SlideShare a Scribd company logo
1 of 44
เซลล์แสงอาทิตย์ชนิดสีย้อมไวแสง
DYE-SENSITIZED SOLAR CELLS,
DSSC,S
____________________________นางสาว นูรอัยนี ดาโอะ
รหัสนักศึกษา 5205502973
คณะวิทยาศาสตร์ สาขา ฟิสิกส์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง
Miss Nurainee Daa-O
Faculty of Science, Physics ,Ramkhamhaeng
University
และในปัจจุบันกาลังเป็นที่สนใจเป็นอย่างมากทั้งในเชิงวิชาการและในเชิงพาณิชย์เนื่องจากเซลล์
แสงอาทิตย์ชนิดนี้มี ประสิทธิภาพใกล้เคียงกับเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดรอยต่อ ( p-n )
ของสารกึ่งตัวนาซิลิคอนแต่มีกระบวนการผลิตที่ง่ายกว่าทาให้มีต้นทุนการผลิตต่ากว่า
เพื่อเป็นทางเลือกหนึ่งที่จะใช้แทนที่เซลล์แสงอาทิตย์แบบซิลิคอนได้เนื่องจากผลิตได้ง่าย
ใช้วัสดุราคาไม่แพงและมีต้นทุนต่าจึงมีประโยชน์อย่างมากในการผลิตเซลล์แสงอาทิตย์เชิงการค้า
คือ เซลล์แสงอาทิตย์สีย้อมไวแสงใช้สีย้อมไวแสงเป็นตัวรับพลังงานจากแสงอาทิตย์
ไปกระตุ้นอิเล็กตรอนให้กระโดดจากสถานะพื้น (ground state)
ไปยังสถานะกระตุ้น (excited state) จากนั้นอิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่
ไปยังอนุภาคไทเทเนียมไดออกไซด์ (TiO2) ที่เคลือบอยู่บนขั้วไฟฟ้ าโปร่งแสง
ทาให้เกิดกระแสไฟฟ้ าเกิดขึ้น
แนวความคิดนี้เกิดจากการเลียนแบบการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชที่พืชจะใช้
คลอโรฟิลล์ (chlorophill) ทาหน้าที่เป็นตัวรับพลังงาน
และเปลี่ยนคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) และน้า (H2O)
ไปเป็นน้าตาล (C2H12O6) และออกซิเจน
ซึ่งจะมีการไหลเวียนของอิเล็กตรอนในกระบวนการนี้
และกระบวนการอื่นที่เกี่ยวข้องด้วย
รูปที่ 1 โครงสร้างของเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดสีย้อมไวแสง
เซลล์แสงอาทิตย์ชนิดสีย้อมไวแสง มีองค์ประกอบที่สาคัญ คือ
สีย้อมไวแสง อนุภาคของโลหะออกไซด์ สารอิเล็กโตรไลต์
หรือ ตัวส่งผ่านประจุบวก และขั้วไฟฟ้ าโปร่งแสง (ตามรูป 1)
โดยแต่ละส่วนมีหน้าที่และสมบัติที่สาคัญดังนี้
1 . สีย้อมไวแสง
เป็นสารที่ยึดเกาะอยู่กับอนุภาคระดับนาโนของสารกึ่งตัวนาโลหะออกไซด์
ด้วยพันธะ –OH หรือ =O ( พันธะเดี่ยว หรือ พันธะคู่ )
ตัวอย่างสีย้อมที่ใช้กันอย่าง แพร่หลาย
เช่น Ruthenium, Eosin-Y หรือ Pigment ในพืช
เช่น Chlorophyll และ Anthocyanin เป็นต้น
ส่วนประกอบที่สาคัญเซลล์
ซึ่งทาหน้าที่
ดูดกลืนแสงหรือรับพลังงานแสงจากดวงอาทิตย์
และ ทาหน้าที่ส่งผ่านอิเล็กตรอน หรือ ปลดปล่อยอิเล็กตรอนออกไป
ให้กับอนุภาคระดับนาโนของโลหะออกไซด์
ดังนั้นจะต้องมีสมบัติที่สาคัญ เช่น
มีสเปกตรัมการดูดกลืนแสงกว้างในช่วงตาเห็นและช่วงใกล้อินฟาเรด
เพื่อดูดกลืนแสงอาทิตย์ให้ได้มากที่สุด
มีค่าสัมประสิทธิ์การดูดกลืนแสงสูง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
ในการจับแสงโฟตอนที่ตกกระทบ มีคุณสมบัติของสภาวะพื้น
และสภาวะกระตุ้นที่เหมาะสม มีเสถียรภาพสูงในสภาวะถูกออกซิไดซ์
สามารถยึดเกาะบนผิวอนุภาคระดับนาโนของโลหะออกไซด์ได้ดี
2. ชั้นอนุภาคของโลหะออกไซด์
เป็นสารกึ่งตัวนาโลหะออกไซด์ (Metal-Oxide Semiconductor)
ที่มีช่องว่างแถบพลังงานสูง(Wide Band-Gap) ซึ่งสารกึ่งตัวนาที่นา
มาศึกษากันอย่างแพร่หลาย คือ TiO2 , ZnO และ Nb2O5
ทำหน้ำที่ รับและส่งผ่านอิเล็กตรอน และเป็นพื้นผิวสาหรับการยึดเกาะ
