาณ
4-7 วัน ดังนั้นสาหรับคนที่ไม่ได้อาศัยอยู่ในพื้นที่ระบาด แต่เดินทางกลับมาจากพื้นที่ระบาด และ
เมื่อเดินทางกลับแล้ว มีไข้ตั้งแต่หลังวันที่ 14 มีโอกาสน้อยมากที่จะเป็นไข้เลือดออกเด็งกีผู้ป่วยเด็ก
ส่วนใหญ่มีอาการไม่ต่างจากหวัดหรือกระเพาะอาหารกับลาไส้อักเสบ (ท้องร่วงและอาเจียน) แต่มี
โอกาสป่วยหนักได้มากกว่าผู้ใหญ่ แม้อาการระยะแรกจะค่อนข้างไม่รุนแรง แต่จะมีไข้สูงด้วย
การดาเนินโรค
อาการที่เป็นลักษณะเฉพาะของไข้เลือดออกคือมีไข้เฉียบพลัน ปวดศีรษะ (มักปวดหลัง
ดวงตา) ปวดกล้ามเนื้อ ปวดข้อ และผื่น อาการปวดข้อและปวดกล้ามเนื้อนี้เป็นที่มาของชื่ออีกชื่อ
หนึ่งของไข้เลือดออก คือ break-bone fever ("ไข้กระดูกแตก") การดาเนินโรคแบ่งเป็นสาม
ระยะ คือระยะไข้ ระยะวิกฤต และระยะฟื้น
ในระยะไข้ ผู้ป่วยจะมีไข้สูง มักสูงเกิน 40 องศาเซลเซียส มีอาการปวดตามตัวและปวด
ศีรษะ ระยะนี้มักกินเวลา 2-7 วัน อาจมีอาการคลื่นไส้ อาเจียนด้วย ผู้ป่วยระยะไข้ที่มีอาการ 50-
80% จะมีผื่นขึ้น ในวันแรกหรือวันที่สองของอาการป่วย ลักษณะเป็นปื้นแดง (erythema) หรือ
พบในวันที่ 4-7 ลักษณะเป็นผื่นคล้ายผื่นของโรคหัด อาจมีจุดเลือดออก (จุดเลือดออกนี้เกิดจาก
เส้นเลือดฝอยแตก และไม่ปรากฏเมื่อผิวหนังถูกกด) หรืออาจมีเลือดออกจากเยื่อบุปากและจมูกได้
เล็กน้อย ลักษณะเฉพาของอาการไข้ในไข้เลือดออก คือ ผู้ป่วยมีไข้ขึ้นสองรอบ โดยจะมีไข้ขึ้นครั้ง
หนึ่งก่อน จากนั้นไข้ลดลงไป และมีไข้ขึ้นอีก 1-2 วันให้หลัง แต่แบบแผนอาการไข้ของไข้เลือดออก
มีความแตกต่างกันมาก และยังไม่มีข้อสรุปชัดเจนว่าแบบแผนไข้เฉพาะเช่นนี้ปรากฏขึ้นบ่อย
เพียงใด
ผู้ป่วยบางคนมีอาการดาเนินไปถึงระยะวิกฤต คือช่วงที่ไข้ลง ระยะนี้มักกินเวลา 1-2 วันซึ่ง
ผู้ป่วยอาจมีสารน้าสะสมในช่องปอดและช่องท้องมากเนื่องจากสารน้ารั่วออกจากผนังหลอดเลือด
ฝอยที่อยู่ในภาวะที่มีสภาพให้ซึมผ่านได้สูงขึ้นอย่างมาก ทาให้มีสารน้าในระบบไหลเวียนน้อยลง
และมีการไหลของเลือดไปเลี้ยงอวัยวะสาคัญน้อยลง ระยะนี้อาจพบอวัยวะทาหน้าที่ผิดปกติ และมี
เลือดออกมาก โดยมักออกจากทางเดินอาหาร ภาวะช็อก (กลุ่มอาการช็อกจากไข้เลือดออก,
dengue shock syndrome) และการมีเลือดออก ("ไข้เลือดออกเด็งกี", dengue hemorrhagic
fever) นั้นพบในผู้ป่วยไข้เด็งกีไม่ถึง 5% อย่างไรก็ดีผู้ที่เคยติดเชื้อไวรัสเด็งกีชนิดอื่นมาก่อนแล้ว
(ติดเชื้อครั้งนี้เป็นครั้งที่สอง) จะมีความเสี่ยงสูงขึ้น ระยะวิกฤตนี้พบบ่อยในเด็กและวัยรุ่นมากกว่า
วัยอื่น แม้จะพบน้อย
ระยะต่อมาคือระยะฟื้น สารน้าที่รั่วออกจากหลอดเลือดจะไหลกลับคืนเข้ามา ระยะนี้กิน
เวลา 2-3 วัน ผู้ป่วยอาจรู้สึกดีขึ้นอย่างมาก อาจมีอาการคันมาก หรือหัวใจเต้นช้าได้ ในระยะนี้
ผู้ป่วยอาจมีสารน้าในร่างกายเกิน ซึ่งหากเสียสมดุลจนทาให้สมองบวม ก็อาจมีระดับการรู้สึกตัว
ลดลงหรือมีอาการชักได้ ผู้ป่วยผู้ใหญ่อาจรู้สึกล้าต่อไปอีกหลายสัปดาห์
ปัญหาที่พบร่วม
บางครั้งไข้เลือดออกอาจส่งผลต่อระบบอื่นของร่างกายได้ โดยอาจมีอาการของ
ไข้เลือดออกร่วมด้วยหรือไม่ก็ได้[6] 0.5-6% ของผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรง มีระดับความรู้สึกตัวลดลง
ซึ่งอาจเป็นผลโดยตรงจากการติดเชื้อไวรัสที่สมอง ทาให้เกิดสมองอักเสบ หรือเป็นผลโดยอ้อมจาก
การที่อวัยวะสาคัญทางานบกพร่อง เช่น ตับ
ความผิดปกติอื่นทางระบบประสาทที่มีการรายงานในผู้ป่วยไข้เลือดออก เช่น ไขสันหลัง
อักเสบตามขวาง และกลุ่มอาการกิลแลง-บาร์เร ความผิดปกติอื่นที่พบได้ แต่น้อย เช่น กล้ามเนื้อ
หัวใจอักเสบจากการติดเชื้อ และตับวายเฉียบพลัน เป็นต้น
สาเหตุ
โรคไข้เลือดออก เป็นโรคติดต่อที่เกิดจากยุงลาย (Aedes aegyti) ตัวเมีย บินไปกัดคนที่
ป่วยเป็นไข้เลือดออกโดยเฉพาะช่วงที่มีไข้สูง ทาให้ได้รับเชื้อไวรัสเด็งกี เชื้อจะเพิ่มจานวนในตัวยุง
ประมาณ 8-10 วัน เชื้อไวรัสแดงกี่จะไปที่ผนังกระเพาะและต่อมน้าลายของยุง เมื่อยุงกัดคนก็จะ
