SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน ปริมาณฝุ่นละอองในอากาศ
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อนางสาวณัฏฐณิชา เหล่าชุมแพ เลขที่31 ชั้น6 ห้อง6
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1นางสาวณัฏฐณิชา เหล่าชุมแพ เลขที่31
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ปริมาณฝุ่นละอองในอากาศ
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
The amount of dust in the air
ประเภทโครงงาน เพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวณัฏฐณิชา เหล่าชุมแพ
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
มลพิษทางอากาศเป็นภาวะอากาศที่มีสารเจือปนอยู่ในปริมาณที่สูงกว่าระดับปกติเป็น เวลานานจนทาให้เกิด
อันตรายแก่มนุษย์ สัตว์ พืช หรือทรัพย์สินต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นตามธรรมชาติ ได้แก่ ฝุ่นละอองจากลมพายุ แผ่นดินไหว
ไฟไหม้ป่า หรือเกิดจากการกระทาของมนุษย์ ได้แก่ มลพิษ จากท่อไอเสียของรถยนต์ โรงงานอุตสาหกรรม การระเหย
ของก๊าซบางชนิด และขยะมูลฝอยและของเสียต่างๆ อีกสาเหตุหนึ่งที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบ คือ ฝุ่นละอองในอากาศ
ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนกรกฎาคมทั่วประเทศไทยได้รับผลกระทบจากฝุ่นละอองในปริมาณมากเกินมาตรฐาน
ในปี 2548 องค์การอนามัยโลก (WHO) ได้ออกคาแนะนาเพิ่มเติมในการกาหนดค่าเป้าหมายของค่ามาตรฐานเฉลี่ย 1
ปี แบ่งเป็น 4 ระดับ ได้แก่ 35, 25, 15 และ 10 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ขึ้นอยู่กับระดับการพัฒนาของประเทศ
โดยค่าเฉลี่ยรายปีและค่าเฉลี่ยใน 24 ชั่วโมงขององค์การอนามัยโลกกาหนดไว้ที่ 10 และ 25 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์
เมตร ตามลาดับ แต่ไทยได้มีการกาหนดค่าไว้สูงกว่าค่ามาตรฐานขององค์การอนามัยโลก โดยมีค่าเฉลี่ยรายปีและ
ค่าเฉลี่ยใน 24 ชั่วโมงไว้ที่ 25 และ 50 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ตามข้อสรุปขององค์การสหประชาชาติ (UN) ที่ว่า
ประเทศไทยเป็นประเทศกาลังพัฒนา ทาให้เป็นประเทศที่ได้รับสิทธิพิเศษที่จะสามารถปล่อยมลพิษทางอากาศได้
มากกว่าหลาย ซึ่งมาจากหลายสาเหตุอาทิเช่น ปัญหาการเผาป่าไม้ทางภาคเหนือ ปัญหามลพิษทางควันจากรถยนต์
ปัญหาควันจากแหล่งโรงงานอุตสาหกรรม เป็นต้น จากปัญหาข้างต้นที่กล่าวมา ทาให้ประเทศไทยได้รับผลกระทบกับ
มลพิษทางอากาศนั้นก็คือฝุ่นละออง ทาให้ปริมาณฝุ่นละอองของประเทศไทยนั้นเกินมาตรฐานที่ทั่วโลกกาหนดไว้
ปัญหาหมอกควันส่งผลกระทบต่อความเป็นอยู่ของประชาชน ทาให้ช่วงเวลาที่เกิด หมอกควันประชาชนส่วนใหญ่จะใช้
ชีวิตอยู่ในอาคารหรือบ้านพักอาศัยมากกว่าด้านนอกเพื่อป้องกันและลด การรับสัมผัสฝุ่นละออง ซึ่งผู้จัดทาเล็งหาว่า
ปัญหาเหล่านี้ควรศึกษาอย่างถี่ถ้วนจึงมีแนวคิดที่จะศึกษาการพยากรณ์ปริมาณฝุ่นละอองในอากาศในอนาคต ว่าจะมี
มากน้อยเพียงใด โดยอาศัยศึกษาวิธีทางสถิติ เพื่อนาเสนอผลการศึกษา เพื่อประโยชน์ในการวางแผนการแก้ไขปัญหา
ล่วงหน้าให้กับผู้ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนสร้างความตระหนักในการลดพฤติกรรมที่ก่อให้เกิดฝุ่นละอองในอากาศ
3
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.เพื่อพยากรณ์ปริมาณฝุ่นละอองในอากาศ
2.เพื่อเตรียมการป้องกันปริมาณฝุ่นละอองในอากาศ
3.เพื่อให้ข้อมูลที่รวบรวมและศึกษานั้นมีประโยชน์ต่อผู้ที่เกี่ยวข้อง
4.สามารถคานวณปริมาณฝุ่นละอองในอากาศได้
5.เพื่อเป็นแนวทางในการศึกษาต่อยอดข้อมูล
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
1.ปริมาณฝุ่นละอองในอากาศประจาวัน ณ จังหวัดเชียงใหม่
2.การพยากรณ์ฝุ่นละออง
3.วิธีทางสถิติ
4.ปัจจัยการเกิดฝุ่นละออง
5.การจราจร ทาการสารวจปริมาณการจราจร เพื่อให้จาแนกจานวนและชนิดของยานพาหนะ ได้อย่างแม่นยา
จึงกาหนดการสารวจปริมาณยานพาหนะ โดยใช้บุคคลเก็บข้อมูล (Manual counting methods) เพื่อให้เห็นถึง
จานวนของยานพาหนะชนิดต่างๆ ว่ามียานพาหนะชนิดใดมากที่สุดที่ส่งผล ต่อประชาชน
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
ฝุ่น PM 2.5 คืออะไร?
คาว่า PM ย่อมาจาก Particulate Matters เป็นคาเรียกค่ามาตรฐานของฝุ่นละอองขนาดเล็กที่เป็นอันตรายต่อ
สุขภาพซึ่งมีอยู่ด้วยกัน 2 ชนิด ได้แก่ PM 10 และ PM 2.5 ส่วนตัวเลข 2.5 นั้นมาจากหน่วย 2.5 ไมครอนหรือ
ไมโครเมตรนั่นเอง
พูดง่ายๆ คือ ฝุ่น PM 2.5 เป็นอนุภาคขนาดเล็กที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางเฉลี่ยน้อยกว่า 2.5 ไมโครเมตร แขวนลอย
อยู่ในอากาศรวมกับไอน้า ควัน และก๊าซต่างๆ ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าถึงจะเป็นเพียงฝุ่นละอองขนาดจิ๋ว
แต่เมื่อมาแผ่อยู่รวมกันจะกินพื้นที่ในอากาศมหาศาล ล่องลอยอยู่ในชั้นบรรยากาศปริมาณสูง เกิดเป็นหมอกควันอย่าง
ที่เราเห็นกัน
ฝุ่น PM 2.5 ถือเป็นมลพิษต่อสุขภาพของมนุษย์ตามที่องค์การอนามัยโลกให้ความสาคัญและออกมาแจ้งเตือนให้
ทราบ เพราะเป็นฝุ่นละอองที่มีขนาดเล็กมาก เส้นผมที่ว่ามีขนาดเล็กแล้ว เจ้าฝุ่น PM 2.5 ยังเล็กกว่าเส้นผมถึง 20
เท่า ทาให้เล็ดลอดผ่านขนจมูกเข้าสู่ปอด และหลอดเลือดได้ง่าย ส่งผลเสียต่อร่างกายในระยะยาว
PM2.5 ฝุ่นละอองขนาดเล็กที่ขนจมูกไม่สามารถกรองได้
PM2.5 คือฝุ่นละอองขนาดเล็กไม่เกิน 2.5 ไมครอน อาจเทียบอย่างง่ายว่ามีขนาดประมาณ 1 ใน 25 ของเส้น
ผ่านศูนย์กลางของเส้นผมมนุษย์ เล็กขนาดที่ขนจมูกของมนุษย์นั้นไม่สามารถกรองได้ ทาให้ฝุ่นละอองชนิดนี้สามารถ
แพร่กระจายเข้าสู่ทางเดินหายใจ กระแสเลือด และแทรกซึมสู่กระบวนการทางานในอวัยวะต่างๆ ของร่างกาย เพิ่ม
ความเสี่ยงเป็นโรคเรื้อรัง
PM2.5 เกิดขึ้นได้จาก 2 ปัจจัยหลัก
1. แหล่งกาเนิดโดยตรง ได้แก่
 การเผาในที่โล่ง ปล่อย PM2.5 มากที่สุดถึง 209,937 ตันต่อปี โดยมาจากการเผาในพื้นที่เพาะปลูกพืช
เชิงเดี่ยวเพื่อป้อนเข้าสู่ห่วงโซ่อุปทานการผลิตอาหารของบริษัทอุตสาหกรรมเกษตรขนาดใหญ่ในภาคเหนือ
ตอนบนของไทยและภูมิภาคลุ่มน้าโขง รวมไปถึงหมอกควันพิษข้ามพรมแดน
4
 การคมนาคมขนส่ง ปล่อย PM2.5 ราว 50,240 ตันต่อปี โดยมาจากการเผาไหม้ของเชื้อเพลิงทั้งดีเซลและ
แก๊สโซฮอล์เป็นหลัก อีกทั้งยังเป็นแหล่งกาเนิดของออกไซด์ของไนโตรเจน (NOx) และซัลเฟอร์ไดออกไซด์
(SO2) อีกด้วย
 การผลิตไฟฟ้า ปล่อย PM2.5 ราว 31,793 ตันต่อปี แม้จะมีค่า PM2.5 น้อยกว่าการเผาในที่โล่งและการ
คมนาคมขนส่ง หากแต่กลับมีสัดส่วนในการปล่อยก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) และออกไซด์ของไนโตรเจน
(NOx) สู่ชั้นบรรยากาศมากที่สุด
 อุตสาหกรรมการผลิต ปล่อย PM2.5 ราว 65,140 ตันต่อปี โดยพบมากที่สุดในพื้นท่ีเขตควบคุมมลพิษมาบตา
พุด จังหวัดระยอง ซึ่งเกิดจากสารอินทรีย์ระเหยง่ายจากสารเคมีและอุตสาหกรรม
2. การรวมตัวของก๊าซอื่นๆ ในบรรยากาศ โดยเฉพาะซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) และออกไซด์ของไนโตรเจน (NOx)
รวมทั้งมีสารปรอท (Hg), แคดเมียม (Cd), อาร์เซนิก (As) หรือโพลีไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน (PAHs) ที่ล้วน
แล้วแต่เป็นสารพิษที่เป็นอันตรายต่อร่างกายของมนุษย์
ด้วยองค์ประกอบของสารพิษเหล่านี้ ทาให้องค์การอนามัยโลก (WHO) กาหนดให้ PM2.5 จัดอยู่ในกลุ่มที่ 1 ของ
สารก่อมะเร็ง ตั้งแต่ปี 2556 อีกทั้งยังเป็นสาเหตุให้ 1 ใน 8 ของประชากรโลกเสียชีวิตก่อนวัยอันควร สอดรับกับ
