SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา2560
ชื่อโครงงาน สายตาพังจากการใช้คอมพิวเตอร์
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1.นางสาว สุภาวรรณ พิมานคา เลขที่ 35 ชั้น ม.6 ห้อง 7
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1.นางสาว สุภาวรรณ พิมานคา เลขที่ 35ชั้น ม.6 ห้อง 7
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน(ภาษาไทย)
สายตาพังจากการใช้คอมพิวเตอร์
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Computer vision syndrome
ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาเพื่อการสื่อสาร
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว สุภาวรรณ พิมานคา
ชื่อที่ปรึกษา โครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
เนื่องจากปัจจุบันนี้คอมพิวเตอร์ แท๊บเล็ท หรือสมาร์ทโฟนเข้ามามีบทบาทกับชีวิตประจาวันของเรามากขึ้น
ไม่ว่าจะเป็นที่บ้าน หรือที่ทางาน เชื่อว่าหลายคนอาจจะเคยประสบปัญหากับหนึ่งในอาการเหล่านี้ เช่น ปวดเมื่อยตา
ตาแห้ง แสบตา เคืองตา ตาพร่ามัว โฟกัสได้ช้าลง ตาสู้แสงไม่ได้ปวดกระบอกตา ปวดศีรษะ หรือบางครั้งอาจมี
อาการปวดหลัง ไหล่หรือต้นคอร่วมด้วย นพ.ศักดา อาจองค์ แพทย์ประจาเวชศาสตร์ฉุกเฉิน โรงพยาบาลรามาธิบดี
มหาวิทยาลัยมหิดล แจกแจงรายละเอียดโรคที่สามารถเกิดจากคอมพิวเตอร์ ว่า สามารถแบ่งออกเป็นโรคที่เกิดและ
เห็นปรากฏได้ทางร่างกาย โรคทางจิตใจ และโรคติดเชื้อ สาหรับโรคทางจิตใจนั้นมักได้ยินข่าวบ่อยครั้ง ว่า มีผู้ป่วย
ติดอินเทอร์เน็ต ติดเกมออนไลน์ ซึ่งหากอยู่ในเกณฑ์คล้ายโรคซึมเศร้า และมีปัญหาทางสภาวะจิตใจและขาดทักษะ
การเข้าสังคม ส่วนโรคติดเชื้อนั้นมักเกิดในสถานที่ทางาน ซึ่งใช้คอมพิวเตอร์ร่วมกัน
3
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.ต้องการที่จะให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคคอมพิวเตอร์ซินโดรม
2.ต้องการที่จะป้ องกันการเกิดโรคคอมพิวเตอร์ซินโดรม
3.ต้องการที่จะเผยแพร่ถึงวิธีการรักษาโรคคอมพิวเตอร์ซินโดรม
ขอบเขตโครงงาน(คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
ผู้ที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นประจาและใช้ต่อเนื่องเป็นระยะเวลานาน
หลักการและทฤษฎี(ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
สาเหตุของโรคคอมพิวเตอร์วิชั่นซินโดรม
1.ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ไม่ค่อยกระพริบตา ปกติแล้วเราทุกคนจะต้องกระพริบตาอยู่เสมอ เป็นการเกลี่ยน้าตาให้คลุม