ของโมเลกุลสีย้อมไวแสง ต้องมีแถบช่องว่างพลังงานกว้าง
(มากกว่า 3 eV) มีพื้นที่ผิวมาก
เหตุผลที่นิยมใช้ไททาเนียมไดออกไซด์เป็นขั้วไฟฟ้าแอโนด
คือโครงสร้างวัสดุนาโนที่เตรียมจากอนุภาคไททาเนียมไดออกไซด์จะมีขนาด
เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 10-20 นาโนเมตร ความหนาประมาณ 5-20 ไมครอน
และมวลของไททาเนียมไดออกไซด์มีค่าประมาณ 1-4 mg/cm2
และมีโครงสร้าง แบบอะนาเทส ซึ่งจะให้พื้นที่ผิวมากกว่าโครงสร้าง แบบรูไทล
และเป็นสารกึ่งตัวนาที่มีรูพรุน และ พื้นที่ผิวสูงกว่าสารกึ่งตัวนาชนิด
อื่น มีอัตราการส่งผ่านอิเล็กตรอนเร็ว และอัตราการรวมตัวของประจุช้า
(recombination) โดยทั่วไปความต่างศักย์ของเซลล์
แสงอาทิตย์แบบสีย้อมไวแสงมีค่าประมาณ 0.5-0.7 V ซึ่งจะไม่ขึ้นกับ
ขนาดของเซลล์สาหรับค่ากระแสไฟฟ้ าของเซลล์มีค่าประมาณ 10-20
mA/cm2 ซึ่งค่าของกระแสไฟฟ้ าจะขึ้นกับขนาดของพื้นที่และ
ความเข้มของแสงที่ตกกระทบ เป็นต้น
นิยมใช้ ไทเทเนียมไดออกไซต์ (TiO2) , ZnO
3. สารอิเล็กโตรไลต์หรือตัวส่งผ่านประจุบวก
ทาหน้าที่ในการแลกเปลี่ยนอิเล็กตรอนที่เดินทางมาจากวงจร เป็นโลหะภายนอกให้กลับคืนสู่
โมเลกุลของสีย้อม แพลทินัม (Platinum)ที่เคลือบบนกระจก TCO
(ดีบุกออกไซด์) ที่ขั้วแคโทดทาหน้าที่เป็นตัวกระตุ้นและลดศักย์ไฟฟ้าที่
มากเกินไปในปฏิกิริยา Triiodide กับ Iodide
I3
- + 2e-
(Pt) → 3 I-
สำรละลำยรีด๊อกซ์อิเล็กโทรไลต์
(I- /I3
-) (redox electrolyte)
ทาหน้าที่ ชดเชยอิเล็กตรอนให้กับโมเลกุลสีย้อมไวแสงจากเค้าเตอร์อิเล็กโทรด หรือ รับประจุ
บวกจากขั้วไฟฟ้าแคโทดโดยอาศัยปฏิกิริยารีดอกซ์ (redox)
สามารถเกิด ปฏิกิริยาออกซิเดชันได้ง่าย และมีอายุการใช้งานยาวนาน
นิยมใช้ I- /I3
-
4. ขั้วไฟฟ้ าโปร่งแสง (Transparent Conducive Oxide Glass: TCO Glass)
ประกอบด้วยelectrode 2 ส่วน คือ working electrode และ counter electrode
ใช้Pt/C catalyst เคลือบบนcounter electrode จากนั้นต่อขั้วไฟฟ้าเข้ากับ
working electrode และcounter electrode สาหรับการนาไฟฟ้าไปใช้งาน…
❶ working electrode (ขั้วไฟฟ้ าแอดโนด) : เป็นกระจกโปร่งใส
ที่ถูกเคลือบด้วย Fluorine-doped Tin Oxide (FTO)หรือ
Indium-doped Tin Oxide (ITO) ประกอบด้วยขั้วไฟฟ้าแอโนด
เป็นส่วนประกอบไว้ให้แสงผ่านและทาหน้าที่ถ่ายโอนอิเล็กตรอนไปสู่วงจรภายนอกเซลล์
นิยมใช้fluoride doped tin oxide (FTO)
❷ counter electrode (ขั้วไฟฟ้ าแคโทด) :
ทาหน้าที่ให้อิเล็กตรอนกลับคืนสู่ สารประกอบอิเล็กโทรไลต์ต้องนาไฟฟ้ าได้ดี มีพื้นที่ผิวมาก
และ มีค่าศักย์ไฟฟ้ าเกินตัวสาหรับการเกิด ปฏิกิริยารีดักชัน ของอิเล็กโตรไลต์ต่า
นิยมใช้ โลหะแพลททินัมตัวคะตะลิลส์หรือ แกรไฟต์/คาร์บอนแบลค
④ มีกระแสไฟฟ้ า เกิดขึ้น มีอิเล็กตรอน เคลื่อนที่ในวงจรภายนอกเซลล์แล้ว
อิเล็กตอนวิ่งกลับสู่ขั้วแคโทดและ ⑤ ที่ขั้วแคโทดสารอิเล็กโตรไลต์เกิดกระบวนการ
รีดอกซ์ โดยให้อิเล็กตรอน กับ สีย้อมไวแสงที่ สูญเสียอิเล็กตรอน (S+)
ทาให้โมเลกุลสีย้อมกลับสู่สถานะพื้น (S0) ในขณะเดียวกันสารอิเล็กโตรไลต์
จะรับ อิเล็กตรอน คืน จากขั้วแคโทด โลหะแพลททินัม
โดยมีปฏิกิริยำหลักที่เกิดขึ้นคือ
ปฎิกิริยำที่ขั้วแอโนด
S0+ hν S* : การดูดกลืนแสง
S* S+ + e- (ให้โลหะออกไซค์) : การส่งผ่านอิเล็กตรอน
ปฏิกิริยำที่ขั้วแคโทด
S+ +อิเล็กโตรไลต์ I - S0+ อิเล็กโตรไลต์ I3
- : การสร้างใหม่ของสีย้อมอิเล็กโตรไลต์
(I3