แพร่เชื้อสู่คน เชื้อจะอยู่ในร่างกายคนประมาณ 2-7 วันในช่วงที่มีไข้ หากยุงกัดคนในช่วงนี้ก็จะรับ
เชื้อไวรัสมาแพร่ให้กับคนอื่น ซึ่งส่วนใหญ่มักจะเป็นเด็ก โรคนี้ระบาดในฤดูฝน ยุงลายชอบออกหา
กินในเวลากลางวันตามบ้านเรือน และโรงเรียน ชอบวางไข่ในน้าสะอาดที่อยู่นิ่งๆ ตามภาชนะที่มี
น้าขัง เช่น ยางรถยนต์ กะลา กระป๋อง จานรองขาตู้กับข้าว แต่ไม่ชอบวางไข่ในท่อระบายน้า ห้วย
หนอง คลอง บึง ฯลฯ
การรักษา
ปัจจุบันยังไม่มียาต้านไวรัสจาเพาะต่อไข้เด็งกี สิ่งที่สาคัญที่สุดในการรักษาคือการรักษา
สมดุลสารน้าเอาไว้ การรักษาที่ให้จะขึ้นอยู่กับอาการ ซึ่งมีตั้งแต่การให้กินสารน้าร่วมกับการ
ติดตามใกล้ชิดโดยไม่ต้องรับไว้รักษาในโรงพยาบาล ไปจนถึงการเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
โดยมีการให้ของเหลวทางหลอดเลือดดา และ/หรือ การถ่ายเลือด ข้อพิจารณาในการรับเข้ารักษา
ในโรงพยาบาลโดยทั่วไปจะดูจากการมีอาการเตือนดังที่แสดงไว้ข้างต้น โดยเฉพาะผู้มีโรคประจาตัว
ผู้ป่วยมักมีความจาเป็นต้องได้รับสารน้าทางหลอดเลือดดาอยู่ไม่เกิน 1-2 วัน อัตราจะค่อย
ๆ ถูกปรับให้เหมาะสมเพื่อให้มีปัสสาวะออกประมาณ 0.5-1 มล./กก./ชั่วโมง สัญญาณชีพคงที่
และฮีมาโตคริตคงที่ งดเว้นหัตถการทางการแพทย์แบบล่วงล้า (invasive medical procedure)
(เช่น การใส่สายจมูกถึงกระเพาะอาหาร การฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อ และการเจาะเลือดจากหลอด
เลือดแดง) เว้นแต่จาเป็น ด้วยมีความเสี่ยงเลือดออก ใช้ยาพาราเซตามอล (อะเซตามิโนเฟน) เพื่อ
ลดไข้ แก้ปวด และหลีกเลี่ยงยาแก้อักเสบชนิดไม่ใช่สเตอรอยด์ เช่น ไอบูโปรเฟนและแอสไพริน
เพราะอาจเพิ่มความเสี่ยงการมีเลือดออกได้ ผู้ป่วยบางรายที่มีสัญญาณชีพไม่คงที่และฮีมาโตคริตล
ดลงเท่านั้นที่จะได้รับการให้เลือดหรือส่วนประกอบของเลือด โดยไม่ต้องเฝ้าดูระดับฮีมาโตคริตล
ดลงจนถึงเกณฑ์ที่กาหนดไว้ล่วงหน้า ในกรณีที่ต้องได้รับเลือดหรือส่วนประกอบของเลือดแนะนา
ให้ใช้เม็ดเลือดแดงเข้มข้น (เลือดที่ปั่นแยกส่วนประกอบของเลือดและคัดมาเฉพาะเม็ดเลือดแดง)
หรือเลือดเต็ม (เลือดที่ไม่ได้ปั่นแยกส่วนประกอบของเลือด) ส่วนใหญ่ไม่มีความจาเป็นในการให้
เกล็ดเลือดหรือพลาสมาสดแช่แข็ง
เมื่อถึงระยะฟื้นตัวแพทย์จะหยุดให้สารน้าทางหลอดเลือดดาเพื่อป้องกันภาวะสารน้าเกิน
ถ้าเกิดมีภาวะสารน้าเกินขึ้นโดยที่อาการและสัญญาณชีพอื่น ๆ ปกติ การหยุดสารน้าเพียงอย่าง
เดียวก็เพียงพอโดยไม่ต้องให้ยาขับสารน้าออก ทั้งนี้แพทย์อาจพิจารณาใช้ยาขับปัสสาวะ เช่น ฟูโร
ซีไมด์ เพื่อกาจัดของเหลวส่วนเกินออกได้ หากไม่ได้อยู่ในระยะวิกฤต
การป้องกัน
การป้องกันไข้เลือดออกเด็งกีทาได้โดยการกาจัดแหล่งน้านิ่ง ซึ่งเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย
ภาพถ่ายที่สหรัฐอเมริกาตอนใต้ เมื่อราว ค.ศ. 1920
ยังไม่มีวัคซีนที่ป้องกันไวรัสไข้เลือดออกเด็งกีอย่างได้ผล ดังนั้นการป้องกันโรคจึงต้องอาศัย
การควบคุมการแพร่พันธุ์ยุงลายและป้องกันไม่ให้ยุงลายกัด องค์การอนามัยโลกได้แนะนาโครงการ
ควบคุมพาหะแบบบูรณาการเอาไว้ โดยมีองค์ประกอบ 5 อย่าง ได้แก่ 1) ต้องมีการสนับสนุนจาก
ทุกภาคส่วนเพื่อให้ระบบบริการสุขภาพและชุมชนมีความเข้มแข็ง 2) มีความร่วมมือระหว่าง
องค์กรสุขภาพและภาคส่วนอื่น ๆ 3) ส่งเสริมให้มีการควบคุมโรคอย่างบูรณาการโดยใช้ทรัพยากร
ที่มีให้เกิดประโยชน์สูงสุด 4) มีการตัดสินใจโดยอิงหลักฐานเพื่อให้มีการออกมาตรการที่เหมาะสม
และ 5) มีการเตรียมพร้อมรับสถานการณ์การระบาดในแต่ละที่อยู่เสมอ
วิธีการในการควบคุมการแพร่ระบาดของยุงลายคือการกาจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ทา
โดยป้องกันไม่ให้มีน้าขังในภาชนะ เช่น คว่าขัน กะละมัง ที่อยู่นอกบ้าน ไม่ให้มีน้าขัง ใส่สารฆ่า
แมลงหรือสารควบคุมการเจริญเติบโตของยุงลาย เช่น ทรายอะเบต ในพื้นที่ อย่างไรก็ดีเชื่อกันว่า
การพ่นยาฆ่าแมลงเป็นครั้ง ๆ ไปนั้นได้ผลไม่คุ้มค่า เมื่อพิจารณาว่าการใส่สารฆ่าแมลงลงในพื้นที่