รายงานของธนาคารโลก (World Bank) ที่ระบุว่า ประเทศไทยมีผู้เสียชีวิตจากมลพิษในอากาศเป็นสาเหตุหลักของ
การเสียชีวิตก่อนวัยอันควรมากถึง 50,000 ราย ซึ่งการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรนี้ส่งผลกระทบไปถึงระบบเศรษฐกิจ
รวมไปถึงค่าใช้จ่ายที่รัฐจะต้องสูญเสียเกี่ยวเนื่องกับการรักษาพยาบาลผู้ป่วยจากมลภาวะทางอากาศนี้อีกด้วย
ค่าดัชนีคุณภาพอากาศของกรุงเทพฯ จาก The World Air Quality Index องค์กรไม่แสวงหาผลกาไรที่มี
วัตถุประสงค์เพื่อสร้างความตระหนักถึงปัญหามลภาวะในอากาศ
สามารถติดตามค่าดัชนีคุณภาพอากาศแบบเรียลไทม์ได้ที่ aqicn.org/city/bangkok
5
ค่า PM2.5 ตามกาหนดองค์การอนามัยโลก
ในปี 2548 องค์การอนามัยโลก (WHO) ได้ออกคาแนะนาเพิ่มเติมในการกาหนดค่าเป้าหมายของค่ามาตรฐาน
เฉลี่ย 1 ปี แบ่งเป็น 4 ระดับ ได้แก่ 35, 25, 15 และ 10 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ขึ้นอยู่กับระดับการพัฒนาของ
ประเทศ โดยค่าเฉลี่ยรายปีและค่าเฉลี่ยใน 24 ชั่วโมงขององค์การอนามัยโลกกาหนดไว้ที่ 10 และ 25 ไมโครกรัมต่อ
ลูกบาศก์เมตร ตามลาดับ
แต่ไทยได้มีการกาหนดค่าไว้สูงกว่าค่ามาตรฐานขององค์การอนามัยโลก โดยมีค่าเฉลี่ยรายปีและค่าเฉลี่ยใน 24
ชั่วโมงไว้ที่ 25 และ 50 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ตามข้อสรุปขององค์การสหประชาชาติ (UN) ที่ว่า ประเทศไทย
เป็นประเทศกาลังพัฒนา ทาให้เป็นประเทศที่ได้รับสิทธิพิเศษที่จะสามารถปล่อยมลพิษทางอากาศได้มากกว่าหลาย
ประเทศ
ปริมาณ PM 2.5 ที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ
ฝุ่นละอองจะมีผลกระทบต่อผู้ที่เป็นโรคหัวใจหรือโรคปอดได้ง่าย รวมถึงผู้สูงอายุและเด็กด้วย อย่างไรก็ตาม
แม้แต่ผู้ที่มีสุขภาพปกติ หากสัมผัสกับฝุ่นละอองอนุภาคละเอียดในปริมาณมาก และเป็นเวลานาน ก็อาจก่อให้เกิด
อาการต่าง ๆ ตามมาได้เช่นกัน เช่น การระคายเคืองตา จมูก คอ มีอาการไอ หายใจไม่สะดวก หายใจได้ไม่เต็มปอด
หัวใจเต้นเร็วขึ้น สาหรับผู้ป่วยโรคหัวใจหรือโรคปอด อาจถึงขั้นเสียชีวิตได้เลยทีเดียว โดยระดับปริมาณฝุ่นละอองมีผล
ต่อสุขภาพต่าง ๆ กัน ดังนี้
ปริมาณ PM2.5 ใน 24 ชั่วโมง ระดับ 0-12 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร AQI (ดัชนีวัดคุณภาพอากาศ) 0-
50 มีผลต่อสุขภาพเพียงเล็กน้อยเท่านั้น ไม่มีความเสี่ยงใด ๆ
ปริมาณ PM2.5 ใน 24 ชั่วโมง ระดับ 12.1-35.4 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร AQI (ดัชนีวัดคุณภาพ
อากาศ) 21-100 เป็นปริมาณฝุ่นละอองในระดับกลาง ผู้ที่มีอาการภูมิแพ้หรือเคยมีปัญหาเกี่ยวกับระบบทางเดิน
หายใจอาจจะได้รับผลกระทบ ซึ่งในกลุ่มนี้ควรงดการออกแรงมากๆหรือวิ่งกลางแจ้ง
ปริมาณ PM2.5 ใน 24 ชั่วโมง ระดับ 35.5-55.4 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร AQI (ดัชนีวัดคุณภาพ
อากาศ) 101-150 เป็นระดับของฝุ่นละอองที่อาจส่งผลต่อสุขภาพในกลุ่มของผู้ที่ไวต่อสิ่งกระตุ้น ในผู้ที่มีปัญหา
เกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจอาจได้รับการกระตุ้นเพิ่มขึ้น รวมถึงกลุ่มผู้ป่วยโรคหัวใจหรือปอด และผู้สูงอายุด้วย ซึ่ง
ในกลุ่มนี้ควรงดการออกแรงมาก ๆ หรือวิ่งกลางแจ้ง
ปริมาณ PM2.5 ใน 24 ชั่วโมง ระดับ 55.5-150.4 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร AQI (ดัชนีวัดคุณภาพ
อากาศ) 151-200 ไม่ดีต่อสุขภาพ และมีผลกระตุ้นอาการในผู้ป่วยโรคหัวใจและโรคปอด ผู้สูงอายุ นอกจากนี้ยังมีผล
ต่อการหายใจของคนทั่วไปด้วย หากค่าของฝุ่นละอองอยู่ในระดับนี้ ควรงดการอยู่กลางแจ้งหรือออกแรงเป็นเวลานาน
ปริมาณ PM2.5 ใน 24 ชั่วโมง ระดับ 150.5-250.4 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร AQI (ดัชนีวัดคุณภาพ
อากาศ) 201-300 เป็นระดับฝุ่นละอองที่ไม่ดีต่อสุขภาพอย่างมาก มีผลกระตุ้นอาการในผู้ป่วยโรคหัวใจและโรคปอด
ผู้สูงอายุ นอกจากนี้ยังมีผลต่อการหายใจของคนทั่วไปด้วย หากค่าของฝุ่นละอองอยู่ในระดับนี้ ควรงดกิจกรรม
กลางแจ้ง และหลีกเลี่ยงการออกแรงเป็นเวลานาน
ปริมาณ PM2.5 ใน 24 ชั่วโมง ระดับ 250.5-500.4 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร AQI (ดัชนีวัดคุณภาพ
อากาศ) 301-500 อยู่ในระดับที่เป็นอันตราย และมีผลต่อสุขภาพอย่างมาก โดยเฉพาะกลุ่มผู้ป่วยโรคหัวใจและโรค
ปอด ผู้สูงอายุ รวมถึงมีผลต่อการหายใจของคนทั่วไปอย่างมาก ควรงดกิจกรรมกลางแจ้ง และอยู่ในอาคารหรือบริเวณ
ที่มีโอกาสสัมผัสกับฝุ่นละอองน้อยที่สุด
ทั้งนี้ค่ามาตรฐานฝุ่นละอองในบรรยากาศโดยทั่วไปของประเทศไทย ค่าเฉลี่ยของฝุ่นละออง PM2.5 ในเวลา
24 ชั่วโมง จะต้องไม่เกิน 0.05 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เมตร หรือ 50 ไมโครเมตรต่อลูกบาศก์เมตร และค่าเฉลี่ยของฝุ่น
ละออง PM10 ในเวลา 24 ชั่วโมง จะต้องไม่เกิน 0.12 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เมตร หรือ 120 ไมโครเมตรต่อลูกบาศก์
เมตร
6
ใครอยู่ในกลุ่มที่มีภาวะความเสี่ยงสูง
 เด็กอยู่ในกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูงด้วยเหตุหลายประการ – ส่วนใหญ่แล้วเด็กมักใช้เวลาอยู่กลางแจ้งเพื่อเล่นกีฬา
และทากิจกรรมนอกบ้าน ยิ่งอายุน้อยเท่าใด ความเสี่ยงยิ่งมากขึ้นเท่านั้น ปอดและระบบภูมิคุ้มกันของเด็กยัง
อยู่ในระยะที่กาลังพัฒนา การเผชิญกับมลพิษในอากาศจะขัดขวางการเจริญเติบโตของปอดในเด็กในวัยเรียน
นอกจากนั้น เด็กยังมีอัตราที่จะเป็นโรคหอบหืดและโรคระบบทางเดินหายใจที่รุนแรงอื่นๆ มากกว่า ซึ่งโรค
เหล่านี้กาเริบขึ้นได้อย่างง่ายดายเมื่อระดับมลพิษสูง
 หญิงมีครรภ์ การเผชิญกับมลพิษในอากาศจากฝุ่นละอองในระดับสูงระหว่างตั้งครรภ์มีความเชื่อมโยงกันกับ
การคลอดก่อนกาหนด น้าหนักตัวทารกแรกคลอดต่า และความเสี่ยงที่จะเกิดการแท้งบุตรและอัตราการตาย
ของทารกเพิ่มขึ้น
 ผู้สูงวัย ต้องเผชิญกับความเสี่ยงเพิ่มขึ้นที่จะมีปัญหาที่เกี่ยวเนื่องกับมลพิษ ทั้งนี้เพราะระบบภูมิคุ้มกันของ
ผู้สูงอายุมักจะอ่อนแอลง และร่างกายมักจะมีความสามารถน้อยลงที่จะรับมือกับมลพิษในอากาศ
นอกจากนั้น ผู้สูงอายุยังมีแนวโน้มมากขึ้นที่จะมีอาการเกี่ยวกับโรคหัวใจหรือระบบทางเดินหายใจที่ยังไม่ได้
รับการวินิจฉัยซึ่งกาเริบขึ้นเนื่องจากมลพิษในอากาศ
 ผู้ที่เป็นโรคปอดหรือโรคหัวใจ เช่น โรคหลอดเลือดหัวใจ ภาวะหัวใจล้มเหลว โรคหอบหืด โรคถุงลมในปอด
โป่งพอง โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง มีความเสี่ยงมากขึ้นเนื่องจากอนุภาคฝุ่นละอองสามารถทาให้สภาวะโรคที่มีอยู่
ก่อนหน้านี้กาเริบขึ้นได้
#คุณสามารถลดทอนอันตรายที่อาจเกิดกับคุณได้ โดยการเฝ้าตรวจสอบระดับมลพิษแบบเรียลไทม์และการ
พยากรณ์ดัชนีคุณภาพอากาศ ซึ่งมีพร้อมให้ดูออนไลน์ และผ่านสมาร์ทโฟนแอพ อย่างเช่น Asia Air
Quality (Android), Global Air Quality (Android) และ Air Quality Index (iOS)
ผลกระทบจากมลพิษละอองฝุ่นดังกล่าวต่อสุขภาพ
ผลกระทบจากมลพิษละอองฝุ่นดังกล่าวต่อสุขภาพนั้นร้ายแรงกว่าที่เคยคิดกัน : จากงานศึกษาวิจัยสาคัญๆ ใน
ระยะสิบปีที่ผ่านมา เดี๋ยวนี้ เราได้รู้แล้วว่า มลพิษทางอากาศเป็นอันตรายคุกคามสุขภาพของเรามากกว่าที่เราเคย
เข้าใจ องค์การอนามัยโลกประมาณการว่ามีประชากรที่ต้อง “ตายก่อนเวลาอันควร” เนื่องจากมลพิษในอากาศทั่วโลก
มากกว่า 6 ล้านคนในแต่ละปี และในจานวนนี้ เป็นเด็กอายุต่ากว่าห้าขวบราวร้อยละสิบ คือประมาณ 600,000 คน
เมื่อคุณภาพอากาศเลวลง อัตราการไปห้องฉุกเฉินและการเข้าอยู่โรงพยาบาลจะสูงขึ้น เพราะมลพิษทาให้ปัญหา