- )+ e- (จากขั้วแพลททินัม) อิเล็กโตรไลต์ I -
ปฏิกิริยำรวม
e- (จากขั้วแพลททินัม) + hν e- ( ให้โลหะออกไซค์ )
TiO2|S0 + hn → TiO2|S* ….. (1)
TiO2|S* → TiO2|S+ + e-
(cb) …..(2)
TiO2|S+ + 3/2I- → TiO2|S0 + 1/2I3
-
…..(3)
I3
- + 2e-
(Pt) → 3 I- …..(4)
TiO2|S+ + e-
(cb) → TiO2|S0 …..(5)
I3
- + 2e-
(cb) → 3 I- …..(6)
หลักกำรทำงำนของ DSSC ดังสมกำร
หลักกำรแปลงพลังงำนของเซลล์แสงอำทิตย์ชนิดสีย้อม
กำรดูดกลืนพลังงำนแสง
เมื่อโมเลกุลของสีย้อมถูกแสงจะดูดกลืนพลังงานแสงไว้เพื่อใช้ในการกระตุ้นอิเล็กตรอน
ในชั้น HOMO (Highest Occupied Molecular Orbital)
ไปยังชั้น LUMO (Lowest Unoccupied Molecular Orbital)
อิเล็กตรอนถูกกระตุ้น
อิเล็กตรอนสถานะกระตุ้น(dye ∗) ที่อยู่ในโมเลกุลของสีย้อมในชั้นLUMO
ซึ่งมีพลังงานสูงกว่าแถบนาไฟฟ้าของสารกึ่งตัวนา (conduction band)
จะย้ายไปอยู่บนแถบนาไฟฟ้าของสารกึ่งตัวนาเราเรียกขั้นตอนนี้ว่า electron injection
dye ∗ +TiO2 → e- (TiO2) + dye+ (oxidized dye)
dye + light →dye ∗
อิเล็กตรอนคืนสภำพ
อิเล็กตรอนกลับสู่โมเลกุลของสีย้อม โดยผ่านปฏิกิริยารีดอกซ์(Redox)
ในอิเล็กโทรไลต์และเรียกขั้นตอนนี้ว่า Dye Regeneration
dye+ (oxidized dye) + 3/2 I- → dye + ½ dye I3
-
½ I3
- + e- (Couter electrode) → 3/2 I-
อิเล็กตรอนเริ่มเคลื่อนที่
อิเล็กตรอนที่มาจากชั้น LUMO จะเคลื่อนที่ผ่านสารกึ่งตัวนาออกสู่วงจรภายนอก
ผ่านทางขั้วโฟโตอิเล็กโทรดเกิดการสูญเสียพลังงานให้แก่วงจรภายนอก หลังจากนั้น
กลับคืนสู่เซลล์ผ่านทางขั้วเคาน์เตอร์อิเล็กโทรด หรือขั้วไฟฟ้าแคโทด
(ขั้วที่กระจกนาไฟฟ้าเคลือบด้วย Pt)
ฟิล์มบางออกไซด์นาไฟฟ้ าโปร่งแสง
(Transparent Conducting Oxide Thin Film, TCO)
ฟิล์มบางออกไซด์นาไฟฟ้าแบบโปร่งแสงเป็นฟิล์มบางที่นาไปใช้กันอย่างมากในอุปกรณ์
Optic Electronic Devices เช่น Flat Panel Display ,
Solar Cells และอื่นๆซึ่งฟิล์มชนิดนี้
เป็นฟิล์มที่มีสมบัติทางไฟฟ้าและสมบัติทางแสงที่ดีควบคู่กันโดยฟิล์มต้องมีสมบัตินาไฟฟ้าได้
ดีและแสงสามารถทะลุผ่านได้ปริมาณมาก ดังนั้นในการเลือกสารตั้งต้นเพื่อนามาเตรียมฟิล์ม
ต้องพิจารณาสมบัติทั้ง 2 ข้อนี้เป็นสาคัญ และโดยทั่วไปสารที่จะนามาใช้ควรจะเป็นสารที่มีแถบ
ช่องว่างพลังงานสูง แต่มีสภาพต้านทานต่าและแสงทะลุผ่านดี ซึ่งฟิล์มบางที่นิยมใช้กันได้แก่
ฟิล์มบางของทินออกไซด์(SnO2) ฟิล์มบางของอินเดียมออกไซด์(In2O3) ฟิล์มบาง
อินเดียมทินออกไซด์(ITO)ฟิล์มบางของแคดเมียมสแตนเนส (Cd2SnO4)
ฟิล์มบางซิงก์ออกไซด์(ZnO) เป็นต้น
ซึ่งสารเหล่านี้สามารถปรับปรุงสมบัติทางไฟฟ้าและสมบัติทางแสงได้ด้วยการเติมสารผสม
ตัวรับแสง (Photo Sensitizer)
สีย้อมเป็นส่วนประกอบที่สาคัญที่สุดของเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดสีย้อมไวแสง
เนื่องจากสีย้อม มีหน้าที่เป็นแหล่งกาเนิดอิเล็กตรอนสาหรับเซลล์แสงอาทิตย์
ชนิดนี้ ซึ่งเมื่อสีย้อมไวแสงได้รับพลังงานแสงอาทิตย์
โมเลกุลของสีย้อมไวแสงที่อยู่ในชั้น HOMO จะถูกกระตุ้นให้ไปอยู่
ที่ชั้น LUMO หลังจากนั้นอิเล็กตรอนที่ถูกกระตุ้นในชั้น LUMO
จะถูกส่งผ่านเข้าไปในชั้นแถบนาไฟฟ้าของสารกึ่งตัวนาโลหะออกไซด์
ดังนั้นในการเลือกสีย้อมไวแสง จึงจาเป็นต้องเลือกสีย้อมที่เหมาะสม
กับสารกึ่งตัวนาที่ใช้ซึ่งสีย้อมไวแสงต้องมีระดับพลังงาน LUMO
สูงกว่าระดับแถบนาไฟฟ้าของสารกึ่งตัวนา
: ข้อดี และ ข้อเสีย ของเซลล์แสงอำทิตย์ ชนิดซิลิกอน