ผิวตาให้ทั่วๆ โดยมีอัตราการกระพริบ 20 ครั้งต่อนาที หากเราอ่านหนังสือหรือนั่งจ้องคอมพิวเตอร์ อัตราการ
กระพริบจะลดลง โดยเฉพาะการจ้องคอมพิวเตอร์การกระพริบตาจะลดลงกว่าร้อยละ 60ทาให้ผิวตาแห้ง ก่อให้เกิด
อาการแสบตา ตาแห้ง รู้สึกฝืดๆ ในตา
2.แสงจ้า และแสงสะท้อนจากจอคอมพิวเตอร์ ทาให้ตาเมื่อยล้า ทั้งแสงจ้าและแสงสะท้อนมายังจอภาพ อาจเกิด
จากแสงสว่างไม่พอเหมาะ มีไฟส่องเข้าหน้าหรือหลังจอภาพโดยตรง หรือแม้แต่แสงสว่างจากหน้าต่างปะทะ
หน้าจอภาพโดยตรง ก่อให้เกิดแสงจ้าและแสงสะท้อนเข้าตาผู้ใช้ทาให้เมื่อยล้าตาง่าย
3.การออกแบบและการจัดภาพ ระยะทางานที่ห่างจากจอภาพให้เหมาะสมควรจัดจอภาพให้อยู่ในระยะพอเหมาะ
ที่ตามองสบายๆ ไม่ต้องเพ่ง โดยเฉลี่ยระยะจากตาถึงจอภาพควรเป็น 0.45ถึง 0.50 เมตร ตาอยู่สูงกว่าจอภาพ
โดยเฉพาะผู้ที่ใช้แว่นสายตาที่มองทั้งระยะใกล้และไกล จะต้องตั้งจอภาพให้ต่ากว่าระดับตา เพื่อจะได้มองตรงกับ
เลนส์แว่นตาที่ใช้มองใกล้
นพ.ศักดา อธิบายเพิ่มเติมว่า ยังมีรายงานสนับสนุนหลายการศึกษาที่ระบุว่า การใช้คอมพิวเตอร์เป็นระยะเวลานานๆ
ทาให้เกิดกลุ่มอาการ Carpal Tunnel Syndrome หรือ CTS โดยเชื่อว่าเป็นการเกิดจากกลไก repetitive stress injuries
(RSI) อธิบายได้ว่า เป็นการบาดเจ็บซ้าของเอ็นและกล้ามเนื้อบริเวณรอบข้อมือและแขน ซึ่งถือว่าเป็นภัยที่มองไม่
เห็น แพทย์หลายคนระบุว่าอาการนี้จัดอยู่ในกลุ่มเดียวกับ CS
โดย Dr. Emil Pascarelli ศาสตราจารย์ผู้ศึกษาอาการอันเกิดจากการใช้คอมพิวเตอร์มานานกว่า 23ปี อธิบายไว้
ในหนังสือที่เขาเขียนเรื่อง “Repetitive strain injury : Computer User’s Guide” ว่า ในทางการแพทย์RSI ถือเป็น
อาการบาดเจ็บ หรือกล้ามเนื้อตึงเครียดซ้าๆ เกิดการสะสมจากการนั่งทางานอยู่หน้าจอคอมพิวเตอร์ติดต่อกันเป็น
เวลาต่อเนื่องยาวนาน เป็นผลกระทบหนึ่งที่เกิดจากการใช้คอมพิวเตอร์
ในสหรัฐอเมริกา มีผู้ป่วยเป็น RSI กว่า 2 ล้านคน จนทาให้มีเว็บไซต์ให้คาปรึกษาเกี่ยวกับโรคนี้เกิดขึ้นมากมาย
สาเหตุของการเกิดอาการนี้เกิดจากการเคลื่อนไหวแขนหรือมือในลักษณะเดียวกันซ้าๆ นั่งทางานไม่ถูกท่าทาง และ
ใช้กล้ามเนื้อมือในลักษณะขนานกับพื้นเป็นเวลาต่อเนื่องกันนาน จนทาให้กล้ามเนื้อ เส้นเอ็นบริเวณนั้นได้รับความ
เสียหาย โดยอาการจะมีตั้งแต่เคลื่อนไหวมือ นิ้วมือไม่สะดวกรู้สึกปวดที่ข้อมือซ้าๆ และปวดกล้ามเนื้อบริเวณแขน
4
ระหว่างข้อศอกกับข้อมือ ในบางรายอาจจะปวดที่คอ ไหล่ และหลัง
