SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2558
ชื่อโครงงาน ภาวะโลกร้อน Global warming
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นางสาวพัทธมน ปันจุติ ชั้น ม.6/7 เลขที่ 25
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1. นางสาวพัทธมน ปันจุติ ชั้น ม.6/7 เลขที่ 25
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ภาะโลกร้อน
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Global warming
ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวพัทธมน ปันจุติ
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน 13 สัปดาห์
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ในปัจจุบันเราได้ประสบปัญหากับการที่อุหภูมิของโลกเพิ่มขึ้นสูงอย่างต่อเนื่องกว่าที่เคยเป็นในรอบสองพันปีที่
ผ่านมา ซึ่งภาวะแบบนี้เรียกว่าภาวะโลกร้อน หรือ Global warming ผลกระทบก็มีมากมาย ไม่ว่าจะเป็นสภาพอากศ
ที่แปรปรวน การเกิดเอลนิโญและลานิญา การเกิดภัยพิบัติต่างๆที่สร้างความเสียหายกับชีวิตและทรัพย์สินอย่างที่ไม่
เคยมีใครคาดคิดมาก่อน ซึ่งสาเหตุของการเกิดภาวะโลกร้อนก็ไม่ใช่ใครที่ไหนมาจากมนุษย์นั่นเอง มนุษย์เป็นตัวการ
สาคัญในการเพิ่มปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ก๊าซไนตรัสออกไซด์ และสารประกอบคลอโรฟลูออโรคาร์บอน
(CFC) ซึ่งเป็นก๊าซที่มีผลกระทบต่อภาวะโลกร้อน ทางผู้จัดทาไดเล็งเห็นถึงปัญหาในส่วนนี้ จึงได้จัดทาโครงงานนี้ขึ้นมา
เพื่อเป็นการช่วยให้ผู้คนได้ทราบและตระหนักถึงผลกระทบของภาวะโลกร้อน และช่วยกันแก้ไขป้องกันไม่ให้เหตุการณ์
รุนแรงไปมากกว่านี้
วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษาถึงสาเหตุของการเกิดภาวะโลกร้อน
2. เพื่อศึกษาผลกระทบของภาวะโลกร้อน
3. เพื่อศึกษาวิธีช่วยลดภาวะโลกร้อน
4. เพื่อให้ผู้คนตระหนักถึงปัญหาภาวะโลกร้อนและช่วยกันแก้ไข
3
ขอบเขตโครงงาน
เป็นโครงงานที่ศึกษาถึงสาเหตุการเกิด ผลกระทบ และวิธีช่วยลดภาวะโลกร้อน
หลักการและทฤษฎี
ปรากฏการณ์โลกร้อน (Global warming) หมายถึงการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิเฉลี่ยของอากาศใกล้พื้นผิวโลก
และน้าในมหาสมุทรตั้งแต่ช่วงครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 20 และมีการคาดการณ์ว่าอุณหภูมิเฉลี่ยจะเพิ่มขึ้นอย่าง
ต่อเนื่อง
ก๊าซและสารที่มีผลกระทบต่อภาวะโลกร้อน
1. ไอน้า (H2O)
เป็นก๊าซเรือนกระจกที่มีมากที่สุดบนโลก มีอยู่ในอากาศประมาณ 0- 4% ขึ้นอยู่กับลักษณะภูมิประเทศ
ภูมิอากาศ และอุณหภูมิ ในบริเวณเขตร้อนใกล้เส้นศูนย์สูตรและชายทะเลจะมีไอน้าอยู่มาก ส่วนในบริเวณเขตหนาว
แถบขั้วโลก อุณหภูมิต่า จะมีไอน้าในบรรยากาศเพียงเล็กน้อย ไอน้าเป็นสิ่งจาเป็นต่อสิ่งมีชีวิต ไอน้าเป็นส่วนหนึ่ง
ของวัฏจักรน้าในธรรมชาติ น้าสามารถเปลี่ยนสถานะไปมาทั้ง 3 สถานะ จึงเป็นตัวพาและกระจายความร้อนแก่
บรรยากาศและพื้นผิว
ไอน้าเกิดจากโดยฝีมือมนุษย์ 2 วิธี คือ จากการเผาไหม้เชื้อเพลิงหรือก๊าซธรรมชาติ และจากการหายใจและ
คายน้าของสัตว์และพืชในการทาเกษตรกรรม
2. ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2)
ในยุคเริ่มแรกของโลกและระบบสุริยะ มีก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศถึง 98% เนื่องจากดวงอาทิตย์
ยังมีขนาดเล็กและแสงอาทิตย์ยังไม่สว่างเท่าทุกวันนี้ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ช่วยทาให้โลกอบอุ่น เหมาะสาหรับเป็น
ถิ่นที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิต ครั้นกาลเวลาผ่านไปดวงอาทิตย์มีขนาดใหญ่ขึ้น น้าฝนได้ละลายคาร์บอนไดออกไซด์ใน
อากาศลงมายังพื้นผิว แพลงก์ตอนบางชนิดและพืชตรึงก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศ มาสร้างเป็นอาหารโดยการ
สังเคราะห์ด้วยแสง ทาให้ภาวะเรือนกระจกลดลง โดยธรรมชาติก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เกิดขึ้นจากการหลอมละลาย
ของหินปูน ซึ่งโผล่ขึ้นมาจากปล่องภูเขาไฟ และการหายใจของสิ่งมีชีวิต
ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์มีปริมาณเพิ่มขึ้น เนื่องจากการเผาไหม้ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น การเผาไหม้เชื้อเพลิง
โรงงานอุตสาหกรรม การเผาป่าเพื่อใช้พื้นที่สาหรับอยู่อาศัยและการทาปศุสัตว์ เป็นต้น โดยการเผาป่าเป็นการปล่อย
ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ขึ้นสู่ชั้นบรรยากาศได้โดยเร็วที่สุด เนื่องจากต้นไม้มีคุณสมบัติในการตรึงก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์ไว้ก่อนที่จะลอยขึ้นสู่ชั้นบรรยากาศ ดังนั้นเมื่อพื้นที่ป่าลดน้อยลง ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จึงลอย
ขึ้นไปสะสมอยู่ในบรรยากาศได้มากยิ่งขึ้น และทาให้พลังงานความร้อนสะสมบนผิวโลกและในบรรยากาศเพิ่มขึ้น
ประมาณ 1.56 วัตต์/ตารางเมตร (ปริมาณนี้ยังไม่คิดรวมผลกระทบที่เกิดขึ้นทางอ้อม)
3. ก๊าซมีเทน (CH4)
เกิดขึ้นจากการย่อยสลายของซากสิ่งมีชีวิต แม้ว่ามีก๊าซมีเทนอยู่ในอากาศเพียง 1.7 ppm แต่ก๊าซมีเทนมี
คุณสมบัติของก๊าซเรือนกระจกสูงกว่าก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ กล่าวคือด้วยปริมาตรที่เท่ากัน ก๊าซมีเทนสามารถ
ดูดกลืนรังสีอินฟราเรดได้ดีกว่าก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
ก๊าซมีเทนมีปริมาณเพิ่มขึ้นเนื่องจากการทานาข้าว ปศุสัตว์ และการเผาไหม้มวลชีวภาพ การเผาไหม้เชื้อเพลิง
ประเภทถ่านหิน น้ามัน และก๊าซธรรมชาติ การเพิ่มขึ้นของก๊าซมีเทนส่งผลกระทบโดยตรงต่อภาวะเรือนกระจกมาก