สุขภาพที่มีอยู่กาเริบขึ้น และเป็นเหตุให้หัวใจวาย หลอดเลือดในสมองตีบ หอบหืดกาเริบ และอื่นๆ อีกมากมาย
 อันตรายคุกคามต่อหัวใจ การเผชิญกับมลพิษในอากาศอาจทาให้เกิดเหตุรุนแรงเฉียบพลันกับกล้ามเนื้อหัวใจ
ได้ รวมทั้งหัวใจวาย หัวใจเต้นผิดจังหวะ อัตราการผันแปรการเต้นของหัวใจลดลง ตลอดจนมีความเสี่ยงที่จะ
เกิดการตายจากภาวะหัวใจหยุดเต้นเฉียบพลัน นอกจากนั้น ยังมีหลักฐานปรากฏด้วยว่า ภาวะหลอดเลือด
แข็ง โดยที่มีการสะสมตะกอนที่เรียกว่าพลาคภายในหลอดเลือดซึ่งสามารถทาให้เกิดภาวะหัวใจวายและ
หลอดเลือดสมองตีบจนถึงตายได้
 อันตรายคุกคามต่อปอดและทางเดินหายใจ : มลพิษในอากาศเป็นทั้งสาเหตุและปัจจัยที่ทาให้เกิดโรคเกี่ยวกับ
ปอดและระบบทางเดินหายใจและที่ทาให้โรคกาเริบขึ้นได้ ซึ่งรวมถึงโรคหอบหืด โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง และ
โรคมะเร็งปอด
 อันตรายคุกคามต่อสมอง : เป็นที่เชื่อกันว่า การเผชิญกับมลพิษในอากาศเป็นระยะยาวเพิ่มความเสี่ยงที่จะทา
ให้หลอดเลือดแดงในสมองแข็งตัว ทาให้ความดันโลหิตสูงขึ้น และความหนืดของเลือดเพิ่มขึ้น ซึ่งล้วนแต่เป็น
ปัจจัยเสี่ยงที่ทาให้เกิดลิ่มเลือดในสมองได้
7
การป้องกัน PM 2.5
 ลดกิจกรรมนอกบ้าน : อันตรายความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นได้จากมลพิษในอากาศจะเพิ่มขึ้นหากทากิจกรรม
นอกบ้านที่ใช้กาลังมาก ตามระยะเวลาที่อยู่กลางแจ้ง และระดับความรุนแรงของมลพิษ ดังนั้น เราสามารถ
ลดอันตรายลงได้โดยลดระดับการใช้กาลัง (ตัวอย่างเช่น เดินแทนที่จะวิ่งเหยาะๆ) ลดเวลาอยู่กลางแจ้งลง
และวางแผนเลี่ยงทากิจกรรมในช่วงเวลาหรือในพื้นที่ที่มีมลพิษสูง อย่างเช่นถนนที่มีการจราจรติดขัดและทาง
หลวงที่มีผู้ใช้หนาแน่น
 อยู่ภายในอาคารเมื่อระดับมลพิษสูง : เมื่อระดับมลพิษขึ้นสูงขนาดที่เป็นอันตราย ให้พิจารณาการอยู่ภายใน
อาคารและย้ายไปทากิจกรรมภายในอาคาร เช่น แทนที่จะออกกาลังบริหารร่างกายกลางแจ้ง ให้มาออกกาลัง
ในโรงยิมแทนเพื่อใช้ประโยชน์จากสภาพแวดล้อมที่อากาศสะอาดกว่า
 ปรับปรุงคุณภาพอากาศภายในอาคาร : ปิดหน้าต่างให้หมดในช่วงมลพิษสูง ปรับเครื่องปรับอากาศให้ใช้
อากาศภายในอาคารหมุนเวียนแทนที่จะดึงเอาอากาศภายนอกเข้ามา พิจารณาการใช้เครื่องฟอกอากาศที่
มีเครี่องกรองอนุภาคฝุ่นละอองที่มีประสิทธิภาพสูง ทั้งนี้เพื่อลดระดับอนุภาคภายในอาคาร คอยดูแลให้
บริเวณแวดล้อมบ้านปราศจากควัน และหลีกเลี่ยงการใช้สิ่งที่มีการเผาไหม้ เช่น เทียน การปิ้งย่าง หรือ
ผลิตภัณฑ์ใดๆ ที่ทาให้เกิดควัน
 สวมหน้ากากป้องกันทางเดินหายใจที่เหมาะสม เมื่อสวมอย่างถูกต้องแล้ว หน้ากากป้องกันทางเดินหายใจจะ
สามารถกรองอนุภาคฝุ่นละอองที่สร้างมลพิษในอากาศได้สูงถึงร้อยละ 99 (หน้ากาก N95 กรองได้อย่างน้อย
ร้อยละ 95 ส่วนหน้ากาก N99 กรองได้ร้อยละ 99) แต่หน้ากากเหล่านี้จะใช้การได้ดีก็ต่อเมื่อสวมอย่างถูกต้อง
เท่านั้น ดังนั้น ต้องแน่ใจว่าสวมตามวิธีการที่ระบุไว้และหมั่นตรวจสอบให้หน้ากากรกระชับกับหน้าอย่าง
เหมาะสม อนึ่ง ควรเข้าใจว่าหน้ากากป้องกันทางเดินหายใจต้านมลพิษไม่เหมือนกับกับหน้ากากที่แพทย์และ
พยาบาลใส่ในห้องผ่าตัด หรือหน้ากากที่ทาจากผ้าหรือกระดาษ – ซึ่งหน้ากากพวกนี้ไม่มีประสิทธิผลเลยโดย
สิ้นเชิงในการต้านมลพิษในอากาศจากอนุภาคฝุ่นละออง หน้ากาก N95 และ N99 มีจาหน่ายตามร้านค้าส่วน
ใหญ่ที่ขายผลิตภัณฑ์ปรับปรุงที่อยู่อาศัยและผลิตภัณฑ์เพื่อความปลอดภัย
สนใจสังเกตอาการ : อาการเรื้อรังต่อเนื่องอย่างเช่น การหายใจลาบาก รู้สึกเหนื่อยล้าผิดปกติ หรือไอรุนแรง อาจ
เป็นสัญญาณที่บ่งถึงปัญหาที่มีสาเหตุเกี่ยวกับสภาพปอดหรือการทางานของปอด รีบปรึกษาแพทย์หากมีอาการใหม่ๆ
ที่แสดงถึงปัญหาเกี่ยวกับระบบหัวใจหรือระบบทางเดินหายใจ หรือสังเกตว่าสุขภาพแย่ลง
ข้อมูลดัชนีคุณภาพอากาศ
ดัชนีคุณภาพอากาศ (Air Quality Index : AQI) เป็นการรายงานข้อมูลคุณภาพอากาศในรูปแบบที่ง่ายต่อความ
เข้าใจของประชาชนทั่วไป เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้สาธารณชนได้รับทราบถึงสถานการณ์มลพิษทางอากาศในแต่
ละพื้นที่ว่าอยู่ในระดับใด มีผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยหรือไม่ ดัชนีคุณภาพอากาศ 1 ค่า ใช้เป็นตัวแทนค่าความ
เข้มข้นของสารมลพิษทางอากาศ 6 ชนิด ได้แก่
 ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) เป็นฝุ่นที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน 2.5 ไมครอน เกิดจากการ
เผาไหม้ทั้งจากยานพาหนะ การเผาวัสดุการเกษตร ไฟป่า และกระบวนการอุตสาหกรรม สามารถเข้าไปถึงถุง
ลมในปอดได้ เป็นผลทาให้เกิดโรคในระบบทางเดินหายใจ และโรคปอดต่างๆ หากได้รับในปริมาณมากหรือ
เป็นเวลานานจะสะสมในเนื้อเยื่อปอด ทาให้การทางานของปอดเสื่อมประสิทธิภาพลง ทาให้หลอดลมอักเสบ
มีอาการหอบหืด
 ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 10 ไมครอน (PM10) เป็นฝุ่นที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน 10 ไมครอน เกิดจาก
การเผาไหม้เชื้อเพลิง การเผาในที่โล่ง กระบวนการอุตสาหกรรม การบด การโม่ หรือการทาให้เป็นผงจาก
การก่อสร้าง ส่งผลกระทบต่อสุขภาพเนื่องจากเมื่อหายใจเข้าไปสามารถเข้าไปสะสมในระบบทางเดินหายใจ
8
 ก๊าซโอโซน (O3) เป็นก๊าซที่ไม่มีสีหรือมีสีฟ้าอ่อน มีกลิ่นฉุน ละลายน้าได้เล็กน้อย เกิดขึ้นได้ทั้งในระดับ
บรรยากาศชั้นที่สูงจากผิวโลก และระดับชั้นบรรยากาศผิวโลกที่ใกล้พื้นดิน ก๊าซโอโซนที่เป็นสารมลพิษทาง
อากาศคือก๊าซโอโซนในชั้นบรรยากาศผิวโลก เกิดจากปฏิกิริยาระหว่างก๊าซออกไซด์ของไนโตรเจน และ
สารประกอบอินทรีย์ระเหยง่าย โดยมีแสงแดดเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา มีผลกระทบต่อสุขภาพ โดยก่อให้เกิดการ
ระคายเคืองตาและระคายเคืองต่อระบบทางเดินหายใจและเยื่อบุต่างๆ ความสามารถในการทางานของปอด
ลดลง เหนื่อยเร็ว โดยเฉพาะในเด็ก คนชรา และคนที่เป็นโรคปอดเรื้อรัง
 ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) เป็นก๊าซที่ไม่มีสี กลิ่น และรส เกิดจากการเผาไหม้ที่ไม่สมบูรณ์ของเชื้อเพลิงที่
มีคาร์บอนเป็นองค์ประกอบ ก๊าซนี้สามารถสะสมอยู่ในร่างกายได้โดยจะไปรวมตัวกับฮีโมโกลบินในเม็ดเลือด
แดงได้ดีกว่าออกซิเจนประมาณ 200-250 เท่า เมื่อหายใจเข้าไปทาให้ก๊าซชนิดนี้จะไปแย่งจับกับฮีโมโกลบิน
ในเลือด เกิดเป็นคาร์บอกซีฮีโมโกลบิน (CoHb) ทาให้การลาเลียงออกซิเจนไปสู่เซลล์ต่างๆ ของร่างกายลด
น้อยลง ส่งผลให้ร่างกายเกิดอาการอ่อนเพลีย และหัวใจทางานหนักขึ้น
 ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) เป็นก๊าซที่ไม่มีสีและกลิ่น ละลายน้าได้เล็กน้อย มีอยู่ทั่วไปในธรรมชาติ หรือ
เกิดจากการกระทาของมนุษย์ เช่น การเผาไหม้เชื้อเพลิงต่างๆ อุตสาหกรรมบางชนิด เป็นต้น ก๊าซนี้มีผลต่อ
ระบบการมองเห็นและผู้ที่มีอาการหอบหืดหรือ โรคเกี่ยวกับทางเดินหายใจ
 ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) เป็นก๊าซที่ไม่มีสี หรืออาจมีสีเหลืองอ่อนๆ มีรสและกลิ่นที่ระดับความเข้มข้น
สูง เกิดจากธรรมชาติและการเผาไหม้เชื้อเพลิงที่มีกามะถัน (ซัลเฟอร์) เป็นส่วนประกอบ สามารถละลายน้า
ได้ดี สามารถรวมตัวกับสารมลพิษอื่นแล้วก่อตัวเป็นอนุภาคฝุ่นขนาดเล็กได้ ก๊าซนี้มีผลกระทบโดยตรงต่อ
สุขภาพ ทาให้เกิดการระคายเคืองต่อเยื่อบุตา ผิวหนัง และระบบทางเดินหายใจ หากได้รับเป็นเวลานาน ๆ
จะทาให้เป็นโรคหลอดลมอักเสบเรื้อรังได้ี
ดัชนีคุณภาพอากาศของประเทศไทยแบ่งเป็น 5 ระดับ คือ ตั้งแต่ 0 ถึง 201 ขึ้นไป ซึ่งแต่ละระดับจะใช้สีเป็น