Dr.Pascarelli ระบุอีกว่า คนที่เสี่ยงต่ออาการ RSI มากที่สุดคือคนที่ใช้คอมพิวเตอร์และวางท่าทางไม่ถูกต้อง ไม่
หยุดพัก ไม่ออกกาลังระหว่างเบรก มีไลฟ์สไตล์ที่ได้เคลื่อนไหวน้อย ไม่เพียงเท่านี้การพักผ่อนไม่เพียงพอ คนที่มี
โรคประจาตัว และความเครียดสะสม ก็เป็นตัวช่วยกระตุ้นให้อาการอักเสบของกล้ามเนื้อนั้นตึงเครียดได้ตลอดเวลา
อย่างไรก็ตาม นพ.ศักดา ชี้แจงว่า เมื่อไม่นานมานี้ มี Special Health Report from Harvard Medical School ได้
ปฏิเสธกลไกนี้โดยให้คาอธิบายว่าเป็นความเชื่อที่ผิดว่าการบาดเจ็บซ้าของกล้ามเนื้อบริเวณรอบข้อมือในขณะใช้
คอมพิวเตอร์ (RSI) นั้น ไม่เหมือนกับการอธิบายกลไกการเกิดโรคอื่น เช่น การบาดเจ็บของเอ็นและกล้ามเนื้อจาก
การออกกาลังกาย กระนั้นก็ยังไม่มีคาตอบใดที่ให้คาตอบที่แน่ชัดว่า RSI เกิดจากสาเหตุใด ดังนั้น จึงพออนุมานได้
ว่า การใช้งานคอมพิวเตอร์นานและต่อเนื่องประกอบกับการผิดหลักกายวิทยานั้นทาให้เกิดอาการบาดเจ็บได้และ
ยังถือว่าเป็นอาการในกลุ่ม CS ซึ่งก็ยังต้องระวังเช่นเดียวกัน
ผู้ที่มีสายตาที่ผิดปกติอยู่เดิม
สายตาที่ผิดปกติอยู่เดิม เช่น มีสายตาสั้น ยาว หรือเอียง หรือสายตาผู้สูงอายุ ควรแก้ไขสายตาให้มองเห็นชัด
ที่สุด จะได้ไม่ต้องเพ่งโดยไม่จาเป็น บางคนสายตาผิดปกติไม่มาก ถ้าทางานตามปกติจะไม่มีอาการอะไร แต่ถ้ามา
ทางานกับจอคอมพิวเตอร์จะเกิดอาการเมื่อยล้าได้
สาหรับผู้สูงอายุที่ต้องใช้แว่นสายตามองทั้งระยะไกลและใกล้หากใช้แว่นตานั้นทางานคอมพิวเตอร์นานๆ มีอาการ
ปวดเมื่อยในตามาก อาจต้องปรึกษาจักษุแพทย์พิจารณาทาแว่นสายตาที่เห็นระยะจอคอมพิวเตอร์และตัวหนังสือที่
เหมาะสม
บางรายหากมีโรคบางอย่างอยู่ เช่น ต้อหินเรื้อรัง ม่านตาอักเสบ หรือแม้แต่เยื่อบุตาอักเสบ ตลอดจนโรค
ทางกาย เช่น โรคไซนัสอักเสบ ไข้หวัด ร่างกายทั่วไปอ่อนเพลีย จะทาให้การปรับสายตาเพื่อการมองเห็นชัด ทาให้
เกิดการปวดเมื่อยนัยน์ตาได้ง่าย
อาการของ Computer vision Syndrome
1.อาการปวดบริเวณรอบดวงตา
2.ปวดศีรษะ
3.ตาพร่ามัว
4.ตาฝืดแห้ง
5.อาจมีอาการปวดคอและไหล่ร่วมด้วยซึ่งอาการเหล่านี้มักเป็นชั่วคราวและหายไปเมื่อได้พักจาการใช้คอมพิวเตอร์
การตรวจวินิจฉัย
การวินิจฉัย Computer Vision Syndromeสามารถทาได้จาก
1. การซักประวัติคนไข้จะพบว่าคนไข้มักทางานกับจอคอมพิวเตอร์ติดต่อกันโดยไม่มีการหยุดพัก ร่วมกับมีอาการ
ข้างต้นหลังจากที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นเวลานาน และอาการมักจะหายไปเมื่อหยุดพัก