เป็นอันดับ 2 รองจากก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ พลังงานรวมที่เกิดขึ้นโดยเฉลี่ย 0.47 วัตต์/ตารางเมตร
4
4. ก๊าซไนตรัสออกไซด์ (N2O)
ปกติก๊าซชนิดนี้ในธรรมชาติเกิดจากการย่อยสลายซากสิ่งมีชิวิตโดยแบคทีเรีย แต่ที่มีเพิ่มสูงขึ้นในปัจจุบัน
เนื่องมาจากอุตสาหกรรมที่ใช้กรดไนตริกในกระบวนการผลิต เช่น อุตสาหกรรมผลิตเส้นใยไนลอน อุตสาหกรรมเคมี
และพลาสติกบางชนิด เป็นต้น ก๊าซไนตรัสออกไซด์ที่เพิ่มขึ้นส่งผลกระทบโดยตรงต่อการเพิ่มพลังงานความร้อนสะสม
บนพื้นผิวโลกประมาณ 0.14 วัตต์/ตารางเมตร นอกจากนั้นเมื่อก๊าซไนตรัสออกไซด์ลอยขึ้นสู่บรรยากาศชั้นสตราโตส
เฟียร์ มันจะทาปฏิกิริยากับก๊าซโอโซน ทาให้เกราะป้องกันรังสีอัลตราไวโอเล็ตของโลกลดน้อยลง
5. สารประกอบคลอโรฟลูออโรคาร์บอน (CFC)
มีเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "ฟรีออน" (Freon) มิได้เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ แต่เป็นสิ่งประดิษฐ์ของมนุษย์ มี
แหล่งกาเนิดมาจากโรงงานอุตสาหกรรม และอุปกรณ์เครื่องใช้ในชีวิตประจาวัน เช่น ตู้เย็น เครื่องปรับอากาศ และ
สเปรย์ เป็นต้น
สาร CFC มีองค์ประกอบเป็นคลอรีน ฟลูออไรด์ และโบรมีน ซึ่งมีความสามารถในการทาลายโอโซน
ตามปกติสาร CFC ในบริเวณพื้นผิวโลกจะทาปฏิกิริยากับสารอื่น แต่เมื่อมันดูดกลืนรังสีอุลตราไวโอเล็ตในบรรยากาศ
ชั้นสตราโตสเฟียร์ โมเลกุลจะแตกตัวให้คลอรีนอะตอมเดี่ยว และทาปฏิกิริยากับก๊าซโอโซน เกิดก๊าซคลอรีนโมโน
ออกไซด์ (ClO) และก๊าซออกซิเจน หากคลอรีนจานวน 1 อะตอม ทาลายก๊าซโอโซน 1 โมเลกุล ได้เพียงครั้งเดียว ก็คง
ไม่เป็นปัญหา แต่ทว่าคลอรีน 1 อะตอม สามารถทาลายก๊าซโอโซน 1 โมเลกุล ได้นับพันครั้ง เนื่องจากเมื่อคลอรีนโม
โนออกไซด์ทาปฏิกิริยากับออกซิเจนอะตอมเดี่ยว แล้วเกิดคลอรีนอะตอมเดี่ยวขึ้นอีกครั้ง ปฏิกิริยาลูกโซ่เช่นนี้จึงเป็น
การทาลายโอโซนอย่างต่อเนื่อง
6. โอโซน (O3)
เป็นก๊าซที่ประกอบด้วยธาตุออกซิเจนจานวน 3 โมเลกุล มีอยู่เพียง 0.0008% ในบรรยากาศ โอโซนไม่ใช่ก๊าซ
ที่มีเสถียรภาพสูง มันมีอายุอยู่ในอากาศได้เพียง 20 - 30 สัปดาห์ แล้วสลายตัว โอโซนเกิดจากก๊าซออกซิเจน (O2)
ดูดกลืนรังสีอุลตราไวโอเล็ตแล้วแตกตัวเป็นออกซิเจนอะตอมเดี่ยว (O) จากนั้นออกซิเจนอะตอมเดี่ยวรวมตัวกับก๊าซ
ออกซิเจนและโมเลกุลชนิดอื่น (M)ที่ทาหน้าที่เป็นตัวกลาง แล้วให้ผลผลิตเป็นก๊าซโอโซนออกมา
ผลจากภาวะโลกร้อน
เอล นิโญ และลา นิโญ ทั้ง 2 คานี้เป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เป็นปฏิสัมพันธ์ระหว่างการหมุนเวียนของ
กระแสอากาศ และกระแสน้าในมหาสมุทรทั้งบนผิวพื้นและใต้มหาสมุทร แต่เกิดจากภาวะโลกร้อน ทาให้เกิดความ
ผกผันของกระแสอากาศโลกบริเวณเส้นศูนย์สูตร เหนือมหาสมุทรแปซิฟิก
- เอลนิโญ (El Niño)
เป็นคาภาษาสเปน แปลว่า "บุตรพระคริสต์" หรือ "พระเยซู" เป็นชื่อของกระแสน้าอุ่นที่ไหลเลียบชายฝั่งทะเล
ของประเทศเปรูลงไปทางใต้ทุก ๆ 2-3 ปี โดยเริ่มประมาณช่วงเทศกาลคริสต์มาส กระแสน้าอุ่นนี้จะไหลเข้าแทนที่
กระแสน้าเย็นที่อยู่ตามชายฝั่งเปรูนานประมาณ 2-3 เดือน และบางครั้งอาจจะยาวนานข้ามปีถัดไป เป็นคาบเวลาที่ไม่
แน่นอน และมีผลทางระบบนิเวศและห่วงลูกโซ่อาหาร ปริมาณปลาน้อย นกกินปลาขาดอาหาร ชาวประมงขาดรายได้
รวมทั้งเกิดฝนตกและดินถล่มอย่างรุนแรงในประเทศเปรูและเอกวาดอร์ เอลนิโญ มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า "El
Nino - Southern Oscillation" หรือเรียกอย่างสั้นๆ ว่า "ENSO" หมายถึงการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นบริเวณ
มหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้
โดยปกติบริเวณเส้นศูนย์สูตรโลกเหนือมหาสมุทรแปซิฟิก ลมสินค้าตะวันออก (Eastery Trade Winds) จะ
พัดจากประเทศเปรู บริเวณชายฝั่งทวีปอเมริกาใต้ ไปทางตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิก แล้วยกตัวขึ้นบริเวณเหนือ
5
ประเทศอินโดนีเซีย ทาให้มีฝนตกมากในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และทวีปออสเตรเลียตอนเหนือ กระแสลมสินค้าพัด
ให้กระแสน้าอุ่นบนพื้นผิวมหาสมุทรแปซิฟิกไปกองรวมกันทางตะวันตกจนมีระดับสูงกว่าระดับน้าทะเลปกติประมาณ
60-70 เซนติเมตร แล้วจมตัวลง กระแสน้าเย็นใต้มหาสมุทรซีกเบื้องล่างเข้ามาแทนที่กระแสน้าอุ่นพื้นผิวซีกตะวันออก
นาพาธาตุอาหารจากก้นมหาสมุทรขึ้นมาทาให้ปลาชุกชุม เป็นประโยชน์ต่อนกทะเล และการทาประมงชายฝั่งของ
ประเทศเปรู
เมื่อเกิดปรากฏการณ์เอลนิโญ กระแสลมสินค้าตะวันออกอ่อนกาลัง กระแสลมพื้นผิวเปลี่ยนทิศทาง พัดจาก
ประเทศอินโดนีเซียและออสเตรเลียตอนเหนือไปทางตะวันออก แล้วยกตัวขึ้นเหนือชายฝั่งทวีปอเมริกาใต้ ก่อให้เกิด
ฝนตกหนักและแผ่นดินถล่มในประเทศเปรูและเอกวาดอร์ กระแสลมพัดกระแสน้าอุ่นบนพื้นผิวมหาสมุทรแปซิฟิกไป
กองรวมกันบริเวณชายฝั่งประเทศเปรู ทาให้กระแสน้าเย็นใต้มหาสมุทรไม่สามารถลอยตัวขึ้นมาได้ ทาให้บริเวณ
ชายฝั่งขาดธาตุอาหารสาหรับปลา และนกทะเล ชาวประมงจึงขาดรายได้ ปรากฏการณ์เอลนิโญ ทาให้ฝนตกหนักใน
ตอนเหนือของทวีปอเมริกาใต้ แต่ก่อให้เกิดความแห้งแล้งในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และออสเตรเลียตอนเหนือ การที่
เกิดไฟใหม้ป่าอย่างรุนแรงในประเทศอินโดนีเซีย ก็เป็นเพราะปรากฏการณ์เอลนิโญ นั่นเอง
- ลานิญา (La Niña)
เป็นคาภาษาสเปน แปลว่า "บุตรธิดา" เป็นปรากฏการณ์ที่มีลักษณะตรงข้ามกับเอลนิโญ คือ มีลักษณะ
คล้ายคลึงกับสภาวะปกติ แต่ทว่ารุนแรงกว่า กล่าวคือกระแสลมสินค้าตะวันออกมีกาลังแรง ทาให้ระดับน้าทะเล
บริเวณทางซีกตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิกสูงกว่าสภาวะปกติ ลมสินค้ายกตัวเหนือประเทศอินโดนีเซีย ทาให้เกิด
ฝนตกอย่างหนัก น้าเย็นใต้มหาสมุทรยกตัวขึ้นแทนที่กระแสน้าอุ่นพื้นผิวมหาสมุทรแปซิฟิกทางซีกตะวันตก ก่อให้เกิด
ธาตุอาหาร ฝูงปลาชุกชุม ตามบริเวณชายฝั่งประเทศเปรู
กล่าวง่ายๆ ก็คือ "เอลนิโญ" ทาให้เกิดฝนตกหนักในตอนเหนือของทวีปอเมริกาใต้ และเกิดความแห้งแล้งใน
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในทางกลับกัน "ลานิโญ" ทาให้เกิดความแห้งแล้งทางตอนเหนือของทวีปอเมริกาใต้ และเกิด
ฝนตกหนักในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทั้ง 2 ปรากฏการณ์นี้ เกิดจากความผกผันของกระแสอากาศโลกบริเวณเส้น
ศูนย์สูตร เหนือมหาสมุทรแปซิฟิก ซึ่งนักวิทยาศาสตร์วิเคราะห์ว่าเกิดจากภาวะโลกร้อน
วิธีลดภาวะโลกร้อน
- อาบน้าด้วยฝักบัว ประหยัดกว่าตักอาบหรือใช้อ่างอาบน้าถึงครึ่งหนึ่งในเวลาเพียง 10 นาที ปิดน้าขณะแปรง
ฟัน ประหยัดได้เดือนละ 151 ลิตร
- ใช้น้าร้อนให้น้อยลง การทาน้าร้อนใช้พลังงานในการต้มสูงมาก การปรับเครื่องทาน้าอุ่น ให้มีอุณหภูมิและแรง
น้าให้น้อยลง จะลดคาร์บอนไดออกไซด์์ได้ 159 กิโลกรัมต่อปี หรือการซักผ้าในน้าเย็นจะลด
คาร์บอนไดออกไซด์ได้ปีละ 227 กิโลกรัม
- ใช้หลอดไฟตะเกียบ ประหยัดกว่าหลอดธรรมดา 4 เท่า ใช้งานนานกว่า 8 เท่า แต่ละหลอดช่วยลดการปล่อย
ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้ 4,500 กิโลกรัม หลอดไฟธรรมดาเปลียนพลังงานน้อยกว่า 10% ไปเป็นแสงไฟ
ส่วนที่เหลือถูกเปลี่ยนไปเป็นความร้อน เท่ากับสูญพลังงานเปล่าๆ มากกว่า 90%
- ถอดปลั๊กเครื่องใช้ไฟฟ้า เพราะยังคงกินพลังงานมากแม้จะปิดแล้ว ดังนั้นควรถอดปลั๊กโทรทัศน์ สเตอริโอ
คอมพิวเตอร์ ไมโครเวฟ ฯลฯ เมื่อไม่ใช้ หรือเสียบปลั๊กเข้ากับแผงเสียบปลั๊กที่คอยปิดสวิชท์ไว้เสมอเมื่อไม่ใช้
และควรถอดปลั๊กที่ชาร์จโทรศัพท์มือถือและ MP3 เมื่อไฟเต็มแล้ว
- ใช้ตู้เย็นแบบ 2 ประตู ขนาดความจุ 400 ลิตร ตั้งอุณหภูมิที่ 3-5 องศา และ -17 ถึง -15 องศาในช่องแช่แข็ง
มีประสิทธิภาพในการประหยัดไฟมากที่สุด
- เปิดแอร์ที่ 25 องศา อุณหภูมิต่ากว่านี้ใช้พลังงานเพิ่มขึ้น 5 - 10 %
6
- ใช้แล็บท็อปจอแบน ประหยัดไฟมากกว่าคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะถึง 5 เท่า จาไว้ สกรีน เซฟเวอร์ และหมวดส
แตนบายด์ไม่ได้ช่วยประหยัดไฟ พลังงานที่เสียไปเท่ากับซื้อคอมพิวเตอร์ใหม่ได้ 1 เครื่อง และพริ้นเตอร์
เลเซอร์ประหยัดพลังงานมากกว่าอิงค์เจ็ท
- พกถุงผ้าไปช็อปปิ้ง แทนการใช้ถุงพลาสติก แต่ละปีทั่วโลกทิ้งถุงพลาสติกจากซูเปอร์มาร์เก็ตหลายแสนล้านใบ
อย่าลืมว่า การลดขยะเท่ากับลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
- ใส่เสื้อผ้าฝ้ายออร์แกนิค และใช้เครื่องใช้รีไซเคิล หรือนากลับมาใช้ใหม่ได้์
- หลีกเลี่ยงผลิตภัณฑ์ที่มีบรรจุภัณฑ์เยอะ เพียงแค่ลดขยะของคุณเอง 10 % จะลดคาร์บอนไดออกไซด์ ได้
545 กิโลกรัมต่อปี
- ปลูกต้นไม้ 1 ต้นดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์ได้ 1 ตันตลอดอายุขัย และรดน้าช่วงเช้า และกลางคืน ป้องกัน
การระเหย
- กินเนื้อสัตว์ให้น้อยลง เพราะการผลิตเนื้อสัตว์ใช้พลังงานและทรัพยากรมากกว่าการปลูกพืชและธัญพืช 18%
ของก๊าซเรือนกระจกมาจากอุตสาหกรรมปศุสัตว์ คุณไม่ต้องเป็นมังสวิรัติก็ได้เพื่อที่จะสร้างความเปลี่ยนแปลง
ลองไม่กินเนื้อสัตว์สัปดาห์ละครั้ง จะลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้มหาศาล
- เดินแทนขับ พาหนะใช้น้ามันถึงครึ่งหนึ่งของโลก และปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่ 1 ใน 4 ส่วน การทิ้งรถไว้ที่
บ้านแม้เพียงสัปดาห์ละ 1 วันสามารถประหยัดน้ามันและการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้มากมายภายใน 1 ปี
ลองเดิน ขี่จักรยาน นั่งรถกับคนอื่น หรือ นั่งรถเมล์หรือรถไฟฟ้าแทน หรือลองดูว่าคุณสามารถทางานที่บ้าน
โดยต่อคอมพิวเตอร์เข้ากับเครื่อข่ายของบริษัทสัปดาห์ละครั้งได้หรือไม่
- เช็คลมยาง ให้แน่ใจว่ายางรถสูบลมแน่นการ ขับรถโดยที่ยางมีลมน้อย อาจทาให้เปลืองน้ามันขึ้นได้ถึง 3%
จากปกติ น้ามันทุกๆ แกลลอนที่ประหยัดได้ จะลดคาร์บอนไดออกไซด์ ได้ 9 กิโลกรัม ยางที่สูบลมไม่พอจะใช้
น้ามันได้ในระยะทางสั้นลง 5%
- ลด ใช้ซ้า และรีไซเคิลให้มากขึ้น ลดขยะของบ้านคุณให้ได้ครึ่งหนึ่งจะช่วยลดคาร์บอนไดออกไซต์ได้ถึง 1,089
กิโลกรัมต่อปี
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน : จัดทาโครงงานในรูปแบบการนาเสนอโปรแกรม Power Point
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ : คอมพิวเตอร์
งบประมาณ : 0 บาท
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13
1 คิดหัวข้อโครงงาน พัทธมน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล พัทธมน
3 จัดทาโครงร่างงาน พัทธมน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน พัทธมน
5 ปรับปรุงทดสอบ พัทธมน
6 การทาเอกสารรายงาน พัทธมน
7 ประเมินผลงาน พัทธมน
8 นาเสนอโครงงาน พัทธมน
7
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. ผู้อ่านเข้าใจสาเหตุของการเกิดภาวะโลกร้อน
2. ผู้อ่านร่วมมือช่วยกันป้องกันการเกิดภาวะโลกร้อน
3. ผู้อ่านตระหนักถึงผลกระทบของภาวะโลกร้อน
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
วิทยาศาสตร์
ภูมิศาสตร์
แหล่งอ้างอิง
1. http://www.greenpeace.org/seasia/th/campaigns/climate-and-energy/take-action/ways-to-
reduce-global-warming/
2. http://hilight.kapook.com/view/5233
3. https://th.wikipedia.org