นั้นมีผลเสียมากกว่าที่จะรับได้ และการให้สารควบคุมการเจริญเติบโตของยุงลายนั้นเป็นการยากที่
จะทาได้ทั่วถึง การลดปริมาณแหล่งน้าขังด้วยการควบคุมภาชนะนอกบ้านจึงเป็นวิธีที่เป็นที่นิยม
และได้รับการยอมรับมากที่สุด นอกจากนี้ยังอาจสามารถป้องกันไม่ให้ยุงลายกัดได้โดยใส่เสื้อผ้าที่
มิดชิด นอนกางมุ้ง หรือใช้สารขับไล่แมลง เป็นต้น โดยสารที่ได้ผลดีที่สุด คือ DEET
สาหรับในประเทศไทย ศูนย์ควบคุมโรคไข้เลือดออก กองควบคุมโรค สานักอนามัย
แนะนาแนวทางในการป้องกันโรคไข้เลือดออกโดยเน้นการกาจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ายุงลาย และ
การป้องกันไม่ให้ยุงลายกัด ซึ่งเป็นไปตามคาแนะนาขององค์การอนามัยโลก
วิธีดาเนินงาน
ในการจัดโครงงานเรื่อง ‘ไข้เลือดออก ภัยร้ายใกล้ตัว’ คณะผู้จัดทาโครงงานมีวิธีดาเนินการ
โครงงาน ตามขั้นตอนดังต่อไปนี้
1. เครื่องมือ อุปกรณ์หรือโปรแกรมที่ใช้ในการจัดทาโครงงาน
1) เครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมกับเชื่อมต่อเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเรียบร้อยแล้ว
2) เว็บไซต์ที่ให้บริการเว็บบล็อกคือ www.blogspot.com
3) เว็บไซต์ในการติดต่อสื่อสาร ได้แก่ www.facebook.com , www.google.com
4) โปรแกรมตัดต่อและตัดแต่งรูปภาพ คือ Adobe Photoshop CS6
5) ปากกาและกระดาษจดรายละเอียดของโครงงาน
2. ขั้นตอนการดาเนินงาน
1) กาหนดหัวข้อเรื่องในการทาโครงงานคอมพิวเตอร์
2) ศึกษา ค้นคว้าข้อมูลที่สนใจ คือเรื่องโรคไข้เลือดออก
3) ศึกษาการสร้างเว็บบล็อกที่สร้างจากเว็บไซต์ www.blogspot.com และเทคนิคที่
น่าสนใจในการตกแต่งให้บล็อกให้สวยงาม
4) เรียบเรียงข้อมูลให้เป็นไปตามลาดับ
5) จัดทาโครงงาน ‘ไข้เลือดออก ภัยร้ายใกล้ตัว’
6) ตรวจสอบความเรียบร้อยของโครงงาน
7) ปรับปรุงโครงงานในส่วนที่บกพร่อง
8) นาเสนอโครงงาน
งบประมาณ
งบประมาณ รวมทั้งสิ้น 400 บาท โดยแบ่งเป็น
- ทุนค่าใช้จ่าย 250 บาท
- ทุนสารอง 150 บาท
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับที่ ขั้นตอน
สัปดาห์ที่
ผู้รับผิดชอบ1 2 3 4 5 6 7 8 9 1
0
1
1
1
2
1
3
1
4
1
5
1
6
1
7
1 คิดหัวข้อโครงงาน ปาลิดา
2 ศึกษา ค้นคว้าข้อมูล ปาลิดา
3 จัดทาโครงร่างงาน ปาลิดา
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน ปาลิดา
5 ปรับปรุงทดสอบ ปาลิดา
6 การทาเอกสารรายงาน ปาลิดา
7 ประเมินผลงาน ปาลิดา
8 นาเสนอโครงงาน ปาลิดา
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. เกิดความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคไข้เลือดออกมากขึ้น
2. สามารถนาไปประยุกต์ใช้เพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออกได้
3. ผู้ที่มีความสนใจสามารถนาความรู้ต่างๆไปเผยแพร่แก่ผู้อื่นได้
สถานที่ดาเนินการ
1. โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
2. หอสมุดมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1. กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
2. กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
3. กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ
4. กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
แหล่งอ้างอิง
Gubler 1DJ (2010). "Dengue viruses". In Mahy BWJ, Van Regenmortel MHV.
WwwwwDeskEncyclopedia of Human and Medical Virology. Boston: Academic
wwwwwPress. pp. 372–82. ISBN 0-12-375147-0.
WHO w1(2009). Dengue Guidelines for Diagnosis, Treatment, Prevention and
wwwwwControl. Geneva: World Health Organization. ISBN 9241547871.
สานักงานควบคุมไข้เลือดออก กรมควบคุมโรคติดต่อ กระทรวงสาธารณสุข. 2544.
Wwwww“โรคไข้เลือดออก ฉบับประเกียรณก”. [ระบบออนไลน์].
wwwwwhttps://drive.google.com/drive/folders/0B8Zl4XfjQfmFUkFDSWl3NXZDU0U
wwwww( วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2560 )