2. การตรวจร่างกาย จะพบว่าตาอาจจะแดงเล็กน้อย ตาแห้ง หรืออาจพบแผลบนกระจกตาลักษณะแบบจุด ความ
ชัดเจนของการมองเห็นมักจะลดลง รวมทั้งอาจตรวจพบว่ามีสายตาที่ผิดปกติร่วมด้วย
5
แม้ว่ากลุ่มอาการนี้ไม่ได้ก่อให้เกิดอันตรายร้ายแรงต่อตาหรือการมองเห็น แต่มักก่อให้เกิดความไม่สบายตา และอาจ
เป็นปัญหารบกวนการทางานหรือการใช้ชีวิตประจาวันได้ซึ่งวิธีง่ายๆที่จะช่วยป้ องกันหรือหลีกเลี่ยง Computer
vision syndrome มีดังนี้คือ
1. ปรับระดับการมองเห็นและปรับท่านั่งในการทางานให้เหมาะสม
o จุดศูนย์กลางของจอคอมพิวเตอร์ควรห่างจากตาประมาณ 20-28 นิ้ว
o แป้ นพิมพ์ควรวางอยู่ในระดับต่ากว่าจอ โดยให้ข้อมือและแขนขนานไปกับพื้น ข้อศอกตั้งฉากไม่
อยู่ในลักษณะเอื้อมไปข้างหน้า
o ปรับระดับเก้าอี้โดยให้ฝ่าเท้าวางราบไปกับพื้น เข่าตั้งฉากต้นขาขนานกับพื้น อาจมีที่วางข้อศอก
และแขนเพื่อลดอาการล้าที่หัวไหล่ แขน และข้อมือ
o เอกสารสิ่งพิมพ์ หรือหนังสือควรวางอยู่ในระดับและระยะเดียวกับจอ เพื่อไม่ต้องขยับหรือหัน
ศีรษะและเปลี่ยนการปรับโฟกัสมากเกินไป
2. ปรับแสงสว่างจากภายนอกและจากจอคอมพิวเตอร์
o ปิดม่านหน้าต่าง เพื่อหลีกเลี่ยงไม่ให้มีแสงแดดหรือแสงสว่างจากภายนอกส่องกระทบ
จอคอมพิวเตอร์ แสงภายในห้องทางานที่สว่างเกินไปจะก่อให้เกิดแสงสะท้อนที่จอได้ง่าย ทาให้รู้สึกไม่
สบายตาได้
o อาจใช้แผ่นกันแสงสะท้อนติดหน้าจอภาพ
o ปรับความสว่างของหน้าจอและความแตกต่างของสีระหว่างพื้นจอและตัวอักษรให้สามารถ
มองเห็นได้คมชัดและสบายตาที่สุด
3. พักสายตาระหว่างการทางาน เมื่อใช้สายตาติดต่อกันนาน 20 นาที ควรละสายตาออกจากจอคอมพิวเตอร์
และมองออกไปให้ไกล 20 วินาที นอกจากนี้ทุกๆ 2 ชั่วโมง ควรพักสายตาหรือลุกจากโต๊ะทางานเพื่อเป็นการ
ผ่อนคลายเป็นเวลาอย่างน้อย 15-20นาที
4. กระพริบตาบ่อยขึ้น หรือหยอดน้าตาเทียม เพื่อช่วยลดอาการตาแห้งและช่วยให้สบายตาขึ้น
5. พบจักษุแพทย์เพื่อตรวจวัดสายตา
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
6
งบประมาณ
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
__________________________________________________________________
___________________________________________________________________
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
7
_________________________________________________________________________
สถานที่ดาเนินการ
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________