ข้อดี ข้อเสีย
• ซิลิกอนเป็นธาตุที่พบเจอมากที่สุดเป็นอันดับ
สองที่เปลือกโลก
• ขั้นตอนการผลิตได้รับการพัฒนาอย่างดี
• มีตลาดซิลิกอนขนาดใหญ่
• ให้ประสิทธิภาพสูงที่สุด
• ต้องใช้ชั้นคริสตัลที่หนา
• เปราะ แตกง่าย
• ใช้ซับสเตรทที่เฉพาะเจาะจงและจากัด
• ผลึกเดี่ยวซิลิกอนมีราคาแพง
• บางขั้นตอนการผลิตก่อให้เกิดมลภาวะ
: ข้อดีและข้อเสียของเซลล์แสงอำทิตย์ชนิดสีย้อมไวแสง
ข้อดี ข้อเสีย
• ราคาถูก เนื่องจากไม่มีขั้นตอนที่ต้องใช้
พลังงานสูงและสุญญากาศ
เหมือนแบบซิลิกอน
• สามารถใช้กับซับสเตรทที่ยืดหยุ่นได้
นอกเหนือจากแก้ว
• สามารถถูกออกแบบให้มีรูปร่างทาง
สถาปัตยกรรมเหมาะกับใช้
ตกแต่งอาคารบ้านเรือนได้
• มีความคงทนแม้ว่าอยู่ภายใต้แสงที่นาน
กว่า 10,000 ชั่วโมง(ภายใต้สภาวะหนึ่งๆ)
• เนื่องจากประสิทธิภาพที่ต่ากว่า จึงทาให้
ยังไม่สามารถเป็นคู่แข่งทางการค้า
กับเซลล์ประเภทซิลิกอนได้
• เสื่อมสภาพได้ ที่อุณหภูมิสูง
• ขนาดของการผลิตยังอยู่ในระดับเล็ก
: ต้นทุนกำรผลิตของเซลล์แสงอำทิตย์ชนิดซิลิกอน
SX: single crystal
MC: multicrystal line
: ต้นทุนกำรผลิตของเซลล์แสงอำทิตย์ชนิดสีย้อมไวแสง
: ประสิทธิภำพของเซลล์แสงอำทิตย์ชนิดต่ำงๆ
แนวทางการพัฒนาเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดสีย้อมไวแสงให้มีประสิทธิภาพรวมสูงขึ้น
อาจสรุปได้ 3 แนวทางดังนี้
❶ พัฒนาโมเลกุลสีย้อมไวแสง ที่มีความสามารถในการดูดกลืนแสงตลอดช่วงความยาว
คลื่นแสงตาเห็นจนถึงช่วงใกล้อินฟราเรด (near IR)
❷ พัฒนาระบบอิเล็กโทรไลต์ที่มีประสิทธิภาพสูง
เพื่อเพิ่มค่าแรงดันไฟฟ้าวงจรเปิด ให้มีค่าใกล้เคียงกับค่าทางทฤษฎี
❸ พัฒนาโครงสร้างอนุภาคนาโนของสารกึ่งตัวนาโลหะออกไซด์ เพื่อให้มีระยะทางการแพร่
ของอิเล็กตรอนเพิ่มขึ้น สามารถทาได้โดยเปลี่ยนลักษณะรูปร่างของโลหะออกไซด์ที่ใช้จากที่
เป็นอนุภาคนาโน (nanoparticle) ให้อยู่ในรูปของลวดนาโน (nanowire)
① การพัฒนาสีย้อมไวแสง
และใกล้อินฟราเรด เพื่อเพิ่มจานวนอิเล็กตรอนในสภาวะเร้าให้มากที่สุด
ข) เพิ่มความสามารถในการยึดเกาะของสีย้อมไวแสงกับพื้นผิวของอนุภาคระดับนาโนของโลหะ
ออกไซด์ เพื่อเพิ่มปริมาณสีย้อมไวแสงให้เกาะอยู่กับอนุภาคระดับนาโนของโลหะออกไซด์
ได้ในปริมาณที่มากที่สุด
ค) เพิ่มประสิทธิภาพในการถ่ายเทอิเล็กตรอนระหว่างสีย้อมไวแสงกับอนุภาคระดับนาโน
ของโลหะออกไซด์ เพื่อไม่ให้มีการสูญเสียอิเล็กตรอนระหว่างการถ่ายเทอิเล็กตรอน
② การพัฒนาระบบอิเล็กโตรไลต์
ระบบอิเล็กโตรไลต์ เป็นส่วนสาคัญที่ต้องได้รับการพัฒนาเช่นกัน
เพื่อให้เซลล์แสงอาทิตย์ชนิดสีย้อมไวแสงให้ประสิทธิภาพสูงสาหรับผลิตในเชิงการค้า
ในระยะเริ่มแรกระบบอิเล็กโตรไลต์ เป็นระบบที่เตรียมได้ง่าย ไม่ยุ่งยาก
คือ อิเล็กโตรไลต์ของเหลวมีส่วนประกอบของคู่ปฏิกิริยารีดอกซ์
ของ ไอโอไดด์/ไตรไอโอไดด์ ( I- /I3
- )
ก) การหาสีย้อมไวแสงชนิดใหม่ที่มีความสามารถในการดูดกลืนแสงในช่วงกว้างตั้งแต่ช่วงแสงตาเห็น
จำกที่กล่ำวมำข้ำงต้น ระบบอิเล็กโตรไลต์ยังคงต้องได้รับกำรพัฒนำต่อไป
อย่ำงต่อเนื่อง เพื่อเพิ่มประสิทธิภำพรวมของเซลล์แสงอำทิตย์สีย้อมไวแสงให้สูงขึ้น
แต่มีข้อเสียคือ
③ การพัฒนาอนุภาคนาโนของสารกึ่งตัวนาโลหะออกไซด์
(TiO2)
ในกำรเตรียมเส้นลวดนำโนแบบออกไซด์ (oxide nanowire)
(metal oxide)
(1-D nanostructure materials)
โดยในปี ค.ศ. 2005 Law และคณะ (Law et al., 2005)