More Related Content

What's hot

ข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
Porna Saow
 
วิทยาศาสตร์(เคมี)
วิทยาศาสตร์(เคมี)วิทยาศาสตร์(เคมี)
วิทยาศาสตร์(เคมี)
N-nut Piacker
 
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบ
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบสมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบ
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบ
ชัยยันต์ ไม้กลาง
 
O net เคมี ปี 53
O net เคมี ปี 53O net เคมี ปี 53
O net เคมี ปี 53
Ja 'Natruja
 
Chem
ChemChem
Chem
aom08
 

What's hot (14)

ข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
 
Punmanee study 2
Punmanee study 2Punmanee study 2
Punmanee study 2
 
Punmanee study 8
Punmanee study 8Punmanee study 8
Punmanee study 8
 
วิทยาศาสตร์(เคมี)
วิทยาศาสตร์(เคมี)วิทยาศาสตร์(เคมี)
วิทยาศาสตร์(เคมี)
 
Punmanee study 3
Punmanee study 3Punmanee study 3
Punmanee study 3
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
 
Atom
AtomAtom
Atom
 
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบ
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบสมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบ
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบ
 
Study 1
Study 1Study 1
Study 1
 
O net เคมี ปี 53
O net เคมี ปี 53O net เคมี ปี 53
O net เคมี ปี 53
 
พันธะเคมี - Chemical bonds
พันธะเคมี - Chemical bondsพันธะเคมี - Chemical bonds
พันธะเคมี - Chemical bonds
 