สัญญลักษณ์เปรียบเทียบระดับของผลกระทบต่อสุขภาพอนามัย (ตารางที่ 1) โดยดัชนีคุณภาพอากาศ 100 จะมีค่า
เทียบเท่ามาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป หากดัชนีคุณภาพอากาศมีค่าสูงเกินกว่า 100 แสดงว่าค่า
ความเข้มข้นของมลพิษทางอากาศมีค่าเกินมาตรฐานและคุณภาพอากาศในวันนั้นจะเริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ
อนามัยของประชาชน
Cr:http://maemoh.egat.com/index.php/93-new/359-363
0 - 25 26 - 50 51 - 100 101 - 200 201 ขึ้นไป
ความหมายของสี ดีมาก ดี ปานกลาง
เริ่มมี
ผลกระทบ
ต่อสุขภาพ
มีผบกระทบ
ต่อสุขภาพ
9
ตารางที่ 1 เกณฑ์ของดัชนีคุณภาพอากาศของประเทศไทย
AQI ความหมาย สีที่ใช้ คาอธิบาย
0 - 25 คุณภาพอากาศดีมาก ฟ้า
คุณภาพอากาศดีมาก เหมาะสาหรับกิจกรรม
กลางแจ้งและการท่องเที่ยว
26 - 50 คุณภาพอากาศดี เขียว
คุณภาพอากาศดี สามารถทากิจกรรมกลางแจ้ง
และการท่องเที่ยวได้ตามปกติ
51 - 100 ปานกลาง เหลือง
ประชาชนทั่วไป : สามารถทากิจกรรมกลางแจ้งได้
ตามปกติ
ผู้ที่ต้องดูแลสุขภาพเป็นพิเศษ : หากมีอาการ
เบื้องต้น เช่น ไอ หายใจลาบาก ระคายเคืองตา
ควรลดระยะเวลาการทากิจกรรมกลางแจ้ง
101 - 200
เริ่มมีผลกระทบต่อ
สุขภาพ
ส้ม
ประชาชนทั่วไป : ควรเฝ้าระวังสุขภาพ ถ้ามี
อาการเบื้องต้น เช่น ไอ หายใจลาบาก ระคาย
เคืองตา ควรลดระยะเวลาการทากิจกรรม
กลางแจ้ง หรือใช้อุปกรณ์ป้องกันตนเองหากมี
ความจาเป็น
ผู้ที่ต้องดูแลสุขภาพเป็นพิเศษ : ควรลดระยะเวลา
การทากิจกรรมกลางแจ้ง หรือใช้อุปกรณ์ป้องกัน
ตนเองหากมีความจาเป็น ถ้ามีอาการทางสุขภาพ
เช่น ไอ หายใจลาบาก ตาอักเสบ แน่นหน้าอก
ปวดศีรษะ หัวใจเต้นไม่เป็นปกติ คลื่นไส้
อ่อนเพลีย ควรปรึกษาแพทย์
201 ขึ้นไป มีผลกระทบต่อสุขภาพ แดง
ทุกคนควรหลีกเลี่ยงกิจกรรมกลางแจ้งหลีกเลี่ยง
พื้นที่ที่มีมลพิษทางอากาศสูง หรือใช้อุปกรณ์
ป้องกันตนเองหากมีความจาเป็น หากมีอาการ
ทางสุขภาพควรปรึกษาแพทย์
Cr:http://www.air4bangkok.com/aqi_info.php?lang=
10
การคานวณดัชนีคุณภาพอากาศรายวันของสารมลพิษทางอากาศแต่ละประเภท
คานวณจากค่าความเข้มข้นของสารมลพิษทางอากาศจากข้อมูลผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศ โดยมีระดับของ
ค่าความเข้มข้นของสารมลพิษทางอากาศที่เทียบเท่ากับค่าดัชนีคุณภาพอากาศที่ระดับต่างๆ ดัง (ตารางที่ 2) การ
คานวณดัชนีคุณภาพอากาศภายในช่วงระดับ เป็นสมการเส้นตรง ดังนี้
กาหนดให้
I = ค่าดัชนีย่อยคุณภาพอากาศ
X = ความเข้มข้นของสารมลพิษทางอากาศจากการตรวจวัด
Xi , Xj = ค่าต่าสุด, สูงสุด ของช่วงความเข้มข้นสารมลพิษที่มีค่า X
Ii , Ij = ค่าต่าสุด, สูงสุด ของช่วงดัชนีคุณภาพอากาศที่ตรงกับช่วงความเข้มข้น X จากค่าดัชนีย่อยที่คานวณได้
สารมลพิษทางอากาศประเภทใดมีค่าดัชนีสูงสุด จะใช้เป็นดัชนีคุณภาพอากาศ (AQI) ณ ช่วงเวลานั้น
ตารางที่ 2 ค่าความเข้มข้นของสารมลพิษทางอากาศที่เทียบเท่ากับค่าดัชนีคุณภาพอากาศ
AQI
PM2.5
(มคก./ลบ.ม.)
PM10
(มคก./ลบ.ม.)
O3
(ppb)
CO
(ppm)
NO2
(ppb)
SO2
(ppb)
เฉลี่ย 24 ชั่วโมงต่อเนื่อง เฉลี่ย 8 ชั่วโมงต่อเนื่อง เฉลี่ย 1 ชั่วโมง
0 - 25 0 - 25 0 - 50 0 - 35 0 - 4.4 0 - 60 0 - 100
26 - 50 26 - 37 51 - 80 36 - 50 4.5 - 6.4 61 - 106 101 - 200
51 - 100 38 - 50 81 - 120 51 - 70 6.5 - 9.0 107 - 170 201 - 300
101 - 200 51 - 90 121 - 180 71 - 120 9.1 - 30.0 171 - 340 301 - 400
มากกว่า 200 91 ขึ้นไป 181 ขึ้นไป 121 ขึ้นไป 30.1 ขึ้นไป 341 ขึ้นไป 401 ขึ้นไป
ช่วงเวลาเฉลี่ย และหน่วยสารมลพิษทางอากาศที่ใช้ในการคานวน
 PM2.5 เฉลี่ย 24 ชั่วโมงต่อเนื่อง : ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร หรือ มคก./ลบ.ม. หรือ µg./m3
 PM10 เฉลี่ย 24 ชั่วโมงต่อเนื่อง : ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร หรือ มคก./ลบ.ม. หรือ µg./m3
 O3 เฉลี่ย 8 ชั่วโมงต่อเนื่อง : ส่วนในพันล้านส่วน หรือ ppb หรือ 1/1,000,000,000
 CO เฉลี่ย 8 ชั่วโมงต่อเนื่อง : ส่วนในล้านส่วน หรือ ppm หรือ 1/1,000,000
 NO2 เฉลี่ย 1 ชั่วโมง : ส่วนในพันล้านส่วน หรือ ppb หรือ 1/1,000,000,000
 SO2 เฉลี่ย 1 ชั่วโมง : ส่วนในพันล้านส่วน หรือ ppb หรือ 1/1,000,000,000
11
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
-ศึกษาหาปัญหาที่จะทา
-นาเสนอหัวข้อกับครูผู้สอน
-ศึกษารวบรวมข้อมูล
-จัดทารายงาน
-นาเสนอครู
-ปรับปรุงและแก้ไข
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
-อินเตอร์เน็ต
-คอมพิวเตอร์
-โทรศัพท์
งบประมาณ
0บาท
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดั
บ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน ณฏฐณิชา
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล ณฏฐณิชา
3 จัดทาโครงร่างงาน ณฏฐณิชา
4 ปฏิบัติการสร้าง
โครงงาน
ณฏฐณิชา
5 ปรับปรุงทดสอบ ณฏฐณิชา
6 การทาเอกสารรายงาน ณฏฐณิชา
7 ประเมินผลงาน ณฏฐณิชา
8 นาเสนอโครงงาน ณฏฐณิชา
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
1.สามารถนาข้อมูลไปศึกษาต่อยอดได้
2.สามารถคานวณปริมาณฝุ่นละอองในอากาศได้
3.ข้อมูลสามารถเป็นประโยชน์กับผู้ที่เกี่ยวข้อง
สถานที่ดาเนินการ
1.ห้องคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
12
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1.กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
2.กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
3.กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
4.กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
ฝุ่น PM 2.5 คืออะไร?. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก
https://www.honestdocs.co/pm-2-5-environmental-nano-pollutants (วันที่สืบค้น:18 ก.ย. 2562)
PM2.5 ฝุ่นละอองขนาดเล็กที่ขนจมูกไม่สามารถกรองได้. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก
https://thestandard.co/pm-2-5-environmental-nano-pollutants/ (วันที่สืบค้น:18 ก.ย. 2562)
PM2.5 เกิดขึ้นได้จาก 2 ปัจจัยหลัก. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก
https://thestandard.co/pm-2-5-environmental-nano-pollutants/ (วันที่สืบค้น:18 ก.ย. 2562)
ค่า PM2.5 ตามกาหนดองค์การอนามัยโลกหลัก. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก
https://thestandard.co/pm-2-5-environmental-nano-pollutants/ (วันที่สืบค้น:18 ก.ย. 2562)
ปริมาณ PM 2.5 ที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก
https://www.trueplookpanya.com/knowledge/content/71042/-blog-blo-scihea-sci-
(วันที่สืบค้น:20 ก.ย. 2562)
ใครอยู่ในกลุ่มที่มีภาวะความเสี่ยงสูง. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก
https://www.bumrungrad.com/th/health-blog/February-2018/air-pollution-threat
(วันที่สืบค้น:20 ก.ย. 2562)
ผลกระทบจากมลพิษละอองฝุ่นดังกล่าวต่อสุขภาพสูง. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก
https://www.bumrungrad.com/th/health-blog/February-2018/air-pollution-threat
(วันที่สืบค้น:20 ก.ย. 2562)
การป้องกัน PM 2.5สูง. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก
https://www.bumrungrad.com/th/health-blog/February-2018/air-pollution-threat
(วันที่สืบค้น:20 ก.ย. 2562)
ข้อมูลดัชนีคุณภาพอากาศ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http://air4thai.pcd.go.th/webV2/aqi_info.php
(วันที่สืบค้น:27 ก.ย. 2562)

