SlideShare a Scribd company logo
1 of 31
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2558
ชื่อโครงงาน การลดโลกร้อนด้วยการประหยัดไฟฟ้าในครัวเรือน
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นาย ปวริศร์ อุปันโน เลขที่ 1
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 14
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1.) นาย ปวริศร์ อุปันโน ชั้น ม.6/14 เลขที่ 1
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
การลดโลกร้อนด้วยการประหยัดไฟฟ้าในครัวเรือน
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Save world, save energy
ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย ปวริศร์ อุปันโน ชั้น ม.6/14 เลขที่ 1
ชื่อที่ปรึกษา คุณครู เขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน เดือนสิงหาคม – เดือนตุลาคม พ.ศ. 2558
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ปัจจุบันนั้นได้เกิดปรากฏการณ์ภาวะโลกร้อนซึ่งกาลังเป็นที่ถกเถียงกันในปัจจุบันเป็นอย่างมาก สาเหตุที่
ทาให้เกิดภาวะโลกร้อน ภาวะโลกร้อน (Global Warming) ก็คือการที่อุณหภูมิเฉลี่ยของอากาศบนโลกสูงขึ้น ซึ่งว่า
ก๊าซเรือนกระจกที่เพิ่มขึ้นจากการทากิจกรรมต่างๆของมนุษย์ไม่ว่าจะเป็นการเผาผลาญถ่านหินและเชื้อเพลิง การ
ใช้พลังงานไฟฟ้าสิ้นเปลือง รวมไปถึงสารเคมีที่มีส่วนผสมของก๊าซเรือนกระจกที่มนุษย์ใช้และอื่นๆอีกมากมาย จึง
ทาให้ก๊าซเรือนกระจกเหล่านี้ลอยขึ้นไปรวมตัวกันอยู่บนชั้นบรรยากาศของโลก ทาให้รังสีของดวงอาทิตย์ที่ควรจะ
สะท้อนกลับออกไปในปริมาณที่เหมาะสม กลับถูกก๊าซเรือนกระจกเหล่านี้กักเก็บไว้ทาให้อุณหภูมิของโลกค่อยๆ
สูงขึ้นกว่าเดิม และทาให้เกิดผลกระทบตามมามากมาย เช่น น้าแข็งขั้วโลกละลาย อุณหภูมิของโลกเพิ่มขึ้น ฤดูกาล
ไม่ตรงกับวันเวลา เป็นต้น การใช้ไฟฟ้าที่สิ้นเปลือง ก็เป็นสาเหตุหนึ่งในการทาให้เกิดภาวะโลกร้อนได้เพราะไฟฟ้า
ที่เราใช้กันอยู่ทุกวันนี้ เป็นพลังงานที่เกิดจากการเผาผลาญพวกถ่านหิน น้ามัน ก๊าซธรรมชาติต่างๆ โรงไฟฟ้าถ่าน
หินเป็นตัวการสาคัญที่สุด ถ่านหินเป็นเชื้อเพลิงฟอสซิลที่ก่อมลพิษสูงที่สุด และเป็นตัวปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์
ซึ่งเป็นก๊าซเรือนกระจก มากที่สุดในโลก ปัจจุบันการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ 1 ใน 3 ของโลกมาจากการเผา
ไหม้ถ่านหิน เราสามารถหยุดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศได้โดยลดการพึ่งพาเชื้อเพลิงฟอสซิล โดยเฉพาะ
3
ถ่านหินที่เป็นเชื้อเพลิงในการผลิตพลังงานไฟฟ้า ด้วยเหตุผลนี้เองผู้จัดทาโครงงานจึงได้เกิดความคิดเพื่อลดการใช้
งานเครื่องใช้ไฟฟ้า เพื่อลดปรากฏการณ์เรือนกระจก หรือที่เรียกว่าโลกร้อนนั่นเอง ซึ่งเป็นวิธีที่ง่ายๆ ไม่ว่าใครก็
สามารถทาได้หากสมาชิกในครอบครัวพร้อมใจช่วยกันประหยัดไฟฟ้าแล้ว เชื่อว่าจะต้องสามารถลดการใช้งาน
เครื่องใช้ไฟฟ้า เพื่อลดปัญหาโลกร้อนและสามารถลดค่าไฟฟ้าไปในตัวได้อีกด้วยได้อีกด้วย
วัตถุประสงค์
1.) เพื่อลดปัญหาภาวะโลกร้อน
2.) เพื่อให้รู้จักการคิดวางแผนงาน
3.) เพื่อให้ตระหนักถึงการประหยัดทรัพยากร
4.) เพื่อให้ได้รู้คุณค่าของพลังงาน
5.) เพื่อปลูกฝังนิสัยการประหยัดพลังงาน
6.) เพื่อให้ตระหนักถึงผลเสียที่เกิดจากภาวะโลกร้อนในวันข้างหน้า และเพื่อให้เกิดความกระตือรือร้นในการ
ช่วยลดปัญหาจากภาวะโลกร้อน
ขอบเขตโครงงาน
สถานที่ บ้านเลขที่ 3/1 ถนนหลิ่งกอก ตาบลช้างเผือก อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่
50300 ระยะเวลาการทาโครงการ ระหว่าง เดือนสิงหาคม – เดือนตุลาคม พ.ศ.2558
หลักการและทฤษฎี
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ภาวะโลกร้อน คือ
ภาวะโลกร้อน คือ การที่อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกเพิ่มขึ้น
จากภาวะเรือน กระจก หรือที่เรารู้จักกันดีในชื่อ ว่า Green house
effect ซึ่งมีต้นเหตุจากการที่มนุษย์ได้เพิ่มปริมาณก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์ จาก การเผาไหม้เชื้อเพลิงต่างๆ การขนส่ง
และ การผลิตในโรงงานอุตสาหกรรม นอกจากนั้น มนุษย์เรายัง
ได้เพิ่มก๊าซกลุ่มไนตรัสออกไซด์ และคลอโรฟลูโรคาร์บอน
(CFC) เข้าไปอีก ด้วย พร้อมๆกับการที่เราตัดและทาลาย ป่าไม้จานวนมหาศาลเพื่อสร้างสิ่งอานวย ความสะดวก
ให้แก่มนุษย์ทาให้กลไกใน การดึงเอาก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกไป จากระบบบรรยากาศถูกลดทอนประ
สิทธิ ภาพลง และในที่สุดสิ่งต่างๆที่เราได้กระทา ต่อโลกได้หวนกลับมาสู่เราในลักษณะของ ภาวะโลกร้อน
4
สาเหตุภาวะโลกร้อน
สาเหตุภาวะโลกร้อนเป็นภัยพิบัติที่มาถึง โดยที่เราทุกคนต่างทราบถึง
สาเหตุของการเกิดเป็นอย่างดี นั่นคือ การที่มนุษย์เผาผลาญเชื้อเพลิงฟอสซิล เช่น
ถ่านหิน น้ามัน และก๊าซธรรมชาติ เพื่อผลิตพลังงาน ทาให้เกิดก๊าซเรือนกระจก
ซึ่งเป็นสาเหตุสาคัญในการเกิดภาวะโลกร้อน
ก๊าซเรือนกระจก (Greenhouse Gas)
เป็นก๊าซที่มีคุณสมบัติในการดูดซับคลื่นรังสีความร้อน หรือรังสีอินฟาเรดได้ดี ก๊าซเหล่านี้มีความ
จาเป็นต่อการรักษาอุณหภูมิในบรรยากาศของโลกให้คงที่ ซึ่งหากบรรยากาศโลกไม่มีก๊าซเรือนกระจกในชั้น
บรรยากาศ ดังเช่นดาวเคราะห์ดวงอื่นๆในระบบสุริยะแล้ว จะทาให้อุณหภูมิในตอนกลางวันนั้นร้อนจัด และใน
ตอนกลางคืนนั้นหนาวจัด เนื่องจากก๊าซเหล่านี้ดูดคลื่นรังสีความร้อนไว้ในเวลากลางวัน แล้วค่อยๆ แผ่รังสี
ความร้อนออกมาในเวลากลางคืน ทาให้อุณหภูมิในบรรยากาศโลกไม่เปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลัน มีก๊าซจานวน
มากที่มีคุณสมบัติในการดูดซับคลื่นรังสีความร้อน และถูกจัดอยู่ในกลุ่มก๊าซเรือนกระจก ซึ่งมีทั้งก๊าซที่เกิดขึ้น
เองตามธรรมชาติและเกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ก๊าซเรือนกระจกที่สาคัญคือ ไอน้า ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
โอโซน มีเทนและไนตรัสออกไซด์ สารซีเอฟซี เป็นต้น แต่ก๊าซเรือนกระจกที่ถูกควบคุมโดยพิธีสารเกียวโต มี
เพียง 6 ชนิด โดยจะต้องเป็นก๊าซที่เกิดจากกิจกรรมของมนุษย์เท่านั้น ได้แก่
ทั้งนี้ ยังมีก๊าซเรือนกระจกที่เกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ที่สาคัญอีกชนิดหนึ่ง คือ
สารซีเอฟซี (CFC หรือ Chlorofluorocarbon) ซึ่งใช้เป็นสารทาความเย็นและใช้ในการผลิตโฟม แต่ไม่ถูกกาหนด
ในพิธีสารเกียวโต เนื่องจากเป็นสารที่ถูกจากัดการใช้ในพิธีสารมอนทรีออลแล้ว
กิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์กาลังเพิ่มปริมาณก๊าซเรือนกระจกเหล่านี้ (อาจยกเว้นไอน้า)
- การเผาไหม้เชื้อเพลิงจากถ่านหิน น้ามันและก๊าซธรรมชาติ
– การตัดไม้ทาลายป่าทาให้เกิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
- การทาการเกษตรและการปศุสัตว์ปล่อยก๊าซมีเทนและไนตรัสออกไซด์
– ควันจากท่อไอเสียรถยนต์ปล่อยก๊าซโอโซน
5
การผลิตไฟฟ้าโดยใช้ถ่านหินจากโรงงานผลิตไฟฟ้า
การใช้ถ่านหินนามาซึ่งผลกระทบมหาศาลด้านสิ่งแวดล้อม สุขภาพมนุษย์และ สังคมซึ่งเห็นได้
ชัดเจนจากผลกระทบที่มีต่อชุมชนผู้ยากจนเป็นส่วนมากที่อาศัยอยู่ใน และรอบๆ เหมือง และโรงไฟฟ้าถ่านหิน
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (ภาวะโลกร้อน)เป็นภัยคุกคามที่ร้ายแรงที่สุดที่โลกเผชิญอยู่มันคร่าชีวิตผู้คน
หลายแสนคนต่อปี และหากไม่ถูกหยุดยั้งจะทาให้อีกหลายร้อยล้านคนอยู่ในความเสี่ยงการเปลี่ยนแปลงสภาพ
ภูมิอากาศอันเป็นหายนะเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงได้เรารู้ว่ากิจกรรมของมนุษย์เป็นสาเหตุซึ่งรวมถึงการเผาไหม้
เชื้อเพลิงฟอสซิลและการทาลายป่าภาคพลังงานเป็นผู้ปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั่วโลกประมาณ 2 ใน 3
โรงไฟฟ้าถ่านหินเป็นตัวการสาคัญที่สุดถ่านหินเป็นเชื้อเพลิงฟอสซิลที่ก่อมลพิษสูงที่สุด และเป็น
ตัวปล่อยคาร์บอนไดออกไซต์ ซึ่งเป็นก๊าซเรือนกระจก มากที่สุดในโลกปัจจุบันการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออก
ไซต์1 ใน 3 ของโลกมาจากการเผาไหม้ถ่านหินเราสามารถหยุดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศได้โดยลดการ
พึ่งพาเชื้อเพลิงฟอสซิล โดยเฉพาะถ่านหิน
ถ่านหินเป็นแหล่งพลังงานที่มีมลพิษสูงโดยปล่อยธาตุคาร์บอนต่อหน่วยพลังงานมากกว่าน้ามัน
และก๊าซธรรมชาติปริมาณสูงกว่ามาก คาร์บอนไดออกไซต์เป็นส่วนประกอบหลักของก๊าซเรือนกระจกดังนั้นจึง
เป็นหนึ่งในสาเหตุอันดับต้นของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศจากเหมืองขึ้นสู่ท้องฟ้า จากการขุดเจาะไป
จนถึงการเผาไหม้ถ่านหินก่อให้เกิดมลพิษในทุกขั้นตอนการผลิตปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมและสังคมที่มักเกิด
ตามมาทาให้การใช้ถ่านหินจาเป็นต้องจ่ายด้วยราคาแสนแพงสาหรับประเทศกาลังพัฒนา ไม่ว่าจะเป็นการ
ปล่อยน้าเสียที่มีภาวะเป็นกรดจากโรงไฟฟ้าลงสู่แม่น้าและลาธาร การปล่อยสารปรอทและสารพิษอื่นๆ ใน
กระบวนการเผาไหม้รวมถึงก๊าซที่ทาลายสภาพภูมิอากาศ และอนุภาคขนาดเล็กชนิดอื่นๆที่ทาลายสุขภาพมนุษย์
ถ่านหินเป็นสาเหตุหลักของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศซึ่งเป็นภัยคุกคามต่อสิ่งแวดล้อมที่
รุนแรงที่สุดที่เรากาลังเผชิญถ่านหินเป็นเชื้อเพลิงฟอสซิลที่เต็มไปด้วยธาตุคาร์บอนโดยปล่อยคาร์บอนมากกว่า
น้ามัน 29% และปล่อยคาร์บอนไดออกไซต์ (ตัวขับเคลื่อนภาวะโลกร้อนตัวหลัก) ต่อหน่วยพลังงานมากกว่า
ก๊าซ 80%
เราสามารถต่อสู้กับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศได้โดยต้องลดการพึ่งพาเชื้อเพลิงฟอสซิล
โดยเฉพาะถ่านหินซึ่งเป็นสิ่งจาเป็นหากต้องการบรรลุการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั่วโลกลง 50% ภายใน
กลางศตวรรษซึ่งเป็นช่วงเวลาที่นักวิทยาศาสตร์กล่าวว่าจาเป็นหากต้องการหยุดการเปลี่ยนแปลงสภาพ
ภูมิอากาศที่อันตราย
แต่โชคร้ายที่รัฐบาลทั่วโลกกาลังอนุญาตให้อุตสาหกรรมใช้เงินหลายร้อยพันล้านบาทเพื่อสร้าง
โรงไฟฟ้าถ่านหินแห่งใหม่หลายร้อยแห่งทั่วโลกในอีกหลายปีที่กาลังจะมาถึง ถ้าถูกสร้างขึ้นคาดว่าจะปล่อย
คาร์บอนไดออกไซต์เพิ่มขึ้น 60% ภายในพ.ศ. 2573 ซึ่งจะ
บ่อนทาลายข้อตกลงนานาชาติสาหรับการแก้ปัญหาการ
เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ส่วนหนึ่งรัฐบาลเหล่านี้ถูกล่อลวงโดยมายาคติ
"ถ่านหินสะอาด"ซึ่งเป็นผลลัพธ์ของการประชาสัมพันธ์ของ
6
อุตสาหกรรมถ่านหินเพื่อครอบครอง "เทคโนโลยีที่ถูกแก้ไข" ที่ยังเป็นที่สงสัยที่พวกเขาอ้างว่าสามารถทาให้การ
เผาไหม้ถ่านหินไม่ทาลายสภาพภูมิอากาศ
หนึ่งในเทคโนโลยีเหล่านั้นคือ เทคโนโลยีการดักจับและกักเก็บคาร์บอน (CCS) ซึ่งเป็นแผนการ
ดักจับคาร์บอนที่ปล่อยออกมาจากโรงไฟฟ้า และฝังไว้ใต้พื้นดินเทคโนโลยีนี้จะพร้อมใช้หลัง 20 ปีข้างหน้าซึ่ง
สายเกินไปที่จะปกป้องสภาพภูมิอากาศ อย่างไรก็ดี CCS ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่คลุมเครือในการแก้ปัญหากาลังถูก
ใช้เพื่อให้ความเป็นธรรมกับการสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินแห่งใหม่โรงไฟฟ้าเหล่านี้จะพ่นมลพิษคาร์บอนไดออก
ไซต์ปริมาณมหาศาลเป็นเวลาอย่างน้อย 20 ปี และอาจจะถึง 40 ปี ซึ่งเป็นอายุของโรงไฟฟ้าเหล่านั้น กล่าวสั้นๆก็
คือ โรงไฟฟ้าถ่านหินแห่งใหม่จะส่งผลกระทบรุนแรงต่อวิกฤตสภาพภูมิอากาศ
โลกไม่ต้องการถ่านหินอีกต่อไป โลกต้องการการปฏิวัติพลังงานโลกมีพลังงานหมุนเวียนที่
เ้้ข้าถึงได้โดยเทคโนโลยีมากพอที่จะตอบสนองความต้องการพลังงานมากกว่า 6 เท่าของการบริโภคพลังงาน
ทั่วโลกในปัจจุบัน ไปที่นี่เพื่อค้นพบว่าเทคโนโลยีพลังงานหมุนเวียน เช่น ลม แสงอาทิตย์พลังงานชีวภาพที่
ยั่งยืน พลังน้า และ อื่นๆสามารถปฏิวัติวิธีที่เราผลิตพลังงานได้อย่างไรและป้องกันการเปลี่ยนแปลงภาพ
ภูมิอากาศได้อย่างไร
ในขณะที่ผู้นาของโลกล้มเหลวที่จะยืนหยัดและลงมือปฏิบัติเพื่อหยุดถ่านหิน ประชาชนทั่วโลก
กาลังดิ้นรนด้วยตนเอง ทั่วโลก นักกิจกรรมสิ่งแวดล้อมนักเรียนนักศึกษา แพทย์ผู้นาโบสถ์ และ อื่นๆ มากมาย
กาลังเคลื่อนไหวรวมตัวต่อต้านถ่านหิน
ก๊าซและสารที่มีผลกระทบต่อภาวะโลกร้อน
ไอน้า (H2O)
เป็นก๊าซเรือนกระจกที่มีมากที่สุดบนโลก มีอยู่ในอากาศประมาณ 0- 4% ขึ้นอยู่กับลักษณะภูมิประเทศ
ภูมิอากาศ และอุณหภูมิในบริเวณเขตร้อนใกล้เส้นศูนย์สูตรและชายทะเลจะมีไอน้าอยู่มากส่วนในบริเวณเขต
หนาวแถบขั้วโลก อุณหภูมิต่า จะมีไอน้าในบรรยากาศเพียงเล็กน้อยไอน้าเป็นสิ่งจาเป็นต่อสิ่งมีชีวิต ไอน้าเป็น
ส่วนหนึ่งของวัฏจักรน้าในธรรมชาติน้าสามารถเปลี่ยนสถานะไปมาทั้ง 3 สถานะจึงเป็นตัวพาและกระจายความ
ร้อนแก่บรรยากาศและพื้นผิว
ไอน้าเกิดจากโดยฝีมือมนุษย์2 วิธี คือจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงหรือก๊าซธรรมชาติและจากการหายใจและ
คายน้าของสัตว์และพืชในการทาเกษตรกรรม
7
ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2)
ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์มีปริมาณเพิ่มขึ้นเนื่องจากการเผาไหม้ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น การเผาไหม้เชื้อเพลิง
โรงงานอุตสาหกรรมการเผาป่าเพื่อใช้พื้นที่สาหรับอยู่อาศัยและการทาปศุสัตว์เป็นต้นโดยการเผาป่าเป็นการ
ปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ขึ้นสู่ชั้นบรรยากาศได้โดยเร็วที่สุดเนื่องจากต้นไม้มีคุณสมบัติในการตรึงก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์ไว้ก่อนที่จะลอยขึ้นสู่ชั้นบรรยากาศดังนั้นเมื่อพื้นที่ป่าลดน้อยลงก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
จึงลอยขึ้นไปสะสมอยู่ในบรรยากาศได้มากยิ่งขึ้นและทาให้พลังงานความร้อนสะสมบนผิวโลกและใน
บรรยากาศเพิ่มขึ้นประมาณ 1.56 วัตต์/ตารางเมตร
กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิและปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
8
กราฟแสดงปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่เพิ่มขึ้น ตั้งแต่ปี พ.ศ.2500 เป็นต้นมา เส้นกราฟเป็น
ลักษณะฟันปลา สูงต่าสลับกันในแต่ละรอบปี มีค่าต่างกันประมาณ 5 – 6 ppm ((part per million – ส่วนต่อ
อากาศหนึ่งล้านส่วน) ในฤดูร้อนมีก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์น้อยลง เนื่องจากพืชตรึงก๊าซเอาไว้สร้างอาหาร
มากกว่าใช้หายใจ ส่วนในฤดูหนาวมีก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์มากขึ้น เนื่องจากพืชคายก๊าซออกมาจากการ
หายใจมากกว่าการตรึงเพื่อสร้างอาหาร อย่างไรก็ตามเมื่อพิจารณาโดยภาพรวมแล้ว อุณหภูมิมีแนวโน้มสูงขึ้น