พบว่ำ เซลล์แสงอำทิตย์ชนิดสีย้อมไวแสง ที่ใช้สีย้อมไวแสง N719
ดูดซับบนลวดนาโนซิงค์ออกไซด์ มีประสิทธิภาพรวมใกล้เคียง
กับเซลล์แสงอาทิตย์สีย้อมไวแสงที่ใช้อนุภาคนาโนไทเทเนียมไดออกไซด์
ทั้งนี้เนื่องจากลวดนาโนช่วยให้ส่งผ่านอิเล็กตรอนไปยังขั้วไฟฟ้ าได้มากขึ้น
และลวดนาโนมีพื้นที่ผิวสูง และมีการสร้างเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดสีย้อมไวแสง
ที่ใช้สีย้อมไวแสง N719ดูดซับบนลวดนาโนซิงค์ออกไซด์
พบว่ามีแรงดันไฟฟ้ าวงจรเปิด 0.7 – 0.8 V
กระแสไฟฟ้ าลัดวงจร 3 mA/cm2 และมีประสิทธิภาพรวม1.1%
ลวดนาโนซิงค์ออกไซด์ได้รับความสนใจศึกษา เนื่องจากซิงค์ออกไซด์
มีค่าพลังงานแถบช่องว่างใกล้เคียงกับไทเทเนียมไดออกไซด์ และมีกระบวน
เตรียมให้อยู่ในรูปของลวดนาโนง่ายกว่า
บทสรุป
จากความต้องการพลังงานทดแทนในอนาคตอันใกล้ส่งผลให้เซลล์
แสงอาทิตย์ชนิดสีย้อมไวแสงได้รับการพัฒนาและศึกษาวิจัยมาอย่างต่อเนื่อง
เพื่อให้มีขีดความสามารถสูงในระดับที่จะผลิตในระดับอุตสาหกรรม
และทดแทนเซลล์แสงอาทิตย์ที่ใช้อยู่ในปัจจุบันได้
โดยจะต้องพัฒนาในทั้งสามส่วน คือ ตัวโมเลกุลสีย้อมไวแสง ระบบอิเล็กโตรไลต์
และอนุภาคนาโนของสารกึ่งตัวนาโลหะออกไซด์ให้มีประสิทธิภาพสูง
โดยเฉพาะต้องมีการค้นคว้าวิจัยและสังเคราะห์สีย้อมประเภทใหม่ที่ทนทานที่อุณหภูมิสูง
ศึกษาหาสารอิเล็กโตรไลท์ชนิดใหม่ที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการนาไฟฟ้ าและไม่กัด
กร่อนพื้นผิวของซับสเตรท และการพัฒนาระบบการประกบเซลล์ (sealing)
เพื่อยืดอายุการใช้งานของเซลล์เป็นต้น อันจะส่งผลโดยรวมให้ประสิทธิภาพรวม
ของ เซลล์แสงอาทิตย์ชนิดสีย้อมไวแสง สูงเกินกว่า 10-15%
อย่างไรก็ดี อุปกรณ์ชิ้นส่วนระดับนาโนกาลังได้รับการศึกษาเชิงลึกเพิ่มขึ้น เช่น
การผลิตเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดสีย้อมไวแสง (Dye-sensitized solar cells)
อันเป็นผลมาจากความต้องการนวัตกรรมใหม่ในภาคการผลิตและอุตสาหกรรม
สามารถผลิต เซลล์แสงอาทิตย์แบบสีย้อมไวแสง
ที่มีประสิทธิภาพสูงสุด ในระดับห้องปฏิบัติการ ได้ประมาณ 11%
โดยใช้สีย้อมไวแสงที่เป็น สารประกอบเชิงซ้อน ชนิดรูทีเนียมไบไพไรดีน
( ruthenium-bipyridine) ขณะที่ความคุ้มค่าในการผลิตเซลล์
แสงอาทิตย์ แบบสีย้อมไวแสงในเชิงพาณิชย์ จะอยู่ที่ 15% แต่ในปัจจุบันก็มีการผลิต
เซลล์แสงอาทิตย์แบบสีย้อมไวแสง เพื่อใช้งานหลายด้าน เช่น
ใช้เป็นอุปกรณ์ชาร์จแบตเตอร์รี่ในโทรศัพท์มือถือ(Charger),
ใช้เป็นแผงโซลาร์เซลล์ ติดตั้งบนหลังคาบ้าน (Roof-top),
ใช้เป็นวัสดุตกแต่งภายใน(Interior) และ ใช้เป็นวัสดุร่วมกันของผนังอาคาร
และ แผงผลิตไฟฟ้ า(BIPV) ดังรูป
กำรประยุกต์ใช้งำนของเซลล์แสงอำทิตย์สีย้อมไวแสง
[1] รศ. ธีรพันธ์ ม่วงไทย. (2555). เซลล์แสงอาทิตย์ชนิดสีย้อมไวแสง. วารสารวิจัย มร. 29(1) : 108-
124
[2] พีรกิตติ์ คมสัน. (2550). เซลล์แสงอาทิตย์กับสีย้อมไวแสงจากพืชในประเทศไทย.วารสารวิจัย มข.35(4): 205-214
[3] วินิช พรมอารักษ์ และคณะ.(2550). เซลล์แสงอาทิตย์ชนิดสีย้อมไวแสง.วารสารวิชาการ ม.อบ.9(2): 14-31
http://www.ubu.ac.th/ubu_center/files_up/08f2013032015072362.p
df
[4] Wikipedia,Dye-sensitized solar cells,[Online], Avialable
:,http://en.wikipedia.org/wiki/Dye-sensitized_solar_cell,
[2012,september]
[5]
http://www.diss.fuberlin.de/diss/servlets/MCRFileNodeServlet/FU
DISS_derivate_000000002568/02_2.pdf?hosts=