More Related Content

Similar to ใบงานที่ 5

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
natsun2424
 
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกายการดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
Patitta Sitti
 

Similar to ใบงานที่ 5 (20)

Project com
Project comProject com
Project com
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานร่าง
โครงงานร่างโครงงานร่าง
โครงงานร่าง
 
How to set a bedroom to health. TH
How to set a bedroom to health. THHow to set a bedroom to health. TH
How to set a bedroom to health. TH
 
Work1
Work1Work1
Work1
 
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกายการดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
 
อภิสิทธิ์ ดวงแสง
อภิสิทธิ์ ดวงแสงอภิสิทธิ์ ดวงแสง
อภิสิทธิ์ ดวงแสง
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
Great
GreatGreat
Great
 
Daniellll
DaniellllDaniellll
Daniellll
 
Daniellll
DaniellllDaniellll
Daniellll
 
Comdaniel
ComdanielComdaniel
Comdaniel
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
ปลาตีน
ปลาตีนปลาตีน
ปลาตีน
 
2559 project -1 (1)
2559 project -1 (1)2559 project -1 (1)
2559 project -1 (1)
 
Beopgjeopf
BeopgjeopfBeopgjeopf
Beopgjeopf
 
2560 project -1 new
2560 project -1 new2560 project -1 new
2560 project -1 new
 
2561 project -2
2561 project -22561 project -2
2561 project -2
 
The massage with herb for health
The massage with herb for healthThe massage with herb for health
The massage with herb for health
 