ในแต่ละปี
ก๊าซมีเทน (CH4)
เกิดขึ้นจากการย่อยสลายของซากสิ่งมีชีวิตแม้ว่ามีก๊าซมีเทนอยู่ในอากาศเพียง 1.7 ppm แต่ก๊าซมีเทนมี
คุณสมบัติของก๊าซเรือนกระจกสูงกว่าก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์กล่าวคือด้วยปริมาตรที่เท่ากันก๊าซมีเทนสามารถ
ดูดกลืนรังสีอินฟราเรดได้ดีกว่าก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
ก๊าซมีเทนมีปริมาณเพิ่มขึ้นเนื่องจากการทานาข้าว ปศุสัตว์และการเผาไหม้มวลชีวภาพ การเผาไหม้
เชื้อเพลิงประเภทถ่านหิน น้ามัน และก๊าซธรรมชาติการเพิ่มขึ้นของก๊าซมีเทนส่งผลกระทบโดยตรงต่อภาวะ
เรือนกระจกมากเป็นอันดับ 2 รองจากก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ พลังงานรวมที่เกิดขึ้นโดยเฉลี่ย 0.47 วัตต์/ตาราง
เมตร
ก๊าซไนตรัสออกไซด์ (N2O)
ปกติก๊าซชนิดนี้ในธรรมชาติเกิดจากการย่อยสลายซากสิ่งมีชีวิตโดยแบคทีเรียแต่ที่มีเพิ่มสูงขึ้นในปัจจุบัน
เนื่องมาจากอุตสาหกรรมที่ใช้กรดไนตริกในกระบวนการผลิต เช่นอุตสาหกรรมผลิตเส้นใยไนลอน
อุตสาหกรรมเคมีและพลาสติกบางชนิด เป็นต้นก๊าซไนตรัสออกไซด์ที่เพิ่มขึ้นส่งผลกระทบโดยตรงต่อการเพิ่ม
พลังงานความร้อนสะสมบนพื้นผิวโลกประมาณ 0.14 วัตต์/ตารางเมตรนอกจากนั้นเมื่อก๊าซไนตรัสออกไซด์
ลอยขึ้นสู่บรรยากาศชั้นสตราโตสเฟียร์มันจะทาปฏิกิริยากับก๊าซโอโซน ทาให้เกราะป้องกันรังสีอัลตราไวโอเล็ต
ของโลกลดน้อยลง
9
สารประกอบคลอโรฟลูออโรคาร์บอน (CFC)
หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "ฟรีออน" (Freon) มิได้เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ แต่เป็นสิ่งประดิษฐ์ของ
มนุษย์มีแหล่งกาเนิดมาจากโรงงานอุตสาหกรรม และอุปกรณ์เครื่องใช้ในชีวิตประจาวัน เช่นตู้เย็น
เครื่องปรับอากาศ และสเปรย์เป็นต้น
สาร CFC มีองค์ประกอบเป็นคลอรีน ฟลูออไรด์ และโบรมีนซึ่งมีความสามารถในการทาลายโอโซน
ตามปกติสาร CFC ในบริเวณพื้นผิวโลกจะทาปฏิกิริยากับสารอื่นแต่เมื่อมันดูดกลืนรังสีอุลตราไวโอเล็ตใน
บรรยากาศชั้นสตราโตสเฟียร์โมเลกุลจะแตกตัวให้คลอรีนอะตอมเดี่ยว และทาปฏิกิริยากับก๊าซโอโซนเกิดก๊าซ
คลอรีนโมโนออกไซด์ (ClO) และก๊าซออกซิเจน หากคลอรีนจานวน 1 อะตอมทาลายก๊าซโอโซน 1 โมเลกุล ได้
เพียงครั้งเดียว ก็คงไม่เป็นปัญหา แต่ทว่าคลอรีน 1 อะตอม สามารถทาลายก๊าซโอโซน 1 โมเลกุล ได้นับพันครั้ง
เนื่องจากเมื่อคลอรีนโมโนออกไซด์ทาปฏิกิริยากับออกซิเจนอะตอมเดี่ยวแล้วเกิดคลอรีนอะตอมเดี่ยวขึ้นอีกครั้ง
ปฏิกิริยาลูกโซ่เช่นนี้จึงเป็นการทาลายโอโซนอย่างต่อเนื่อง
โอโซน (O3)
เป็นก๊าซที่ประกอบด้วยธาตุออกซิเจนจานวน 3 โมเลกุล มีอยู่เพียง 0.0008% ในบรรยากาศ โอโซนไม่ใช่
ก๊าซที่มีเสถียรภาพสูง มันมีอายุอยู่ในอากาศได้เพียง 20 - 30 สัปดาห์ แล้วสลายตัว โอโซนเกิดจากก๊าซออกซิเจน
(O2) ดูดกลืนรังสีอุลตราไวโอเล็ตแล้วแตกตัวเป็นออกซิเจนอะตอมเดี่ยว (O) จากนั้นออกซิเจนอะตอมเดี่ยว
รวมตัวกับก๊าซออกซิเจนและโมเลกุลชนิดอื่น (M) ที่ทาหน้าที่เป็นตัวกลาง แล้วให้ผลผลิตเป็นก๊าซโอโซน
ออกมาก๊าซโอโซนมี 2 บทบาท คือเป็นทั้งพระเอกและผู้ร้ายในตัวเดียวกันขึ้นอยู่ว่ามันวางตัวอยู่ที่ใด
ผลกระทบจากภาวะโลกร้อน
ผลกระทบด้านนิเวศวิทยา
แถบขั้วโลกได้รับผลกระทบมากสุดและก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงมากมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งภูเขา
น้าแข็ง ก้อนน้าแข็งจะละลายอย่างรวดเร็ว ทาให้ระดับน้าทะเลทางขั้วโลกเพิ่มขึ้น และไหลลงสู่ทั่วโลกทาให้เกิด
น้าท่วมได้ทุก ทวีป นอกจากนี้จะพลอยทาให้สัตว์ทางทะเลเสียชีวิตเพราะระบบนิเวศเปลี่ยนแปลง
ส่วนทวีปยุโรป ยุโรปใต้ภูมิประเทศจะกลายเป็นพื้นที่ลาดเอียงเกิดความแห้งแล้ง ในหลายพื้นที่ปัญหา
อุทกภัยจะเพิ่มขึ้นเนื่องจากธารน้าแข็งบนบริเวณยอดเขาสูงที่ปกคลุมด้วยหิมะจะละลายจนหมด
10
ขณะที่เอเชียอุณหภูมิจะสูงขึ้นเกิดฤดูกาลที่แห้งแล้ง มีน้าท่วม ผลิตผลทางอาหารลดลง ระดับน้าทะเล
สูงขึ้นสภาวะอากาศ แปรปรวนอาจทาให้เกิดพายุต่าง ๆ มากมายเข้าไปทาลายบ้านเรือนที่อยู่อาศัยของประชาชน
ซึ่งปัจจุบันก็เห็นผลกระทบได้ชัดไม่ว่าจะเป็นใต้ฝุ่นกก
แต่แถบทวีปอเมริกาเหนืออุตสาหกรรมการผลิตอาหารจะได้รับผลประโยชน์เนื่องจากอากาศที่อุ่นขึ้น
พร้อม ๆ กับทุ่งหญ้าใหญ่ของแคนาดาและทุ่งราบใหญ่สหรัฐอเมริกา
นักวิจัยได้มีการคาดประมาณอุณหภูมิผิวโลกในอีก 100 ปีข้างหน้า หรือประมาณปี 2643 ว่า อุณหภูมิจะ
สูงขึ้นจากปัจจุบันราว 4.5 องศาเซลเซียส เนื่องจากคาดการณ์ว่า จะมีการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ถึงร้อย
ละ 63 และก๊าซมีเทนร้อยละ 27 ของก๊าซเรือนกระจก
สาหรับประเทศไทยมีอุณหภูมิสูงขึ้นประมาณ 1 องศาเซลเซียส ในช่วง 40 ปี อย่างไรก็ตาม
หากอุณหภูมิเพิ่มสูงขึ้น 2- 4 องศาเซลเซียส จะทาให้พายุไต้ฝุ่นเปลี่ยนทิศทาง เกิดความรุนแรง
และมีจานวนเพิ่มขึ้นร้อยละ 10-20 ในอนาคต นอกจากนี้ ฤดูร้อนจะขยายเวลายาวนานขึ้น ในขณะที่ฤดู
หนาวจะสั้นลง
ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ
รัฐที่เป็นเกาะเล็ก ๆ ของทวีปอเมริกาจะได้รับผลจากระดับน้าทะเลที่สูงขึ้นกัดกร่อนชายฝั่ง จะสร้าง
ความเสียหายแก่ระบบนิเวศ แนวปะการังจะถูกทาลาย ปลาทะเลประสบปัญหา เนื่องจากระบบนิเวศที่
แปรเปลี่ยนไป ธุรกิจท่องเที่ยวทางทะเลที่สาคัญจะสูญเสียรายได้มหาศาล
นอกจากนี้ ในเอเชียยังมีโอกาสร้อยละ 66-90 ที่อาจเกิดฝนกระหน่าและมรสุมอย่างรุนแรง รวมถึงเกิด
ความแห้งแล้งในฤดูร้อนที่ยาวนาน ทั้งนี้ ในปี 2532-2545 ประเทศไทยเกิดความเสียหาย จากอุทกภัย พายุ และ
ภัยแล้ง คิดเป็นมูลค่าเสียหายทางเศรษฐกิจมากกว่า 70,000 ล้านบาท
รายงาน ” Global Deserts Outlook” ของโครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ
เนื่องในวันสิ่งแวดล้อมโลก 5 มิถุนายน ชี้ว่า ภายใน 50 ปีข้างหน้า ระบบนิเวศวิทยาทะเลทราย จะ
เปลี่ยนแปลงไปทั้งด้านชีววิทยา เศรษฐกิจและวัฒนธรรม
ปัจจุบันพืชและสัตว์ทะเลทราย คือแหล่งทรัพยากรมีคุณค่าสาหรับผลิตยาและธัญญาหารใหม่ๆ
ที่ทาให้ไม่ต้องสิ้นเปลืองน้าและยังมีช่องทางเศรษฐกิจใหม่ๆ ที่เป็นมิตรกับธรรมชาติ เช่น การทาฟาร์ม
กุ้งและบ่อปลาในทะเลทรายรัฐอาริโซนาและทะเลทรายเนเจฟในอิสราเอล
11
อย่างไรก็ตาม ทะเลทรายที่มีอยู่ 12 แห่งทั่วโลก กาลังเผชิญปัญหาใหญ่ ไม่ใช่เรื่องการขยายตัว แต่เป็น
ความแห้งแล้งเนื่องจากโลกร้อน ธารน้าแข็งซึ่งส่งน้ามาหล่อเลี้ยงทะเลทรายในอเมริกาใต้กาลังละลาย น้าใต้ดิน
เค็มขึ้น รวมทั้งผลกระทบที่เกิดจากน้ามือมนุษย์ซึ่งหากไม่มีการลงมือป้องกันอย่างทันท่วงที ระบบนิเวศวิทยา
และสัตว์ป่าในทะเลทรายจะสูญหายไปภายใน 50 ปีข้างหน้า
ในอนาคตประชากร 500 ล้านคนที่อาศัยอยู่ในเขตทะเลทรายทั่วโลกจะอยู่ไม่ได้อีกต่อไป เพราะ
อุณหภูมิสูงขึ้นและน้าถูกใช้จนหมดหรือเค็มจนดื่มไม่ได้
ผลกระทบด้านสุขภาพ
ภาวะโลกร้อนไม่เพียง ทาให้ระบบนิเวศเปลี่ยนแปลงไปแต่มีสิ่งซ่อนเร้นที่แอบแฝงมาพร้อม
ปรากฏการณ์นี้ด้วยว่าโลกร้อนขึ้นจะสร้างสภาวะที่พอเหมาะพอควรให้เชื้อโรคเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว
โลกร้อนขึ้นจะก่อให้เกิด สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมแก่การฟักตัวของเชื้อโรคและศัตรูพืช ที่เป็นอาหาร
ของมนุษย์บางชนิด โรคที่ฟักตัวได้ดีในสภาพร้อนชื้นของโลก จะสามารถเพิ่มขึ้นมากในอีก 20 ปีข้างหน้า ทั้งจะ
มีการติดเชื้อเพิ่มมากขึ้นในโรคมาลาเรีย ไข้ส่า อหิวาตกโรค และอาหารเป็นพิษนักวิทยาศาสตร์ในที่ประชุม
องค์การอนามัยโลก และ London School of Hygiene and Tropical Medicine วิทยาลัยศึกษาด้านสุขอนามัยและ
เวชศาสตร์เขตร้อนของอังกฤษ แถลงว่า ในแต่ละปีประชาชนราว 160,000 คนเสียชีวิตเพราะได้รับผลกระทบ
จากภาวะโลกร้อน ตั้งแต่โรคมาลาเรีย ไปจนถึงการขาดแคลนสุขอนามัยที่ดี และตัวเลขผู้เสียชีวิตนี้อาจเพิ่มขึ้น
เกือบสองเท่าตัวในอีก 17 ปีข้างหน้า แถลงการณ์ของคณะแพทย์ระดับโลกระบุว่า เด็กในประเทศกาลังพัฒนาจัด
อยู่ในกลุ่มเสี่ยงมากที่สุด เช่นในประเทศแถบแอฟริกา ละตินอเมริกา และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่จะต้อง
เผชิญกับการแพร่ขยายของการขาดแคลนสุขอนามัยโรคท้องร่วง และโรคมาเลเรีย ท่ามกลางอุณหภูมิโลกร้อน
ขึ้น น้าท่วม และภัยแล้ง
วิธีการแก้ไขและป้องกันภาวะโลกร้อน
ลดการใช้พลังงานที่ไม่จาเป็นจากเครื่องใช้ไฟฟ้า เช่น แอร์ เครื่องปรับอากาศพัดลมลม หากเป็นไปได้
ใช้วิธี เปิดหน้าต่าง ซึ่งบางช่วงที่อากาศดีๆ สามารถทาได้เช่นหลังฝนตก หรือช่วงอากาศเย็น เป็นการลดค่าไฟ
และ ลดความร้อน เนื่องจากหลักการทาความเย็นนั้นคือ การถ่ายเทความร้อนออก ดังนั้นเวลาเราใช้แอร์ จะเกิด
ปริมาณความร้อนบริเวณหลังเครื่องระบายความร้อน
12
เลือกใช้ระบบขนส่งมวลชน ในกรณีที่สามารถทาได้ได้แก่ รถไฟฟ้า รถตู้รถเมล์ เนื่องจากพาหนะ แต่
ละคัน จะเกิดการเผาผลาญเชื้อเพลิง ซึ่งจะเกิดความร้อนและ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ดังนั้นเมื่อลดปริมาณ
จานวนรถ ก็จะลดจานวนการเผาไหม้บนท้องถนน ในแต่ละวันลงได้
เวลาเดินเข้าห้างสรรพสินค้า หากมีใครเปิดประตูทิ้งไว้ให้ช่วยปิดด้วยเนื่องจากห้างสรรพสินค้าแต่ละ
ห้างนั้น มีพื้นที่มาก กว่าจะทาให้เกิดความเย็นได้ก็จะก่อให้เกิด เกิดความร้อนปริมาณมาก ดังนั้นเมื่อมีคนเปิด
ประตูทิ้งไว้แอร์ก็จะยิ่งทางานมากขึ้นเพื่อให้ได้ความเย็นตามที่ระบุไว้ในเครื่อง ซึ่งประตูที่เปิดอยู่จะนาความ
ร้อนมาสู่ตัวห้างเครื่องก็จะทางานวนอยู่อย่างนั้น ซึ่งเป็นสาเหตุให้เกิดความร้อนอีกปริมาณมากต่อสภาพ
ภายนอก
พยายามรับประทานอาหารให้หมด เศษอาหารที่เหลือทิ้งไว้จะก่อให้เกิดก๊าซมีเทนซึ่งก่อให้เกิดปริมาณ
ความร้อนต่อโลก เมื่อหลายคนรวมๆกันก็เป็นปริมาณความร้อนที่มาก
ช่วยกันปลูกต้นไม้เพราะต้นไม้จะคายความชุ่มชื้นให้กับโลก และ ช่วยดูดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่ง
เป็นสาเหตุภาวะเรือนกระจก
การชวนกันออกไปเที่ยวธรรมชาติภายนอก ก็ช่วยลดการใช้ปริมาณไฟฟ้าได้
เวลาซื้อของพยายามไม่รับภาชนะที่เป็นโฟม หรือกรณีที่เป็นพลาสติก เช่นขวดน้าพยายามนากลับมาใช้
อีก เนื่องจากพลาสติกเหล่านี้ทาการย่อยสลายยาก ต้องใช้ปริมาณความร้อน เหมือนกับตอนที่ผลิตมันมา ซึ่งจะ
ก่อให้เกิดความร้อนกับโลกของเราเราสามารถนากลับมาใช้เป็นภาชนะใส่น้าแทนกระติกน้าได้หรือใช้ปลูก
ต้นไม้ก็ได้
ไม่รับประทานเนื้อสัตว์ที่เคี้ยวเอื้อง เนื่องจากสัตว์เหล่านี้ อุจจาระจะปล่อยก๊าซมีเทนออกมา ดังนี้
อุตสาหกรรมเลี้ยงสัตว์ประเภทนี้ เมื่อมีจานวนมากก็จะก่อให้เกิดความร้อนกับโลกเรามาก
ใช้กระดาษด้วยความประหยัด กระดาษแต่ละแผ่น ทามาจากการตัดต้นไม้ซึ่งเป็นเสมือนปราการสาคัญ
ของโลกเรา ดังนั้นการใช้กระดาษแต่ละแผ่นควรใช้ให้ประหยัดทั้งด้านหน้าหลัง ใช้เสร็จควรนามาเป็นวัสดุรอง
หรือ นามาเช็ดกระจกก็ได้นอกจากนี้การนากระดาษไปเผาก็จะเกิดความร้อนต่อโลกเราเช่นกัน
ไม่สนับสนุนกิจการใดๆ ที่สิ้นเปลืองทรัพยากรของโลกเรา และควรสนับสนุนกิจการที่มีการคานึงถึง
การรักษาสิ่งแวดล้อม
ลดภาวะโลกร้อนโดยการประหยัดไฟ
การใช้ไฟฟ้าที่สิ้นเปลือง ก็เป็นสาเหตุหนึ่งในการทาให้เกิดภาวะโลกร้อนได้เพราะไฟฟ้าที่เราใช้
กันอยู่ทุกวันนี้เป็นพลังงานที่เกิดจากการเผาผลาญพวกถ่านหิน น้ามัน ก๊าซธรรมชาติต่างๆซึ่งส่วนใหญ่ต้อง
นาเข้ามา กระบวนการพวกนี้จะก่อให้เกิดก๊าซเรือนกระจกและมลพิษทางอากาศ ดังนั้นแค่เพื่อนๆประหยัดไฟก็
สามารถที่จะช่วยลดภาวะโลกร้อนได้แล้วรวมทั้งยังจะช่วยในเรื่องของปัญหาเศรษฐกิจได้อีกด้วย
13
วิธีประหยัดไฟฟ้าในครัวเรือน
1. ปิดสวิตช์ไฟ และเครื่องใช้ไฟฟ้าทุกชนิดเมื่อเลิกใช้งาน สร้างให้เป็นนิสัยในการดับไฟทุกครั้งที่ออกจากห้อง
2. เลือกซื้อเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ได้มาตรฐาน ดูฉลากแสดงประสิทธิภาพ ให้แน่ใจทุกครั้งก่อนตัดสินใจซื้อ หากมี
อุปกรณ์ไฟฟ้าเบอร์ 5 ต้องเลือกใช้เบอร์ 5
3. ปิดเครื่องปรับอากาศทุกครั้งที่จะไม่อยู่ในห้องเกิน 1 ชั่วโมงสาหรับเครื่องปรับอากาศทั่วไป และ 30 นาที
สาหรับเครื่องปรับอากาศเบอร์ 5
4. หมั่นทาความสะอาดแผ่นกรองอากาศของเครื่องปรับอากาศบ่อยๆ เพื่อลดการเปลืองไฟในการทางานของ
เครื่องปรับอากาศ
5. ตั้งอุณหภูมิเครื่องปรับอากาศที่ 25 องศาเซลเซียส ซึ่งเป็นอุณหภูมิที่กาลังสบาย อุณหภูมิที่เพิ่มขึ้น 1 องศา ต้อง
ใช้พลังงานเพิ่มขึ้นร้อยละ 5-10
6. ไม่ควรปล่อยให้มีความเย็นรั่วไหลจากห้องที่ติดตั้งเครื่องปรับอากาศ ตรวจสอบและอุดรอยรั่วตามผนัง ฝ้า
เพดาน ประตูช่องแสง และปิดประตูห้องทุกครั้งที่เปิดเครื่องปรับอากาศ
7. ลดและหลีกเลี่ยงการเก็บเอกสาร หรือวัสดุอื่นใดที่ไม่จาเป็นต้องใช้งานในห้องที่มีเครื่องปรับอากาศ เพื่อลด
การสูญเสีย และใช้พลังงานในการปรับอากาศภายในอาคาร
8. ติดตั้งฉนวนกันความร้อนโดยรอบห้องที่มีการปรับอากาศเพื่อลดการสูญเสียพลังงานจากการถ่ายเทความร้อน
เข้าภายในอาคาร
9. ใช้มูลี่กันสาดป้องกันแสงแดดส่องกระทบตัวอาคาร และบุฉนวนกันความร้อนตามหลังคาและฝาผนังเพื่อ
ไม่ให้เครื่องปรับอากาศทางานหนักเกินไป
10. หลีกเลี่ยงการสูญเสียพลังงานจากการถ่ายเทความร้อนเข้าสู่ห้องปรับอากาศ ติดตั้งและใช้อุปกรณ์ควบคุมการ
เปิด-ปิดประตูในห้องที่มีเครื่องปรับอากาศ
11. ควรปลูกต้นไม้รอบๆ อาคาร เพราะต้นไม้ขนาดใหญ่ 1 ต้นให้ความเย็นเท่ากับเครื่องปรับอากาศ 1 ตัน หรือ
ให้ความเย็นประมาณ 12,000 บีทียู
12. ควรปลูกต้นไม้เพื่อช่วยบังแดดข้างบ้านหรือเหนือหลังคา เพื่อเครื่องปรับอากาศจะไม่ต้องทางานหนักเกินไป
13. ปลูกพืชคลุมดิน เพื่อช่วยลดความร้อนและเพิ่มความชื้นให้กับดิน จะทาให้บ้านเย็น ไม่จาเป็นต้องเปิด
เครื่องปรับอากาศเย็นจนเกินไป
14. ในสานักงาน ให้ปิดไฟ ปิดเครื่องปรับอากาศ และอุปกรณ์ ไฟฟ้าที่ไม่จาเป็น ในช่วงเวลา 12.00-13.00 น. จะ
สามารถประหยัดค่าไฟฟ้าได้
15. ไม่จาเป็นต้องเปิดเครื่องปรับอากาศก่อนเวลาเริ่มงาน และควรปิดเครื่องปรับอากาศก่อนเวลาเลิกใช้งาน
เล็กน้อย เพื่อประหยัดไฟ
16. เลือกซื้อพัดลมที่มีเครื่องหมายมาตรฐานรับรอง เพราะพัดลมที่ไม่ได้คุณภาพ มักเสียง่าย ทาให้สิ้นเปลือง
17. หากอากาศไม่ร้อนเกินไป ควรเปิดพัดลมแทนเครื่องปรับอากาศ จะช่วยประหยัดไฟ ประหยัดเงินได้มาก
ทีเดียว
18. ใช้หลอดไฟประหยัดพลังงาน ใช้หลอดผอมจอมประหยัดแทนหลอดอ้วน ใช้หลอดตะเกียบแทนหลอดไส้
หรือใช้หลอดคอมแพคท์ฟลูออเรสเซนต์
14
19. ควรใช้บัลลาสต์ประหยัดไฟ หรือบัลลาสต์อิเล็กโทรนิกคู่กับหลอดผอมจอมประหยัด จะช่วยเพิ่ม
ประสิทธิภาพในการประหยัดไฟได้อีกมาก
20. ควรใช้โคมไฟแบบมีแผ่นสะท้อนแสงในห้องต่างๆ เพื่อช่วยให้แสงสว่างจากหลอดไฟ กระจายได้อย่างเต็ม