[6] สรพงษ์ ภวสุปรีย์.การประยุกต์ใช้ท่อนาโนไททาเนียมในการพัฒนาเซลล์พลังงานแสงอาทิตย์ชนิดสีย้อมไวแสง.
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เวบไซต์ http://research.en.rmutt.ac.th/wp
content/uploads/2012/07/DSSCs-NT.pdf
[7] http://bp.snu.ac.kr/Lecture/Solar_Cells_2012/2-2-
b-Solar%20Cell(91)-120312.pdf
[8] http://www.kmutt.ac.th/hynae/สีย้อมไวแสง
[9]
http://www2.mtec.or.th/th/research/sense_solar_cell/ob
j_abs.htm
[10] http://www.nanotec.or.th/th/?p=1812
[11]
http://www.rmutphysics.com/charud/oldnews/213/inde
x213.htm
[12]
http://biblion.epfl.ch/EPFL/theses/2012/5376/5376_abs.
pdf
[13] http://www.stks.or.th/
[14] http://www.thep-center.org/
[15]สมัครพิมานแพง.(2554).เซลล์แสงอาทิย์ชนิดสีย้อมไวแสงที่ใช้พอลิเอนิลีนเป็นขั้วเคาท์เตอร์.ว.วิทย.มข.
39(4):587-597
เวบไซต์ http://202.28.94.204/Dean/sci_journal/web/book/39_4/587.pdf
[16]KongsakPattarithandNarongPungwiwat andSurinLaosooksathitและ
คณะ.(2554).
Synthesisof6,6’-(1,2,5-Oxadiazole-3,4Diyl)Dipyridine-2,4-Dicarboxylic
Acid:anOrganic
DyeforDye-sensitizedSolarCell.TheJournalofKMUTNB.,21(2): 248-256
เวบไซต์ http://www.journal.kmutnb.ac.th/journal/50810255473445.pdf
[17] http://www.vcharkarn.com
[18] http://dyesolarcells-kku.blogspot.com/
[19]กมลพรรณชุมพล.(2555).หลักการวัดและวิเคราะห์ประสิทธิภาพของเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดสีย้อมไวแสงด้วยวิธีการทางแสง.
วารสารมาตรวิทยากรกฎาคม-สิงหาคม:14-17
เวบไซต์ http://www.nimt.or.th/nimt/upload/linkfile/sys-metrology-926-110.pdf
[20] สถาบันพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ (SOLARTEC) สานักงานพัฒนา
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
[21]
http://www.camse.org/scienceonthemove/documents/DSSC
_manual.pdf
[22] http://pubs.acs.org/doi/pdfplus/10.1021/ic400774p
[23] สานักงานนโยบายและแผนพลังงาน.,กระทรวงพลังงาน
เวบไซต์ http://www.eppo.go.th/
[24] Bailey, M., Park, J., Dhirani, A.Natural Dye-
Sensitized Nanocrystalline Solar Cell,Department of
Chemistry, University of Toronto.
[25] th.wikipedia.org/wiki/เชื้อเพลิงซากดึกดาบรรพ์
[26] Kuppuswamy Kalyanasundaram,MichaelGrätzel,MaterialMatters
2009,4.4,88.,EfficientDye-SensitizedSolarCellsforDirectConversionof
SunlighttoElectricity
[27] สุภาวดี เกียรติเสวี.“เซลล์แสงอาทิตย์แบบสีย้อมไวแสง”,ศูนย์พลังงานทางเลือก
(CenterofAlternativeEnergy),คณะวิทยาศาสตร์,มหาวิทยาลัยมหิดล
[28]รศ.ดร.จตุพรวุฒิกนกกาญจน์ .“การพัฒนาสารอิเล็กโทรไลต์สาหรับเซลล์แสงอาทิตย์และแบตเตอรียุคใหม่”,
ศูนย์ความเป็นเลิศนาโนเทค-มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ด้านวัสดุนาโนไฮบริดสาหรับพลังงานทางเลือก,
คณะพลังงานสิ่งแวดล้อมและวัสดุ,มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
[29] ชานุ โพธิพิทักษ์.“เซลล์แสงอาทิตย์แบบสีย้อมไวแสง”,คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ,มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
SPECIAL THANKS
(dye-sensitized solar cells,DSSCs) power point