ใบงานที่ 5

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา2560 ชื่อโครงงาน สายตาพังจากการใช้คอมพิวเตอร์ ชื่อผู้ทาโครงงาน 1.นางสาว สุภาวรรณ พิมานคา เลขที่ 35 ชั้น ม.6 ห้อง 7 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1.นางสาว สุภาวรรณ พิมานคา เลขที่ 35ชั้น ม.6 ห้อง 7 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน(ภาษาไทย) สายตาพังจากการใช้คอมพิวเตอร์ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Computer vision syndrome ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาเพื่อการสื่อสาร ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว สุภาวรรณ พิมานคา ชื่อที่ปรึกษา โครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) เนื่องจากปัจจุบันนี้คอมพิวเตอร์ แท๊บเล็ท หรือสมาร์ทโฟนเข้ามามีบทบาทกับชีวิตประจาวันของเรามากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นที่บ้าน หรือที่ทางาน เชื่อว่าหลายคนอาจจะเคยประสบปัญหากับหนึ่งในอาการเหล่านี้ เช่น ปวดเมื่อยตา ตาแห้ง แสบตา เคืองตา ตาพร่ามัว โฟกัสได้ช้าลง ตาสู้แสงไม่ได้ปวดกระบอกตา ปวดศีรษะ หรือบางครั้งอาจมี อาการปวดหลัง ไหล่หรือต้นคอร่วมด้วย นพ.ศักดา อาจองค์ แพทย์ประจาเวชศาสตร์ฉุกเฉิน โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล แจกแจงรายละเอียดโรคที่สามารถเกิดจากคอมพิวเตอร์ ว่า สามารถแบ่งออกเป็นโรคที่เกิดและ เห็นปรากฏได้ทางร่างกาย โรคทางจิตใจ และโรคติดเชื้อ สาหรับโรคทางจิตใจนั้นมักได้ยินข่าวบ่อยครั้ง ว่า มีผู้ป่วย ติดอินเทอร์เน็ต ติดเกมออนไลน์ ซึ่งหากอยู่ในเกณฑ์คล้ายโรคซึมเศร้า และมีปัญหาทางสภาวะจิตใจและขาดทักษะ การเข้าสังคม ส่วนโรคติดเชื้อนั้นมักเกิดในสถานที่ทางาน ซึ่งใช้คอมพิวเตอร์ร่วมกัน
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.ต้องการที่จะให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคคอมพิวเตอร์ซินโดรม 2.ต้องการที่จะป้ องกันการเกิดโรคคอมพิวเตอร์ซินโดรม 3.ต้องการที่จะเผยแพร่ถึงวิธีการรักษาโรคคอมพิวเตอร์ซินโดรม ขอบเขตโครงงาน(คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) ผู้ที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นประจาและใช้ต่อเนื่องเป็นระยะเวลานาน หลักการและทฤษฎี(ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) สาเหตุของโรคคอมพิวเตอร์วิชั่นซินโดรม 1.ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ไม่ค่อยกระพริบตา ปกติแล้วเราทุกคนจะต้องกระพริบตาอยู่เสมอ เป็นการเกลี่ยน้าตาให้คลุม ผิวตาให้ทั่วๆ โดยมีอัตราการกระพริบ 20 ครั้งต่อนาที หากเราอ่านหนังสือหรือนั่งจ้องคอมพิวเตอร์ อัตราการ กระพริบจะลดลง โดยเฉพาะการจ้องคอมพิวเตอร์การกระพริบตาจะลดลงกว่าร้อยละ 60ทาให้ผิวตาแห้ง ก่อให้เกิด อาการแสบตา ตาแห้ง รู้สึกฝืดๆ ในตา 2.แสงจ้า และแสงสะท้อนจากจอคอมพิวเตอร์ ทาให้ตาเมื่อยล้า ทั้งแสงจ้าและแสงสะท้อนมายังจอภาพ อาจเกิด จากแสงสว่างไม่พอเหมาะ มีไฟส่องเข้าหน้าหรือหลังจอภาพโดยตรง หรือแม้แต่แสงสว่างจากหน้าต่างปะทะ หน้าจอภาพโดยตรง ก่อให้เกิดแสงจ้าและแสงสะท้อนเข้าตาผู้ใช้ทาให้เมื่อยล้าตาง่าย 3.