ประสิทธิภาพ ทาให้ไม่จาเป็นต้องใช้หลอดไฟฟ้าวัตต์สูง ช่วยประหยัดพลังงาน
21. หมั่นทาความสะอาดหลอดไฟที่บ้าน เพราะจะช่วยเพิ่มแสงสว่างโดยไม่ต้องใช้พลังงานมากขึ้น ควรทาอย่าง
น้อย 4 ครั้งต่อปี
22. ใช้หลอดไฟที่มีวัตต์ต่า สาหรับบริเวณที่จาเป็นต้องเปิดทิ้งไว้ทั้งคืน ไม่ว่าจะเป็นในบ้านหรือข้างนอก เพื่อ
ประหยัดค่าไฟฟ้า
23. ควรตั้งโคมไฟที่โต๊ะทางาน หรือติดตั้งไฟเฉพาะจุด ประหยัดไฟลงไปได้มาก
24. ควรใช้สีอ่อนตกแต่งอาคาร ทาผนังนอกอาคารเพื่อการสะท้อนแสงที่ดี และทาภายในอาคารเพื่อทาให้ห้อง
สว่างได้มากกว่า
25. ใช้แสงสว่างจากธรรมชาติให้มากที่สุด เช่น ติดตั้งกระจก หรือติดฟิล์มที่มีคุณสมบัติป้องกันความร้อน แต่
ยอมให้แสงผ่าน เข้าได้เพื่อลดการใช้พลังงานเพื่อแสงสว่างภายในอาคาร
26. ถอดหลอดไฟออกครึ่งหนึ่งในบริเวณที่มีความต้องการใช้แสงสว่างน้อย หรือบริเวณที่มีแสงสว่างพอเพียง
แล้ว
27. ปิดตู้เย็นให้สนิท ทาความสะอาดภายในตู้เย็น และแผ่นระบายความร้อนหลังตู้เย็นสม่าเสมอ เพื่อให้ตู้เย็นไม่
ต้องทางานหนักและเปลืองไฟ
28. อย่าเปิดตู้เย็นบ่อย อย่านาของร้อนเข้าแช่ในตู้เย็น เพราะจะทาให้ตู้เย็นทางานเพิ่มขึ้น กินไฟมากขึ้น
29. ตรวจสอบขอบยางประตูของตู้เย็นไม่ให้เสื่อมสภาพ เพราะจะทาให้ความเย็นรั่วออกมาได้ทาให้สิ้นเปลือง
ไฟมากกว่าที่จาเป็น
30. เลือกขนาดตู้เย็นให้เหมาะสมกับขนาดครอบครัว อย่าใช้ตู้เย็นใหญ่เกินความจาเป็นเพราะกินไฟมากเกินไป
และควรตั้งตู้เย็นไว้ห่างจากผนังบ้าน 15 ซม.
31. ควรละลายน้าแข็งในตู้เย็นสม่าเสมอ การปล่อยให้น้าแข็งจับหนาเกินไป จะทาให้เครื่องต้องทางานหนัก ทา
ให้กินไฟมาก
32. เลือกซื้อตู้เย็นประตูเดียว เนื่องจากตู้เย็น 2 ประตู จะกินไฟมากกว่าตู้เย็นประตูเดียวที่มีขนาดเท่ากัน เพราะ
ต้องใช้ท่อน้ายาทาความเย็นที่ยาวกว่า และใช้คอมเพรสเซอร์ขนาดใหญ่กว่า
33. ควรตั้งสวิตช์ควบคุมอุณหภูมิของตู้เย็นให้เหมาะสม การตั้งที่ตัวเลขต่าเกินไป อุณหภูมิจะเย็นน้อย ถ้าตั้งที่
ตัวเลขสูงเกินไปจะเย็นมากเพื่อให้ประหยัดพลังงานควรตั้งที่เลขต่าที่มีอุณหภูมิพอเหมาะ
34. ไม่ควรพรมน้าจนแฉะเวลารีดผ้า เพราะต้องใช้ความร้อนในการรีดมากขึ้น เสียพลังงานมากขึ้น เสียค่าไฟ
เพิ่มขึ้น
35. ดึงปลั๊กออกก่อนการรีดเสื้อผ้าเสร็จ เพราะความร้อนที่เหลือในเตารีด ยังสามารถรีดต่อได้จนกระทั่งเสร็จ
ช่วยประหยัดไฟฟ้า
36. เสียบปลั๊กครั้งเดียว ต้องรีดเสื้อให้เสร็จ ไม่ควรเสียบและถอดปลั๊กเตารีดบ่อยๆ เพราะการทาให้เตารีดร้อนแต่
ละครั้งกินไฟมาก
15
37. ลด ละ เลี่ยง การใส่เสื้อสูท เพราะไม่เหมาะสมกับสภาพอากาศเมืองร้อน สิ้นเปลืองการตัด ซัก รีด และความ
จาเป็นในการเปิดเครื่องปรับอากาศ
38. ซักผ้าด้วยเครื่อง ควรใส่ผ้าให้เต็มกาลังของเครื่อง เพราะซัก1 ตัวกับซัก 20 ตัว ก็ต้องใช้น้าในปริมาณเท่าๆ
กัน
39. ไม่ควรอบผ้าด้วยเครื่อง เมื่อใช้เครื่องซักผ้า เพราะเปลืองไฟ มาก ควรตากเสื้อผ้ากับแสงแดดหรือแสง
ธรรมชาติจะดีกว่า ทั้งยังช่วยประหยัดไฟได้มากกว่า
40. ปิดโทรทัศน์ทันทีเมื่อไม่มีคนดู เพราะการเปิดทิ้งไว้โดยไม่มีคนดู เป็นการสิ้นเปลืองไฟฟ้าโดยใช่เหตุ แถม
ยังต้องซ่อมเร็วอีกด้วย
41. ไม่ควรปรับจอโทรทัศน์ให้สว่างเกินไป และอย่าเปิดโทรทัศน์ให้เสียงดังเกินความจาเป็น เพราเปลืองไฟ ทา
ให้อายุเครื่องสั้นลงด้วย
42. อยู่บ้านเดียวกัน ดูโทรทัศน์รายการเดียวกัน ก็ควรจะดูเครื่องเดียวกัน ไม่ใช่ดูคนละเครื่อง คนละห้อง เพราะ
จะทาให้ สิ้นเปลืองพลังงาน
43. เช็ดผมให้แห้งก่อนเป่าผมทุกครั้ง ใช้เครื่องเป่าผมสาหรับแต่งทรงผม ไม่ควรใช้ทาให้ผมแห้ง เพราะต้องเป่า
นาน เปลืองไฟฟ้า
44. ใช้เตาแก๊สหุงต้มอาหาร ประหยัดกว่าใช้เตาไฟฟ้า เตาอบไฟฟ้าและควรติดตั้งวาล์วนิรภัย (Safety Value) เพื่อ
ความปลอดภัยด้วย
45. เวลาหุงต้มอาหารด้วยเตาไฟฟ้า ควรจะปิดเตาก่อนอาหารสุก5 นาที เพราะความร้อนที่เตาจะร้อนต่ออีกอย่าง
น้อย 5 นาทีเพียงพอที่จะทาให้อาหารสุกได้
46. อย่าเสียบปลั๊กหม้อหุงข้าวไว้เพราะระบบอุ่นจะทางานตลอดเวลา ทาให้สิ้นเปลืองไฟเกินความจาเป็น
47. กาต้มน้าไฟฟ้า ต้องดึงปลั๊กออกทันทีเมื่อน้าเดือด อย่าเสียบไฟไว้เมื่อไม่มีคนอยู่ เพราะนอกจากจะไม่
ประหยัดพลังงานแล้วยังอาจทาให้เกิดไฟไหม้ได้
48. แยกสวิตช์ไฟออกจากกัน ให้สามารถเปิดปิดได้เฉพาะจุด ไม่ใช้ปุ่มเดียวเปิดปิดทั้งชั้น ทาให้เกิดการ
สิ้นเปลืองและสูญเปล่า
49. หลีกเลี่ยงการติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้า ที่ต้องมีการปล่อยความร้อนเช่น กาต้มน้า หม้อหุงต้ม ไว้ในห้องที่มี
เครื่องปรับอากาศ
50. ซ่อมบารุงอุปกรณ์ไฟฟ้าให้อยู่ในสภาพที่ใช้งานได้และหมั่นทาความสะอาดเครื่องใช้ไฟฟ้าอยู่เสมอ จะทา
ให้ลดการสิ้นเปลืองไฟได้
51. อย่าเปิดคอมพิวเตอร์ทิ้งไว้ถ้าไม่ใช้งาน ติดตั้งระบบลดกระแสไฟฟ้าเข้าเครื่องเมื่อพักการทางาน จะประหยัด
ไฟได้ร้อยละ 35-40 และถ้าหากปิดหน้าจอทันทีเมื่อไม่ใช้งาน จะประหยัดไฟได้ร้อยละ 60
52. ดูสัญลักษณ์ Energy Star ก่อนเลือกซื้ออุปกรณ์สานักงาน(เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องโทรสาร เครื่อง
พิมพ์ดีดไฟฟ้าเครื่องถ่ายเอกสาร ฯลฯ) ซึ่งจะช่วยประหยัดพลังงาน ลดการใช้กาลังไฟฟ้า เพราะจะมีระบบ
ประหยัดไฟฟ้าอัตโนมัติ
53. ใช้หลอดประหยัดพลังงานแทนหลอดไส้
54. ใช้พัดลมแทนเครื่องปรับอากาศ
16
55. ล้างเครื่องปรับอากาศปีละ 2 ครั้ง เพื่อให้เครื่องปรับอากาศทางานได้อย่างเต็มที่
56. ตั้งอุณหภูมิเครื่องปรับอากาศไม่เกิน 25 องศา
57. ไม่นาความชื้นเข้าห้อง ขณะเปิดเครื่องปรับอากาศ
58. ปิดหน้าต่าง ลดการใช้เครื่องทาความเย็น
59. ถอกปลั๊กไฟทุกครั้งเมื่อไม่ใช้งาน
60. เมื่อต้องการหยุดพักการทางานจากคอมพิวเตอร์สักพักหนึ่ง ให้ปิดหน้าจอ
61. รีดผ้าทีละหลายๆตัวในครั้งเดียวกัน
62. ไม่เปิดโทรทัศน์ทิ้งไว้
63. หลังจากปิดโทรทัศน์ให้ถอกปลั๊กไฟออกทุกครั้งเมื่อไม่ใช้งาน
64. ตอนกลางวันเปิดหน้าต่างเพื่อรับแสงแดดแทนการใช้หลอดไฟฟ้า
65. เมื่อกาต้มน้าไฟฟ้าเดือดแล้วทิ้งไว้สักพักแล้วถอดปลั๊กไปออก
66.เมื่อหม้อหุงข้าวหุงสุกแล้วให้ทิ้งไว้สักพักแล้วถอดปลั๊กไฟออก
67. จัดสรรเวลาการใช้งานเครื่องใช้ไฟฟ้าให้เหมาะสมเช่น โทรทัศน์ คอมพิวเตอร์ ฯลฯ
68. ไม่เปิดฝาตู้เย็นทิ้งไว้
69. อยู่ในห้องที่เปิดเครื่องทาความเย็นด้วยกัน เช่น พัดลม เครื่องปรับอากาศ
70. ใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าเบอร์ 5
ตารางแสดงแก๊สเรือนกระจกและแหล่งที่มา
ก๊าซเรือนกระจก แหล่งที่มา ส่งผลให้
โลกร้อน
ขึ้น (%)
ก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์
(CO2)
1) จากแหล่งธรรมชาติ เช่นกระบวนการหายใจของสิ่งมีชีวิต
2) จากมนุษย์เช่นการเผาไหม้เชื้อเพลิงจากโรงงาน
อุตสาหกรรมต่างๆ , การตัดไม้ทาลายป่า (ลดการดูดซับ CO2)
57
ก๊าซมีเทน(CH4) 1) จากแหล่งธรรมชาติ เช่นจากการย่อยสลายของสิ่งมีชีวิต,
การเผาไหม้ที่เกิดจากธรรมชาติ
2) จากมนุษย์เช่นจากนาข้าว, แหล่งน้าท่วม, จากการเผาไหม้
เชื้อเพลิงประเภทถ่านหิน น้ามันและแก๊สธรรมชาติ
12
ก๊าซไนตรัสออกไซด
(N2O)
1) จากมนุษย์เช่นอุตสาหกรรมที่ใช้กรดไนตริกใน
ขบวนการผลิต, อุตสาหกรรมพลาสติก, อุตสาหกรรมไนลอน,
อุตสาหกรรมเคมี, การเผาไหม้เชื้อเพลิงจากซากพืชและสัตว์,
ปุ๋ ย, การเผาป่า
2) จากแหล่งธรรมชาติ - อยู่ในภาวะที่สมดุล
6
17
ก๊าซที่มีส่วนประกอบ
คลอโรฟลูออโรคาร์บอน
(CFCS)
จากมนุษย์เช่นอุตสาหกรรมต่างๆ และอุปกรณ์เครื่องใช้ใน
ชีวิตประจาวัน เช่น โฟม, กระป๋ องสเปรย์, เครื่องทาความเย็น ;
ตู้เย็น แอร์, ตัวทาลาย (ก๊าซนี้จะรวมตัวทางเคมีได้ดีกับโอโซน
ทาให้โอโซนในชั้นบรรยากาศลดลงหรือเกิดรูรั่วในชั้น
โอโซน)
25
ปรากฏการณ์โลกร้อน
ปรากฏการณ์โลกร้อน (อังกฤษ: Global warming) หมายถึงการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิเฉลี่ยของ
อากาศใกล้พื้นผิวโลกและน้าในมหาสมุทรตั้งแต่ช่วงครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 20 และมีการคาดการณ์ว่า
อุณหภูมิเฉลี่ยจะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
ในช่วง 100 ปีที่ผ่านมา นับถึงพ.ศ. 2548 อากาศใกล้ผิวดินทั่วโลกโดยเฉลี่ยมีค่าสูงขึ้น 0.74 ± 0.18
องศาเซลเซียสซึ่งคณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
(Intergovernmental Panel on Climate Change: IPCC) ของสหประชาชาติได้สรุปไว้ว่า “จากการสังเกตการณ์
การเพิ่มอุณหภูมิโดยเฉลี่ยของโลกที่เกิดขึ้นตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 (ประมาณตั้งแต่ พ.ศ. 2490) ค่อนข้าง
แน่ชัดว่าเกิดจากการเพิ่มความเข้มของแก๊สเรือนกระจกที่เกิดขึ้นโดยกิจกรรมของมนุษย์ที่เป็นผลในรูปของ
ปรากฏการณ์เรือนกระจก” ปรากฏการณ์ธรรมชาติบางอย่าง เช่น ความผันแปรของการแผ่รังสีจากดวงอาทิตย์
และการระเบิดของภูเขาไฟอาจส่งผลเพียงเล็กน้อยต่อการเพิ่มอุณหภูมิในช่วงก่อนยุคอุตสาหกรรมจนถึงพ.ศ.
2490และมีผลเพียงเล็กน้อยต่อการลดอุณหภูมิหลังจากปี 2490 เป็นต้นมา
ข้อสรุปพื้นฐานดังกล่าวนี้ได้รับการรับรองโดยสมาคมและสถาบันการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ไม่น้อยกว่า 30
แห่ง รวมทั้งราชสมาคมทางวิทยาศาสตร์ระดับชาติที่สาคัญของประเทศอุตสาหกรรมต่าง ๆ แม้นักวิทยาศาสตร์
บางคนจะมีความเห็นโต้แย้งกับข้อสรุปของ IPCC อยู่บ้างแต่เสียงส่วนใหญ่ของนักวิทยาศาสตร์ที่ทางานด้าน
การเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศของโลกโดยตรงเห็นด้วยกับข้อสรุปนี้
แบบจาลองการคาดคะเนภูมิอากาศที่สรุปโดย IPCC บ่งชี้ว่าอุณหภูมิโลกโดยเฉลี่ยที่ผิวโลกจะ
เพิ่มขึ้น 1.1 ถึง 6.4 องศาเซลเซียส ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 21 (พ.ศ. 2544–2643) ค่าตัวเลขดังกล่าวได้มาจากการ
จาลองสถานการณ์แบบต่าง ๆ ของการแผ่ขยายแก๊สเรือนกระจกในอนาคต รวมถึงการจาลองค่าความไว
ภูมิอากาศอีกหลากหลายรูปแบบแม้การศึกษาเกือบทั้งหมดจะมุ่งไปที่ช่วงเวลาถึงเพียงปี พ.ศ. 2643 แต่ความร้อน
จะยังคงเพิ่มขึ้นและระดับน้าทะเลก็จะสูงขึ้นต่อเนื่องไปอีกหลายสหัสวรรษแม้ว่าระดับของแก๊สเรือนกระจกจะ
เข้าสู่ภาวะเสถียรแล้วก็ตาม การที่อุณหภูมิและระดับน้าทะเลเข้าสู่สภาวะดุลยภาพได้ช้าเป็นเหตุมาจากความจุ
ความร้อนของน้าในมหาสมุทรซึ่งมีค่าสูงมาก
การที่อุณหภูมิของโลกเพิ่มสูงขึ้นทาให้ระดับน้าทะเลสูงขึ้น และคาดว่าทาให้เกิดภาวะลมฟ้า
อากาศสุดโต่ง (extreme weather) ที่รุนแรงมากขึ้น ปริมาณและรูปแบบการเกิดหยาดน้าฟ้าจะเปลี่ยนแปลงไป
ผลกระทบอื่น ๆ ของปรากฏการณ์โลกร้อนได้แก่ การเปลี่ยนแปลงของผลิตผลทางเกษตร การเคลื่อนถอยของ
ธารน้าแข็งการสูญพันธุ์พืช-สัตว์ต่าง ๆ รวมทั้งการกลายพันธุ์และแพร่ขยายโรคต่าง ๆ เพิ่มมากขึ้น
18
แต่ยังคงมีความไม่แน่นอนทางวิทยาศาสตร์อยู่บ้างได้แก่ปริมาณของความร้อนที่คาดว่าจะเพิ่มใน
อนาคตผลของความร้อนที่เพิ่มขึ้นและผลกระทบอื่น ๆที่จะเกิดกับแต่ละภูมิภาคบนโลกว่าจะแตกต่างกันอย่างไร
รัฐบาลของประเทศต่าง ๆแทบทุกประเทศได้ลงนามและให้สัตยาบันในพิธีสารเกียวโตซึ่งมุ่งประเด็นไปที่การ
ลดการปล่อยแก๊สเรือนกระจก แต่ยังคงมีการโต้เถียงกันทางการเมืองและการโต้วาทีสาธารณะไปทั่วทั้งโลก
เกี่ยวกับมาตรการว่าควรเป็นอย่างไรจึงจะลดหรือย้อนกลับความร้อนที่เพิ่มขึ้นของโลกในอนาคตหรือจะปรับตัว
กันอย่างไรต่อผลกระทบของปรากฏการณ์โลกร้อนที่คาดว่าจะต้องเกิดขึ้น
คาจากัดความ
คาว่า “ปรากฏการณ์โลกร้อน” เป็นคาจาเพาะคาหนึ่งของอุบัติการณ์การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของ
โลก โดยที่ "การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ"มีความหมายถึงการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิในทุกช่วงเวลาของโลก
รวมทั้งเหตุการณ์ปรากฏการณ์โลกเย็นด้วยโดยทั่วไป คาว่า "ปรากฏการณ์โลกร้อน"จะใช้ในการอ้างถึงสภาวะที่
อุณหภูมิของโลกร้อนขึ้นในช่วงไม่กี่ทศวรรษที่ผ่านมา และมีความเกี่ยวข้องกระทบต่อมนุษย์ในอนุสัญญา
สหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (United Nations Framework Convention on Climate
Change: UNFCCC) ใช้คาว่า “การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ” (Climate Change) สาหรับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดจาก
กิจกรรมของมนุษย์และใช้คาว่า "การผันแปรของภูมิอากาศ" (Climate Variability) สาหรับการเปลี่ยนแปลงที่
เกิดจากเหตุอื่นส่วนคาว่า “ปรากฏการณ์โลกร้อนจากกิจกรรมมนุษย์” (anthropogenic global warming) มีที่ใช้
ในบางคราวเพื่อเน้นถึงการเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากเหตุอันเนื่องมาจากมนุษย์
สาเหตุ
สภาพภูมิอากาศของโลกมีการเปลี่ยนแปลงไปตามแรงกระทาจากภายนอก ซึ่งรวมถึงการผันแปร
ของวงโคจรรอบดวงอาทิตย์(แรงกระทาจากวงโคจร)การระเบิดของภูเขาไฟและการสะสมของแก๊สเรือน
กระจกในบรรยากาศรายละเอียดเกี่ยวกับสาเหตุของความร้อนที่เพิ่มขึ้นของโลกยังคงเป็นประเด็นการวิจัยที่มี
ความเคลื่อนไหวอยู่เสมอ อย่างไรก็ดี มีความเห็นร่วมทางวิทยาศาสตร์ (scientific consensus) บ่งชี้ว่าระดับการ
เพิ่มของแก๊สเรือนกระจกที่เกิดจากกิจกรรมของมนุษย์เป็นส่วนที่มีอิทธิพลสาคัญที่สุดนับแต่เริ่มต้นยุค
อุตสาหกรรมเป็นต้นมาสาเหตุข้อนี้มีความชัดเจนมากในช่วง 50 ปีที่ผ่านมาเนื่องจากมีข้อมูลมากพอสาหรับการ
พิเคราะห์นอกจากนี้ยังมีสมมุติฐานอื่นในมุมมองที่ไม่ตรงกันกับความเห็นร่วมทางวิทยาศาสตร์ข้างต้น ซึ่ง
นาไปใช้เพื่ออธิบายเหตุการณ์ที่อุณหภูมิมีค่าสูงขึ้นสมมุติฐานหนึ่งในนั้นเสนอว่าความร้อนที่เพิ่มขึ้นอาจเป็นผล
จากการผันแปรภายในของดวงอาทิตย์
ผลกระทบจากแรงดังกล่าวมิได้เกิดขึ้นในฉับพลันทันใด เนื่องจาก “แรงเฉื่อยของความร้อน”
(thermal inertia) ของมหาสมุทรและการตอบสนองอันเชื่องช้าต่อผลกระทบทางอ้อมทาให้สภาวะภูมิอากาศของ
โลก ณ ปัจจุบันยังไม่อยู่ในสภาวะสมดุลจากแรงที่กระทา การศึกษาเพื่อหา “ข้อผูกมัดของภูมิอากาศ” (Climate
commitment) บ่งชี้ว่า แม้แก๊สเรือนกระจกจะอยู่ในสภาวะเสถียรในปีพ.ศ. 2543 ก็ยังคงมีความร้อนเพิ่มขึ้นอีก
ประมาณ 0.5 องศาเซลเซียสอยู่ดี
Save wolrdsaveenergy   com58projectf
Save wolrdsaveenergy   com58projectf
Save wolrdsaveenergy   com58projectf
Save wolrdsaveenergy   com58projectf
Save wolrdsaveenergy   com58projectf
Save wolrdsaveenergy   com58projectf
Save wolrdsaveenergy   com58projectf
Save wolrdsaveenergy   com58projectf
Save wolrdsaveenergy   com58projectf
Save wolrdsaveenergy   com58projectf
Save wolrdsaveenergy   com58projectf
Save wolrdsaveenergy   com58projectf
Save wolrdsaveenergy   com58projectf