More Related Content

What's hot

โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์paifahnutya
 
กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์Wan Ngamwongwan
 
พันธุศาสตร์ประชากร
พันธุศาสตร์ประชากรพันธุศาสตร์ประชากร
พันธุศาสตร์ประชากรWan Ngamwongwan
 
เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน Thitaree Samphao
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศSupaluk Juntap
 
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5Wichai Likitponrak
 
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารวิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารWuttipong Tubkrathok
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชsukanya petin
 
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)Dr.Woravith Chansuvarn
 
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชWichai Likitponrak
 
เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)Thitaree Samphao
 
แผ่นพับโครงงานคณิตศาสตร์ 1
แผ่นพับโครงงานคณิตศาสตร์ 1แผ่นพับโครงงานคณิตศาสตร์ 1
แผ่นพับโครงงานคณิตศาสตร์ 1KruKaiNui
 
คลื่น ม.3.pdf
คลื่น ม.3.pdfคลื่น ม.3.pdf
คลื่น ม.3.pdfssuser920267
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59Wan Ngamwongwan
 

What's hot (20)

Cam
CamCam
Cam
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
 
แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์
แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์
แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์
 
พันธุศาสตร์ประชากร
พันธุศาสตร์ประชากรพันธุศาสตร์ประชากร
พันธุศาสตร์ประชากร
 
เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
 
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารวิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
 
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
5แบบทดสอบส่วนประกอบของเซลล์
5แบบทดสอบส่วนประกอบของเซลล์5แบบทดสอบส่วนประกอบของเซลล์
5แบบทดสอบส่วนประกอบของเซลล์
 
เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)
 
แผ่นพับโครงงานคณิตศาสตร์ 1
แผ่นพับโครงงานคณิตศาสตร์ 1แผ่นพับโครงงานคณิตศาสตร์ 1
แผ่นพับโครงงานคณิตศาสตร์ 1
 
คลื่น ม.3.pdf
คลื่น ม.3.pdfคลื่น ม.3.pdf
คลื่น ม.3.pdf
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
 
หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิตหน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
 

Viewers also liked

Recent progress in non platinum counter electrode materials for dye sensitize...
Recent progress in non platinum counter electrode materials for dye sensitize...Recent progress in non platinum counter electrode materials for dye sensitize...
Recent progress in non platinum counter electrode materials for dye sensitize...Science Padayatchi
 
Dye Sensitized Solar Cells- PhD Stage 3 Seminar
Dye Sensitized Solar Cells- PhD Stage 3 SeminarDye Sensitized Solar Cells- PhD Stage 3 Seminar
Dye Sensitized Solar Cells- PhD Stage 3 SeminarNarges Mohamadi
 
Fundamentals of Photovoltaics: Lecture 1
Fundamentals of Photovoltaics: Lecture 1Fundamentals of Photovoltaics: Lecture 1
Fundamentals of Photovoltaics: Lecture 1University of Liverpool
 
Dye sensitized solar cells
Dye sensitized solar cellsDye sensitized solar cells
Dye sensitized solar cellsAshish Singh
 
Lecture 3: Fundamental Limitations of Solar Cells
Lecture 3: Fundamental Limitations of Solar CellsLecture 3: Fundamental Limitations of Solar Cells
Lecture 3: Fundamental Limitations of Solar CellsUniversity of Liverpool
 
The Science Behind Dye-Sensitized Solar Cells
The Science Behind Dye-Sensitized Solar CellsThe Science Behind Dye-Sensitized Solar Cells
The Science Behind Dye-Sensitized Solar Cellsswissnex San Francisco
 
Dye Sensitized Solar cell (DSSC)
Dye Sensitized Solar cell (DSSC)Dye Sensitized Solar cell (DSSC)
Dye Sensitized Solar cell (DSSC)shashank chetty
 
Dye sensitized solar cells
Dye sensitized solar cellsDye sensitized solar cells
Dye sensitized solar cellsDileep V Raj
 
Solar cells and its applications
Solar cells and its applicationsSolar cells and its applications
Solar cells and its applicationsPoojith Chowdhary
 
Presentation on solar cell
Presentation on solar cellPresentation on solar cell
Presentation on solar cellOmar SYED
 

Viewers also liked (13)

Recent progress in non platinum counter electrode materials for dye sensitize...
Recent progress in non platinum counter electrode materials for dye sensitize...Recent progress in non platinum counter electrode materials for dye sensitize...
Recent progress in non platinum counter electrode materials for dye sensitize...
 
Dye Sensitized Solar Cells- PhD Stage 3 Seminar
Dye Sensitized Solar Cells- PhD Stage 3 SeminarDye Sensitized Solar Cells- PhD Stage 3 Seminar
Dye Sensitized Solar Cells- PhD Stage 3 Seminar
 
Dye sensitised solar cell
Dye sensitised solar cellDye sensitised solar cell
Dye sensitised solar cell
 
Fundamentals of Photovoltaics: Lecture 1
Fundamentals of Photovoltaics: Lecture 1Fundamentals of Photovoltaics: Lecture 1
Fundamentals of Photovoltaics: Lecture 1
 
Introduction To Photovoltaic Device Physics
Introduction To Photovoltaic Device PhysicsIntroduction To Photovoltaic Device Physics
Introduction To Photovoltaic Device Physics
 
Dye sensitized solar cells
Dye sensitized solar cellsDye sensitized solar cells
Dye sensitized solar cells
 
Lecture 3: Fundamental Limitations of Solar Cells
Lecture 3: Fundamental Limitations of Solar CellsLecture 3: Fundamental Limitations of Solar Cells
Lecture 3: Fundamental Limitations of Solar Cells
 
The Science Behind Dye-Sensitized Solar Cells
The Science Behind Dye-Sensitized Solar CellsThe Science Behind Dye-Sensitized Solar Cells
The Science Behind Dye-Sensitized Solar Cells
 
Dye Sensitized Solar cell (DSSC)
Dye Sensitized Solar cell (DSSC)Dye Sensitized Solar cell (DSSC)
Dye Sensitized Solar cell (DSSC)
 
12. บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
12.  บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล12.  บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
12. บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
 
Dye sensitized solar cells
Dye sensitized solar cellsDye sensitized solar cells
Dye sensitized solar cells
 
Solar cells and its applications
Solar cells and its applicationsSolar cells and its applications
Solar cells and its applications
 
Presentation on solar cell
Presentation on solar cellPresentation on solar cell
Presentation on solar cell
 

(dye-sensitized solar cells,DSSCs) power point