More Related Content

Viewers also liked

Capturing the IOT Opportunity
Capturing the IOT OpportunityCapturing the IOT Opportunity
Capturing the IOT Opportunityliao yong
 
Leverage integration cloud_service_for_ebs_
Leverage integration cloud_service_for_ebs_Leverage integration cloud_service_for_ebs_
Leverage integration cloud_service_for_ebs_aioughydchapter
 
Aula 3 4 Passos simples para interpretar um texto bíblico
Aula 3   4 Passos simples para interpretar um texto bíblicoAula 3   4 Passos simples para interpretar um texto bíblico
Aula 3 4 Passos simples para interpretar um texto bíblicoIpabr Limesp
 
Haematuria prof mohamed sobh
Haematuria prof mohamed sobhHaematuria prof mohamed sobh
Haematuria prof mohamed sobhFarragBahbah
 

Viewers also liked (6)

Capturing the IOT Opportunity
Capturing the IOT OpportunityCapturing the IOT Opportunity
Capturing the IOT Opportunity
 
Valuaciones
ValuacionesValuaciones
Valuaciones
 
Leverage integration cloud_service_for_ebs_
Leverage integration cloud_service_for_ebs_Leverage integration cloud_service_for_ebs_
Leverage integration cloud_service_for_ebs_
 
Ley de inocuidad
Ley de inocuidadLey de inocuidad
Ley de inocuidad
 
Aula 3 4 Passos simples para interpretar um texto bíblico
Aula 3   4 Passos simples para interpretar um texto bíblicoAula 3   4 Passos simples para interpretar um texto bíblico
Aula 3 4 Passos simples para interpretar um texto bíblico
 
Haematuria prof mohamed sobh
Haematuria prof mohamed sobhHaematuria prof mohamed sobh
Haematuria prof mohamed sobh
 

Similar to โครงร่างโครงงานคอม

ใบงานที่ 5-โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5-โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 5-โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5-โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Aom Warintorn
 
2562 final-project 19-nuttapath
2562 final-project 19-nuttapath2562 final-project 19-nuttapath
2562 final-project 19-nuttapathnutKT
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5Ffim Radchasan
 
โครงาน
โครงานโครงาน
โครงานfluketo606
 
โครงาน
โครงานโครงาน
โครงานfluketo606
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5aye_supawan
 
โครงร่างมาย
โครงร่างมายโครงร่างมาย
โครงร่างมายeyecosmomo
 
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานKnooknickk Pinpukvan
 
2560การฝังเข็ม
2560การฝังเข็ม2560การฝังเข็ม
2560การฝังเข็มNichaphat Sanguthai
 
2562 final-projectpongpat40-190923163452
2562 final-projectpongpat40-1909231634522562 final-projectpongpat40-190923163452
2562 final-projectpongpat40-190923163452ssuserc41687
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Warunee Kruea-kaew
 

Similar to โครงร่างโครงงานคอม (20)

ใบงานที่ 5-โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5-โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 5-โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5-โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project -2 (1)
2562 final-project -2 (1)2562 final-project -2 (1)
2562 final-project -2 (1)
 
2562 final-project 19-nuttapath
2562 final-project 19-nuttapath2562 final-project 19-nuttapath
2562 final-project 19-nuttapath
 
AT1AT1
AT1AT1AT1AT1
AT1AT1
 
AT1AT1
AT1AT1AT1AT1
AT1AT1
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
โครงาน
โครงานโครงาน
โครงาน
 
โครงาน
โครงานโครงาน
โครงาน
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
AT1AT1
AT1AT1AT1AT1
AT1AT1
 
Pingpong
PingpongPingpong
Pingpong
 
โครงร่างมาย
โครงร่างมายโครงร่างมาย
โครงร่างมาย
 
Depression of thai people
Depression of thai peopleDepression of thai people
Depression of thai people
 
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
 
2560การฝังเข็ม
2560การฝังเข็ม2560การฝังเข็ม
2560การฝังเข็ม
 
2562 final-projectpongpat40-190923163452
2562 final-projectpongpat40-1909231634522562 final-projectpongpat40-190923163452
2562 final-projectpongpat40-190923163452
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Fill
FillFill
Fill
 
โปรเจ็คคอม
โปรเจ็คคอมโปรเจ็คคอม
โปรเจ็คคอม
 

More from Nayapaporn Jirajanjarus

ที่มาและความสำคัญ
ที่มาและความสำคัญที่มาและความสำคัญ
ที่มาและความสำคัญNayapaporn Jirajanjarus
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมNayapaporn Jirajanjarus
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานNayapaporn Jirajanjarus
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานNayapaporn Jirajanjarus
 
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานNayapaporn Jirajanjarus
 

More from Nayapaporn Jirajanjarus (7)

ที่มาและความสำคัญ
ที่มาและความสำคัญที่มาและความสำคัญ
ที่มาและความสำคัญ
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอม
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
2559 project -1
2559 project -12559 project -1
2559 project -1
 
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงาน
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 