More Related Content

Similar to AT1

Work1 Computer Class from No.10 603
Work1 Computer Class from No.10 603Work1 Computer Class from No.10 603
Work1 Computer Class from No.10 603TongrakRuento
 
Save wolrdsaveenergy com58projectf1
Save wolrdsaveenergy   com58projectf1Save wolrdsaveenergy   com58projectf1
Save wolrdsaveenergy com58projectf1parwaritfast
 
Save wolrdsaveenergy com58projectf1
Save wolrdsaveenergy   com58projectf1Save wolrdsaveenergy   com58projectf1
Save wolrdsaveenergy com58projectf1parwaritfast
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Sorrawit Skuljareun
 
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์pattamonhpgo
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง กำจัดน้ำเสียให้หมดไป
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง กำจัดน้ำเสียให้หมดไปแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง กำจัดน้ำเสียให้หมดไป
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง กำจัดน้ำเสียให้หมดไปEakkamol Dechudom
 
Pollution may destroy the intellect.
Pollution may destroy the intellect.Pollution may destroy the intellect.
Pollution may destroy the intellect.Raull Moksaeng
 

Similar to AT1 (20)

Work1 Computer Class from No.10 603
Work1 Computer Class from No.10 603Work1 Computer Class from No.10 603
Work1 Computer Class from No.10 603
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 
Save wolrdsaveenergy com58projectf1
Save wolrdsaveenergy   com58projectf1Save wolrdsaveenergy   com58projectf1
Save wolrdsaveenergy com58projectf1
 
Save wolrdsaveenergy com58projectf1
Save wolrdsaveenergy   com58projectf1Save wolrdsaveenergy   com58projectf1
Save wolrdsaveenergy com58projectf1
 
คอมแพท
คอมแพทคอมแพท
คอมแพท
 
Microplastic
MicroplasticMicroplastic
Microplastic
 
Job2
Job2Job2
Job2
 
Eliminate pollution
Eliminate pollutionEliminate pollution
Eliminate pollution
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง กำจัดน้ำเสียให้หมดไป
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง กำจัดน้ำเสียให้หมดไปแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง กำจัดน้ำเสียให้หมดไป
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง กำจัดน้ำเสียให้หมดไป
 
2559 project 15-608
2559 project 15-6082559 project 15-608
2559 project 15-608
 
2559 project 15-608
2559 project 15-6082559 project 15-608
2559 project 15-608
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
Air Pollution in Chiang Mai
Air Pollution in Chiang MaiAir Pollution in Chiang Mai
Air Pollution in Chiang Mai
 
Pollution may destroy the intellect.
Pollution may destroy the intellect.Pollution may destroy the intellect.
Pollution may destroy the intellect.
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 