More Related Content

Similar to Save wolrdsaveenergy com58projectf

Save wolrd, save energy com58project1
Save wolrd,  save energy   com58project1Save wolrd,  save energy   com58project1
Save wolrd, save energy com58project1parwaritfast
 
Save wolrd , save energy com58project
Save wolrd , save energy   com58projectSave wolrd , save energy   com58project
Save wolrd , save energy com58projectparwaritfast
 
โครงงานวิทย์ งานคอม
โครงงานวิทย์  งานคอม โครงงานวิทย์  งานคอม
โครงงานวิทย์ งานคอม Aungkana Na Na
 
โครงงานกังหันลมผลิตไฟฟ้า
โครงงานกังหันลมผลิตไฟฟ้าโครงงานกังหันลมผลิตไฟฟ้า
โครงงานกังหันลมผลิตไฟฟ้าChotiwat Lertpasnawat
 
ใบงานที่ 5 โครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงงานใบงานที่ 5 โครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงงานThanatchaporn Phookham
 
2562 final-project 37-609_pornchita
2562 final-project 37-609_pornchita2562 final-project 37-609_pornchita
2562 final-project 37-609_pornchitaPornchita Taejanung
 
โครงงาน คอม 2
โครงงาน คอม 2โครงงาน คอม 2
โครงงาน คอม 2Inthuon Innowon
 
เค้าโครงร่างโครงงาน
เค้าโครงร่างโครงงานเค้าโครงร่างโครงงาน
เค้าโครงร่างโครงงานJah Jadeite
 
ใบงานที่ 6 โครงงาน
ใบงานที่ 6 โครงงานใบงานที่ 6 โครงงาน
ใบงานที่ 6 โครงงานBenz 'ExTreame
 
โครงงานคอม 7,9
โครงงานคอม 7,9โครงงานคอม 7,9
โครงงานคอม 7,9Oon'k Still
 

Similar to Save wolrdsaveenergy com58projectf (20)

at 1
at 1at 1
at 1
 
Save wolrd, save energy com58project1
Save wolrd,  save energy   com58project1Save wolrd,  save energy   com58project1
Save wolrd, save energy com58project1
 
Save wolrd , save energy com58project
Save wolrd , save energy   com58projectSave wolrd , save energy   com58project
Save wolrd , save energy com58project
 
โครงงานวิทย์ งานคอม
โครงงานวิทย์  งานคอม โครงงานวิทย์  งานคอม
โครงงานวิทย์ งานคอม
 
โครงงานกังหันลมผลิตไฟฟ้า
โครงงานกังหันลมผลิตไฟฟ้าโครงงานกังหันลมผลิตไฟฟ้า
โครงงานกังหันลมผลิตไฟฟ้า
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
ใบงานที่ 5 โครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงงานใบงานที่ 5 โครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงงาน
 
2562 final-project 37-609_pornchita
2562 final-project 37-609_pornchita2562 final-project 37-609_pornchita
2562 final-project 37-609_pornchita
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
โครงงาน คอม 2
โครงงาน คอม 2โครงงาน คอม 2
โครงงาน คอม 2
 