โครงร่างโครงงานคอม

  • 1. แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2559 ชื่อโครงงาน ไข้เลือดออก ภัยร้ายที่ใกล้ตัว ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวปาลิดา รักราษฎร์ ชั้นม.6/11 เลขที่ 22 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ไข้เลือดออก ภัยร้ายที่ใกล้ตัว ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Dengue fever,Terrorist threats around the us. ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน 1. นางสาวปาลิดา รักราษฎร์ ชั้นม.6/11 เลขที่ 22 ชื่อที่ปรึกษา คุณครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน 1 สัปดาห์ ( 7-14 กุมภาพันธ์ 2560 ) ที่มาและความสาคัญของโครงงาน ขึ้นชื่อว่าโรคแล้ว คงไม่อยากมีใครให้เกิดขึ้นกับตัว แต่เมื่อเกิดขึ้นแล้วก็เป็นสิ่งที่ไม่อาจ หลีกเลี่ยงได้ แต่คงจะดีกว่าถ้าหากเรารู้เท่าทันโรคภัยไข้เจ็บที่มาเยือนเราเงียบๆโดยที่ไม่มีสัญญาณ บอกกล่าว โดยเฉพาะในปี 2558 ที่มาผ่านมานั้นได้เกิดการระบาดของโรคติดเชื้อชนิดหนึ่ง ที่มี พาหะมาจากยุงลายและโรคระบาดนั้นมีชื่อว่า ‘ไข้เด็งกี’ หรือที่คนไทยนิยมเรียกกันว่า ‘ไข้เลือดออก’ ในปี 2558 นั้น ประเทศไทยมีผู้ป่วยด้วยไข้เลือดออกทั่วประเทศจานวนถึง 102,762 คนและเสียชีวิตแล้ว 102 คนและมีแนวโน้มว่าจะสูงขึ้นเรื่อยๆ โดยมีสาเหตุหลาย ประการทั้งที่เป็นสาเหตุโดยธรรมชาติและมีสาเหตุมาจากการกระทาของมนุษย์ ไม่ว่าจะเป็นการที่ ฝนตกและมีน้าขังบริเวณใกล้ๆบ้าน การที่ไม่มีวินัยในการตรวจบริเวณพื้นที่บ้านที่มีน้าขัง ซึ่งเป็น สาเหตุสาคัญในการเกิดยุงลาย รวมไปถึงการที่ประชาชนบางส่วนไม่มีความรู้ ความเข้าใจในการ ป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออกที่สามารถเกิดได้โดยง่ายในบริเวณบ้าน ด้วยเหตุนี้ทาให้ขณะ ผู้จัดทาได้เล็งเห็นถึงความสาคัญในการศึกษาและให้ความรู้ในเรื่องของโรคไข้เลือดออก จึงได้จัดทา สมาชิกในกลุ่ม 2 คน 1. นางสาวปาลิดา รักราษฎร์ เลขที่ 22 ชั้นม.6/11
  • 3. โครงงานเรื่อง ‘ไข้เลือกออก ภัยร้ายที่ใกล้ตัว’ ขึ้น โดยที่ภายในโครงงานนั้นจะมีข้อมูลเนื้อหา เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกให้ศึกษา ไม่ว่าจะเป็นที่มา สาเหตุการเกิดโรค ลักษณะอาการของโรค วิธี ป้องกันรักษา เพื่อให้ผู้ที่ศึกษาหรือผู้ที่มีความสนใจในเรื่องไข้เลือดออกนั้นสามารถนาความรู้ไป ประยุกต์กับการใช้ชีวิตประจาวันและรู้เท่าทันของโรคไข้เลือดออกอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคไข้เลือดออกมากขึ้น 2. เพื่อให้สามารถนาไปประยุกต์ใช้เพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออกได้ 3. เพื่อให้ผู้ที่มีความสนใจสามารถนาความรู้ต่างๆไปเผยแพร่แก่ผู้อื่นได้ ขอบเขตของโครงงาน - ที่มา สาเหตุของการเกิดโรคไข้เลือดออก - กลไกของการเกิดโรคไข้เลือดออก - ลักษณะอาการของโรคไข้เลือดออก - การวินิจฉัยโรคไข้เลือดออก - การรักษาโรคไข้เลือดออก - วิธีป้องกันโรคไข้เลือดออก - วิทยาการระบาดของโรคไข้เลือดออก - ประวัติศาสตร์ของโรคไข้เลือดออก - การวิจัยโรคไข้เลือดออก หลักการและทฤษฏี ไข้เด็งกี หรือในประเทศไทยนิยมเรียกว่า ไข้เลือดออก เป็นโรคติดเชื้อซึ่งระบาดในเขตร้อน เกิดจากการติดเชื้อไวรัสเด็งกี ผู้ป่วยจะมีอาการไข้ ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อ ปวดข้อ และมีผื่น ลักษณะเฉพาะซึ่งคล้ายกับผื่นของโรคหัด ผู้ป่วยส่วนหนึ่งจะมีอาการรุนแรง จนกลายเป็น ไข้เลือดออกเด็งกี (Dengue hemorrhagic fever) ที่เป็นอันตรายถึงชีวิต ซึ่งทาให้มีเลือดออกง่าย
  • 4. มีเกล็ดเลือดต่า และมีการรั่วของพลาสมา หรือรุนแรงมากขึ้นเป็นกลุ่มอาการไข้เลือดออกช็อก (Dengue shock syndrome) ซึ่งมีความดันโลหิตต่าอย่างเป็นอันตรายได้ ไข้เลือดออกติดต่อผ่านทางพาหะคือยุงหลายสปีชีส์ในจีนัส Aedes โดยเฉพาะ A. aegypti หรือ ยุงลายบ้าน ไวรัสเด็งกีมีชนิดย่อยอยู่สี่ชนิด การติดเชื้อไวรัสชนิดหนึ่งมักทาให้ผู้ป่วยมีภูมิคุ้มกันต่อ ไวรัสชนิดนั้น ๆ ไปตลอดชีวิต แต่มีภูมิคุ้มกันต่อไวรัสเด็งกีชนิดอื่น ๆ ในเวลาสั้น ๆ การติดเชื้อ ไวรัสเด็งกีชนิดอื่นในภายหลังเพิ่มความเสี่ยงของภาวะแทรกซ้อนรุนแรง การป้องกันโรคทาโดยลด จานวนแหล่งเพาะพันธุ์และจานวนของยุง และป้องกันมิให้ยุงลายกัด เพราะยังไม่มีวัคซีนในทาง พาณิชย์ ยังไม่มีวิธีจาเพาะในการรักษาไข้เลือดออก การรักษาหลัก ๆ เป็นการรักษาประคับประคอง สาหรับผู้ป่วยที่อาการไม่รุนแรงรักษาโดยการคืนน้า อาจใช้การกินทางปากหรือการให้ทางหลอด เลือดดา และสาหรับผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรงรักษาโดยให้สารน้าหรือเลือดหรือองค์ประกอบของ เลือดทางหลอดเลือดดา อุบัติการณ์ของไข้เลือดออกเพิ่มขึ้นมากตั้งแต่คริสต์ทศวรรษ 1960 โดยมี ผู้ป่วยติดเชื้อ 50-100 ล้านคนต่อปี โรคนี้มีการอธิบายเอาไว้ครั้งแรกตั้งแต่ ค.