AT1

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน ปริมาณฝุ่นละอองในอากาศ ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อนางสาวณัฏฐณิชา เหล่าชุมแพ เลขที่31 ชั้น6 ห้อง6 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1นางสาวณัฏฐณิชา เหล่าชุมแพ เลขที่31 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ปริมาณฝุ่นละอองในอากาศ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) The amount of dust in the air ประเภทโครงงาน เพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวณัฏฐณิชา เหล่าชุมแพ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) มลพิษทางอากาศเป็นภาวะอากาศที่มีสารเจือปนอยู่ในปริมาณที่สูงกว่าระดับปกติเป็น เวลานานจนทาให้เกิด อันตรายแก่มนุษย์ สัตว์ พืช หรือทรัพย์สินต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นตามธรรมชาติ ได้แก่ ฝุ่นละอองจากลมพายุ แผ่นดินไหว ไฟไหม้ป่า หรือเกิดจากการกระทาของมนุษย์ ได้แก่ มลพิษ จากท่อไอเสียของรถยนต์ โรงงานอุตสาหกรรม การระเหย ของก๊าซบางชนิด และขยะมูลฝอยและของเสียต่างๆ อีกสาเหตุหนึ่งที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบ คือ ฝุ่นละอองในอากาศ ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนกรกฎาคมทั่วประเทศไทยได้รับผลกระทบจากฝุ่นละอองในปริมาณมากเกินมาตรฐาน ในปี 2548 องค์การอนามัยโลก (WHO) ได้ออกคาแนะนาเพิ่มเติมในการกาหนดค่าเป้าหมายของค่ามาตรฐานเฉลี่ย 1 ปี แบ่งเป็น 4 ระดับ ได้แก่ 35, 25, 15 และ 10 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ขึ้นอยู่กับระดับการพัฒนาของประเทศ โดยค่าเฉลี่ยรายปีและค่าเฉลี่ยใน 24 ชั่วโมงขององค์การอนามัยโลกกาหนดไว้ที่ 10 และ 25 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์ เมตร ตามลาดับ แต่ไทยได้มีการกาหนดค่าไว้สูงกว่าค่ามาตรฐานขององค์การอนามัยโลก โดยมีค่าเฉลี่ยรายปีและ ค่าเฉลี่ยใน 24 ชั่วโมงไว้ที่ 25 และ 50 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ตามข้อสรุปขององค์การสหประชาชาติ (UN) ที่ว่า ประเทศไทยเป็นประเทศกาลังพัฒนา ทาให้เป็นประเทศที่ได้รับสิทธิพิเศษที่จะสามารถปล่อยมลพิษทางอากาศได้ มากกว่าหลาย ซึ่งมาจากหลายสาเหตุอาทิเช่น ปัญหาการเผาป่าไม้ทางภาคเหนือ ปัญหามลพิษทางควันจากรถยนต์ ปัญหาควันจากแหล่งโรงงานอุตสาหกรรม เป็นต้น จากปัญหาข้างต้นที่กล่าวมา ทาให้ประเทศไทยได้รับผลกระทบกับ มลพิษทางอากาศนั้นก็คือฝุ่นละออง ทาให้ปริมาณฝุ่นละอองของประเทศไทยนั้นเกินมาตรฐานที่ทั่วโลกกาหนดไว้ ปัญหาหมอกควันส่งผลกระทบต่อความเป็นอยู่ของประชาชน ทาให้ช่วงเวลาที่เกิด หมอกควันประชาชนส่วนใหญ่จะใช้ ชีวิตอยู่ในอาคารหรือบ้านพักอาศัยมากกว่าด้านนอกเพื่อป้องกันและลด การรับสัมผัสฝุ่นละออง ซึ่งผู้จัดทาเล็งหาว่า ปัญหาเหล่านี้ควรศึกษาอย่างถี่ถ้วนจึงมีแนวคิดที่จะศึกษาการพยากรณ์ปริมาณฝุ่นละอองในอากาศในอนาคต ว่าจะมี มากน้อยเพียงใด โดยอาศัยศึกษาวิธีทางสถิติ เพื่อนาเสนอผลการศึกษา เพื่อประโยชน์ในการวางแผนการแก้ไขปัญหา ล่วงหน้าให้กับผู้ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนสร้างความตระหนักในการลดพฤติกรรมที่ก่อให้เกิดฝุ่นละอองในอากาศ
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.เพื่อพยากรณ์ปริมาณฝุ่นละอองในอากาศ 2.เพื่อเตรียมการป้องกันปริมาณฝุ่นละอองในอากาศ 3.เพื่อให้ข้อมูลที่รวบรวมและศึกษานั้นมีประโยชน์ต่อผู้ที่เกี่ยวข้อง 4.สามารถคานวณปริมาณฝุ่นละอองในอากาศได้ 5.เพื่อเป็นแนวทางในการศึกษาต่อยอดข้อมูล ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) 1.ปริมาณฝุ่นละอองในอากาศประจาวัน ณ จังหวัดเชียงใหม่ 2.การพยากรณ์ฝุ่นละออง 3.วิธีทางสถิติ 4.ปัจจัยการเกิดฝุ่นละออง 5.การจราจร ทาการสารวจปริมาณการจราจร เพื่อให้จาแนกจานวนและชนิดของยานพาหนะ ได้อย่างแม่นยา จึงกาหนดการสารวจปริมาณยานพาหนะ โดยใช้บุคคลเก็บข้อมูล (Manual counting methods) เพื่อให้เห็นถึง จานวนของยานพาหนะชนิดต่างๆ ว่ามียานพาหนะชนิดใดมากที่สุดที่ส่งผล ต่อประชาชน หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) ฝุ่น PM 2.5 คืออะไร? คาว่า PM ย่อมาจาก Particulate Matters เป็นคาเรียกค่ามาตรฐานของฝุ่นละอองขนาดเล็กที่เป็นอันตรายต่อ สุขภาพซึ่งมีอยู่ด้วยกัน 2 ชนิด ได้แก่ PM 10 และ PM 2.5 ส่วนตัวเลข 2.5 นั้นมาจากหน่วย 2.5 ไมครอนหรือ ไมโครเมตรนั่นเอง พูดง่ายๆ คือ ฝุ่น PM 2.5 เป็นอนุภาคขนาดเล็กที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางเฉลี่ยน้อยกว่า 2.5 ไมโครเมตร แขวนลอย อยู่ในอากาศรวมกับไอน้า ควัน และก๊าซต่างๆ ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าถึงจะเป็นเพียงฝุ่นละอองขนาดจิ๋ว แต่เมื่อมาแผ่อยู่รวมกันจะกินพื้นที่ในอากาศมหาศาล ล่องลอยอยู่ในชั้นบรรยากาศปริมาณสูง เกิดเป็นหมอกควันอย่าง ที่เราเห็นกัน ฝุ่น PM 2.5 ถือเป็นมลพิษต่อสุขภาพของมนุษย์ตามที่องค์การอนามัยโลกให้ความสาคัญและออกมาแจ้งเตือนให้ ทราบ เพราะเป็นฝุ่นละอองที่มีขนาดเล็กมาก เส้นผมที่ว่ามีขนาดเล็กแล้ว เจ้าฝุ่น PM 2.5 ยังเล็กกว่าเส้นผมถึง 20 เท่า ทาให้เล็ดลอดผ่านขนจมูกเข้าสู่ปอด และหลอดเลือดได้ง่าย ส่งผลเสียต่อร่างกายในระยะยาว PM2.5 ฝุ่นละอองขนาดเล็กที่ขนจมูกไม่สามารถกรองได้ PM2.5 คือฝุ่นละอองขนาดเล็กไม่เกิน 2.5 ไมครอน อาจเทียบอย่างง่ายว่ามีขนาดประมาณ 1 ใน 25 ของเส้น ผ่านศูนย์กลางของเส้นผมมนุษย์ เล็กขนาดที่ขนจมูกของมนุษย์นั้นไม่สามารถกรองได้ ทาให้ฝุ่นละอองชนิดนี้สามารถ แพร่กระจายเข้าสู่ทางเดินหายใจ กระแสเลือด และแทรกซึมสู่กระบวนการทางานในอวัยวะต่างๆ ของร่างกาย เพิ่ม ความเสี่ยงเป็นโรคเรื้อรัง PM2.5 เกิดขึ้นได้จาก 2 ปัจจัยหลัก 1. แหล่งกาเนิดโดยตรง ได้แก่  การเผาในที่โล่ง ปล่อย PM2.5 มากที่สุดถึง 209,937 ตันต่อปี โดยมาจากการเผาในพื้นที่เพาะปลูกพืช เชิงเดี่ยวเพื่อป้อนเข้าสู่ห่วงโซ่อุปทานการผลิตอาหารของบริษัทอุตสาหกรรมเกษตรขนาดใหญ่ในภาคเหนือ ตอนบนของไทยและภูมิภาคลุ่มน้าโขง รวมไปถึงหมอกควันพิษข้ามพรมแดน
  • 4. 4  การคมนาคมขนส่ง ปล่อย PM2.5 ราว 50,240 ตันต่อปี โดยมาจากการเผาไหม้ของเชื้อเพลิงทั้งดีเซลและ แก๊สโซฮอล์เป็นหลัก อีกทั้งยังเป็นแหล่งกาเนิดของออกไซด์ของไนโตรเจน (NOx) และซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) อีกด้วย  การผลิตไฟฟ้า ปล่อย PM2.5 ราว 31,793 ตันต่อปี แม้จะมีค่า PM2.5 น้อยกว่าการเผาในที่โล่งและการ คมนาคมขนส่ง หากแต่กลับมีสัดส่วนในการปล่อยก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) และออกไซด์ของไนโตรเจน (NOx) สู่ชั้นบรรยากาศมากที่สุด  อุตสาหกรรมการผลิต ปล่อย PM2.5 ราว 65,140 ตันต่อปี โดยพบมากที่สุดในพื้นท่ีเขตควบคุมมลพิษมาบตา พุด จังหวัดระยอง ซึ่งเกิดจากสารอินทรีย์ระเหยง่ายจากสารเคมีและอุตสาหกรรม 2. การรวมตัวของก๊าซอื่นๆ ในบรรยากาศ โดยเฉพาะซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) และออกไซด์ของไนโตรเจน (NOx) รวมทั้งมีสารปรอท (Hg), แคดเมียม (Cd), อาร์เซนิก (As) หรือโพลีไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน (PAHs) ที่ล้วน แล้วแต่เป็นสารพิษที่เป็นอันตรายต่อร่างกายของมนุษย์ ด้วยองค์ประกอบของสารพิษเหล่านี้ ทาให้องค์การอนามัยโลก (WHO) กาหนดให้ PM2.5 จัดอยู่ในกลุ่มที่ 1 ของ สารก่อมะเร็ง ตั้งแต่ปี 2556 อีกทั้งยังเป็นสาเหตุให้ 1 ใน 8 ของประชากรโลกเสียชีวิตก่อนวัยอันควร สอดรับกับ รายงานของธนาคารโลก (World Bank) ที่ระบุว่า ประเทศไทยมีผู้เสียชีวิตจากมลพิษในอากาศเป็นสาเหตุหลักของ การเสียชีวิตก่อนวัยอันควรมากถึง 50,000 ราย ซึ่งการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรนี้ส่งผลกระทบไปถึงระบบเศรษฐกิจ รวมไปถึงค่าใช้จ่ายที่รัฐจะต้องสูญเสียเกี่ยวเนื่องกับการรักษาพยาบาลผู้ป่วยจากมลภาวะทางอากาศนี้อีกด้วย ค่าดัชนีคุณภาพอากาศของกรุงเทพฯ จาก The World Air Quality Index องค์กรไม่แสวงหาผลกาไรที่มี วัตถุประสงค์เพื่อสร้างความตระหนักถึงปัญหามลภาวะในอากาศ สามารถติดตามค่าดัชนีคุณภาพอากาศแบบเรียลไทม์ได้ที่ aqicn.org/city/bangkok
  • 5. 5 ค่า PM2.5 ตามกาหนดองค์การอนามัยโลก ในปี 2548 องค์การอนามัยโลก (WHO) ได้ออกคาแนะนาเพิ่มเติมในการกาหนดค่าเป้าหมายของค่ามาตรฐาน เฉลี่ย 1 ปี แบ่งเป็น 4 ระดับ ได้แก่ 35, 25, 15 และ 10 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ขึ้นอยู่กับระดับการพัฒนาของ ประเทศ โดยค่าเฉลี่ยรายปีและค่าเฉลี่ยใน 24 ชั่วโมงขององค์การอนามัยโลกกาหนดไว้ที่ 10 และ 25 ไมโครกรัมต่อ ลูกบาศก์เมตร ตามลาดับ แต่ไทยได้มีการกาหนดค่าไว้สูงกว่าค่ามาตรฐานขององค์การอนามัยโลก โดยมีค่าเฉลี่ยรายปีและค่าเฉลี่ยใน 24 ชั่วโมงไว้ที่ 25 และ 50 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ตามข้อสรุปขององค์การสหประชาชาติ (UN) ที่ว่า ประเทศไทย เป็นประเทศกาลังพัฒนา ทาให้เป็นประเทศที่ได้รับสิทธิพิเศษที่จะสามารถปล่อยมลพิษทางอากาศได้มากกว่าหลาย ประเทศ ปริมาณ PM 2.5 ที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ ฝุ่นละอองจะมีผลกระทบต่อผู้ที่เป็นโรคหัวใจหรือโรคปอดได้ง่าย รวมถึงผู้สูงอายุและเด็กด้วย อย่างไรก็ตาม แม้แต่ผู้ที่มีสุขภาพปกติ หากสัมผัสกับฝุ่นละอองอนุภาคละเอียดในปริมาณมาก และเป็นเวลานาน ก็อาจก่อให้เกิด อาการต่าง ๆ ตามมาได้เช่นกัน เช่น การระคายเคืองตา จมูก คอ มีอาการไอ หายใจไม่สะดวก หายใจได้ไม่เต็มปอด หัวใจเต้นเร็วขึ้น สาหรับผู้ป่วยโรคหัวใจหรือโรคปอด อาจถึงขั้นเสียชีวิตได้เลยทีเดียว โดยระดับปริมาณฝุ่นละอองมีผล ต่อสุขภาพต่าง ๆ กัน ดังนี้ ปริมาณ PM2.5 ใน 24 ชั่วโมง ระดับ 0-12 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร AQI (ดัชนีวัดคุณภาพอากาศ) 0- 50 มีผลต่อสุขภาพเพียงเล็กน้อยเท่านั้น ไม่มีความเสี่ยงใด ๆ ปริมาณ PM2.5 ใน 24 ชั่วโมง ระดับ 12.1-35.4 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร AQI (ดัชนีวัดคุณภาพ อากาศ) 