Com
ComCom
Com
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
AT1
AT1AT1
AT1
 
AT1
AT1AT1
AT1
 
เค้าโครงร่างโครงงาน
เค้าโครงร่างโครงงานเค้าโครงร่างโครงงาน
เค้าโครงร่างโครงงาน
 
ใบงานที่ 6 โครงงาน
ใบงานที่ 6 โครงงานใบงานที่ 6 โครงงาน
ใบงานที่ 6 โครงงาน
 
โครงงานคอม 7,9
โครงงานคอม 7,9โครงงานคอม 7,9
โครงงานคอม 7,9
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 
Thanatporn03
Thanatporn03Thanatporn03
Thanatporn03
 
Thailand gogreen cavaw_ts
Thailand gogreen cavaw_tsThailand gogreen cavaw_ts
Thailand gogreen cavaw_ts
 

More from parwaritfast

English project work
English project workEnglish project work
English project workparwaritfast
 
The bizarre festival in the world แก้ไข (1)
The bizarre festival in the world แก้ไข (1)The bizarre festival in the world แก้ไข (1)
The bizarre festival in the world แก้ไข (1)parwaritfast
 
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบรายงานออกแบบ
รายงานออกแบบparwaritfast
 
The bizarre festival in the world [outline]
The bizarre festival in the world [outline]The bizarre festival in the world [outline]
The bizarre festival in the world [outline]parwaritfast
 
English idioms&proverbs1
English idioms&proverbs1English idioms&proverbs1
English idioms&proverbs1parwaritfast
 
Save wolrdsaveenergy com58projectf
Save wolrdsaveenergy   com58projectfSave wolrdsaveenergy   com58projectf
Save wolrdsaveenergy com58projectfparwaritfast
 
ต่อมไทรอยด์
ต่อมไทรอยด์ต่อมไทรอยด์
ต่อมไทรอยด์parwaritfast
 
แผ่นพับต่อมไทรอยด์
แผ่นพับต่อมไทรอยด์แผ่นพับต่อมไทรอยด์
แผ่นพับต่อมไทรอยด์parwaritfast
 
การวางแผนสุขภาพ
การวางแผนสุขภาพการวางแผนสุขภาพ
การวางแผนสุขภาพparwaritfast
 
พรบ.คอมพิวเตอร์พ.ศ.2550
พรบ.คอมพิวเตอร์พ.ศ.2550พรบ.คอมพิวเตอร์พ.ศ.2550
พรบ.คอมพิวเตอร์พ.ศ.2550parwaritfast
 

More from parwaritfast (14)

outline graft
outline graft outline graft
outline graft
 
Com project1
Com project1Com project1
Com project1
 
English project work
English project workEnglish project work
English project work
 
The bizarre festival in the world แก้ไข (1)
The bizarre festival in the world แก้ไข (1)The bizarre festival in the world แก้ไข (1)
The bizarre festival in the world แก้ไข (1)
 
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบรายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
 
The bizarre festival in the world [outline]
The bizarre festival in the world [outline]The bizarre festival in the world [outline]
The bizarre festival in the world [outline]
 
English idioms&proverbs1
English idioms&proverbs1English idioms&proverbs1
English idioms&proverbs1
 
Save wolrdsaveenergy com58projectf
Save wolrdsaveenergy   com58projectfSave wolrdsaveenergy   com58projectf
Save wolrdsaveenergy com58projectf
 
ต่อมไทรอยด์
ต่อมไทรอยด์ต่อมไทรอยด์
ต่อมไทรอยด์
 
แผ่นพับต่อมไทรอยด์
แผ่นพับต่อมไทรอยด์แผ่นพับต่อมไทรอยด์
แผ่นพับต่อมไทรอยด์
 
การวางแผนสุขภาพ
การวางแผนสุขภาพการวางแผนสุขภาพ
การวางแผนสุขภาพ
 
พรบ.คอมพิวเตอร์พ.ศ.2550
พรบ.คอมพิวเตอร์พ.ศ.2550พรบ.คอมพิวเตอร์พ.ศ.2550
พรบ.คอมพิวเตอร์พ.ศ.2550
 