ศ. 1779 ส่วนไวรัสที่ เป็นสาเหตุและกลไกการติดต่อนั้นค้นพบเมื่อช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 หลังสงครามโลกครั้งที่ สองเป็นต้นมา ไข้เลือดออกได้กลายเป็นปัญหาที่สาคัญอย่างหนึ่งทั่วโลก มีประเทศที่เป็นพื้นที่ ระบาดมากกว่า 110 ประเทศ ปัจจุบันนอกจากความพยายามลดจานวนยุงแล้วยังมีความพยายาม พัฒนาวัคซีนและยาที่ออกฤทธิ์โดยตรงกับไวรัสด้วย อาการและอาการแสดง ผู้ติดเชื้อไวรัสเด็งกีส่วนใหญ่ไม่มีอาการ (80%) หรือมีอาการเพียงเล็กน้อย เช่น เป็นไข้ และไม่มีภาวะแทรกซ้อนใด ๆ อีกส่วนหนึ่งมีอาการรุนแรงกว่า (5%) และเพียงส่วนน้อยเท่านั้นที่ อาการรุนแรงมากจนเสี่ยงต่อการเสียชีวิต ระยะฟักตัวของโรคอยู่ที่ 3-14 วัน แต่ส่วนใหญ่ประมาณ 4-7 วัน ดังนั้นสาหรับคนที่ไม่ได้อาศัยอยู่ในพื้นที่ระบาด แต่เดินทางกลับมาจากพื้นที่ระบาด และ เมื่อเดินทางกลับแล้ว มีไข้ตั้งแต่หลังวันที่ 14 มีโอกาสน้อยมากที่จะเป็นไข้เลือดออกเด็งกีผู้ป่วยเด็ก ส่วนใหญ่มีอาการไม่ต่างจากหวัดหรือกระเพาะอาหารกับลาไส้อักเสบ (ท้องร่วงและอาเจียน) แต่มี โอกาสป่วยหนักได้มากกว่าผู้ใหญ่ แม้อาการระยะแรกจะค่อนข้างไม่รุนแรง แต่จะมีไข้สูงด้วย
  • 5. การดาเนินโรค อาการที่เป็นลักษณะเฉพาะของไข้เลือดออกคือมีไข้เฉียบพลัน ปวดศีรษะ (มักปวดหลัง ดวงตา) ปวดกล้ามเนื้อ ปวดข้อ และผื่น อาการปวดข้อและปวดกล้ามเนื้อนี้เป็นที่มาของชื่ออีกชื่อ หนึ่งของไข้เลือดออก คือ break-bone fever ("ไข้กระดูกแตก") การดาเนินโรคแบ่งเป็นสาม ระยะ คือระยะไข้ ระยะวิกฤต และระยะฟื้น ในระยะไข้ ผู้ป่วยจะมีไข้สูง มักสูงเกิน 40 องศาเซลเซียส มีอาการปวดตามตัวและปวด ศีรษะ ระยะนี้มักกินเวลา 2-7 วัน อาจมีอาการคลื่นไส้ อาเจียนด้วย ผู้ป่วยระยะไข้ที่มีอาการ 50- 80% จะมีผื่นขึ้น ในวันแรกหรือวันที่สองของอาการป่วย ลักษณะเป็นปื้นแดง (erythema) หรือ พบในวันที่ 4-7 ลักษณะเป็นผื่นคล้ายผื่นของโรคหัด อาจมีจุดเลือดออก (จุดเลือดออกนี้เกิดจาก เส้นเลือดฝอยแตก และไม่ปรากฏเมื่อผิวหนังถูกกด) หรืออาจมีเลือดออกจากเยื่อบุปากและจมูกได้ เล็กน้อย ลักษณะเฉพาของอาการไข้ในไข้เลือดออก คือ ผู้ป่วยมีไข้ขึ้นสองรอบ โดยจะมีไข้ขึ้นครั้ง หนึ่งก่อน จากนั้นไข้ลดลงไป และมีไข้ขึ้นอีก 1-2 วันให้หลัง แต่แบบแผนอาการไข้ของไข้เลือดออก มีความแตกต่างกันมาก และยังไม่มีข้อสรุปชัดเจนว่าแบบแผนไข้เฉพาะเช่นนี้ปรากฏขึ้นบ่อย เพียงใด ผู้ป่วยบางคนมีอาการดาเนินไปถึงระยะวิกฤต คือช่วงที่ไข้ลง ระยะนี้มักกินเวลา 1-2 วันซึ่ง ผู้ป่วยอาจมีสารน้าสะสมในช่องปอดและช่องท้องมากเนื่องจากสารน้ารั่วออกจากผนังหลอดเลือด ฝอยที่อยู่ในภาวะที่มีสภาพให้ซึมผ่านได้สูงขึ้นอย่างมาก ทาให้มีสารน้าในระบบไหลเวียนน้อยลง และมีการไหลของเลือดไปเลี้ยงอวัยวะสาคัญน้อยลง ระยะนี้อาจพบอวัยวะทาหน้าที่ผิดปกติ และมี เลือดออกมาก โดยมักออกจากทางเดินอาหาร ภาวะช็อก (กลุ่มอาการช็อกจากไข้เลือดออก, dengue shock syndrome) และการมีเลือดออก ("ไข้เลือดออกเด็งกี", dengue hemorrhagic fever) นั้นพบในผู้ป่วยไข้เด็งกีไม่ถึง 5% อย่างไรก็ดีผู้ที่เคยติดเชื้อไวรัสเด็งกีชนิดอื่นมาก่อนแล้ว (ติดเชื้อครั้งนี้เป็นครั้งที่สอง) จะมีความเสี่ยงสูงขึ้น ระยะวิกฤตนี้พบบ่อยในเด็กและวัยรุ่นมากกว่า วัยอื่น แม้จะพบน้อย ระยะต่อมาคือระยะฟื้น สารน้าที่รั่วออกจากหลอดเลือดจะไหลกลับคืนเข้ามา ระยะนี้กิน เวลา 2-3 วัน ผู้ป่วยอาจรู้สึกดีขึ้นอย่างมาก อาจมีอาการคันมาก หรือหัวใจเต้นช้าได้ ในระยะนี้ ผู้ป่วยอาจมีสารน้าในร่างกายเกิน ซึ่งหากเสียสมดุลจนทาให้สมองบวม ก็อาจมีระดับการรู้สึกตัว ลดลงหรือมีอาการชักได้ ผู้ป่วยผู้ใหญ่อาจรู้สึกล้าต่อไปอีกหลายสัปดาห์