21-100 เป็นปริมาณฝุ่นละอองในระดับกลาง ผู้ที่มีอาการภูมิแพ้หรือเคยมีปัญหาเกี่ยวกับระบบทางเดิน หายใจอาจจะได้รับผลกระทบ ซึ่งในกลุ่มนี้ควรงดการออกแรงมากๆหรือวิ่งกลางแจ้ง ปริมาณ PM2.5 ใน 24 ชั่วโมง ระดับ 35.5-55.4 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร AQI (ดัชนีวัดคุณภาพ อากาศ) 101-150 เป็นระดับของฝุ่นละอองที่อาจส่งผลต่อสุขภาพในกลุ่มของผู้ที่ไวต่อสิ่งกระตุ้น ในผู้ที่มีปัญหา เกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจอาจได้รับการกระตุ้นเพิ่มขึ้น รวมถึงกลุ่มผู้ป่วยโรคหัวใจหรือปอด และผู้สูงอายุด้วย ซึ่ง ในกลุ่มนี้ควรงดการออกแรงมาก ๆ หรือวิ่งกลางแจ้ง ปริมาณ PM2.5 ใน 24 ชั่วโมง ระดับ 55.5-150.4 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร AQI (ดัชนีวัดคุณภาพ อากาศ) 151-200 ไม่ดีต่อสุขภาพ และมีผลกระตุ้นอาการในผู้ป่วยโรคหัวใจและโรคปอด ผู้สูงอายุ นอกจากนี้ยังมีผล ต่อการหายใจของคนทั่วไปด้วย หากค่าของฝุ่นละอองอยู่ในระดับนี้ ควรงดการอยู่กลางแจ้งหรือออกแรงเป็นเวลานาน ปริมาณ PM2.5 ใน 24 ชั่วโมง ระดับ 150.5-250.4 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร AQI (ดัชนีวัดคุณภาพ อากาศ) 201-300 เป็นระดับฝุ่นละอองที่ไม่ดีต่อสุขภาพอย่างมาก มีผลกระตุ้นอาการในผู้ป่วยโรคหัวใจและโรคปอด ผู้สูงอายุ นอกจากนี้ยังมีผลต่อการหายใจของคนทั่วไปด้วย หากค่าของฝุ่นละอองอยู่ในระดับนี้ ควรงดกิจกรรม กลางแจ้ง และหลีกเลี่ยงการออกแรงเป็นเวลานาน ปริมาณ PM2.5 ใน 24 ชั่วโมง ระดับ 250.5-500.4 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร AQI (ดัชนีวัดคุณภาพ อากาศ) 301-500 อยู่ในระดับที่เป็นอันตราย และมีผลต่อสุขภาพอย่างมาก โดยเฉพาะกลุ่มผู้ป่วยโรคหัวใจและโรค ปอด ผู้สูงอายุ รวมถึงมีผลต่อการหายใจของคนทั่วไปอย่างมาก ควรงดกิจกรรมกลางแจ้ง และอยู่ในอาคารหรือบริเวณ ที่มีโอกาสสัมผัสกับฝุ่นละอองน้อยที่สุด ทั้งนี้ค่ามาตรฐานฝุ่นละอองในบรรยากาศโดยทั่วไปของประเทศไทย ค่าเฉลี่ยของฝุ่นละออง PM2.5 ในเวลา 24 ชั่วโมง จะต้องไม่เกิน 0.05 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เมตร หรือ 50 ไมโครเมตรต่อลูกบาศก์เมตร และค่าเฉลี่ยของฝุ่น ละออง PM10 ในเวลา 24 ชั่วโมง จะต้องไม่เกิน 0.12 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เมตร หรือ 120 ไมโครเมตรต่อลูกบาศก์ เมตร
  • 6. 6 ใครอยู่ในกลุ่มที่มีภาวะความเสี่ยงสูง  เด็กอยู่ในกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูงด้วยเหตุหลายประการ – ส่วนใหญ่แล้วเด็กมักใช้เวลาอยู่กลางแจ้งเพื่อเล่นกีฬา และทากิจกรรมนอกบ้าน ยิ่งอายุน้อยเท่าใด ความเสี่ยงยิ่งมากขึ้นเท่านั้น ปอดและระบบภูมิคุ้มกันของเด็กยัง อยู่ในระยะที่กาลังพัฒนา การเผชิญกับมลพิษในอากาศจะขัดขวางการเจริญเติบโตของปอดในเด็กในวัยเรียน นอกจากนั้น เด็กยังมีอัตราที่จะเป็นโรคหอบหืดและโรคระบบทางเดินหายใจที่รุนแรงอื่นๆ มากกว่า ซึ่งโรค เหล่านี้กาเริบขึ้นได้อย่างง่ายดายเมื่อระดับมลพิษสูง  หญิงมีครรภ์ การเผชิญกับมลพิษในอากาศจากฝุ่นละอองในระดับสูงระหว่างตั้งครรภ์มีความเชื่อมโยงกันกับ การคลอดก่อนกาหนด น้าหนักตัวทารกแรกคลอดต่า และความเสี่ยงที่จะเกิดการแท้งบุตรและอัตราการตาย ของทารกเพิ่มขึ้น  ผู้สูงวัย ต้องเผชิญกับความเสี่ยงเพิ่มขึ้นที่จะมีปัญหาที่เกี่ยวเนื่องกับมลพิษ ทั้งนี้เพราะระบบภูมิคุ้มกันของ ผู้สูงอายุมักจะอ่อนแอลง และร่างกายมักจะมีความสามารถน้อยลงที่จะรับมือกับมลพิษในอากาศ นอกจากนั้น ผู้สูงอายุยังมีแนวโน้มมากขึ้นที่จะมีอาการเกี่ยวกับโรคหัวใจหรือระบบทางเดินหายใจที่ยังไม่ได้ รับการวินิจฉัยซึ่งกาเริบขึ้นเนื่องจากมลพิษในอากาศ  ผู้ที่เป็นโรคปอดหรือโรคหัวใจ เช่น โรคหลอดเลือดหัวใจ ภาวะหัวใจล้มเหลว โรคหอบหืด โรคถุงลมในปอด โป่งพอง โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง มีความเสี่ยงมากขึ้นเนื่องจากอนุภาคฝุ่นละอองสามารถทาให้สภาวะโรคที่มีอยู่ ก่อนหน้านี้กาเริบขึ้นได้ #คุณสามารถลดทอนอันตรายที่อาจเกิดกับคุณได้ โดยการเฝ้าตรวจสอบระดับมลพิษแบบเรียลไทม์และการ พยากรณ์ดัชนีคุณภาพอากาศ ซึ่งมีพร้อมให้ดูออนไลน์ และผ่านสมาร์ทโฟนแอพ อย่างเช่น Asia Air Quality (Android), Global Air Quality (Android) และ Air Quality Index (iOS) ผลกระทบจากมลพิษละอองฝุ่นดังกล่าวต่อสุขภาพ ผลกระทบจากมลพิษละอองฝุ่นดังกล่าวต่อสุขภาพนั้นร้ายแรงกว่าที่เคยคิดกัน : จากงานศึกษาวิจัยสาคัญๆ ใน ระยะสิบปีที่ผ่านมา เดี๋ยวนี้ เราได้รู้แล้วว่า มลพิษทางอากาศเป็นอันตรายคุกคามสุขภาพของเรามากกว่าที่เราเคย เข้าใจ องค์การอนามัยโลกประมาณการว่ามีประชากรที่ต้อง “ตายก่อนเวลาอันควร” เนื่องจากมลพิษในอากาศทั่วโลก มากกว่า 6 ล้านคนในแต่ละปี และในจานวนนี้ เป็นเด็กอายุต่ากว่าห้าขวบราวร้อยละสิบ คือประมาณ 600,000 คน เมื่อคุณภาพอากาศเลวลง อัตราการไปห้องฉุกเฉินและการเข้าอยู่โรงพยาบาลจะสูงขึ้น เพราะมลพิษทาให้ปัญหา สุขภาพที่มีอยู่กาเริบขึ้น และเป็นเหตุให้หัวใจวาย หลอดเลือดในสมองตีบ หอบหืดกาเริบ และอื่นๆ อีกมากมาย  อันตรายคุกคามต่อหัวใจ การเผชิญกับมลพิษในอากาศอาจทาให้เกิดเหตุรุนแรงเฉียบพลันกับกล้ามเนื้อหัวใจ ได้ รวมทั้งหัวใจวาย หัวใจเต้นผิดจังหวะ อัตราการผันแปรการเต้นของหัวใจลดลง ตลอดจนมีความเสี่ยงที่จะ เกิดการตายจากภาวะหัวใจหยุดเต้นเฉียบพลัน นอกจากนั้น ยังมีหลักฐานปรากฏด้วยว่า ภาวะหลอดเลือด แข็ง โดยที่มีการสะสมตะกอนที่เรียกว่าพลาคภายในหลอดเลือดซึ่งสามารถทาให้เกิดภาวะหัวใจวายและ หลอดเลือดสมองตีบจนถึงตายได้  อันตรายคุกคามต่อปอดและทางเดินหายใจ : มลพิษในอากาศเป็นทั้งสาเหตุและปัจจัยที่ทาให้เกิดโรคเกี่ยวกับ ปอดและระบบทางเดินหายใจและที่ทาให้โรคกาเริบขึ้นได้ ซึ่งรวมถึงโรคหอบหืด โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง และ โรคมะเร็งปอด  อันตรายคุกคามต่อสมอง : เป็นที่เชื่อกันว่า การเผชิญกับมลพิษในอากาศเป็นระยะยาวเพิ่มความเสี่ยงที่จะทา ให้หลอดเลือดแดงในสมองแข็งตัว ทาให้ความดันโลหิตสูงขึ้น และความหนืดของเลือดเพิ่มขึ้น ซึ่งล้วนแต่เป็น ปัจจัยเสี่ยงที่ทาให้เกิดลิ่มเลือดในสมองได้
  • 7. 7 การป้องกัน PM 2.5  ลดกิจกรรมนอกบ้าน : อันตรายความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นได้จากมลพิษในอากาศจะเพิ่มขึ้นหากทากิจกรรม นอกบ้านที่ใช้กาลังมาก ตามระยะเวลาที่อยู่กลางแจ้ง และระดับความรุนแรงของมลพิษ ดังนั้น เราสามารถ ลดอันตรายลงได้โดยลดระดับการใช้กาลัง (ตัวอย่างเช่น เดินแทนที่จะวิ่งเหยาะๆ) ลดเวลาอยู่กลางแจ้งลง และวางแผนเลี่ยงทากิจกรรมในช่วงเวลาหรือในพื้นที่ที่มีมลพิษสูง อย่างเช่นถนนที่มีการจราจรติดขัดและทาง หลวงที่มีผู้ใช้หนาแน่น  อยู่ภายในอาคารเมื่อระดับมลพิษสูง : เมื่อระดับมลพิษขึ้นสูงขนาดที่เป็นอันตราย ให้พิจารณาการอยู่ภายใน อาคารและย้ายไปทากิจกรรมภายในอาคาร เช่น แทนที่จะออกกาลังบริหารร่างกายกลางแจ้ง ให้มาออกกาลัง ในโรงยิมแทนเพื่อใช้ประโยชน์จากสภาพแวดล้อมที่อากาศสะอาดกว่า  ปรับปรุงคุณภาพอากาศภายในอาคาร : ปิดหน้าต่างให้หมดในช่วงมลพิษสูง ปรับเครื่องปรับอากาศให้ใช้ อากาศภายในอาคารหมุนเวียนแทนที่จะดึงเอาอากาศภายนอกเข้ามา พิจารณาการใช้เครื่องฟอกอากาศที่ มีเครี่องกรองอนุภาคฝุ่นละอองที่มีประสิทธิภาพสูง ทั้งนี้เพื่อลดระดับอนุภาคภายในอาคาร คอยดูแลให้ บริเวณแวดล้อมบ้านปราศจากควัน และหลีกเลี่ยงการใช้สิ่งที่มีการเผาไหม้ เช่น เทียน การปิ้งย่าง หรือ ผลิตภัณฑ์ใดๆ ที่ทาให้เกิดควัน  สวมหน้ากากป้องกันทางเดินหายใจที่เหมาะสม เมื่อสวมอย่างถูกต้องแล้ว หน้ากากป้องกันทางเดินหายใจจะ สามารถกรองอนุภาคฝุ่นละอองที่สร้างมลพิษในอากาศได้สูงถึงร้อยละ 99 (หน้ากาก N95 กรองได้อย่างน้อย ร้อยละ 95 ส่วนหน้ากาก N99 กรองได้ร้อยละ 99) แต่หน้ากากเหล่านี้จะใช้การได้ดีก็ต่อเมื่อสวมอย่างถูกต้อง เท่านั้น ดังนั้น ต้องแน่ใจว่าสวมตามวิธีการที่ระบุไว้และหมั่นตรวจสอบให้หน้ากากรกระชับกับหน้าอย่าง เหมาะสม อนึ่ง ควรเข้าใจว่าหน้ากากป้องกันทางเดินหายใจต้านมลพิษไม่เหมือนกับกับหน้ากากที่แพทย์และ พยาบาลใส่ในห้องผ่าตัด หรือหน้ากากที่ทาจากผ้าหรือกระดาษ – ซึ่งหน้ากากพวกนี้ไม่มีประสิทธิผลเลยโดย สิ้นเชิงในการต้านมลพิษในอากาศจากอนุภาคฝุ่นละออง หน้ากาก N95 และ N99 มีจาหน่ายตามร้านค้าส่วน ใหญ่ที่ขายผลิตภัณฑ์ปรับปรุงที่อยู่อาศัยและผลิตภัณฑ์เพื่อความปลอดภัย สนใจสังเกตอาการ : อาการเรื้อรังต่อเนื่องอย่างเช่น การหายใจลาบาก รู้สึกเหนื่อยล้าผิดปกติ หรือไอรุนแรง อาจ เป็นสัญญาณที่บ่งถึงปัญหาที่มีสาเหตุเกี่ยวกับสภาพปอดหรือการทางานของปอด รีบปรึกษาแพทย์หากมีอาการใหม่ๆ ที่แสดงถึงปัญหาเกี่ยวกับระบบหัวใจหรือระบบทางเดินหายใจ หรือสังเกตว่าสุขภาพแย่ลง ข้อมูลดัชนีคุณภาพอากาศ ดัชนีคุณภาพอากาศ (Air Quality Index : AQI) เป็นการรายงานข้อมูลคุณภาพอากาศในรูปแบบที่ง่ายต่อความ เข้าใจของประชาชนทั่วไป เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้สาธารณชนได้รับทราบถึงสถานการณ์มลพิษทางอากาศในแต่ ละพื้นที่ว่าอยู่ในระดับใด มีผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยหรือไม่ ดัชนีคุณภาพอากาศ 1 ค่า ใช้เป็นตัวแทนค่าความ เข้มข้นของสารมลพิษทางอากาศ 6 ชนิด ได้แก่  ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) เป็นฝุ่นที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน 2.5 ไมครอน เกิดจากการ เผาไหม้ทั้งจากยานพาหนะ การเผาวัสดุการเกษตร ไฟป่า และกระบวนการอุตสาหกรรม สามารถเข้าไปถึงถุง ลมในปอดได้ เป็นผลทาให้เกิดโรคในระบบทางเดินหายใจ และโรคปอดต่างๆ หากได้รับในปริมาณมากหรือ เป็นเวลานานจะสะสมในเนื้อเยื่อปอด ทาให้การทางานของปอดเสื่อมประสิทธิภาพลง ทาให้หลอดลมอักเสบ มีอาการหอบหืด  ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 10 ไมครอน (PM10) เป็นฝุ่นที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน 10 ไมครอน เกิดจาก การเผาไหม้เชื้อเพลิง การเผาในที่โล่ง กระบวนการอุตสาหกรรม การบด การโม่ หรือการทาให้เป็นผงจาก การก่อสร้าง ส่งผลกระทบต่อสุขภาพเนื่องจากเมื่อหายใจเข้าไปสามารถเข้าไปสะสมในระบบทางเดินหายใจ