Blog555
Blog555Blog555
Blog555
 
Myself
MyselfMyself
Myself
 

Save wolrdsaveenergy com58projectf

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2558 ชื่อโครงงาน การลดโลกร้อนด้วยการประหยัดไฟฟ้าในครัวเรือน ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย ปวริศร์ อุปันโน เลขที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 14 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1.) นาย ปวริศร์ อุปันโน ชั้น ม.6/14 เลขที่ 1 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) การลดโลกร้อนด้วยการประหยัดไฟฟ้าในครัวเรือน ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Save world, save energy ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย ปวริศร์ อุปันโน ชั้น ม.6/14 เลขที่ 1 ชื่อที่ปรึกษา คุณครู เขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน เดือนสิงหาคม – เดือนตุลาคม พ.ศ. 2558 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน ปัจจุบันนั้นได้เกิดปรากฏการณ์ภาวะโลกร้อนซึ่งกาลังเป็นที่ถกเถียงกันในปัจจุบันเป็นอย่างมาก สาเหตุที่ ทาให้เกิดภาวะโลกร้อน ภาวะโลกร้อน (Global Warming) ก็คือการที่อุณหภูมิเฉลี่ยของอากาศบนโลกสูงขึ้น ซึ่งว่า ก๊าซเรือนกระจกที่เพิ่มขึ้นจากการทากิจกรรมต่างๆของมนุษย์ไม่ว่าจะเป็นการเผาผลาญถ่านหินและเชื้อเพลิง การ ใช้พลังงานไฟฟ้าสิ้นเปลือง รวมไปถึงสารเคมีที่มีส่วนผสมของก๊าซเรือนกระจกที่มนุษย์ใช้และอื่นๆอีกมากมาย จึง ทาให้ก๊าซเรือนกระจกเหล่านี้ลอยขึ้นไปรวมตัวกันอยู่บนชั้นบรรยากาศของโลก ทาให้รังสีของดวงอาทิตย์ที่ควรจะ สะท้อนกลับออกไปในปริมาณที่เหมาะสม กลับถูกก๊าซเรือนกระจกเหล่านี้กักเก็บไว้ทาให้อุณหภูมิของโลกค่อยๆ สูงขึ้นกว่าเดิม และทาให้เกิดผลกระทบตามมามากมาย เช่น น้าแข็งขั้วโลกละลาย อุณหภูมิของโลกเพิ่มขึ้น ฤดูกาล ไม่ตรงกับวันเวลา เป็นต้น การใช้ไฟฟ้าที่สิ้นเปลือง ก็เป็นสาเหตุหนึ่งในการทาให้เกิดภาวะโลกร้อนได้เพราะไฟฟ้า ที่เราใช้กันอยู่ทุกวันนี้ เป็นพลังงานที่เกิดจากการเผาผลาญพวกถ่านหิน น้ามัน ก๊าซธรรมชาติต่างๆ โรงไฟฟ้าถ่าน หินเป็นตัวการสาคัญที่สุด ถ่านหินเป็นเชื้อเพลิงฟอสซิลที่ก่อมลพิษสูงที่สุด และเป็นตัวปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งเป็นก๊าซเรือนกระจก มากที่สุดในโลก ปัจจุบันการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ 1 ใน 3 ของโลกมาจากการเผา ไหม้ถ่านหิน เราสามารถหยุดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศได้โดยลดการพึ่งพาเชื้อเพลิงฟอสซิล โดยเฉพาะ
  • 3. 3 ถ่านหินที่เป็นเชื้อเพลิงในการผลิตพลังงานไฟฟ้า ด้วยเหตุผลนี้เองผู้จัดทาโครงงานจึงได้เกิดความคิดเพื่อลดการใช้ งานเครื่องใช้ไฟฟ้า เพื่อลดปรากฏการณ์เรือนกระจก หรือที่เรียกว่าโลกร้อนนั่นเอง ซึ่งเป็นวิธีที่ง่ายๆ ไม่ว่าใครก็ สามารถทาได้หากสมาชิกในครอบครัวพร้อมใจช่วยกันประหยัดไฟฟ้าแล้ว เชื่อว่าจะต้องสามารถลดการใช้งาน เครื่องใช้ไฟฟ้า เพื่อลดปัญหาโลกร้อนและสามารถลดค่าไฟฟ้าไปในตัวได้อีกด้วยได้อีกด้วย วัตถุประสงค์ 1.) เพื่อลดปัญหาภาวะโลกร้อน 2.) เพื่อให้รู้จักการคิดวางแผนงาน 3.) เพื่อให้ตระหนักถึงการประหยัดทรัพยากร 4.) เพื่อให้ได้รู้คุณค่าของพลังงาน 5.) เพื่อปลูกฝังนิสัยการประหยัดพลังงาน 6.) เพื่อให้ตระหนักถึงผลเสียที่เกิดจากภาวะโลกร้อนในวันข้างหน้า และเพื่อให้เกิดความกระตือรือร้นในการ ช่วยลดปัญหาจากภาวะโลกร้อน ขอบเขตโครงงาน สถานที่ บ้านเลขที่ 3/1 ถนนหลิ่งกอก ตาบลช้างเผือก อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50300 ระยะเวลาการทาโครงการ ระหว่าง เดือนสิงหาคม – เดือนตุลาคม พ.ศ.2558 หลักการและทฤษฎี เอกสารที่เกี่ยวข้อง ภาวะโลกร้อน คือ ภาวะโลกร้อน คือ การที่อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกเพิ่มขึ้น จากภาวะเรือน กระจก หรือที่เรารู้จักกันดีในชื่อ ว่า Green house effect ซึ่งมีต้นเหตุจากการที่มนุษย์ได้เพิ่มปริมาณก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ จาก การเผาไหม้เชื้อเพลิงต่างๆ การขนส่ง และ การผลิตในโรงงานอุตสาหกรรม นอกจากนั้น มนุษย์เรายัง ได้เพิ่มก๊าซกลุ่มไนตรัสออกไซด์ และคลอโรฟลูโรคาร์บอน (CFC) เข้าไปอีก ด้วย พร้อมๆกับการที่เราตัดและทาลาย ป่าไม้จานวนมหาศาลเพื่อสร้างสิ่งอานวย ความสะดวก ให้แก่มนุษย์ทาให้กลไกใน การดึงเอาก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกไป จากระบบบรรยากาศถูกลดทอนประ สิทธิ ภาพลง และในที่สุดสิ่งต่างๆที่เราได้กระทา ต่อโลกได้หวนกลับมาสู่เราในลักษณะของ ภาวะโลกร้อน
  • 4. 4 สาเหตุภาวะโลกร้อน สาเหตุภาวะโลกร้อนเป็นภัยพิบัติที่มาถึง โดยที่เราทุกคนต่างทราบถึง สาเหตุของการเกิดเป็นอย่างดี นั่นคือ การที่มนุษย์เผาผลาญเชื้อเพลิงฟอสซิล เช่น ถ่านหิน น้ามัน และก๊าซธรรมชาติ เพื่อผลิตพลังงาน ทาให้เกิดก๊าซเรือนกระจก ซึ่งเป็นสาเหตุสาคัญในการเกิดภาวะโลกร้อน ก๊าซเรือนกระจก (Greenhouse Gas) เป็นก๊าซที่มีคุณสมบัติในการดูดซับคลื่นรังสีความร้อน หรือรังสีอินฟาเรดได้ดี ก๊าซเหล่านี้มีความ จาเป็นต่อการรักษาอุณหภูมิในบรรยากาศของโลกให้คงที่ ซึ่งหากบรรยากาศโลกไม่มีก๊าซเรือนกระจกในชั้น บรรยากาศ ดังเช่นดาวเคราะห์ดวงอื่นๆในระบบสุริยะแล้ว จะทาให้อุณหภูมิในตอนกลางวันนั้นร้อนจัด และใน ตอนกลางคืนนั้นหนาวจัด เนื่องจากก๊าซเหล่านี้ดูดคลื่นรังสีความร้อนไว้ในเวลากลางวัน แล้วค่อยๆ แผ่รังสี ความร้อนออกมาในเวลากลางคืน ทาให้อุณหภูมิในบรรยากาศโลกไม่เปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลัน มีก๊าซจานวน มากที่มีคุณสมบัติในการดูดซับคลื่นรังสีความร้อน และถูกจัดอยู่ในกลุ่มก๊าซเรือนกระจก ซึ่งมีทั้งก๊าซที่เกิดขึ้น เองตามธรรมชาติและเกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ก๊าซเรือนกระจกที่สาคัญคือ ไอน้า ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ โอโซน มีเทนและไนตรัสออกไซด์ สารซีเอฟซี เป็นต้น แต่ก๊าซเรือนกระจกที่ถูกควบคุมโดยพิธีสารเกียวโต มี เพียง 6 ชนิด โดยจะต้องเป็นก๊าซที่เกิดจากกิจกรรมของมนุษย์เท่านั้น ได้แก่ ทั้งนี้ ยังมีก๊าซเรือนกระจกที่เกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ที่สาคัญอีกชนิดหนึ่ง คือ สารซีเอฟซี (CFC หรือ Chlorofluorocarbon) ซึ่งใช้เป็นสารทาความเย็นและใช้ในการผลิตโฟม แต่ไม่ถูกกาหนด ในพิธีสารเกียวโต เนื่องจากเป็นสารที่ถูกจากัดการใช้ในพิธีสารมอนทรีออลแล้ว กิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์กาลังเพิ่มปริมาณก๊าซเรือนกระจกเหล่านี้ (อาจยกเว้นไอน้า) - การเผาไหม้เชื้อเพลิงจากถ่านหิน น้ามันและก๊าซธรรมชาติ – การตัดไม้ทาลายป่าทาให้เกิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ - การทาการเกษตรและการปศุสัตว์ปล่อยก๊าซมีเทนและไนตรัสออกไซด์ – ควันจากท่อไอเสียรถยนต์ปล่อยก๊าซโอโซน
  • 5. 5 การผลิตไฟฟ้าโดยใช้ถ่านหินจากโรงงานผลิตไฟฟ้า การใช้ถ่านหินนามาซึ่งผลกระทบมหาศาลด้านสิ่งแวดล้อม สุขภาพมนุษย์และ สังคมซึ่งเห็นได้ ชัดเจนจากผลกระทบที่มีต่อชุมชนผู้ยากจนเป็นส่วนมากที่อาศัยอยู่ใน และรอบๆ เหมือง และโรงไฟฟ้าถ่านหิน การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (ภาวะโลกร้อน)เป็นภัยคุกคามที่ร้ายแรงที่สุดที่โลกเผชิญอยู่มันคร่าชีวิตผู้คน หลายแสนคนต่อปี และหากไม่ถูกหยุดยั้งจะทาให้อีกหลายร้อยล้านคนอยู่ในความเสี่ยงการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศอันเป็นหายนะเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงได้เรารู้ว่ากิจกรรมของมนุษย์เป็นสาเหตุซึ่งรวมถึงการเผาไหม้ เชื้อเพลิงฟอสซิลและการทาลายป่าภาคพลังงานเป็นผู้ปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั่วโลกประมาณ 2 ใน 3 โรงไฟฟ้าถ่านหินเป็นตัวการสาคัญที่สุดถ่านหินเป็นเชื้อเพลิงฟอสซิลที่ก่อมลพิษสูงที่สุด และเป็น ตัวปล่อยคาร์บอนไดออกไซต์ ซึ่งเป็นก๊าซเรือนกระจก มากที่สุดในโลกปัจจุบันการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออก ไซต์1 ใน 3 ของโลกมาจากการเผาไหม้ถ่านหินเราสามารถหยุดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศได้โดยลดการ พึ่งพาเชื้อเพลิงฟอสซิล โดยเฉพาะถ่านหิน ถ่านหินเป็นแหล่งพลังงานที่มีมลพิษสูงโดยปล่อยธาตุคาร์บอนต่อหน่วยพลังงานมากกว่าน้ามัน และก๊าซธรรมชาติปริมาณสูงกว่ามาก คาร์บอนไดออกไซต์เป็นส่วนประกอบหลักของก๊าซเรือนกระจกดังนั้นจึง เป็นหนึ่งในสาเหตุอันดับต้นของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศจากเหมืองขึ้นสู่ท้องฟ้า จากการขุดเจาะไป จนถึงการเผาไหม้ถ่านหินก่อให้เกิดมลพิษในทุกขั้นตอนการผลิตปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมและสังคมที่มักเกิด ตามมาทาให้การใช้ถ่านหินจาเป็นต้องจ่ายด้วยราคาแสนแพงสาหรับประเทศกาลังพัฒนา ไม่ว่าจะเป็นการ ปล่อยน้าเสียที่มีภาวะเป็นกรดจากโรงไฟฟ้าลงสู่แม่น้าและลาธาร การปล่อยสารปรอทและสารพิษอื่นๆ ใน กระบวนการเผาไหม้รวมถึงก๊าซที่ทาลายสภาพภูมิอากาศ และอนุภาคขนาดเล็กชนิดอื่นๆที่ทาลายสุขภาพมนุษย์ ถ่านหินเป็นสาเหตุหลักของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศซึ่งเป็นภัยคุกคามต่อสิ่งแวดล้อมที่ รุนแรงที่สุดที่เรากาลังเผชิญถ่านหินเป็นเชื้อเพลิงฟอสซิลที่เต็มไปด้วยธาตุคาร์บอนโดยปล่อยคาร์บอนมากกว่า น้ามัน 29% และปล่อยคาร์บอนไดออกไซต์ (ตัวขับเคลื่อนภาวะโลกร้อนตัวหลัก) ต่อหน่วยพลังงานมากกว่า ก๊าซ 80% เราสามารถต่อสู้กับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศได้โดยต้องลดการพึ่งพาเชื้อเพลิงฟอสซิล โดยเฉพาะถ่านหินซึ่งเป็นสิ่งจาเป็นหากต้องการบรรลุการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั่วโลกลง 50% ภายใน กลางศตวรรษซึ่งเป็นช่วงเวลาที่นักวิทยาศาสตร์กล่าวว่าจาเป็นหากต้องการหยุดการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศที่อันตราย แต่โชคร้ายที่รัฐบาลทั่วโลกกาลังอนุญาตให้อุตสาหกรรมใช้เงินหลายร้อยพันล้านบาทเพื่อสร้าง โรงไฟฟ้าถ่านหินแห่งใหม่หลายร้อยแห่งทั่วโลกในอีกหลายปีที่กาลังจะมาถึง ถ้าถูกสร้างขึ้นคาดว่าจะปล่อย คาร์บอนไดออกไซต์เพิ่มขึ้น 60% ภายในพ.ศ. 2573 ซึ่งจะ บ่อนทาลายข้อตกลงนานาชาติสาหรับการแก้ปัญหาการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ส่วนหนึ่งรัฐบาลเหล่านี้ถูกล่อลวงโดยมายาคติ "ถ่านหินสะอาด"ซึ่งเป็นผลลัพธ์ของการประชาสัมพันธ์ของ
  • 6. 6 อุตสาหกรรมถ่านหินเพื่อครอบครอง "เทคโนโลยีที่ถูกแก้ไข" ที่ยังเป็นที่สงสัยที่พวกเขาอ้างว่าสามารถทาให้การ เผาไหม้ถ่านหินไม่ทาลายสภาพภูมิอากาศ หนึ่งในเทคโนโลยีเหล่านั้นคือ เทคโนโลยีการดักจับและกักเก็บคาร์บอน (CCS) ซึ่งเป็นแผนการ ดักจับคาร์บอนที่ปล่อยออกมาจากโรงไฟฟ้า และฝังไว้ใต้พื้นดินเทคโนโลยีนี้จะพร้อมใช้หลัง 20 ปีข้างหน้าซึ่ง สายเกินไปที่จะปกป้องสภาพภูมิอากาศ อย่างไรก็ดี CCS ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่คลุมเครือในการแก้ปัญหากาลังถูก ใช้เพื่อให้ความเป็นธรรมกับการสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินแห่งใหม่โรงไฟฟ้าเหล่านี้จะพ่นมลพิษคาร์บอนไดออก ไซต์ปริมาณมหาศาลเป็นเวลาอย่างน้อย 20 ปี และอาจจะถึง 40 ปี ซึ่งเป็นอายุของโรงไฟฟ้าเหล่านั้น กล่าวสั้นๆก็ คือ โรงไฟฟ้าถ่านหินแห่งใหม่จะส่งผลกระทบรุนแรงต่อวิกฤตสภาพภูมิอากาศ โลกไม่ต้องการถ่านหินอีกต่อไป โลกต้องการการปฏิวัติพลังงานโลกมีพลังงานหมุนเวียนที่ เ้้ข้าถึงได้โดยเทคโนโลยีมากพอที่จะตอบสนองความต้องการพลังงานมากกว่า 6 เท่าของการบริโภคพลังงาน ทั่วโลกในปัจจุบัน ไปที่นี่เพื่อค้นพบว่าเทคโนโลยีพลังงานหมุนเวียน เช่น ลม แสงอาทิตย์พลังงานชีวภาพที่ ยั่งยืน พลังน้า และ อื่นๆสามารถปฏิวัติวิธีที่เราผลิตพลังงานได้อย่างไรและป้องกันการเปลี่ยนแปลงภาพ ภูมิอากาศได้อย่างไร ในขณะที่ผู้นาของโลกล้มเหลวที่จะยืนหยัดและลงมือปฏิบัติเพื่อหยุดถ่านหิน ประชาชนทั่วโลก กาลังดิ้นรนด้วยตนเอง ทั่วโลก นักกิจกรรมสิ่งแวดล้อมนักเรียนนักศึกษา แพทย์ผู้นาโบสถ์ และ อื่นๆ มากมาย กาลังเคลื่อนไหวรวมตัวต่อต้านถ่านหิน ก๊าซและสารที่มีผลกระทบต่อภาวะโลกร้อน ไอน้า (H2O) เป็นก๊าซเรือนกระจกที่มีมากที่สุดบนโลก มีอยู่ในอากาศประมาณ 0- 4% ขึ้นอยู่กับลักษณะภูมิประเทศ ภูมิอากาศ และอุณหภูมิในบริเวณเขตร้อนใกล้เส้นศูนย์สูตรและชายทะเลจะมีไอน้าอยู่มากส่วนในบริเวณเขต หนาวแถบขั้วโลก อุณหภูมิต่า จะมีไอน้าในบรรยากาศเพียงเล็กน้อยไอน้าเป็นสิ่งจาเป็นต่อสิ่งมีชีวิต ไอน้าเป็น ส่วนหนึ่งของวัฏจักรน้าในธรรมชาติน้าสามารถเปลี่ยนสถานะไปมาทั้ง 3 สถานะจึงเป็นตัวพาและกระจายความ ร้อนแก่บรรยากาศและพื้นผิว ไอน้าเกิดจากโดยฝีมือมนุษย์2 วิธี คือจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงหรือก๊าซธรรมชาติและจากการหายใจและ คายน้าของสัตว์และพืชในการทาเกษตรกรรม
  • 7. 7 ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์มีปริมาณเพิ่มขึ้นเนื่องจากการเผาไหม้ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น การเผาไหม้เชื้อเพลิง โรงงานอุตสาหกรรมการเผาป่าเพื่อใช้พื้นที่สาหรับอยู่อาศัยและการทาปศุสัตว์เป็นต้นโดยการเผาป่าเป็นการ ปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ขึ้นสู่ชั้นบรรยากาศได้โดยเร็วที่สุดเนื่องจากต้นไม้มีคุณสมบัติในการตรึงก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ไว้ก่อนที่จะลอยขึ้นสู่ชั้นบรรยากาศดังนั้นเมื่อพื้นที่ป่าลดน้อยลงก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ จึงลอยขึ้นไปสะสมอยู่ในบรรยากาศได้มากยิ่งขึ้นและทาให้พลังงานความร้อนสะสมบนผิวโลกและใน บรรยากาศเพิ่มขึ้นประมาณ 1.56 วัตต์/ตารางเมตร กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิและปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