การออกแบบและการจัดภาพ ระยะทางานที่ห่างจากจอภาพให้เหมาะสมควรจัดจอภาพให้อยู่ในระยะพอเหมาะ ที่ตามองสบายๆ ไม่ต้องเพ่ง โดยเฉลี่ยระยะจากตาถึงจอภาพควรเป็น 0.45ถึง 0.50 เมตร ตาอยู่สูงกว่าจอภาพ โดยเฉพาะผู้ที่ใช้แว่นสายตาที่มองทั้งระยะใกล้และไกล จะต้องตั้งจอภาพให้ต่ากว่าระดับตา เพื่อจะได้มองตรงกับ เลนส์แว่นตาที่ใช้มองใกล้ นพ.ศักดา อธิบายเพิ่มเติมว่า ยังมีรายงานสนับสนุนหลายการศึกษาที่ระบุว่า การใช้คอมพิวเตอร์เป็นระยะเวลานานๆ ทาให้เกิดกลุ่มอาการ Carpal Tunnel Syndrome หรือ CTS โดยเชื่อว่าเป็นการเกิดจากกลไก repetitive stress injuries (RSI) อธิบายได้ว่า เป็นการบาดเจ็บซ้าของเอ็นและกล้ามเนื้อบริเวณรอบข้อมือและแขน ซึ่งถือว่าเป็นภัยที่มองไม่ เห็น แพทย์หลายคนระบุว่าอาการนี้จัดอยู่ในกลุ่มเดียวกับ CS โดย Dr. Emil Pascarelli ศาสตราจารย์ผู้ศึกษาอาการอันเกิดจากการใช้คอมพิวเตอร์มานานกว่า 23ปี อธิบายไว้ ในหนังสือที่เขาเขียนเรื่อง “Repetitive strain injury : Computer User’s Guide” ว่า ในทางการแพทย์RSI ถือเป็น อาการบาดเจ็บ หรือกล้ามเนื้อตึงเครียดซ้าๆ เกิดการสะสมจากการนั่งทางานอยู่หน้าจอคอมพิวเตอร์ติดต่อกันเป็น เวลาต่อเนื่องยาวนาน เป็นผลกระทบหนึ่งที่เกิดจากการใช้คอมพิวเตอร์ ในสหรัฐอเมริกา มีผู้ป่วยเป็น RSI กว่า 2 ล้านคน จนทาให้มีเว็บไซต์ให้คาปรึกษาเกี่ยวกับโรคนี้เกิดขึ้นมากมาย สาเหตุของการเกิดอาการนี้เกิดจากการเคลื่อนไหวแขนหรือมือในลักษณะเดียวกันซ้าๆ นั่งทางานไม่ถูกท่าทาง และ ใช้กล้ามเนื้อมือในลักษณะขนานกับพื้นเป็นเวลาต่อเนื่องกันนาน จนทาให้กล้ามเนื้อ เส้นเอ็นบริเวณนั้นได้รับความ เสียหาย โดยอาการจะมีตั้งแต่เคลื่อนไหวมือ นิ้วมือไม่สะดวกรู้สึกปวดที่ข้อมือซ้าๆ และปวดกล้ามเนื้อบริเวณแขน
  • 4. 4 ระหว่างข้อศอกกับข้อมือ ในบางรายอาจจะปวดที่คอ ไหล่ และหลัง Dr.Pascarelli ระบุอีกว่า คนที่เสี่ยงต่ออาการ RSI มากที่สุดคือคนที่ใช้คอมพิวเตอร์และวางท่าทางไม่ถูกต้อง ไม่ หยุดพัก ไม่ออกกาลังระหว่างเบรก มีไลฟ์สไตล์ที่ได้เคลื่อนไหวน้อย ไม่เพียงเท่านี้การพักผ่อนไม่เพียงพอ คนที่มี โรคประจาตัว และความเครียดสะสม ก็เป็นตัวช่วยกระตุ้นให้อาการอักเสบของกล้ามเนื้อนั้นตึงเครียดได้ตลอดเวลา อย่างไรก็ตาม นพ.ศักดา ชี้แจงว่า เมื่อไม่นานมานี้ มี Special Health Report from Harvard Medical School ได้ ปฏิเสธกลไกนี้โดยให้คาอธิบายว่าเป็นความเชื่อที่ผิดว่าการบาดเจ็บซ้าของกล้ามเนื้อบริเวณรอบข้อมือในขณะใช้ คอมพิวเตอร์ (RSI) นั้น ไม่เหมือนกับการอธิบายกลไกการเกิดโรคอื่น เช่น การบาดเจ็บของเอ็นและกล้ามเนื้อจาก การออกกาลังกาย กระนั้นก็ยังไม่มีคาตอบใดที่ให้คาตอบที่แน่ชัดว่า RSI เกิดจากสาเหตุใด ดังนั้น จึงพออนุมานได้ ว่า การใช้งานคอมพิวเตอร์นานและต่อเนื่องประกอบกับการผิดหลักกายวิทยานั้นทาให้เกิดอาการบาดเจ็บได้และ ยังถือว่าเป็นอาการในกลุ่ม CS ซึ่งก็ยังต้องระวังเช่นเดียวกัน ผู้ที่มีสายตาที่ผิดปกติอยู่เดิม สายตาที่ผิดปกติอยู่เดิม เช่น มีสายตาสั้น ยาว หรือเอียง หรือสายตาผู้สูงอายุ ควรแก้ไขสายตาให้มองเห็นชัด ที่สุด จะได้ไม่ต้องเพ่งโดยไม่จาเป็น บางคนสายตาผิดปกติไม่มาก ถ้าทางานตามปกติจะไม่มีอาการอะไร แต่ถ้ามา ทางานกับจอคอมพิวเตอร์จะเกิดอาการเมื่อยล้าได้ สาหรับผู้สูงอายุที่ต้องใช้แว่นสายตามองทั้งระยะไกลและใกล้หากใช้แว่นตานั้นทางานคอมพิวเตอร์นานๆ มีอาการ ปวดเมื่อยในตามาก อาจต้องปรึกษาจักษุแพทย์พิจารณาทาแว่นสายตาที่เห็นระยะจอคอมพิวเตอร์และตัวหนังสือที่ เหมาะสม บางรายหากมีโรคบางอย่างอยู่ เช่น ต้อหินเรื้อรัง ม่านตาอักเสบ หรือแม้แต่เยื่อบุตาอักเสบ ตลอดจนโรค ทางกาย เช่น โรคไซนัสอักเสบ ไข้หวัด ร่างกายทั่วไปอ่อนเพลีย จะทาให้การปรับสายตาเพื่อการมองเห็นชัด ทาให้ เกิดการปวดเมื่อยนัยน์ตาได้ง่าย อาการของ Computer vision Syndrome 1.