  • 8. 8  ก๊าซโอโซน (O3) เป็นก๊าซที่ไม่มีสีหรือมีสีฟ้าอ่อน มีกลิ่นฉุน ละลายน้าได้เล็กน้อย เกิดขึ้นได้ทั้งในระดับ บรรยากาศชั้นที่สูงจากผิวโลก และระดับชั้นบรรยากาศผิวโลกที่ใกล้พื้นดิน ก๊าซโอโซนที่เป็นสารมลพิษทาง อากาศคือก๊าซโอโซนในชั้นบรรยากาศผิวโลก เกิดจากปฏิกิริยาระหว่างก๊าซออกไซด์ของไนโตรเจน และ สารประกอบอินทรีย์ระเหยง่าย โดยมีแสงแดดเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา มีผลกระทบต่อสุขภาพ โดยก่อให้เกิดการ ระคายเคืองตาและระคายเคืองต่อระบบทางเดินหายใจและเยื่อบุต่างๆ ความสามารถในการทางานของปอด ลดลง เหนื่อยเร็ว โดยเฉพาะในเด็ก คนชรา และคนที่เป็นโรคปอดเรื้อรัง  ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) เป็นก๊าซที่ไม่มีสี กลิ่น และรส เกิดจากการเผาไหม้ที่ไม่สมบูรณ์ของเชื้อเพลิงที่ มีคาร์บอนเป็นองค์ประกอบ ก๊าซนี้สามารถสะสมอยู่ในร่างกายได้โดยจะไปรวมตัวกับฮีโมโกลบินในเม็ดเลือด แดงได้ดีกว่าออกซิเจนประมาณ 200-250 เท่า เมื่อหายใจเข้าไปทาให้ก๊าซชนิดนี้จะไปแย่งจับกับฮีโมโกลบิน ในเลือด เกิดเป็นคาร์บอกซีฮีโมโกลบิน (CoHb) ทาให้การลาเลียงออกซิเจนไปสู่เซลล์ต่างๆ ของร่างกายลด น้อยลง ส่งผลให้ร่างกายเกิดอาการอ่อนเพลีย และหัวใจทางานหนักขึ้น  ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) เป็นก๊าซที่ไม่มีสีและกลิ่น ละลายน้าได้เล็กน้อย มีอยู่ทั่วไปในธรรมชาติ หรือ เกิดจากการกระทาของมนุษย์ เช่น การเผาไหม้เชื้อเพลิงต่างๆ อุตสาหกรรมบางชนิด เป็นต้น ก๊าซนี้มีผลต่อ ระบบการมองเห็นและผู้ที่มีอาการหอบหืดหรือ โรคเกี่ยวกับทางเดินหายใจ  ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) เป็นก๊าซที่ไม่มีสี หรืออาจมีสีเหลืองอ่อนๆ มีรสและกลิ่นที่ระดับความเข้มข้น สูง เกิดจากธรรมชาติและการเผาไหม้เชื้อเพลิงที่มีกามะถัน (ซัลเฟอร์) เป็นส่วนประกอบ สามารถละลายน้า ได้ดี สามารถรวมตัวกับสารมลพิษอื่นแล้วก่อตัวเป็นอนุภาคฝุ่นขนาดเล็กได้ ก๊าซนี้มีผลกระทบโดยตรงต่อ สุขภาพ ทาให้เกิดการระคายเคืองต่อเยื่อบุตา ผิวหนัง และระบบทางเดินหายใจ หากได้รับเป็นเวลานาน ๆ จะทาให้เป็นโรคหลอดลมอักเสบเรื้อรังได้ี ดัชนีคุณภาพอากาศของประเทศไทยแบ่งเป็น 5 ระดับ คือ ตั้งแต่ 0 ถึง 201 ขึ้นไป ซึ่งแต่ละระดับจะใช้สีเป็น สัญญลักษณ์เปรียบเทียบระดับของผลกระทบต่อสุขภาพอนามัย (ตารางที่ 1) โดยดัชนีคุณภาพอากาศ 100 จะมีค่า เทียบเท่ามาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป หากดัชนีคุณภาพอากาศมีค่าสูงเกินกว่า 100 แสดงว่าค่า ความเข้มข้นของมลพิษทางอากาศมีค่าเกินมาตรฐานและคุณภาพอากาศในวันนั้นจะเริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ อนามัยของประชาชน Cr:http://maemoh.egat.com/index.php/93-new/359-363 0 - 25 26 - 50 51 - 100 101 - 200 201 ขึ้นไป ความหมายของสี ดีมาก ดี ปานกลาง เริ่มมี ผลกระทบ ต่อสุขภาพ มีผบกระทบ ต่อสุขภาพ
  • 9. 9 ตารางที่ 1 เกณฑ์ของดัชนีคุณภาพอากาศของประเทศไทย AQI ความหมาย สีที่ใช้ คาอธิบาย 0 - 25 คุณภาพอากาศดีมาก ฟ้า คุณภาพอากาศดีมาก เหมาะสาหรับกิจกรรม กลางแจ้งและการท่องเที่ยว 26 - 50 คุณภาพอากาศดี เขียว คุณภาพอากาศดี สามารถทากิจกรรมกลางแจ้ง และการท่องเที่ยวได้ตามปกติ 51 - 100 ปานกลาง เหลือง ประชาชนทั่วไป : สามารถทากิจกรรมกลางแจ้งได้ ตามปกติ ผู้ที่ต้องดูแลสุขภาพเป็นพิเศษ : หากมีอาการ เบื้องต้น เช่น ไอ หายใจลาบาก ระคายเคืองตา ควรลดระยะเวลาการทากิจกรรมกลางแจ้ง 101 - 200 เริ่มมีผลกระทบต่อ สุขภาพ ส้ม ประชาชนทั่วไป : ควรเฝ้าระวังสุขภาพ ถ้ามี อาการเบื้องต้น เช่น ไอ หายใจลาบาก ระคาย เคืองตา ควรลดระยะเวลาการทากิจกรรม กลางแจ้ง หรือใช้อุปกรณ์ป้องกันตนเองหากมี ความจาเป็น ผู้ที่ต้องดูแลสุขภาพเป็นพิเศษ : ควรลดระยะเวลา การทากิจกรรมกลางแจ้ง หรือใช้อุปกรณ์ป้องกัน ตนเองหากมีความจาเป็น ถ้ามีอาการทางสุขภาพ เช่น ไอ หายใจลาบาก ตาอักเสบ แน่นหน้าอก ปวดศีรษะ หัวใจเต้นไม่เป็นปกติ คลื่นไส้ อ่อนเพลีย ควรปรึกษาแพทย์ 201 ขึ้นไป มีผลกระทบต่อสุขภาพ แดง ทุกคนควรหลีกเลี่ยงกิจกรรมกลางแจ้งหลีกเลี่ยง พื้นที่ที่มีมลพิษทางอากาศสูง หรือใช้อุปกรณ์ ป้องกันตนเองหากมีความจาเป็น หากมีอาการ ทางสุขภาพควรปรึกษาแพทย์ Cr:http://www.air4bangkok.com/aqi_info.php?lang=
  • 10. 10 การคานวณดัชนีคุณภาพอากาศรายวันของสารมลพิษทางอากาศแต่ละประเภท คานวณจากค่าความเข้มข้นของสารมลพิษทางอากาศจากข้อมูลผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศ โดยมีระดับของ ค่าความเข้มข้นของสารมลพิษทางอากาศที่เทียบเท่ากับค่าดัชนีคุณภาพอากาศที่ระดับต่างๆ ดัง (ตารางที่ 2) การ คานวณดัชนีคุณภาพอากาศภายในช่วงระดับ เป็นสมการเส้นตรง ดังนี้ กาหนดให้ I = ค่าดัชนีย่อยคุณภาพอากาศ X = ความเข้มข้นของสารมลพิษทางอากาศจากการตรวจวัด Xi , Xj = ค่าต่าสุด, สูงสุด ของช่วงความเข้มข้นสารมลพิษที่มีค่า X Ii , Ij = ค่าต่าสุด, สูงสุด ของช่วงดัชนีคุณภาพอากาศที่ตรงกับช่วงความเข้มข้น X จากค่าดัชนีย่อยที่คานวณได้ สารมลพิษทางอากาศประเภทใดมีค่าดัชนีสูงสุด จะใช้เป็นดัชนีคุณภาพอากาศ (AQI) ณ ช่วงเวลานั้น ตารางที่ 2 ค่าความเข้มข้นของสารมลพิษทางอากาศที่เทียบเท่ากับค่าดัชนีคุณภาพอากาศ AQI PM2.5 (มคก./ลบ.ม.) PM10 (มคก./ลบ.ม.) O3 (ppb) CO (ppm) NO2 (ppb) SO2 (ppb) เฉลี่ย 24 ชั่วโมงต่อเนื่อง เฉลี่ย 8 ชั่วโมงต่อเนื่อง เฉลี่ย 1 ชั่วโมง 0 - 25 0 - 25 0 - 50 0 - 35 0 - 4.4 0 - 60 0 - 100 26 - 50 26 - 37 51 - 80 36 - 50 4.5 - 6.4 61 - 106 101 - 200 51 - 100 38 - 50 81 - 120 51 - 70 6.5 - 9.0 107 - 170 201 - 300 101 - 200 51 - 90 121 - 180 71 - 120 9.1 - 30.0 171 - 340 301 - 400 มากกว่า 200 91 ขึ้นไป 181 ขึ้นไป 121 ขึ้นไป 30.1 ขึ้นไป 341 ขึ้นไป 401 ขึ้นไป ช่วงเวลาเฉลี่ย และหน่วยสารมลพิษทางอากาศที่ใช้ในการคานวน  PM2.5 เฉลี่ย 24 ชั่วโมงต่อเนื่อง : ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร หรือ มคก./ลบ.ม. หรือ µg./m3  PM10 เฉลี่ย 24 ชั่วโมงต่อเนื่อง : ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร หรือ มคก./ลบ.ม. หรือ µg./m3  O3 เฉลี่ย 8 ชั่วโมงต่อเนื่อง : ส่วนในพันล้านส่วน หรือ ppb หรือ 1/1,000,000,000  CO เฉลี่ย 8 ชั่วโมงต่อเนื่อง : ส่วนในล้านส่วน หรือ ppm หรือ 1/1,000,000  NO2 เฉลี่ย 1 ชั่วโมง : ส่วนในพันล้านส่วน หรือ ppb หรือ 1/1,000,000,000  SO2 เฉลี่ย 1 ชั่วโมง : ส่วนในพันล้านส่วน หรือ ppb หรือ 1/1,000,000,000
  • 11. 11 วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน -ศึกษาหาปัญหาที่จะทา -นาเสนอหัวข้อกับครูผู้สอน -ศึกษารวบรวมข้อมูล -จัดทารายงาน -นาเสนอครู -ปรับปรุงและแก้ไข เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ -อินเตอร์เน็ต -คอมพิวเตอร์ -โทรศัพท์ งบประมาณ 0บาท ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดั บ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน ณฏฐณิชา 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล ณฏฐณิชา 3 จัดทาโครงร่างงาน ณฏฐณิชา 4 ปฏิบัติการสร้าง โครงงาน ณฏฐณิชา 5 ปรับปรุงทดสอบ ณฏฐณิชา 6 การทาเอกสารรายงาน ณฏฐณิชา 7 ประเมินผลงาน ณฏฐณิชา 8 นาเสนอโครงงาน ณฏฐณิชา ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1.สามารถนาข้อมูลไปศึกษาต่อยอดได้ 2.สามารถคานวณปริมาณฝุ่นละอองในอากาศได้ 3.ข้อมูลสามารถเป็นประโยชน์กับผู้ที่เกี่ยวข้อง สถานที่ดาเนินการ 1.ห้องคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
  • 12. 12 กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1.กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 2.กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 3.กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี 4.กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) ฝุ่น PM 2.5 คืออะไร?. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก https://www.honestdocs.co/pm-2-5-environmental-nano-pollutants (วันที่สืบค้น:18 ก.ย. 2562) PM2.5 ฝุ่นละอองขนาดเล็กที่ขนจมูกไม่สามารถกรองได้. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก https://thestandard.co/pm-2-5-environmental-nano-pollutants/ (วันที่สืบค้น:18 ก.ย. 2562) PM2.5 เกิดขึ้นได้จาก 2 ปัจจัยหลัก. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก https://thestandard.co/pm-2-5-environmental-nano-pollutants/ (วันที่สืบค้น:18 ก.ย. 2562) ค่า PM2.5 ตามกาหนดองค์การอนามัยโลกหลัก. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก https://thestandard.co/pm-2-5-environmental-nano-pollutants/ (วันที่สืบค้น:18 ก.ย. 2562) ปริมาณ PM 2.5 ที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก https://www.trueplookpanya.com/knowledge/content/71042/-blog-blo-scihea-sci- (วันที่สืบค้น:20 ก.ย. 2562) ใครอยู่ในกลุ่มที่มีภาวะความเสี่ยงสูง. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก https://www.bumrungrad.com/th/health-blog/February-2018/air-pollution-threat (วันที่สืบค้น:20 ก.ย. 2562) ผลกระทบจากมลพิษละอองฝุ่นดังกล่าวต่อสุขภาพสูง. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก https://www.bumrungrad.com/th/health-blog/February-2018/air-pollution-threat (วันที่สืบค้น:20 ก.ย. 2562) การป้องกัน PM 2.5สูง. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก https://www.bumrungrad.com/th/health-blog/February-2018/air-pollution-threat (วันที่สืบค้น:20 ก.ย. 2562) ข้อมูลดัชนีคุณภาพอากาศ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http://air4thai.pcd.go.th/webV2/aqi_info.php (วันที่สืบค้น:27 ก.ย. 2562)