  • 8. 8 กราฟแสดงปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่เพิ่มขึ้น ตั้งแต่ปี พ.ศ.2500 เป็นต้นมา เส้นกราฟเป็น ลักษณะฟันปลา สูงต่าสลับกันในแต่ละรอบปี มีค่าต่างกันประมาณ 5 – 6 ppm ((part per million – ส่วนต่อ อากาศหนึ่งล้านส่วน) ในฤดูร้อนมีก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์น้อยลง เนื่องจากพืชตรึงก๊าซเอาไว้สร้างอาหาร มากกว่าใช้หายใจ ส่วนในฤดูหนาวมีก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์มากขึ้น เนื่องจากพืชคายก๊าซออกมาจากการ หายใจมากกว่าการตรึงเพื่อสร้างอาหาร อย่างไรก็ตามเมื่อพิจารณาโดยภาพรวมแล้ว อุณหภูมิมีแนวโน้มสูงขึ้น ในแต่ละปี ก๊าซมีเทน (CH4) เกิดขึ้นจากการย่อยสลายของซากสิ่งมีชีวิตแม้ว่ามีก๊าซมีเทนอยู่ในอากาศเพียง 1.7 ppm แต่ก๊าซมีเทนมี คุณสมบัติของก๊าซเรือนกระจกสูงกว่าก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์กล่าวคือด้วยปริมาตรที่เท่ากันก๊าซมีเทนสามารถ ดูดกลืนรังสีอินฟราเรดได้ดีกว่าก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ก๊าซมีเทนมีปริมาณเพิ่มขึ้นเนื่องจากการทานาข้าว ปศุสัตว์และการเผาไหม้มวลชีวภาพ การเผาไหม้ เชื้อเพลิงประเภทถ่านหิน น้ามัน และก๊าซธรรมชาติการเพิ่มขึ้นของก๊าซมีเทนส่งผลกระทบโดยตรงต่อภาวะ เรือนกระจกมากเป็นอันดับ 2 รองจากก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ พลังงานรวมที่เกิดขึ้นโดยเฉลี่ย 0.47 วัตต์/ตาราง เมตร ก๊าซไนตรัสออกไซด์ (N2O) ปกติก๊าซชนิดนี้ในธรรมชาติเกิดจากการย่อยสลายซากสิ่งมีชีวิตโดยแบคทีเรียแต่ที่มีเพิ่มสูงขึ้นในปัจจุบัน เนื่องมาจากอุตสาหกรรมที่ใช้กรดไนตริกในกระบวนการผลิต เช่นอุตสาหกรรมผลิตเส้นใยไนลอน อุตสาหกรรมเคมีและพลาสติกบางชนิด เป็นต้นก๊าซไนตรัสออกไซด์ที่เพิ่มขึ้นส่งผลกระทบโดยตรงต่อการเพิ่ม พลังงานความร้อนสะสมบนพื้นผิวโลกประมาณ 0.14 วัตต์/ตารางเมตรนอกจากนั้นเมื่อก๊าซไนตรัสออกไซด์ ลอยขึ้นสู่บรรยากาศชั้นสตราโตสเฟียร์มันจะทาปฏิกิริยากับก๊าซโอโซน ทาให้เกราะป้องกันรังสีอัลตราไวโอเล็ต ของโลกลดน้อยลง
  • 9. 9 สารประกอบคลอโรฟลูออโรคาร์บอน (CFC) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "ฟรีออน" (Freon) มิได้เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ แต่เป็นสิ่งประดิษฐ์ของ มนุษย์มีแหล่งกาเนิดมาจากโรงงานอุตสาหกรรม และอุปกรณ์เครื่องใช้ในชีวิตประจาวัน เช่นตู้เย็น เครื่องปรับอากาศ และสเปรย์เป็นต้น สาร CFC มีองค์ประกอบเป็นคลอรีน ฟลูออไรด์ และโบรมีนซึ่งมีความสามารถในการทาลายโอโซน ตามปกติสาร CFC ในบริเวณพื้นผิวโลกจะทาปฏิกิริยากับสารอื่นแต่เมื่อมันดูดกลืนรังสีอุลตราไวโอเล็ตใน บรรยากาศชั้นสตราโตสเฟียร์โมเลกุลจะแตกตัวให้คลอรีนอะตอมเดี่ยว และทาปฏิกิริยากับก๊าซโอโซนเกิดก๊าซ คลอรีนโมโนออกไซด์ (ClO) และก๊าซออกซิเจน หากคลอรีนจานวน 1 อะตอมทาลายก๊าซโอโซน 1 โมเลกุล ได้ เพียงครั้งเดียว ก็คงไม่เป็นปัญหา แต่ทว่าคลอรีน 1 อะตอม สามารถทาลายก๊าซโอโซน 1 โมเลกุล ได้นับพันครั้ง เนื่องจากเมื่อคลอรีนโมโนออกไซด์ทาปฏิกิริยากับออกซิเจนอะตอมเดี่ยวแล้วเกิดคลอรีนอะตอมเดี่ยวขึ้นอีกครั้ง ปฏิกิริยาลูกโซ่เช่นนี้จึงเป็นการทาลายโอโซนอย่างต่อเนื่อง โอโซน (O3) เป็นก๊าซที่ประกอบด้วยธาตุออกซิเจนจานวน 3 โมเลกุล มีอยู่เพียง 0.0008% ในบรรยากาศ โอโซนไม่ใช่ ก๊าซที่มีเสถียรภาพสูง มันมีอายุอยู่ในอากาศได้เพียง 20 - 30 สัปดาห์ แล้วสลายตัว โอโซนเกิดจากก๊าซออกซิเจน (O2) ดูดกลืนรังสีอุลตราไวโอเล็ตแล้วแตกตัวเป็นออกซิเจนอะตอมเดี่ยว (O) จากนั้นออกซิเจนอะตอมเดี่ยว รวมตัวกับก๊าซออกซิเจนและโมเลกุลชนิดอื่น (M) ที่ทาหน้าที่เป็นตัวกลาง แล้วให้ผลผลิตเป็นก๊าซโอโซน ออกมาก๊าซโอโซนมี 2 บทบาท คือเป็นทั้งพระเอกและผู้ร้ายในตัวเดียวกันขึ้นอยู่ว่ามันวางตัวอยู่ที่ใด ผลกระทบจากภาวะโลกร้อน ผลกระทบด้านนิเวศวิทยา แถบขั้วโลกได้รับผลกระทบมากสุดและก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงมากมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งภูเขา น้าแข็ง ก้อนน้าแข็งจะละลายอย่างรวดเร็ว ทาให้ระดับน้าทะเลทางขั้วโลกเพิ่มขึ้น และไหลลงสู่ทั่วโลกทาให้เกิด น้าท่วมได้ทุก ทวีป นอกจากนี้จะพลอยทาให้สัตว์ทางทะเลเสียชีวิตเพราะระบบนิเวศเปลี่ยนแปลง ส่วนทวีปยุโรป ยุโรปใต้ภูมิประเทศจะกลายเป็นพื้นที่ลาดเอียงเกิดความแห้งแล้ง ในหลายพื้นที่ปัญหา อุทกภัยจะเพิ่มขึ้นเนื่องจากธารน้าแข็งบนบริเวณยอดเขาสูงที่ปกคลุมด้วยหิมะจะละลายจนหมด
  • 10. 10 ขณะที่เอเชียอุณหภูมิจะสูงขึ้นเกิดฤดูกาลที่แห้งแล้ง มีน้าท่วม ผลิตผลทางอาหารลดลง ระดับน้าทะเล สูงขึ้นสภาวะอากาศ แปรปรวนอาจทาให้เกิดพายุต่าง ๆ มากมายเข้าไปทาลายบ้านเรือนที่อยู่อาศัยของประชาชน ซึ่งปัจจุบันก็เห็นผลกระทบได้ชัดไม่ว่าจะเป็นใต้ฝุ่นกก แต่แถบทวีปอเมริกาเหนืออุตสาหกรรมการผลิตอาหารจะได้รับผลประโยชน์เนื่องจากอากาศที่อุ่นขึ้น พร้อม ๆ กับทุ่งหญ้าใหญ่ของแคนาดาและทุ่งราบใหญ่สหรัฐอเมริกา นักวิจัยได้มีการคาดประมาณอุณหภูมิผิวโลกในอีก 100 ปีข้างหน้า หรือประมาณปี 2643 ว่า อุณหภูมิจะ สูงขึ้นจากปัจจุบันราว 4.5 องศาเซลเซียส เนื่องจากคาดการณ์ว่า จะมีการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ถึงร้อย ละ 63 และก๊าซมีเทนร้อยละ 27 ของก๊าซเรือนกระจก สาหรับประเทศไทยมีอุณหภูมิสูงขึ้นประมาณ 1 องศาเซลเซียส ในช่วง 40 ปี อย่างไรก็ตาม หากอุณหภูมิเพิ่มสูงขึ้น 2- 4 องศาเซลเซียส จะทาให้พายุไต้ฝุ่นเปลี่ยนทิศทาง เกิดความรุนแรง และมีจานวนเพิ่มขึ้นร้อยละ 10-20 ในอนาคต นอกจากนี้ ฤดูร้อนจะขยายเวลายาวนานขึ้น ในขณะที่ฤดู หนาวจะสั้นลง ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ รัฐที่เป็นเกาะเล็ก ๆ ของทวีปอเมริกาจะได้รับผลจากระดับน้าทะเลที่สูงขึ้นกัดกร่อนชายฝั่ง จะสร้าง ความเสียหายแก่ระบบนิเวศ แนวปะการังจะถูกทาลาย ปลาทะเลประสบปัญหา เนื่องจากระบบนิเวศที่ แปรเปลี่ยนไป ธุรกิจท่องเที่ยวทางทะเลที่สาคัญจะสูญเสียรายได้มหาศาล นอกจากนี้ ในเอเชียยังมีโอกาสร้อยละ 66-90 ที่อาจเกิดฝนกระหน่าและมรสุมอย่างรุนแรง รวมถึงเกิด ความแห้งแล้งในฤดูร้อนที่ยาวนาน ทั้งนี้ ในปี 2532-2545 ประเทศไทยเกิดความเสียหาย จากอุทกภัย พายุ และ ภัยแล้ง คิดเป็นมูลค่าเสียหายทางเศรษฐกิจมากกว่า 70,000 ล้านบาท รายงาน ” Global Deserts Outlook” ของโครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ เนื่องในวันสิ่งแวดล้อมโลก 5 มิถุนายน ชี้ว่า ภายใน 50 ปีข้างหน้า ระบบนิเวศวิทยาทะเลทราย จะ เปลี่ยนแปลงไปทั้งด้านชีววิทยา เศรษฐกิจและวัฒนธรรม ปัจจุบันพืชและสัตว์ทะเลทราย คือแหล่งทรัพยากรมีคุณค่าสาหรับผลิตยาและธัญญาหารใหม่ๆ ที่ทาให้ไม่ต้องสิ้นเปลืองน้าและยังมีช่องทางเศรษฐกิจใหม่ๆ ที่เป็นมิตรกับธรรมชาติ เช่น การทาฟาร์ม กุ้งและบ่อปลาในทะเลทรายรัฐอาริโซนาและทะเลทรายเนเจฟในอิสราเอล
  • 11. 11 อย่างไรก็ตาม ทะเลทรายที่มีอยู่ 12 แห่งทั่วโลก กาลังเผชิญปัญหาใหญ่ ไม่ใช่เรื่องการขยายตัว แต่เป็น ความแห้งแล้งเนื่องจากโลกร้อน ธารน้าแข็งซึ่งส่งน้ามาหล่อเลี้ยงทะเลทรายในอเมริกาใต้กาลังละลาย น้าใต้ดิน เค็มขึ้น รวมทั้งผลกระทบที่เกิดจากน้ามือมนุษย์ซึ่งหากไม่มีการลงมือป้องกันอย่างทันท่วงที ระบบนิเวศวิทยา และสัตว์ป่าในทะเลทรายจะสูญหายไปภายใน 50 ปีข้างหน้า ในอนาคตประชากร 500 ล้านคนที่อาศัยอยู่ในเขตทะเลทรายทั่วโลกจะอยู่ไม่ได้อีกต่อไป เพราะ อุณหภูมิสูงขึ้นและน้าถูกใช้จนหมดหรือเค็มจนดื่มไม่ได้ ผลกระทบด้านสุขภาพ ภาวะโลกร้อนไม่เพียง ทาให้ระบบนิเวศเปลี่ยนแปลงไปแต่มีสิ่งซ่อนเร้นที่แอบแฝงมาพร้อม ปรากฏการณ์นี้ด้วยว่าโลกร้อนขึ้นจะสร้างสภาวะที่พอเหมาะพอควรให้เชื้อโรคเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว โลกร้อนขึ้นจะก่อให้เกิด สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมแก่การฟักตัวของเชื้อโรคและศัตรูพืช ที่เป็นอาหาร ของมนุษย์บางชนิด โรคที่ฟักตัวได้ดีในสภาพร้อนชื้นของโลก จะสามารถเพิ่มขึ้นมากในอีก 20 ปีข้างหน้า ทั้งจะ มีการติดเชื้อเพิ่มมากขึ้นในโรคมาลาเรีย ไข้ส่า อหิวาตกโรค และอาหารเป็นพิษนักวิทยาศาสตร์ในที่ประชุม องค์การอนามัยโลก และ London School of Hygiene and Tropical Medicine วิทยาลัยศึกษาด้านสุขอนามัยและ เวชศาสตร์เขตร้อนของอังกฤษ แถลงว่า ในแต่ละปีประชาชนราว 160,000 คนเสียชีวิตเพราะได้รับผลกระทบ จากภาวะโลกร้อน ตั้งแต่โรคมาลาเรีย ไปจนถึงการขาดแคลนสุขอนามัยที่ดี และตัวเลขผู้เสียชีวิตนี้อาจเพิ่มขึ้น เกือบสองเท่าตัวในอีก 17 ปีข้างหน้า แถลงการณ์ของคณะแพทย์ระดับโลกระบุว่า เด็กในประเทศกาลังพัฒนาจัด อยู่ในกลุ่มเสี่ยงมากที่สุด เช่นในประเทศแถบแอฟริกา ละตินอเมริกา และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่จะต้อง เผชิญกับการแพร่ขยายของการขาดแคลนสุขอนามัยโรคท้องร่วง และโรคมาเลเรีย ท่ามกลางอุณหภูมิโลกร้อน ขึ้น น้าท่วม และภัยแล้ง วิธีการแก้ไขและป้องกันภาวะโลกร้อน ลดการใช้พลังงานที่ไม่จาเป็นจากเครื่องใช้ไฟฟ้า เช่น แอร์ เครื่องปรับอากาศพัดลมลม หากเป็นไปได้ ใช้วิธี เปิดหน้าต่าง ซึ่งบางช่วงที่อากาศดีๆ สามารถทาได้เช่นหลังฝนตก หรือช่วงอากาศเย็น เป็นการลดค่าไฟ และ ลดความร้อน เนื่องจากหลักการทาความเย็นนั้นคือ การถ่ายเทความร้อนออก ดังนั้นเวลาเราใช้แอร์ จะเกิด ปริมาณความร้อนบริเวณหลังเครื่องระบายความร้อน
  • 12. 12 เลือกใช้ระบบขนส่งมวลชน ในกรณีที่สามารถทาได้ได้แก่ รถไฟฟ้า รถตู้รถเมล์ เนื่องจากพาหนะ แต่ ละคัน จะเกิดการเผาผลาญเชื้อเพลิง ซึ่งจะเกิดความร้อนและ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ดังนั้นเมื่อลดปริมาณ จานวนรถ ก็จะลดจานวนการเผาไหม้บนท้องถนน ในแต่ละวันลงได้ เวลาเดินเข้าห้างสรรพสินค้า หากมีใครเปิดประตูทิ้งไว้ให้ช่วยปิดด้วยเนื่องจากห้างสรรพสินค้าแต่ละ ห้างนั้น มีพื้นที่มาก กว่าจะทาให้เกิดความเย็นได้ก็จะก่อให้เกิด เกิดความร้อนปริมาณมาก ดังนั้นเมื่อมีคนเปิด ประตูทิ้งไว้แอร์ก็จะยิ่งทางานมากขึ้นเพื่อให้ได้ความเย็นตามที่ระบุไว้ในเครื่อง ซึ่งประตูที่เปิดอยู่จะนาความ ร้อนมาสู่ตัวห้างเครื่องก็จะทางานวนอยู่อย่างนั้น ซึ่งเป็นสาเหตุให้เกิดความร้อนอีกปริมาณมากต่อสภาพ ภายนอก พยายามรับประทานอาหารให้หมด เศษอาหารที่เหลือทิ้งไว้จะก่อให้เกิดก๊าซมีเทนซึ่งก่อให้เกิดปริมาณ ความร้อนต่อโลก เมื่อหลายคนรวมๆกันก็เป็นปริมาณความร้อนที่มาก ช่วยกันปลูกต้นไม้เพราะต้นไม้จะคายความชุ่มชื้นให้กับโลก และ ช่วยดูดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่ง เป็นสาเหตุภาวะเรือนกระจก การชวนกันออกไปเที่ยวธรรมชาติภายนอก ก็ช่วยลดการใช้ปริมาณไฟฟ้าได้ เวลาซื้อของพยายามไม่รับภาชนะที่เป็นโฟม หรือกรณีที่เป็นพลาสติก เช่นขวดน้าพยายามนากลับมาใช้ อีก เนื่องจากพลาสติกเหล่านี้ทาการย่อยสลายยาก ต้องใช้ปริมาณความร้อน เหมือนกับตอนที่ผลิตมันมา ซึ่งจะ ก่อให้เกิดความร้อนกับโลกของเราเราสามารถนากลับมาใช้เป็นภาชนะใส่น้าแทนกระติกน้าได้หรือใช้ปลูก ต้นไม้ก็ได้ ไม่รับประทานเนื้อสัตว์ที่เคี้ยวเอื้อง เนื่องจากสัตว์เหล่านี้ อุจจาระจะปล่อยก๊าซมีเทนออกมา ดังนี้ อุตสาหกรรมเลี้ยงสัตว์ประเภทนี้ เมื่อมีจานวนมากก็จะก่อให้เกิดความร้อนกับโลกเรามาก ใช้กระดาษด้วยความประหยัด กระดาษแต่ละแผ่น ทามาจากการตัดต้นไม้ซึ่งเป็นเสมือนปราการสาคัญ ของโลกเรา ดังนั้นการใช้กระดาษแต่ละแผ่นควรใช้ให้ประหยัดทั้งด้านหน้าหลัง ใช้เสร็จควรนามาเป็นวัสดุรอง หรือ นามาเช็ดกระจกก็ได้นอกจากนี้การนากระดาษไปเผาก็จะเกิดความร้อนต่อโลกเราเช่นกัน ไม่สนับสนุนกิจการใดๆ ที่สิ้นเปลืองทรัพยากรของโลกเรา และควรสนับสนุนกิจการที่มีการคานึงถึง การรักษาสิ่งแวดล้อม ลดภาวะโลกร้อนโดยการประหยัดไฟ การใช้ไฟฟ้าที่สิ้นเปลือง ก็เป็นสาเหตุหนึ่งในการทาให้เกิดภาวะโลกร้อนได้เพราะไฟฟ้าที่เราใช้ กันอยู่ทุกวันนี้เป็นพลังงานที่เกิดจากการเผาผลาญพวกถ่านหิน น้ามัน ก๊าซธรรมชาติต่างๆซึ่งส่วนใหญ่ต้อง นาเข้ามา กระบวนการพวกนี้จะก่อให้เกิดก๊าซเรือนกระจกและมลพิษทางอากาศ ดังนั้นแค่เพื่อนๆประหยัดไฟก็ สามารถที่จะช่วยลดภาวะโลกร้อนได้แล้วรวมทั้งยังจะช่วยในเรื่องของปัญหาเศรษฐกิจได้อีกด้วย
  • 13. 13 วิธีประหยัดไฟฟ้าในครัวเรือน 1. ปิดสวิตช์ไฟ และเครื่องใช้ไฟฟ้าทุกชนิดเมื่อเลิกใช้งาน สร้างให้เป็นนิสัยในการดับไฟทุกครั้งที่ออกจากห้อง 2. เลือกซื้อเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ได้มาตรฐาน ดูฉลากแสดงประสิทธิภาพ ให้แน่ใจทุกครั้งก่อนตัดสินใจซื้อ หากมี อุปกรณ์ไฟฟ้าเบอร์ 5 ต้องเลือกใช้เบอร์ 5 3. ปิดเครื่องปรับอากาศทุกครั้งที่จะไม่อยู่ในห้องเกิน 1 ชั่วโมงสาหรับเครื่องปรับอากาศทั่วไป และ 30 นาที สาหรับเครื่องปรับอากาศเบอร์ 5 4. หมั่นทาความสะอาดแผ่นกรองอากาศของเครื่องปรับอากาศบ่อยๆ เพื่อลดการเปลืองไฟในการทางานของ เครื่องปรับอากาศ 5. ตั้งอุณหภูมิเครื่องปรับอากาศที่ 25 องศาเซลเซียส ซึ่งเป็นอุณหภูมิที่กาลังสบาย อุณหภูมิที่เพิ่มขึ้น 1 องศา ต้อง ใช้พลังงานเพิ่มขึ้นร้อยละ 5-10 6. ไม่ควรปล่อยให้มีความเย็นรั่วไหลจากห้องที่ติดตั้งเครื่องปรับอากาศ ตรวจสอบและอุดรอยรั่วตามผนัง ฝ้า เพดาน ประตูช่องแสง และปิดประตูห้องทุกครั้งที่เปิดเครื่องปรับอากาศ 7. ลดและหลีกเลี่ยงการเก็บเอกสาร หรือวัสดุอื่นใดที่ไม่จาเป็นต้องใช้งานในห้องที่มีเครื่องปรับอากาศ เพื่อลด การสูญเสีย และใช้พลังงานในการปรับอากาศภายในอาคาร 8. ติดตั้งฉนวนกันความร้อนโดยรอบห้องที่มีการปรับอากาศเพื่อลดการสูญเสียพลังงานจากการถ่ายเทความร้อน เข้าภายในอาคาร 9. ใช้มูลี่กันสาดป้องกันแสงแดดส่องกระทบตัวอาคาร และบุฉนวนกันความร้อนตามหลังคาและฝาผนังเพื่อ ไม่ให้เครื่องปรับอากาศทางานหนักเกินไป 10. หลีกเลี่ยงการสูญเสียพลังงานจากการถ่ายเทความร้อนเข้าสู่ห้องปรับอากาศ ติดตั้งและใช้อุปกรณ์ควบคุมการ เปิด-ปิดประตูในห้องที่มีเครื่องปรับอากาศ 11. ควรปลูกต้นไม้รอบๆ อาคาร เพราะต้นไม้ขนาดใหญ่ 1 ต้นให้ความเย็นเท่ากับเครื่องปรับอากาศ 1 ตัน หรือ ให้ความเย็นประมาณ 12,000 บีทียู 12. ควรปลูกต้นไม้เพื่อช่วยบังแดดข้างบ้านหรือเหนือหลังคา เพื่อเครื่องปรับอากาศจะไม่ต้องทางานหนักเกินไป 13. ปลูกพืชคลุมดิน เพื่อช่วยลดความร้อนและเพิ่มความชื้นให้กับดิน จะทาให้บ้านเย็น ไม่จาเป็นต้องเปิด เครื่องปรับอากาศเย็นจนเกินไป 14. ในสานักงาน ให้ปิดไฟ ปิดเครื่องปรับอากาศ และอุปกรณ์ ไฟฟ้าที่ไม่จาเป็น ในช่วงเวลา 12.00-13.00 น. จะ สามารถประหยัดค่าไฟฟ้าได้ 15. ไม่จาเป็นต้องเปิดเครื่องปรับอากาศก่อนเวลาเริ่มงาน และควรปิดเครื่องปรับอากาศก่อนเวลาเลิกใช้งาน เล็กน้อย เพื่อประหยัดไฟ 16. เลือกซื้อพัดลมที่มีเครื่องหมายมาตรฐานรับรอง เพราะพัดลมที่ไม่ได้คุณภาพ มักเสียง่าย ทาให้สิ้นเปลือง 17. หากอากาศไม่ร้อนเกินไป ควรเปิดพัดลมแทนเครื่องปรับอากาศ จะช่วยประหยัดไฟ ประหยัดเงินได้มาก ทีเดียว 18. ใช้หลอดไฟประหยัดพลังงาน ใช้หลอดผอมจอมประหยัดแทนหลอดอ้วน ใช้หลอดตะเกียบแทนหลอดไส้ หรือใช้หลอดคอมแพคท์ฟลูออเรสเซนต์