Punmanee study 10
Punmanee study 10Punmanee study 10
Punmanee study 10
 
Punmanee study 5
Punmanee study 5Punmanee study 5
Punmanee study 5
 
Chem
ChemChem
Chem
 

Similar to แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์

โครงร่างโครงงานการแบ่งเซลล์
โครงร่างโครงงานการแบ่งเซลล์โครงร่างโครงงานการแบ่งเซลล์
โครงร่างโครงงานการแบ่งเซลล์
Chayaporn Jongjumnien
 
สื่อการศึกษาชีวะ
สื่อการศึกษาชีวะสื่อการศึกษาชีวะ
สื่อการศึกษาชีวะ
Nada Inthanon
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Brian Fristline
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
Swl Sky
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
Swl Sky
 

Similar to แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (20)

2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 
AT1
AT1AT1
AT1
 
AT1
AT1AT1
AT1
 
งานเดี่ยวคอม
งานเดี่ยวคอมงานเดี่ยวคอม
งานเดี่ยวคอม
 
2561 project 1 suiya-aryee no.9
2561 project  1 suiya-aryee no.92561 project  1 suiya-aryee no.9
2561 project 1 suiya-aryee no.9
 
โครงร่างโครงงานการแบ่งเซลล์
โครงร่างโครงงานการแบ่งเซลล์โครงร่างโครงงานการแบ่งเซลล์
โครงร่างโครงงานการแบ่งเซลล์
 
Thanatporn03
Thanatporn03Thanatporn03
Thanatporn03
 
สื่อการศึกษาชีวะ
สื่อการศึกษาชีวะสื่อการศึกษาชีวะ
สื่อการศึกษาชีวะ
 
2562 final-project 26
2562 final-project 262562 final-project 26
2562 final-project 26
 
อาหารขยะ
อาหารขยะอาหารขยะ
อาหารขยะ
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องภาวะโลกร้อน
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องภาวะโลกร้อนโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องภาวะโลกร้อน
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องภาวะโลกร้อน
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2558 project อต.
2558 project  อต.2558 project  อต.
2558 project อต.
 
Com
ComCom
Com
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
โครงงาน
โครงงาน โครงงาน
โครงงาน
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 

แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2558 ชื่อโครงงาน ภาวะโลกร้อน Global warming ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวพัทธมน ปันจุติ ชั้น ม.6/7 เลขที่ 25 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1. นางสาวพัทธมน ปันจุติ ชั้น ม.6/7 เลขที่ 25 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ภาะโลกร้อน ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Global warming ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวพัทธมน ปันจุติ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน 13 สัปดาห์ ที่มาและความสาคัญของโครงงาน ในปัจจุบันเราได้ประสบปัญหากับการที่อุหภูมิของโลกเพิ่มขึ้นสูงอย่างต่อเนื่องกว่าที่เคยเป็นในรอบสองพันปีที่ ผ่านมา ซึ่งภาวะแบบนี้เรียกว่าภาวะโลกร้อน หรือ Global warming ผลกระทบก็มีมากมาย ไม่ว่าจะเป็นสภาพอากศ ที่แปรปรวน การเกิดเอลนิโญและลานิญา การเกิดภัยพิบัติต่างๆที่สร้างความเสียหายกับชีวิตและทรัพย์สินอย่างที่ไม่ เคยมีใครคาดคิดมาก่อน ซึ่งสาเหตุของการเกิดภาวะโลกร้อนก็ไม่ใช่ใครที่ไหนมาจากมนุษย์นั่นเอง มนุษย์เป็นตัวการ สาคัญในการเพิ่มปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ก๊าซไนตรัสออกไซด์ และสารประกอบคลอโรฟลูออโรคาร์บอน (CFC) ซึ่งเป็นก๊าซที่มีผลกระทบต่อภาวะโลกร้อน ทางผู้จัดทาไดเล็งเห็นถึงปัญหาในส่วนนี้ จึงได้จัดทาโครงงานนี้ขึ้นมา เพื่อเป็นการช่วยให้ผู้คนได้ทราบและตระหนักถึงผลกระทบของภาวะโลกร้อน และช่วยกันแก้ไขป้องกันไม่ให้เหตุการณ์ รุนแรงไปมากกว่านี้ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาถึงสาเหตุของการเกิดภาวะโลกร้อน 2. เพื่อศึกษาผลกระทบของภาวะโลกร้อน 3. เพื่อศึกษาวิธีช่วยลดภาวะโลกร้อน 4. เพื่อให้ผู้คนตระหนักถึงปัญหาภาวะโลกร้อนและช่วยกันแก้ไข
  • 3. 3 ขอบเขตโครงงาน เป็นโครงงานที่ศึกษาถึงสาเหตุการเกิด ผลกระทบ และวิธีช่วยลดภาวะโลกร้อน หลักการและทฤษฎี ปรากฏการณ์โลกร้อน (Global warming) หมายถึงการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิเฉลี่ยของอากาศใกล้พื้นผิวโลก และน้าในมหาสมุทรตั้งแต่ช่วงครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 20 และมีการคาดการณ์ว่าอุณหภูมิเฉลี่ยจะเพิ่มขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง ก๊าซและสารที่มีผลกระทบต่อภาวะโลกร้อน 1. ไอน้า (H2O) เป็นก๊าซเรือนกระจกที่มีมากที่สุดบนโลก มีอยู่ในอากาศประมาณ 0- 4% ขึ้นอยู่กับลักษณะภูมิประเทศ ภูมิอากาศ และอุณหภูมิ ในบริเวณเขตร้อนใกล้เส้นศูนย์สูตรและชายทะเลจะมีไอน้าอยู่มาก ส่วนในบริเวณเขตหนาว แถบขั้วโลก อุณหภูมิต่า จะมีไอน้าในบรรยากาศเพียงเล็กน้อย ไอน้าเป็นสิ่งจาเป็นต่อสิ่งมีชีวิต ไอน้าเป็นส่วนหนึ่ง ของวัฏจักรน้าในธรรมชาติ น้าสามารถเปลี่ยนสถานะไปมาทั้ง 3 สถานะ จึงเป็นตัวพาและกระจายความร้อนแก่ บรรยากาศและพื้นผิว ไอน้าเกิดจากโดยฝีมือมนุษย์ 2 วิธี คือ จากการเผาไหม้เชื้อเพลิงหรือก๊าซธรรมชาติ และจากการหายใจและ คายน้าของสัตว์และพืชในการทาเกษตรกรรม 2. ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ในยุคเริ่มแรกของโลกและระบบสุริยะ มีก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศถึง 98% เนื่องจากดวงอาทิตย์ ยังมีขนาดเล็กและแสงอาทิตย์ยังไม่สว่างเท่าทุกวันนี้ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ช่วยทาให้โลกอบอุ่น เหมาะสาหรับเป็น ถิ่นที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิต ครั้นกาลเวลาผ่านไปดวงอาทิตย์มีขนาดใหญ่ขึ้น น้าฝนได้ละลายคาร์บอนไดออกไซด์ใน อากาศลงมายังพื้นผิว แพลงก์ตอนบางชนิดและพืชตรึงก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศ มาสร้างเป็นอาหารโดยการ สังเคราะห์ด้วยแสง ทาให้ภาวะเรือนกระจกลดลง โดยธรรมชาติก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เกิดขึ้นจากการหลอมละลาย ของหินปูน ซึ่งโผล่ขึ้นมาจากปล่องภูเขาไฟ และการหายใจของสิ่งมีชีวิต ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์มีปริมาณเพิ่มขึ้น เนื่องจากการเผาไหม้ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น การเผาไหม้เชื้อเพลิง โรงงานอุตสาหกรรม การเผาป่าเพื่อใช้พื้นที่สาหรับอยู่อาศัยและการทาปศุสัตว์ เป็นต้น โดยการเผาป่าเป็นการปล่อย ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ขึ้นสู่ชั้นบรรยากาศได้โดยเร็วที่สุด เนื่องจากต้นไม้มีคุณสมบัติในการตรึงก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ไว้ก่อนที่จะลอยขึ้นสู่ชั้นบรรยากาศ ดังนั้นเมื่อพื้นที่ป่าลดน้อยลง ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จึงลอย ขึ้นไปสะสมอยู่ในบรรยากาศได้มากยิ่งขึ้น และทาให้พลังงานความร้อนสะสมบนผิวโลกและในบรรยากาศเพิ่มขึ้น ประมาณ 1.56 วัตต์/ตารางเมตร (ปริมาณนี้ยังไม่คิดรวมผลกระทบที่เกิดขึ้นทางอ้อม) 3. ก๊าซมีเทน (CH4) เกิดขึ้นจากการย่อยสลายของซากสิ่งมีชีวิต แม้ว่ามีก๊าซมีเทนอยู่ในอากาศเพียง 1.7 ppm แต่ก๊าซมีเทนมี คุณสมบัติของก๊าซเรือนกระจกสูงกว่าก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ กล่าวคือด้วยปริมาตรที่เท่ากัน ก๊าซมีเทนสามารถ ดูดกลืนรังสีอินฟราเรดได้ดีกว่าก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ก๊าซมีเทนมีปริมาณเพิ่มขึ้นเนื่องจากการทานาข้าว ปศุสัตว์ และการเผาไหม้มวลชีวภาพ การเผาไหม้เชื้อเพลิง ประเภทถ่านหิน น้ามัน และก๊าซธรรมชาติ การเพิ่มขึ้นของก๊าซมีเทนส่งผลกระทบโดยตรงต่อภาวะเรือนกระจกมาก เป็นอันดับ 2 รองจากก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ พลังงานรวมที่เกิดขึ้นโดยเฉลี่ย 0.47 วัตต์/ตารางเมตร