อาการปวดบริเวณรอบดวงตา 2.ปวดศีรษะ 3.ตาพร่ามัว 4.ตาฝืดแห้ง 5.อาจมีอาการปวดคอและไหล่ร่วมด้วยซึ่งอาการเหล่านี้มักเป็นชั่วคราวและหายไปเมื่อได้พักจาการใช้คอมพิวเตอร์ การตรวจวินิจฉัย การวินิจฉัย Computer Vision Syndromeสามารถทาได้จาก 1. การซักประวัติคนไข้จะพบว่าคนไข้มักทางานกับจอคอมพิวเตอร์ติดต่อกันโดยไม่มีการหยุดพัก ร่วมกับมีอาการ ข้างต้นหลังจากที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นเวลานาน และอาการมักจะหายไปเมื่อหยุดพัก 2. การตรวจร่างกาย จะพบว่าตาอาจจะแดงเล็กน้อย ตาแห้ง หรืออาจพบแผลบนกระจกตาลักษณะแบบจุด ความ ชัดเจนของการมองเห็นมักจะลดลง รวมทั้งอาจตรวจพบว่ามีสายตาที่ผิดปกติร่วมด้วย
  • 5. 5 แม้ว่ากลุ่มอาการนี้ไม่ได้ก่อให้เกิดอันตรายร้ายแรงต่อตาหรือการมองเห็น แต่มักก่อให้เกิดความไม่สบายตา และอาจ เป็นปัญหารบกวนการทางานหรือการใช้ชีวิตประจาวันได้ซึ่งวิธีง่ายๆที่จะช่วยป้ องกันหรือหลีกเลี่ยง Computer vision syndrome มีดังนี้คือ 1. ปรับระดับการมองเห็นและปรับท่านั่งในการทางานให้เหมาะสม o จุดศูนย์กลางของจอคอมพิวเตอร์ควรห่างจากตาประมาณ 20-28 นิ้ว o แป้ นพิมพ์ควรวางอยู่ในระดับต่ากว่าจอ โดยให้ข้อมือและแขนขนานไปกับพื้น ข้อศอกตั้งฉากไม่ อยู่ในลักษณะเอื้อมไปข้างหน้า o ปรับระดับเก้าอี้โดยให้ฝ่าเท้าวางราบไปกับพื้น เข่าตั้งฉากต้นขาขนานกับพื้น อาจมีที่วางข้อศอก และแขนเพื่อลดอาการล้าที่หัวไหล่ แขน และข้อมือ o เอกสารสิ่งพิมพ์ หรือหนังสือควรวางอยู่ในระดับและระยะเดียวกับจอ เพื่อไม่ต้องขยับหรือหัน ศีรษะและเปลี่ยนการปรับโฟกัสมากเกินไป 2. ปรับแสงสว่างจากภายนอกและจากจอคอมพิวเตอร์ o ปิดม่านหน้าต่าง เพื่อหลีกเลี่ยงไม่ให้มีแสงแดดหรือแสงสว่างจากภายนอกส่องกระทบ จอคอมพิวเตอร์ แสงภายในห้องทางานที่สว่างเกินไปจะก่อให้เกิดแสงสะท้อนที่จอได้ง่าย ทาให้รู้สึกไม่ สบายตาได้ o อาจใช้แผ่นกันแสงสะท้อนติดหน้าจอภาพ o ปรับความสว่างของหน้าจอและความแตกต่างของสีระหว่างพื้นจอและตัวอักษรให้สามารถ มองเห็นได้คมชัดและสบายตาที่สุด 3. พักสายตาระหว่างการทางาน เมื่อใช้สายตาติดต่อกันนาน 20 นาที ควรละสายตาออกจากจอคอมพิวเตอร์ และมองออกไปให้ไกล 20 วินาที นอกจากนี้ทุกๆ 2 ชั่วโมง ควรพักสายตาหรือลุกจากโต๊ะทางานเพื่อเป็นการ ผ่อนคลายเป็นเวลาอย่างน้อย 15-20นาที 4. กระพริบตาบ่อยขึ้น หรือหยอดน้าตาเทียม เพื่อช่วยลดอาการตาแห้งและช่วยให้สบายตาขึ้น 5. พบจักษุแพทย์เพื่อตรวจวัดสายตา วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________
  • 6. 6 งบประมาณ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ __________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________
  • 7. 7 _________________________________________________________________________ สถานที่ดาเนินการ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________