  • 6. ปัญหาที่พบร่วม บางครั้งไข้เลือดออกอาจส่งผลต่อระบบอื่นของร่างกายได้ โดยอาจมีอาการของ ไข้เลือดออกร่วมด้วยหรือไม่ก็ได้[6] 0.5-6% ของผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรง มีระดับความรู้สึกตัวลดลง ซึ่งอาจเป็นผลโดยตรงจากการติดเชื้อไวรัสที่สมอง ทาให้เกิดสมองอักเสบ หรือเป็นผลโดยอ้อมจาก การที่อวัยวะสาคัญทางานบกพร่อง เช่น ตับ ความผิดปกติอื่นทางระบบประสาทที่มีการรายงานในผู้ป่วยไข้เลือดออก เช่น ไขสันหลัง อักเสบตามขวาง และกลุ่มอาการกิลแลง-บาร์เร ความผิดปกติอื่นที่พบได้ แต่น้อย เช่น กล้ามเนื้อ หัวใจอักเสบจากการติดเชื้อ และตับวายเฉียบพลัน เป็นต้น สาเหตุ โรคไข้เลือดออก เป็นโรคติดต่อที่เกิดจากยุงลาย (Aedes aegyti) ตัวเมีย บินไปกัดคนที่ ป่วยเป็นไข้เลือดออกโดยเฉพาะช่วงที่มีไข้สูง ทาให้ได้รับเชื้อไวรัสเด็งกี เชื้อจะเพิ่มจานวนในตัวยุง ประมาณ 8-10 วัน เชื้อไวรัสแดงกี่จะไปที่ผนังกระเพาะและต่อมน้าลายของยุง เมื่อยุงกัดคนก็จะ แพร่เชื้อสู่คน เชื้อจะอยู่ในร่างกายคนประมาณ 2-7 วันในช่วงที่มีไข้ หากยุงกัดคนในช่วงนี้ก็จะรับ เชื้อไวรัสมาแพร่ให้กับคนอื่น ซึ่งส่วนใหญ่มักจะเป็นเด็ก โรคนี้ระบาดในฤดูฝน ยุงลายชอบออกหา กินในเวลากลางวันตามบ้านเรือน และโรงเรียน ชอบวางไข่ในน้าสะอาดที่อยู่นิ่งๆ ตามภาชนะที่มี น้าขัง เช่น ยางรถยนต์ กะลา กระป๋อง จานรองขาตู้กับข้าว แต่ไม่ชอบวางไข่ในท่อระบายน้า ห้วย หนอง คลอง บึง ฯลฯ การรักษา ปัจจุบันยังไม่มียาต้านไวรัสจาเพาะต่อไข้เด็งกี สิ่งที่สาคัญที่สุดในการรักษาคือการรักษา สมดุลสารน้าเอาไว้ การรักษาที่ให้จะขึ้นอยู่กับอาการ ซึ่งมีตั้งแต่การให้กินสารน้าร่วมกับการ ติดตามใกล้ชิดโดยไม่ต้องรับไว้รักษาในโรงพยาบาล ไปจนถึงการเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล โดยมีการให้ของเหลวทางหลอดเลือดดา และ/หรือ การถ่ายเลือด ข้อพิจารณาในการรับเข้ารักษา ในโรงพยาบาลโดยทั่วไปจะดูจากการมีอาการเตือนดังที่แสดงไว้ข้างต้น โดยเฉพาะผู้มีโรคประจาตัว ผู้ป่วยมักมีความจาเป็นต้องได้รับสารน้าทางหลอดเลือดดาอยู่ไม่เกิน 1-2 วัน อัตราจะค่อย ๆ ถูกปรับให้เหมาะสมเพื่อให้มีปัสสาวะออกประมาณ 0.5-1 มล./กก./ชั่วโมง สัญญาณชีพคงที่ และฮีมาโตคริตคงที่ งดเว้นหัตถการทางการแพทย์แบบล่วงล้า (invasive medical procedure)
  • 7. (เช่น การใส่สายจมูกถึงกระเพาะอาหาร การฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อ และการเจาะเลือดจากหลอด เลือดแดง) เว้นแต่จาเป็น ด้วยมีความเสี่ยงเลือดออก ใช้ยาพาราเซตามอล (อะเซตามิโนเฟน) เพื่อ ลดไข้ แก้ปวด และหลีกเลี่ยงยาแก้อักเสบชนิดไม่ใช่สเตอรอยด์ เช่น ไอบูโปรเฟนและแอสไพริน เพราะอาจเพิ่มความเสี่ยงการมีเลือดออกได้ ผู้ป่วยบางรายที่มีสัญญาณชีพไม่คงที่และฮีมาโตคริตล ดลงเท่านั้นที่จะได้รับการให้เลือดหรือส่วนประกอบของเลือด โดยไม่ต้องเฝ้าดูระดับฮีมาโตคริตล ดลงจนถึงเกณฑ์ที่กาหนดไว้ล่วงหน้า ในกรณีที่ต้องได้รับเลือดหรือส่วนประกอบของเลือดแนะนา ให้ใช้เม็ดเลือดแดงเข้มข้น (เลือดที่ปั่นแยกส่วนประกอบของเลือดและคัดมาเฉพาะเม็ดเลือดแดง) หรือเลือดเต็ม (เลือดที่ไม่ได้ปั่นแยกส่วนประกอบของเลือด) ส่วนใหญ่ไม่มีความจาเป็นในการให้ เกล็ดเลือดหรือพลาสมาสดแช่แข็ง เมื่อถึงระยะฟื้นตัวแพทย์จะหยุดให้สารน้าทางหลอดเลือดดาเพื่อป้องกันภาวะสารน้าเกิน ถ้าเกิดมีภาวะสารน้าเกินขึ้นโดยที่อาการและสัญญาณชีพอื่น ๆ ปกติ การหยุดสารน้าเพียงอย่าง เดียวก็เพียงพอโดยไม่ต้องให้ยาขับสารน้าออก ทั้งนี้แพทย์อาจพิจารณาใช้ยาขับปัสสาวะ เช่น ฟูโร ซีไมด์ เพื่อกาจัดของเหลวส่วนเกินออกได้ หากไม่ได้อยู่ในระยะวิกฤต การป้องกัน การป้องกันไข้เลือดออกเด็งกีทาได้โดยการกาจัดแหล่งน้านิ่ง ซึ่งเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ภาพถ่ายที่สหรัฐอเมริกาตอนใต้ เมื่อราว ค.ศ. 1920 ยังไม่มีวัคซีนที่ป้องกันไวรัสไข้เลือดออกเด็งกีอย่างได้ผล ดังนั้นการป้องกันโรคจึงต้องอาศัย การควบคุมการแพร่พันธุ์ยุงลายและป้องกันไม่ให้ยุงลายกัด องค์การอนามัยโลกได้แนะนาโครงการ ควบคุมพาหะแบบบูรณาการเอาไว้ โดยมีองค์ประกอบ 5 อย่าง ได้แก่ 1) ต้องมีการสนับสนุนจาก ทุกภาคส่วนเพื่อให้ระบบบริการสุขภาพและชุมชนมีความเข้มแข็ง 2) มีความร่วมมือระหว่าง องค์กรสุขภาพและภาคส่วนอื่น ๆ 3) ส่งเสริมให้มีการควบคุมโรคอย่างบูรณาการโดยใช้ทรัพยากร ที่มีให้เกิดประโยชน์สูงสุด 4) มีการตัดสินใจโดยอิงหลักฐานเพื่อให้มีการออกมาตรการที่เหมาะสม และ 5) มีการเตรียมพร้อมรับสถานการณ์การระบาดในแต่ละที่อยู่เสมอ วิธีการในการควบคุมการแพร่ระบาดของยุงลายคือการกาจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ทา โดยป้องกันไม่ให้มีน้าขังในภาชนะ เช่น คว่าขัน กะละมัง ที่อยู่นอกบ้าน ไม่ให้มีน้าขัง ใส่สารฆ่า แมลงหรือสารควบคุมการเจริญเติบโตของยุงลาย เช่น ทรายอะเบต ในพื้นที่ อย่างไรก็ดีเชื่อกันว่า การพ่นยาฆ่าแมลงเป็นครั้ง ๆ ไปนั้นได้ผลไม่คุ้มค่า เมื่อพิจารณาว่าการใส่สารฆ่าแมลงลงในพื้นที่