  • 4. 4 4. ก๊าซไนตรัสออกไซด์ (N2O) ปกติก๊าซชนิดนี้ในธรรมชาติเกิดจากการย่อยสลายซากสิ่งมีชิวิตโดยแบคทีเรีย แต่ที่มีเพิ่มสูงขึ้นในปัจจุบัน เนื่องมาจากอุตสาหกรรมที่ใช้กรดไนตริกในกระบวนการผลิต เช่น อุตสาหกรรมผลิตเส้นใยไนลอน อุตสาหกรรมเคมี และพลาสติกบางชนิด เป็นต้น ก๊าซไนตรัสออกไซด์ที่เพิ่มขึ้นส่งผลกระทบโดยตรงต่อการเพิ่มพลังงานความร้อนสะสม บนพื้นผิวโลกประมาณ 0.14 วัตต์/ตารางเมตร นอกจากนั้นเมื่อก๊าซไนตรัสออกไซด์ลอยขึ้นสู่บรรยากาศชั้นสตราโตส เฟียร์ มันจะทาปฏิกิริยากับก๊าซโอโซน ทาให้เกราะป้องกันรังสีอัลตราไวโอเล็ตของโลกลดน้อยลง 5. สารประกอบคลอโรฟลูออโรคาร์บอน (CFC) มีเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "ฟรีออน" (Freon) มิได้เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ แต่เป็นสิ่งประดิษฐ์ของมนุษย์ มี แหล่งกาเนิดมาจากโรงงานอุตสาหกรรม และอุปกรณ์เครื่องใช้ในชีวิตประจาวัน เช่น ตู้เย็น เครื่องปรับอากาศ และ สเปรย์ เป็นต้น สาร CFC มีองค์ประกอบเป็นคลอรีน ฟลูออไรด์ และโบรมีน ซึ่งมีความสามารถในการทาลายโอโซน ตามปกติสาร CFC ในบริเวณพื้นผิวโลกจะทาปฏิกิริยากับสารอื่น แต่เมื่อมันดูดกลืนรังสีอุลตราไวโอเล็ตในบรรยากาศ ชั้นสตราโตสเฟียร์ โมเลกุลจะแตกตัวให้คลอรีนอะตอมเดี่ยว และทาปฏิกิริยากับก๊าซโอโซน เกิดก๊าซคลอรีนโมโน ออกไซด์ (ClO) และก๊าซออกซิเจน หากคลอรีนจานวน 1 อะตอม ทาลายก๊าซโอโซน 1 โมเลกุล ได้เพียงครั้งเดียว ก็คง ไม่เป็นปัญหา แต่ทว่าคลอรีน 1 อะตอม สามารถทาลายก๊าซโอโซน 1 โมเลกุล ได้นับพันครั้ง เนื่องจากเมื่อคลอรีนโม โนออกไซด์ทาปฏิกิริยากับออกซิเจนอะตอมเดี่ยว แล้วเกิดคลอรีนอะตอมเดี่ยวขึ้นอีกครั้ง ปฏิกิริยาลูกโซ่เช่นนี้จึงเป็น การทาลายโอโซนอย่างต่อเนื่อง 6. โอโซน (O3) เป็นก๊าซที่ประกอบด้วยธาตุออกซิเจนจานวน 3 โมเลกุล มีอยู่เพียง 0.0008% ในบรรยากาศ โอโซนไม่ใช่ก๊าซ ที่มีเสถียรภาพสูง มันมีอายุอยู่ในอากาศได้เพียง 20 - 30 สัปดาห์ แล้วสลายตัว โอโซนเกิดจากก๊าซออกซิเจน (O2) ดูดกลืนรังสีอุลตราไวโอเล็ตแล้วแตกตัวเป็นออกซิเจนอะตอมเดี่ยว (O) จากนั้นออกซิเจนอะตอมเดี่ยวรวมตัวกับก๊าซ ออกซิเจนและโมเลกุลชนิดอื่น (M)ที่ทาหน้าที่เป็นตัวกลาง แล้วให้ผลผลิตเป็นก๊าซโอโซนออกมา ผลจากภาวะโลกร้อน เอล นิโญ และลา นิโญ ทั้ง 2 คานี้เป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เป็นปฏิสัมพันธ์ระหว่างการหมุนเวียนของ กระแสอากาศ และกระแสน้าในมหาสมุทรทั้งบนผิวพื้นและใต้มหาสมุทร แต่เกิดจากภาวะโลกร้อน ทาให้เกิดความ ผกผันของกระแสอากาศโลกบริเวณเส้นศูนย์สูตร เหนือมหาสมุทรแปซิฟิก - เอลนิโญ (El Niño) เป็นคาภาษาสเปน แปลว่า "บุตรพระคริสต์" หรือ "พระเยซู" เป็นชื่อของกระแสน้าอุ่นที่ไหลเลียบชายฝั่งทะเล ของประเทศเปรูลงไปทางใต้ทุก ๆ 2-3 ปี โดยเริ่มประมาณช่วงเทศกาลคริสต์มาส กระแสน้าอุ่นนี้จะไหลเข้าแทนที่ กระแสน้าเย็นที่อยู่ตามชายฝั่งเปรูนานประมาณ 2-3 เดือน และบางครั้งอาจจะยาวนานข้ามปีถัดไป เป็นคาบเวลาที่ไม่ แน่นอน และมีผลทางระบบนิเวศและห่วงลูกโซ่อาหาร ปริมาณปลาน้อย นกกินปลาขาดอาหาร ชาวประมงขาดรายได้ รวมทั้งเกิดฝนตกและดินถล่มอย่างรุนแรงในประเทศเปรูและเอกวาดอร์ เอลนิโญ มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า "El Nino - Southern Oscillation" หรือเรียกอย่างสั้นๆ ว่า "ENSO" หมายถึงการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นบริเวณ มหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ โดยปกติบริเวณเส้นศูนย์สูตรโลกเหนือมหาสมุทรแปซิฟิก ลมสินค้าตะวันออก (Eastery Trade Winds) จะ พัดจากประเทศเปรู บริเวณชายฝั่งทวีปอเมริกาใต้ ไปทางตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิก แล้วยกตัวขึ้นบริเวณเหนือ
  • 5. 5 ประเทศอินโดนีเซีย ทาให้มีฝนตกมากในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และทวีปออสเตรเลียตอนเหนือ กระแสลมสินค้าพัด ให้กระแสน้าอุ่นบนพื้นผิวมหาสมุทรแปซิฟิกไปกองรวมกันทางตะวันตกจนมีระดับสูงกว่าระดับน้าทะเลปกติประมาณ 60-70 เซนติเมตร แล้วจมตัวลง กระแสน้าเย็นใต้มหาสมุทรซีกเบื้องล่างเข้ามาแทนที่กระแสน้าอุ่นพื้นผิวซีกตะวันออก นาพาธาตุอาหารจากก้นมหาสมุทรขึ้นมาทาให้ปลาชุกชุม เป็นประโยชน์ต่อนกทะเล และการทาประมงชายฝั่งของ ประเทศเปรู เมื่อเกิดปรากฏการณ์เอลนิโญ กระแสลมสินค้าตะวันออกอ่อนกาลัง กระแสลมพื้นผิวเปลี่ยนทิศทาง พัดจาก ประเทศอินโดนีเซียและออสเตรเลียตอนเหนือไปทางตะวันออก แล้วยกตัวขึ้นเหนือชายฝั่งทวีปอเมริกาใต้ ก่อให้เกิด ฝนตกหนักและแผ่นดินถล่มในประเทศเปรูและเอกวาดอร์ กระแสลมพัดกระแสน้าอุ่นบนพื้นผิวมหาสมุทรแปซิฟิกไป กองรวมกันบริเวณชายฝั่งประเทศเปรู ทาให้กระแสน้าเย็นใต้มหาสมุทรไม่สามารถลอยตัวขึ้นมาได้ ทาให้บริเวณ ชายฝั่งขาดธาตุอาหารสาหรับปลา และนกทะเล ชาวประมงจึงขาดรายได้ ปรากฏการณ์เอลนิโญ ทาให้ฝนตกหนักใน ตอนเหนือของทวีปอเมริกาใต้ แต่ก่อให้เกิดความแห้งแล้งในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และออสเตรเลียตอนเหนือ การที่ เกิดไฟใหม้ป่าอย่างรุนแรงในประเทศอินโดนีเซีย ก็เป็นเพราะปรากฏการณ์เอลนิโญ นั่นเอง - ลานิญา (La Niña) เป็นคาภาษาสเปน แปลว่า "บุตรธิดา" เป็นปรากฏการณ์ที่มีลักษณะตรงข้ามกับเอลนิโญ คือ มีลักษณะ คล้ายคลึงกับสภาวะปกติ แต่ทว่ารุนแรงกว่า กล่าวคือกระแสลมสินค้าตะวันออกมีกาลังแรง ทาให้ระดับน้าทะเล บริเวณทางซีกตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิกสูงกว่าสภาวะปกติ ลมสินค้ายกตัวเหนือประเทศอินโดนีเซีย ทาให้เกิด ฝนตกอย่างหนัก น้าเย็นใต้มหาสมุทรยกตัวขึ้นแทนที่กระแสน้าอุ่นพื้นผิวมหาสมุทรแปซิฟิกทางซีกตะวันตก ก่อให้เกิด ธาตุอาหาร ฝูงปลาชุกชุม ตามบริเวณชายฝั่งประเทศเปรู กล่าวง่ายๆ ก็คือ "เอลนิโญ" ทาให้เกิดฝนตกหนักในตอนเหนือของทวีปอเมริกาใต้ และเกิดความแห้งแล้งใน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในทางกลับกัน "ลานิโญ" ทาให้เกิดความแห้งแล้งทางตอนเหนือของทวีปอเมริกาใต้ และเกิด ฝนตกหนักในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทั้ง 2 ปรากฏการณ์นี้ เกิดจากความผกผันของกระแสอากาศโลกบริเวณเส้น ศูนย์สูตร เหนือมหาสมุทรแปซิฟิก ซึ่งนักวิทยาศาสตร์วิเคราะห์ว่าเกิดจากภาวะโลกร้อน วิธีลดภาวะโลกร้อน - อาบน้าด้วยฝักบัว ประหยัดกว่าตักอาบหรือใช้อ่างอาบน้าถึงครึ่งหนึ่งในเวลาเพียง 10 นาที ปิดน้าขณะแปรง ฟัน ประหยัดได้เดือนละ 151 ลิตร - ใช้น้าร้อนให้น้อยลง การทาน้าร้อนใช้พลังงานในการต้มสูงมาก การปรับเครื่องทาน้าอุ่น ให้มีอุณหภูมิและแรง น้าให้น้อยลง จะลดคาร์บอนไดออกไซด์์ได้ 159 กิโลกรัมต่อปี หรือการซักผ้าในน้าเย็นจะลด คาร์บอนไดออกไซด์ได้ปีละ 227 กิโลกรัม - ใช้หลอดไฟตะเกียบ ประหยัดกว่าหลอดธรรมดา 4 เท่า ใช้งานนานกว่า 8 เท่า แต่ละหลอดช่วยลดการปล่อย ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้ 4,500 กิโลกรัม หลอดไฟธรรมดาเปลียนพลังงานน้อยกว่า 10% ไปเป็นแสงไฟ ส่วนที่เหลือถูกเปลี่ยนไปเป็นความร้อน เท่ากับสูญพลังงานเปล่าๆ มากกว่า 90% - ถอดปลั๊กเครื่องใช้ไฟฟ้า เพราะยังคงกินพลังงานมากแม้จะปิดแล้ว ดังนั้นควรถอดปลั๊กโทรทัศน์ สเตอริโอ คอมพิวเตอร์ ไมโครเวฟ ฯลฯ เมื่อไม่ใช้ หรือเสียบปลั๊กเข้ากับแผงเสียบปลั๊กที่คอยปิดสวิชท์ไว้เสมอเมื่อไม่ใช้ และควรถอดปลั๊กที่ชาร์จโทรศัพท์มือถือและ MP3 เมื่อไฟเต็มแล้ว - ใช้ตู้เย็นแบบ 2 ประตู ขนาดความจุ 400 ลิตร ตั้งอุณหภูมิที่ 3-5 องศา และ -17 ถึง -15 องศาในช่องแช่แข็ง มีประสิทธิภาพในการประหยัดไฟมากที่สุด - เปิดแอร์ที่ 25 องศา อุณหภูมิต่ากว่านี้ใช้พลังงานเพิ่มขึ้น 5 - 10 %
  • 6. 6 - ใช้แล็บท็อปจอแบน ประหยัดไฟมากกว่าคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะถึง 5 เท่า จาไว้ สกรีน เซฟเวอร์ และหมวดส แตนบายด์ไม่ได้ช่วยประหยัดไฟ พลังงานที่เสียไปเท่ากับซื้อคอมพิวเตอร์ใหม่ได้ 1 เครื่อง และพริ้นเตอร์ เลเซอร์ประหยัดพลังงานมากกว่าอิงค์เจ็ท - พกถุงผ้าไปช็อปปิ้ง แทนการใช้ถุงพลาสติก แต่ละปีทั่วโลกทิ้งถุงพลาสติกจากซูเปอร์มาร์เก็ตหลายแสนล้านใบ อย่าลืมว่า การลดขยะเท่ากับลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ - ใส่เสื้อผ้าฝ้ายออร์แกนิค และใช้เครื่องใช้รีไซเคิล หรือนากลับมาใช้ใหม่ได้์ - หลีกเลี่ยงผลิตภัณฑ์ที่มีบรรจุภัณฑ์เยอะ เพียงแค่ลดขยะของคุณเอง 10 % จะลดคาร์บอนไดออกไซด์ ได้ 545 กิโลกรัมต่อปี - ปลูกต้นไม้ 1 ต้นดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์ได้ 1 ตันตลอดอายุขัย และรดน้าช่วงเช้า และกลางคืน ป้องกัน การระเหย - กินเนื้อสัตว์ให้น้อยลง เพราะการผลิตเนื้อสัตว์ใช้พลังงานและทรัพยากรมากกว่าการปลูกพืชและธัญพืช 18% ของก๊าซเรือนกระจกมาจากอุตสาหกรรมปศุสัตว์ คุณไม่ต้องเป็นมังสวิรัติก็ได้เพื่อที่จะสร้างความเปลี่ยนแปลง ลองไม่กินเนื้อสัตว์สัปดาห์ละครั้ง จะลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้มหาศาล - เดินแทนขับ พาหนะใช้น้ามันถึงครึ่งหนึ่งของโลก และปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่ 1 ใน 4 ส่วน การทิ้งรถไว้ที่ บ้านแม้เพียงสัปดาห์ละ 1 วันสามารถประหยัดน้ามันและการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้มากมายภายใน 1 ปี ลองเดิน ขี่จักรยาน นั่งรถกับคนอื่น หรือ นั่งรถเมล์หรือรถไฟฟ้าแทน หรือลองดูว่าคุณสามารถทางานที่บ้าน โดยต่อคอมพิวเตอร์เข้ากับเครื่อข่ายของบริษัทสัปดาห์ละครั้งได้หรือไม่ - เช็คลมยาง ให้แน่ใจว่ายางรถสูบลมแน่นการ ขับรถโดยที่ยางมีลมน้อย อาจทาให้เปลืองน้ามันขึ้นได้ถึง 3% จากปกติ น้ามันทุกๆ แกลลอนที่ประหยัดได้ จะลดคาร์บอนไดออกไซด์ ได้ 9 กิโลกรัม ยางที่สูบลมไม่พอจะใช้ น้ามันได้ในระยะทางสั้นลง 5% - ลด ใช้ซ้า และรีไซเคิลให้มากขึ้น ลดขยะของบ้านคุณให้ได้ครึ่งหนึ่งจะช่วยลดคาร์บอนไดออกไซต์ได้ถึง 1,089 กิโลกรัมต่อปี วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน : จัดทาโครงงานในรูปแบบการนาเสนอโปรแกรม Power Point เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ : คอมพิวเตอร์ งบประมาณ : 0 บาท ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 1 คิดหัวข้อโครงงาน พัทธมน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล พัทธมน 3 จัดทาโครงร่างงาน พัทธมน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน พัทธมน 5 ปรับปรุงทดสอบ พัทธมน 6 การทาเอกสารรายงาน พัทธมน 7 ประเมินผลงาน พัทธมน 8 นาเสนอโครงงาน พัทธมน
  • 7. 7 ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ผู้อ่านเข้าใจสาเหตุของการเกิดภาวะโลกร้อน 2. ผู้อ่านร่วมมือช่วยกันป้องกันการเกิดภาวะโลกร้อน 3. ผู้อ่านตระหนักถึงผลกระทบของภาวะโลกร้อน สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง วิทยาศาสตร์ ภูมิศาสตร์ แหล่งอ้างอิง 1. http://www.greenpeace.org/seasia/th/campaigns/climate-and-energy/take-action/ways-to- reduce-global-warming/ 2. http://hilight.kapook.com/view/5233 3. https://th.wikipedia.org