  • 14. 14 19. ควรใช้บัลลาสต์ประหยัดไฟ หรือบัลลาสต์อิเล็กโทรนิกคู่กับหลอดผอมจอมประหยัด จะช่วยเพิ่ม ประสิทธิภาพในการประหยัดไฟได้อีกมาก 20. ควรใช้โคมไฟแบบมีแผ่นสะท้อนแสงในห้องต่างๆ เพื่อช่วยให้แสงสว่างจากหลอดไฟ กระจายได้อย่างเต็ม ประสิทธิภาพ ทาให้ไม่จาเป็นต้องใช้หลอดไฟฟ้าวัตต์สูง ช่วยประหยัดพลังงาน 21. หมั่นทาความสะอาดหลอดไฟที่บ้าน เพราะจะช่วยเพิ่มแสงสว่างโดยไม่ต้องใช้พลังงานมากขึ้น ควรทาอย่าง น้อย 4 ครั้งต่อปี 22. ใช้หลอดไฟที่มีวัตต์ต่า สาหรับบริเวณที่จาเป็นต้องเปิดทิ้งไว้ทั้งคืน ไม่ว่าจะเป็นในบ้านหรือข้างนอก เพื่อ ประหยัดค่าไฟฟ้า 23. ควรตั้งโคมไฟที่โต๊ะทางาน หรือติดตั้งไฟเฉพาะจุด ประหยัดไฟลงไปได้มาก 24. ควรใช้สีอ่อนตกแต่งอาคาร ทาผนังนอกอาคารเพื่อการสะท้อนแสงที่ดี และทาภายในอาคารเพื่อทาให้ห้อง สว่างได้มากกว่า 25. ใช้แสงสว่างจากธรรมชาติให้มากที่สุด เช่น ติดตั้งกระจก หรือติดฟิล์มที่มีคุณสมบัติป้องกันความร้อน แต่ ยอมให้แสงผ่าน เข้าได้เพื่อลดการใช้พลังงานเพื่อแสงสว่างภายในอาคาร 26. ถอดหลอดไฟออกครึ่งหนึ่งในบริเวณที่มีความต้องการใช้แสงสว่างน้อย หรือบริเวณที่มีแสงสว่างพอเพียง แล้ว 27. ปิดตู้เย็นให้สนิท ทาความสะอาดภายในตู้เย็น และแผ่นระบายความร้อนหลังตู้เย็นสม่าเสมอ เพื่อให้ตู้เย็นไม่ ต้องทางานหนักและเปลืองไฟ 28. อย่าเปิดตู้เย็นบ่อย อย่านาของร้อนเข้าแช่ในตู้เย็น เพราะจะทาให้ตู้เย็นทางานเพิ่มขึ้น กินไฟมากขึ้น 29. ตรวจสอบขอบยางประตูของตู้เย็นไม่ให้เสื่อมสภาพ เพราะจะทาให้ความเย็นรั่วออกมาได้ทาให้สิ้นเปลือง ไฟมากกว่าที่จาเป็น 30. เลือกขนาดตู้เย็นให้เหมาะสมกับขนาดครอบครัว อย่าใช้ตู้เย็นใหญ่เกินความจาเป็นเพราะกินไฟมากเกินไป และควรตั้งตู้เย็นไว้ห่างจากผนังบ้าน 15 ซม. 31. ควรละลายน้าแข็งในตู้เย็นสม่าเสมอ การปล่อยให้น้าแข็งจับหนาเกินไป จะทาให้เครื่องต้องทางานหนัก ทา ให้กินไฟมาก 32. เลือกซื้อตู้เย็นประตูเดียว เนื่องจากตู้เย็น 2 ประตู จะกินไฟมากกว่าตู้เย็นประตูเดียวที่มีขนาดเท่ากัน เพราะ ต้องใช้ท่อน้ายาทาความเย็นที่ยาวกว่า และใช้คอมเพรสเซอร์ขนาดใหญ่กว่า 33. ควรตั้งสวิตช์ควบคุมอุณหภูมิของตู้เย็นให้เหมาะสม การตั้งที่ตัวเลขต่าเกินไป อุณหภูมิจะเย็นน้อย ถ้าตั้งที่ ตัวเลขสูงเกินไปจะเย็นมากเพื่อให้ประหยัดพลังงานควรตั้งที่เลขต่าที่มีอุณหภูมิพอเหมาะ 34. ไม่ควรพรมน้าจนแฉะเวลารีดผ้า เพราะต้องใช้ความร้อนในการรีดมากขึ้น เสียพลังงานมากขึ้น เสียค่าไฟ เพิ่มขึ้น 35. ดึงปลั๊กออกก่อนการรีดเสื้อผ้าเสร็จ เพราะความร้อนที่เหลือในเตารีด ยังสามารถรีดต่อได้จนกระทั่งเสร็จ ช่วยประหยัดไฟฟ้า 36. เสียบปลั๊กครั้งเดียว ต้องรีดเสื้อให้เสร็จ ไม่ควรเสียบและถอดปลั๊กเตารีดบ่อยๆ เพราะการทาให้เตารีดร้อนแต่ ละครั้งกินไฟมาก
  • 15. 15 37. ลด ละ เลี่ยง การใส่เสื้อสูท เพราะไม่เหมาะสมกับสภาพอากาศเมืองร้อน สิ้นเปลืองการตัด ซัก รีด และความ จาเป็นในการเปิดเครื่องปรับอากาศ 38. ซักผ้าด้วยเครื่อง ควรใส่ผ้าให้เต็มกาลังของเครื่อง เพราะซัก1 ตัวกับซัก 20 ตัว ก็ต้องใช้น้าในปริมาณเท่าๆ กัน 39. ไม่ควรอบผ้าด้วยเครื่อง เมื่อใช้เครื่องซักผ้า เพราะเปลืองไฟ มาก ควรตากเสื้อผ้ากับแสงแดดหรือแสง ธรรมชาติจะดีกว่า ทั้งยังช่วยประหยัดไฟได้มากกว่า 40. ปิดโทรทัศน์ทันทีเมื่อไม่มีคนดู เพราะการเปิดทิ้งไว้โดยไม่มีคนดู เป็นการสิ้นเปลืองไฟฟ้าโดยใช่เหตุ แถม ยังต้องซ่อมเร็วอีกด้วย 41. ไม่ควรปรับจอโทรทัศน์ให้สว่างเกินไป และอย่าเปิดโทรทัศน์ให้เสียงดังเกินความจาเป็น เพราเปลืองไฟ ทา ให้อายุเครื่องสั้นลงด้วย 42. อยู่บ้านเดียวกัน ดูโทรทัศน์รายการเดียวกัน ก็ควรจะดูเครื่องเดียวกัน ไม่ใช่ดูคนละเครื่อง คนละห้อง เพราะ จะทาให้ สิ้นเปลืองพลังงาน 43. เช็ดผมให้แห้งก่อนเป่าผมทุกครั้ง ใช้เครื่องเป่าผมสาหรับแต่งทรงผม ไม่ควรใช้ทาให้ผมแห้ง เพราะต้องเป่า นาน เปลืองไฟฟ้า 44. ใช้เตาแก๊สหุงต้มอาหาร ประหยัดกว่าใช้เตาไฟฟ้า เตาอบไฟฟ้าและควรติดตั้งวาล์วนิรภัย (Safety Value) เพื่อ ความปลอดภัยด้วย 45. เวลาหุงต้มอาหารด้วยเตาไฟฟ้า ควรจะปิดเตาก่อนอาหารสุก5 นาที เพราะความร้อนที่เตาจะร้อนต่ออีกอย่าง น้อย 5 นาทีเพียงพอที่จะทาให้อาหารสุกได้ 46. อย่าเสียบปลั๊กหม้อหุงข้าวไว้เพราะระบบอุ่นจะทางานตลอดเวลา ทาให้สิ้นเปลืองไฟเกินความจาเป็น 47. กาต้มน้าไฟฟ้า ต้องดึงปลั๊กออกทันทีเมื่อน้าเดือด อย่าเสียบไฟไว้เมื่อไม่มีคนอยู่ เพราะนอกจากจะไม่ ประหยัดพลังงานแล้วยังอาจทาให้เกิดไฟไหม้ได้ 48. แยกสวิตช์ไฟออกจากกัน ให้สามารถเปิดปิดได้เฉพาะจุด ไม่ใช้ปุ่มเดียวเปิดปิดทั้งชั้น ทาให้เกิดการ สิ้นเปลืองและสูญเปล่า 49. หลีกเลี่ยงการติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้า ที่ต้องมีการปล่อยความร้อนเช่น กาต้มน้า หม้อหุงต้ม ไว้ในห้องที่มี เครื่องปรับอากาศ 50. ซ่อมบารุงอุปกรณ์ไฟฟ้าให้อยู่ในสภาพที่ใช้งานได้และหมั่นทาความสะอาดเครื่องใช้ไฟฟ้าอยู่เสมอ จะทา ให้ลดการสิ้นเปลืองไฟได้ 51. อย่าเปิดคอมพิวเตอร์ทิ้งไว้ถ้าไม่ใช้งาน ติดตั้งระบบลดกระแสไฟฟ้าเข้าเครื่องเมื่อพักการทางาน จะประหยัด ไฟได้ร้อยละ 35-40 และถ้าหากปิดหน้าจอทันทีเมื่อไม่ใช้งาน จะประหยัดไฟได้ร้อยละ 60 52. ดูสัญลักษณ์ Energy Star ก่อนเลือกซื้ออุปกรณ์สานักงาน(เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องโทรสาร เครื่อง พิมพ์ดีดไฟฟ้าเครื่องถ่ายเอกสาร ฯลฯ) ซึ่งจะช่วยประหยัดพลังงาน ลดการใช้กาลังไฟฟ้า เพราะจะมีระบบ ประหยัดไฟฟ้าอัตโนมัติ 53. ใช้หลอดประหยัดพลังงานแทนหลอดไส้ 54. ใช้พัดลมแทนเครื่องปรับอากาศ
  • 16. 16 55. ล้างเครื่องปรับอากาศปีละ 2 ครั้ง เพื่อให้เครื่องปรับอากาศทางานได้อย่างเต็มที่ 56. ตั้งอุณหภูมิเครื่องปรับอากาศไม่เกิน 25 องศา 57. ไม่นาความชื้นเข้าห้อง ขณะเปิดเครื่องปรับอากาศ 58. ปิดหน้าต่าง ลดการใช้เครื่องทาความเย็น 59. ถอกปลั๊กไฟทุกครั้งเมื่อไม่ใช้งาน 60. เมื่อต้องการหยุดพักการทางานจากคอมพิวเตอร์สักพักหนึ่ง ให้ปิดหน้าจอ 61. รีดผ้าทีละหลายๆตัวในครั้งเดียวกัน 62. ไม่เปิดโทรทัศน์ทิ้งไว้ 63. หลังจากปิดโทรทัศน์ให้ถอกปลั๊กไฟออกทุกครั้งเมื่อไม่ใช้งาน 64. ตอนกลางวันเปิดหน้าต่างเพื่อรับแสงแดดแทนการใช้หลอดไฟฟ้า 65. เมื่อกาต้มน้าไฟฟ้าเดือดแล้วทิ้งไว้สักพักแล้วถอดปลั๊กไปออก 66.เมื่อหม้อหุงข้าวหุงสุกแล้วให้ทิ้งไว้สักพักแล้วถอดปลั๊กไฟออก 67. จัดสรรเวลาการใช้งานเครื่องใช้ไฟฟ้าให้เหมาะสมเช่น โทรทัศน์ คอมพิวเตอร์ ฯลฯ 68. ไม่เปิดฝาตู้เย็นทิ้งไว้ 69. อยู่ในห้องที่เปิดเครื่องทาความเย็นด้วยกัน เช่น พัดลม เครื่องปรับอากาศ 70. ใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าเบอร์ 5 ตารางแสดงแก๊สเรือนกระจกและแหล่งที่มา ก๊าซเรือนกระจก แหล่งที่มา ส่งผลให้ โลกร้อน ขึ้น (%) ก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) 1) จากแหล่งธรรมชาติ เช่นกระบวนการหายใจของสิ่งมีชีวิต 2) จากมนุษย์เช่นการเผาไหม้เชื้อเพลิงจากโรงงาน อุตสาหกรรมต่างๆ , การตัดไม้ทาลายป่า (ลดการดูดซับ CO2) 57 ก๊าซมีเทน(CH4) 1) จากแหล่งธรรมชาติ เช่นจากการย่อยสลายของสิ่งมีชีวิต, การเผาไหม้ที่เกิดจากธรรมชาติ 2) จากมนุษย์เช่นจากนาข้าว, แหล่งน้าท่วม, จากการเผาไหม้ เชื้อเพลิงประเภทถ่านหิน น้ามันและแก๊สธรรมชาติ 12 ก๊าซไนตรัสออกไซด (N2O) 1) จากมนุษย์เช่นอุตสาหกรรมที่ใช้กรดไนตริกใน ขบวนการผลิต, อุตสาหกรรมพลาสติก, อุตสาหกรรมไนลอน, อุตสาหกรรมเคมี, การเผาไหม้เชื้อเพลิงจากซากพืชและสัตว์, ปุ๋ ย, การเผาป่า 2) จากแหล่งธรรมชาติ - อยู่ในภาวะที่สมดุล 6
  • 17. 17 ก๊าซที่มีส่วนประกอบ คลอโรฟลูออโรคาร์บอน (CFCS) จากมนุษย์เช่นอุตสาหกรรมต่างๆ และอุปกรณ์เครื่องใช้ใน ชีวิตประจาวัน เช่น โฟม, กระป๋ องสเปรย์, เครื่องทาความเย็น ; ตู้เย็น แอร์, ตัวทาลาย (ก๊าซนี้จะรวมตัวทางเคมีได้ดีกับโอโซน ทาให้โอโซนในชั้นบรรยากาศลดลงหรือเกิดรูรั่วในชั้น โอโซน) 25 ปรากฏการณ์โลกร้อน ปรากฏการณ์โลกร้อน (อังกฤษ: Global warming) หมายถึงการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิเฉลี่ยของ อากาศใกล้พื้นผิวโลกและน้าในมหาสมุทรตั้งแต่ช่วงครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 20 และมีการคาดการณ์ว่า อุณหภูมิเฉลี่ยจะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในช่วง 100 ปีที่ผ่านมา นับถึงพ.ศ. 2548 อากาศใกล้ผิวดินทั่วโลกโดยเฉลี่ยมีค่าสูงขึ้น 0.74 ± 0.18 องศาเซลเซียสซึ่งคณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Intergovernmental Panel on Climate Change: IPCC) ของสหประชาชาติได้สรุปไว้ว่า “จากการสังเกตการณ์ การเพิ่มอุณหภูมิโดยเฉลี่ยของโลกที่เกิดขึ้นตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 (ประมาณตั้งแต่ พ.ศ. 2490) ค่อนข้าง แน่ชัดว่าเกิดจากการเพิ่มความเข้มของแก๊สเรือนกระจกที่เกิดขึ้นโดยกิจกรรมของมนุษย์ที่เป็นผลในรูปของ ปรากฏการณ์เรือนกระจก” ปรากฏการณ์ธรรมชาติบางอย่าง เช่น ความผันแปรของการแผ่รังสีจากดวงอาทิตย์ และการระเบิดของภูเขาไฟอาจส่งผลเพียงเล็กน้อยต่อการเพิ่มอุณหภูมิในช่วงก่อนยุคอุตสาหกรรมจนถึงพ.ศ. 2490และมีผลเพียงเล็กน้อยต่อการลดอุณหภูมิหลังจากปี 2490 เป็นต้นมา ข้อสรุปพื้นฐานดังกล่าวนี้ได้รับการรับรองโดยสมาคมและสถาบันการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ไม่น้อยกว่า 30 แห่ง รวมทั้งราชสมาคมทางวิทยาศาสตร์ระดับชาติที่สาคัญของประเทศอุตสาหกรรมต่าง ๆ แม้นักวิทยาศาสตร์ บางคนจะมีความเห็นโต้แย้งกับข้อสรุปของ IPCC อยู่บ้างแต่เสียงส่วนใหญ่ของนักวิทยาศาสตร์ที่ทางานด้าน การเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศของโลกโดยตรงเห็นด้วยกับข้อสรุปนี้ แบบจาลองการคาดคะเนภูมิอากาศที่สรุปโดย IPCC บ่งชี้ว่าอุณหภูมิโลกโดยเฉลี่ยที่ผิวโลกจะ เพิ่มขึ้น 1.1 ถึง 6.4 องศาเซลเซียส ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 21 (พ.ศ. 2544–2643) ค่าตัวเลขดังกล่าวได้มาจากการ จาลองสถานการณ์แบบต่าง ๆ ของการแผ่ขยายแก๊สเรือนกระจกในอนาคต รวมถึงการจาลองค่าความไว ภูมิอากาศอีกหลากหลายรูปแบบแม้การศึกษาเกือบทั้งหมดจะมุ่งไปที่ช่วงเวลาถึงเพียงปี พ.ศ. 2643 แต่ความร้อน จะยังคงเพิ่มขึ้นและระดับน้าทะเลก็จะสูงขึ้นต่อเนื่องไปอีกหลายสหัสวรรษแม้ว่าระดับของแก๊สเรือนกระจกจะ เข้าสู่ภาวะเสถียรแล้วก็ตาม การที่อุณหภูมิและระดับน้าทะเลเข้าสู่สภาวะดุลยภาพได้ช้าเป็นเหตุมาจากความจุ ความร้อนของน้าในมหาสมุทรซึ่งมีค่าสูงมาก การที่อุณหภูมิของโลกเพิ่มสูงขึ้นทาให้ระดับน้าทะเลสูงขึ้น และคาดว่าทาให้เกิดภาวะลมฟ้า อากาศสุดโต่ง (extreme weather) ที่รุนแรงมากขึ้น ปริมาณและรูปแบบการเกิดหยาดน้าฟ้าจะเปลี่ยนแปลงไป ผลกระทบอื่น ๆ ของปรากฏการณ์โลกร้อนได้แก่ การเปลี่ยนแปลงของผลิตผลทางเกษตร การเคลื่อนถอยของ ธารน้าแข็งการสูญพันธุ์พืช-สัตว์ต่าง ๆ รวมทั้งการกลายพันธุ์และแพร่ขยายโรคต่าง ๆ เพิ่มมากขึ้น
  • 18. 18 แต่ยังคงมีความไม่แน่นอนทางวิทยาศาสตร์อยู่บ้างได้แก่ปริมาณของความร้อนที่คาดว่าจะเพิ่มใน อนาคตผลของความร้อนที่เพิ่มขึ้นและผลกระทบอื่น ๆที่จะเกิดกับแต่ละภูมิภาคบนโลกว่าจะแตกต่างกันอย่างไร รัฐบาลของประเทศต่าง ๆแทบทุกประเทศได้ลงนามและให้สัตยาบันในพิธีสารเกียวโตซึ่งมุ่งประเด็นไปที่การ ลดการปล่อยแก๊สเรือนกระจก แต่ยังคงมีการโต้เถียงกันทางการเมืองและการโต้วาทีสาธารณะไปทั่วทั้งโลก เกี่ยวกับมาตรการว่าควรเป็นอย่างไรจึงจะลดหรือย้อนกลับความร้อนที่เพิ่มขึ้นของโลกในอนาคตหรือจะปรับตัว กันอย่างไรต่อผลกระทบของปรากฏการณ์โลกร้อนที่คาดว่าจะต้องเกิดขึ้น คาจากัดความ คาว่า “ปรากฏการณ์โลกร้อน” เป็นคาจาเพาะคาหนึ่งของอุบัติการณ์การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของ โลก โดยที่ "การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ"มีความหมายถึงการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิในทุกช่วงเวลาของโลก รวมทั้งเหตุการณ์ปรากฏการณ์โลกเย็นด้วยโดยทั่วไป คาว่า "ปรากฏการณ์โลกร้อน"จะใช้ในการอ้างถึงสภาวะที่ อุณหภูมิของโลกร้อนขึ้นในช่วงไม่กี่ทศวรรษที่ผ่านมา และมีความเกี่ยวข้องกระทบต่อมนุษย์ในอนุสัญญา สหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (United Nations Framework Convention on Climate Change: UNFCCC) ใช้คาว่า “การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ” (Climate Change) สาหรับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดจาก กิจกรรมของมนุษย์และใช้คาว่า "การผันแปรของภูมิอากาศ" (Climate Variability) สาหรับการเปลี่ยนแปลงที่ เกิดจากเหตุอื่นส่วนคาว่า “ปรากฏการณ์โลกร้อนจากกิจกรรมมนุษย์” (anthropogenic global warming) มีที่ใช้ ในบางคราวเพื่อเน้นถึงการเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากเหตุอันเนื่องมาจากมนุษย์ สาเหตุ สภาพภูมิอากาศของโลกมีการเปลี่ยนแปลงไปตามแรงกระทาจากภายนอก ซึ่งรวมถึงการผันแปร ของวงโคจรรอบดวงอาทิตย์(แรงกระทาจากวงโคจร)การระเบิดของภูเขาไฟและการสะสมของแก๊สเรือน กระจกในบรรยากาศรายละเอียดเกี่ยวกับสาเหตุของความร้อนที่เพิ่มขึ้นของโลกยังคงเป็นประเด็นการวิจัยที่มี ความเคลื่อนไหวอยู่เสมอ อย่างไรก็ดี มีความเห็นร่วมทางวิทยาศาสตร์ (scientific consensus) บ่งชี้ว่าระดับการ เพิ่มของแก๊สเรือนกระจกที่เกิดจากกิจกรรมของมนุษย์เป็นส่วนที่มีอิทธิพลสาคัญที่สุดนับแต่เริ่มต้นยุค อุตสาหกรรมเป็นต้นมาสาเหตุข้อนี้มีความชัดเจนมากในช่วง 50 ปีที่ผ่านมาเนื่องจากมีข้อมูลมากพอสาหรับการ พิเคราะห์นอกจากนี้ยังมีสมมุติฐานอื่นในมุมมองที่ไม่ตรงกันกับความเห็นร่วมทางวิทยาศาสตร์ข้างต้น ซึ่ง นาไปใช้เพื่ออธิบายเหตุการณ์ที่อุณหภูมิมีค่าสูงขึ้นสมมุติฐานหนึ่งในนั้นเสนอว่าความร้อนที่เพิ่มขึ้นอาจเป็นผล จากการผันแปรภายในของดวงอาทิตย์ ผลกระทบจากแรงดังกล่าวมิได้เกิดขึ้นในฉับพลันทันใด เนื่องจาก “แรงเฉื่อยของความร้อน” (thermal inertia) ของมหาสมุทรและการตอบสนองอันเชื่องช้าต่อผลกระทบทางอ้อมทาให้สภาวะภูมิอากาศของ โลก ณ ปัจจุบันยังไม่อยู่ในสภาวะสมดุลจากแรงที่กระทา การศึกษาเพื่อหา “ข้อผูกมัดของภูมิอากาศ” (Climate commitment) บ่งชี้ว่า แม้แก๊สเรือนกระจกจะอยู่ในสภาวะเสถียรในปีพ.ศ. 2543 ก็ยังคงมีความร้อนเพิ่มขึ้นอีก ประมาณ 0.5 องศาเซลเซียสอยู่ดี