  • 8. นั้นมีผลเสียมากกว่าที่จะรับได้ และการให้สารควบคุมการเจริญเติบโตของยุงลายนั้นเป็นการยากที่ จะทาได้ทั่วถึง การลดปริมาณแหล่งน้าขังด้วยการควบคุมภาชนะนอกบ้านจึงเป็นวิธีที่เป็นที่นิยม และได้รับการยอมรับมากที่สุด นอกจากนี้ยังอาจสามารถป้องกันไม่ให้ยุงลายกัดได้โดยใส่เสื้อผ้าที่ มิดชิด นอนกางมุ้ง หรือใช้สารขับไล่แมลง เป็นต้น โดยสารที่ได้ผลดีที่สุด คือ DEET สาหรับในประเทศไทย ศูนย์ควบคุมโรคไข้เลือดออก กองควบคุมโรค สานักอนามัย แนะนาแนวทางในการป้องกันโรคไข้เลือดออกโดยเน้นการกาจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ายุงลาย และ การป้องกันไม่ให้ยุงลายกัด ซึ่งเป็นไปตามคาแนะนาขององค์การอนามัยโลก วิธีดาเนินงาน ในการจัดโครงงานเรื่อง ‘ไข้เลือดออก ภัยร้ายใกล้ตัว’ คณะผู้จัดทาโครงงานมีวิธีดาเนินการ โครงงาน ตามขั้นตอนดังต่อไปนี้ 1. เครื่องมือ อุปกรณ์หรือโปรแกรมที่ใช้ในการจัดทาโครงงาน 1) เครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมกับเชื่อมต่อเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเรียบร้อยแล้ว 2) เว็บไซต์ที่ให้บริการเว็บบล็อกคือ www.blogspot.com 3) เว็บไซต์ในการติดต่อสื่อสาร ได้แก่ www.facebook.com , www.google.com 4) โปรแกรมตัดต่อและตัดแต่งรูปภาพ คือ Adobe Photoshop CS6 5) ปากกาและกระดาษจดรายละเอียดของโครงงาน 2. ขั้นตอนการดาเนินงาน 1) กาหนดหัวข้อเรื่องในการทาโครงงานคอมพิวเตอร์ 2) ศึกษา ค้นคว้าข้อมูลที่สนใจ คือเรื่องโรคไข้เลือดออก 3) ศึกษาการสร้างเว็บบล็อกที่สร้างจากเว็บไซต์ www.blogspot.com และเทคนิคที่ น่าสนใจในการตกแต่งให้บล็อกให้สวยงาม 4) เรียบเรียงข้อมูลให้เป็นไปตามลาดับ 5) จัดทาโครงงาน ‘ไข้เลือดออก ภัยร้ายใกล้ตัว’ 6) ตรวจสอบความเรียบร้อยของโครงงาน 7) ปรับปรุงโครงงานในส่วนที่บกพร่อง 8) นาเสนอโครงงาน
  • 9. งบประมาณ งบประมาณ รวมทั้งสิ้น 400 บาท โดยแบ่งเป็น - ทุนค่าใช้จ่าย 250 บาท - ทุนสารอง 150 บาท ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 1 2 1 3 1 4 1 5 1 6 1 7 1 คิดหัวข้อโครงงาน ปาลิดา 2 ศึกษา ค้นคว้าข้อมูล ปาลิดา 3 จัดทาโครงร่างงาน ปาลิดา 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน ปาลิดา 5 ปรับปรุงทดสอบ ปาลิดา 6 การทาเอกสารรายงาน ปาลิดา 7 ประเมินผลงาน ปาลิดา 8 นาเสนอโครงงาน ปาลิดา ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. เกิดความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคไข้เลือดออกมากขึ้น 2. สามารถนาไปประยุกต์ใช้เพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออกได้ 3. ผู้ที่มีความสนใจสามารถนาความรู้ต่างๆไปเผยแพร่แก่ผู้อื่นได้ สถานที่ดาเนินการ 1. โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ 2. หอสมุดมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • 10. กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1. กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี 2. กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 3. กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ 4. กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ แหล่งอ้างอิง Gubler 1DJ (2010). "Dengue viruses". In Mahy BWJ, Van Regenmortel MHV. WwwwwDeskEncyclopedia of Human and Medical Virology. Boston: Academic wwwwwPress. pp. 372–82. ISBN 0-12-375147-0. WHO w1(2009). Dengue Guidelines for Diagnosis, Treatment, Prevention and wwwwwControl. Geneva: World Health Organization. ISBN 9241547871. สานักงานควบคุมไข้เลือดออก กรมควบคุมโรคติดต่อ กระทรวงสาธารณสุข. 2544. Wwwww“โรคไข้เลือดออก ฉบับประเกียรณก”. [ระบบออนไลน์]. wwwwwhttps://drive.google.com/drive/folders/0B8Zl4XfjQfmFUkFDSWl3NXZDU0U wwwww( วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2560 )